SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
ภารกิจระดับครูผู้ชวย
                  ่
ห้องเรียนที่ 1
1. ให้ท่านวิเคราะห์วิธีการจัดการเรียนรู้ของครูแต่ละคน
ว่าอยู่ในกระบวนทัศน์การออกแบบการสอนใดและมี
พื้นฐานมาจากทฤษฎีการเรียนรู้ใดบ้าง พร้อมอธิบาย
เหตุผล
ครูบุญมี
         กระบวนทัศน์การสอนของครูบุญมีจะเน้นให้นักเรียนมี
การท่องจ้าซ้้าๆ และมีการจดบันทึก
         การสอนอยู่บนพื้นฐานของกลุ่มพฤติกรรมนิยม ซึ่ง
ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า กับการตอบสนอง
สามารถสังเกตได้จากพฤติกรรมที่แสดงออกมา ในแนวคิดของ
กลุ่มนี้จะเชื่อว่า การเรียนรู้จะเกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้า
กับการตอบสนองหรือการแสดงพฤติกรรมนิยมและถ้าหากได้รับ
การเสริมแรงจะท้าให้มีการแสดงพฤติกรรมนั้นถีมากขึ้น ดังเช่น
                                                ่
การสอบเก็บคะแนนของครูบุญมี
ครูบุญช่วย
         กระบวนทัศน์การสอนของครูบุญช่วยจะเน้นให้นักเรียน
 ได้ท้างานเป็นกลุ่ม มีการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
         การสอนที่อยู่บนพื้นฐานของกลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ คือ
 การจัดเตรียมสิ่งแวดล้อมที่ให้ผู้เรียนได้ส้ารวจ ค้นหา ตามด้วย
 ตัวเอง ท้าให้ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ได้ด้วยตนเอง
ครูบุญชู
          กระบวนทัศน์การสอนของครูบุญมีจะใช้วิธีการท่องจ้า
 โดยการใช้เทคนิค เช่น การแต่งเป็นบทเพลง คล้องจอง
          การสอนที่อยู่บนพื้นฐานของกลุ่มพุทธิปัญญา คือการ
 เปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียนทั้งทางด้านปริมาณและด้าน
 คุณภาพ ซึ่งนอกจากผู้เรียนจะมีสิ่งที่เรียนรู้เพิ่มขึ้นแล้วยัง
 สามารถจัดรวบรวมเรียบเรียงสิ่งที่เรียนรู้เหล่านั้นให้เป็นระเบียบ
 เพื่อให้สามารถเรียกกลับมาใช้ได้ตามที่ต้องการ และสามารถถ่าย
 โยงความรู้และทักษะเดิม หรือสิ่งที่เรียนรู้มาแล้วไปสู่บริบทและ
 ปัญหาใหม่ได้
2. วิธีการเรียนรู้ของครูแต่ละคนมีข้อดีและข้อเด่น
อย่างไร
ครูบญมี
                              ุ

ข้อดี
        นักเรียนสามารถจ้าเนื้อหารายวิชาที่ครูบุญมีสอน
        ได้ แต่ส่วนใหญ่ก็จะเป็นการท่องจ้า ซึ่งเป็นการจ้า
        ระยะสั้น

ข้อเด่น
        เน้นย้้าให้นักเรียนจดบันทึกและท่องจ้าซ้้าๆ เพื่อให้
        เกิดความช้านาญ
ครูบญช่วย
                          ุ
ข้อดี
   นักเรียนสามารถหาค้าตอบได้ด้วยตนเอง จากการลงมือ
   ปฏิบัตินอกจากนี้ผู้เรียนสามรถน้าความรู้ที่ได้ เชื่อมโยง
   กับประสบการณเดิมได้อีกด้วย

ข้อเด่น
   เน้นให้ผู้เรียนค้นหาค้าตอบ และร่วมมือกันเรียนรู้มีการ
   แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ลงมือทดลอง โดยมีครูเป็นผู้ให้
   ครูจะกระตุ้นให้นักเรียนได้คิด และร่วมกันสรุปบทเรียน
   เป็นความเข้าใจของตนเอง
ครูบญชู
                          ุ

ข้อดี
   นักเรียนสามารถจดจ้าเนื้อหาได้มากกว่าการท่องจ้าแบบ
   ธรรมดา จากการใช้เทคนิคของครู เช่น การใช้รูปภาพ
   ประกอบ การแต่งเป็นบทเพลง หรือการใช้ค้าคล้องจอง
ข้อเด่น
   ใช้บทเพลง ค้าคล้องจอง หรือแผนภูมิรูปภาพประกอบ
   เนื้อหาเพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่าง
   องค์ประกอบ ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมที่
   ผู้เรียนรู้จักมาช่วยในการจดจ้าค้าศัพท์
3. วิธีการจัดการเรียนรู้ของใครที่สอดคล้องกับ
พระราชบัญญัตการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
               ิ
มากทีสด เพราะเหตุใด
      ุ่
สาระส้าคัญ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
ในหมวด 4 แนวการจัดการศึกษา กล่าวว่า “ การจัดการศึกษา
ต้องยึดหลักว่าผู้เรียนมีความส้าคัญที่สุด สามารถเรียนรู้และพัฒนา
ตนเองได้ ” และหมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา กล่าวว่า “ ให้
มีการพัฒนาบุคลากรทั้งด้านผู้ผลิตและผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อ
การศึกษา อันจะน้าไปสู่การแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเองอย่าง
ต่อเนื่องตลอดชีวิต ”
         ซึ่งการจัดการเรียนการสอนตามแบบครูบญช่วย ที่มีการ
                                                ุ
เน้นให้ผู้เรียนได้ค้นหาค้าตอบลงมือทดลองด้วยตัวเอง รวมทั้ง
ให้ผู้เรียนได้ร่วมมือกันเรียนรู้เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์
ห้องเรียนที่ 2
1. ให้ทานวิเคราะห์ปญหาที่เกิดขึนว่าน่าจะมีสาเหตุ
       ่           ั           ้
มาจากอะไรบ้าง
นักเรียน

        ตัวนักเรียนเองยังไม่มีความเข้าใจที่ท่องแท้กับรายวิชา
คณิตศาสตร์ จึงท้าให้ตัวนักเรียนเอง ไม่สามารถน้าความรู้ที่
มีอยู่น้าไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ที่นอกเหนือจากการน้าความรู้
ทางคณิตศาสตร์ที่เรียนนั้น ไปใช้ในการท้าข้อสอบเพียงอย่าง
เดียว เพราะว่าหลักสูตรการเรียนการสอนคณิตศาสตร์นั้น
เป็นแผนการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้รับความรู้ให้
มากที่สุด แต่ตัวผู้เรียนเองยังไม่สามารถคิดต่อยอด เกิด
ความคิดใหม่ๆในรายวิชานี้ได้
ครู
          ครูผู้สอนมักจะสอนทฤษฎี ต่อมาก็จะเป็นการ
ยกตัวอย่าง แน่นอนว่าสิ่งที่ครูผู้สอนได้สอนมานั้นเป็นสิ่ง
ที่ผู้เรียนสามารถท้าความเข้าใจได้และสามารถแก้โจทย์ปัญหา
ได้ด้วยตนเอง แต่ในบางเรื่อง ซึ่งเป็นการยากที่จะท้าความ
เข้าใจต่อเนื้อหาแล้ว ตัวเด็กเองก็ยังไม่มีความสามารถในการ
น้าความรู้เหล่านี้ไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาต่างๆ ซึ่งในจุดนี้
เอง เป็นข้อบกพร่องที่ครูผู้สอนควรให้การแนะน้าและให้
แนวคิด เพื่อให้ผู้เรียนสามารถที่จะต่อยอดความรู้ได้ต่อไป
2. วิเคราะห์หาทฤษฎีการเรียนรู้ และการออกแบบ
การสอนทีสามารถแก้ปัญหาได้
          ่
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) ที่เน้นการ
สร้างความรู้ด้วยตนเอง ด้วยการลงมือปฏิบัติที่ผ่ากระบวนการ
คิดและอาศัยประสบการณ์เดิมหรือความรู้เดิมที่มีอยู่แล้ว
เชื่อมโยงกับประสบการณ์หรือความรู้ใหม่ เพื่อขยายโครงสร้าง
ทางปัญญา (Schema) ซึ่งเชื่อว่า ครูไม่สามารถขยายโครงสร้าง
ทางปัญญาให้แก่ผู้เรียนได้ ผู้เรียนต้องเป็นผู้สร้างและขยาย
โครงสร้างทางปัญญาด้วยตนเอง โดยครูเป็นผู้จัดสิ่งแวดล้อมที่
เอื้อต่อการเรียนรู้หรือสร้างความรู้ของผู้เรียน ด้วยการน้า
วิธีการ เทคโนโลยีและนวัตกรรมหรือสื่อตลอดจนภูมิปัญญา
ท้องถิ่นมาใช้ร่วมกันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรู้
3. ออกแบบการจัดการเรียนรูที่สามารถแก้ปัญหา
                         ้
ดังกล่าวได้
เป็นการน้าทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐานใน
การออกแบบ โดยประสานร่วมกับการน้าสื่อประเภทต่าง ๆ
เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ หนังสือวีดทัศน์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น
                               ิ
อุปกรณ์การทดลอง รวมทั้งกิจกรรมต่าง ๆ มาใช้ร่วมกัน
โดยคุณลักษณะของสื่อต่างๆจะส่งเสริมซึ่งกันและกัน เพื่อช่วย
ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีระสิทธิภาพ
กระตุน
        ้

                                 ข้อมูลใหม่
โครงสร้างทางปัญญา

                               เสียสมดุลทางปัญญา

                              ปรับสมดุลทางปัญญา
                     การปรับเปลี่ยน             การดูดซึม
                    (Accommodation)           (Assimilation)


                            ความรู้ใหม่
จัดท้าโดย
  1. นายวุฒินันท์ กัลยา 543050064-4
 2. นางสาวศรัญย์ภร ติงมหาอินทร์ 543050066-0
  3. นางสาวมารีนา บาซอ 543050556-3

More Related Content

What's hot

ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยVachii Ra
 
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนNongruk Srisukha
 
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญอรรถกร ใจชาย
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษKobwit Piriyawat
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...Kobwit Piriyawat
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจShe's Kukkik Kanokporn
 
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบSunisa Khaisaeng
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)Jirathorn Buenglee
 
วิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณีวิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณีOrapan Jantong
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอดวิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอดKiingz Phanumas
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนkittitach06709
 

What's hot (15)

ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
 
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
วิธีการสอนแบบบรรยาย
วิธีการสอนแบบบรรยายวิธีการสอนแบบบรรยาย
วิธีการสอนแบบบรรยาย
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
 
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
 
วิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณีวิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณี
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอดวิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
 

Similar to ภารกิจระดับครูผู้ช่วย

ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยNoppasorn Boonsena
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
นำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคมนำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคมAtima Teraksee
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยChaya Kunnock
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่Ailada_oa
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยJutamart Bungthong
 

Similar to ภารกิจระดับครูผู้ช่วย (20)

ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
นำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคมนำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคม
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
08chap6
08chap608chap6
08chap6
 

ภารกิจระดับครูผู้ช่วย

  • 4. ครูบุญมี กระบวนทัศน์การสอนของครูบุญมีจะเน้นให้นักเรียนมี การท่องจ้าซ้้าๆ และมีการจดบันทึก การสอนอยู่บนพื้นฐานของกลุ่มพฤติกรรมนิยม ซึ่ง ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า กับการตอบสนอง สามารถสังเกตได้จากพฤติกรรมที่แสดงออกมา ในแนวคิดของ กลุ่มนี้จะเชื่อว่า การเรียนรู้จะเกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้า กับการตอบสนองหรือการแสดงพฤติกรรมนิยมและถ้าหากได้รับ การเสริมแรงจะท้าให้มีการแสดงพฤติกรรมนั้นถีมากขึ้น ดังเช่น ่ การสอบเก็บคะแนนของครูบุญมี
  • 5. ครูบุญช่วย กระบวนทัศน์การสอนของครูบุญช่วยจะเน้นให้นักเรียน ได้ท้างานเป็นกลุ่ม มีการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง การสอนที่อยู่บนพื้นฐานของกลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ คือ การจัดเตรียมสิ่งแวดล้อมที่ให้ผู้เรียนได้ส้ารวจ ค้นหา ตามด้วย ตัวเอง ท้าให้ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ได้ด้วยตนเอง
  • 6. ครูบุญชู กระบวนทัศน์การสอนของครูบุญมีจะใช้วิธีการท่องจ้า โดยการใช้เทคนิค เช่น การแต่งเป็นบทเพลง คล้องจอง การสอนที่อยู่บนพื้นฐานของกลุ่มพุทธิปัญญา คือการ เปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียนทั้งทางด้านปริมาณและด้าน คุณภาพ ซึ่งนอกจากผู้เรียนจะมีสิ่งที่เรียนรู้เพิ่มขึ้นแล้วยัง สามารถจัดรวบรวมเรียบเรียงสิ่งที่เรียนรู้เหล่านั้นให้เป็นระเบียบ เพื่อให้สามารถเรียกกลับมาใช้ได้ตามที่ต้องการ และสามารถถ่าย โยงความรู้และทักษะเดิม หรือสิ่งที่เรียนรู้มาแล้วไปสู่บริบทและ ปัญหาใหม่ได้
  • 8. ครูบญมี ุ ข้อดี นักเรียนสามารถจ้าเนื้อหารายวิชาที่ครูบุญมีสอน ได้ แต่ส่วนใหญ่ก็จะเป็นการท่องจ้า ซึ่งเป็นการจ้า ระยะสั้น ข้อเด่น เน้นย้้าให้นักเรียนจดบันทึกและท่องจ้าซ้้าๆ เพื่อให้ เกิดความช้านาญ
  • 9. ครูบญช่วย ุ ข้อดี นักเรียนสามารถหาค้าตอบได้ด้วยตนเอง จากการลงมือ ปฏิบัตินอกจากนี้ผู้เรียนสามรถน้าความรู้ที่ได้ เชื่อมโยง กับประสบการณเดิมได้อีกด้วย ข้อเด่น เน้นให้ผู้เรียนค้นหาค้าตอบ และร่วมมือกันเรียนรู้มีการ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ลงมือทดลอง โดยมีครูเป็นผู้ให้ ครูจะกระตุ้นให้นักเรียนได้คิด และร่วมกันสรุปบทเรียน เป็นความเข้าใจของตนเอง
  • 10. ครูบญชู ุ ข้อดี นักเรียนสามารถจดจ้าเนื้อหาได้มากกว่าการท่องจ้าแบบ ธรรมดา จากการใช้เทคนิคของครู เช่น การใช้รูปภาพ ประกอบ การแต่งเป็นบทเพลง หรือการใช้ค้าคล้องจอง ข้อเด่น ใช้บทเพลง ค้าคล้องจอง หรือแผนภูมิรูปภาพประกอบ เนื้อหาเพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่าง องค์ประกอบ ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมที่ ผู้เรียนรู้จักมาช่วยในการจดจ้าค้าศัพท์
  • 12. สาระส้าคัญ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ในหมวด 4 แนวการจัดการศึกษา กล่าวว่า “ การจัดการศึกษา ต้องยึดหลักว่าผู้เรียนมีความส้าคัญที่สุด สามารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้ ” และหมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา กล่าวว่า “ ให้ มีการพัฒนาบุคลากรทั้งด้านผู้ผลิตและผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อ การศึกษา อันจะน้าไปสู่การแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเองอย่าง ต่อเนื่องตลอดชีวิต ” ซึ่งการจัดการเรียนการสอนตามแบบครูบญช่วย ที่มีการ ุ เน้นให้ผู้เรียนได้ค้นหาค้าตอบลงมือทดลองด้วยตัวเอง รวมทั้ง ให้ผู้เรียนได้ร่วมมือกันเรียนรู้เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์
  • 15. นักเรียน ตัวนักเรียนเองยังไม่มีความเข้าใจที่ท่องแท้กับรายวิชา คณิตศาสตร์ จึงท้าให้ตัวนักเรียนเอง ไม่สามารถน้าความรู้ที่ มีอยู่น้าไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ที่นอกเหนือจากการน้าความรู้ ทางคณิตศาสตร์ที่เรียนนั้น ไปใช้ในการท้าข้อสอบเพียงอย่าง เดียว เพราะว่าหลักสูตรการเรียนการสอนคณิตศาสตร์นั้น เป็นแผนการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้รับความรู้ให้ มากที่สุด แต่ตัวผู้เรียนเองยังไม่สามารถคิดต่อยอด เกิด ความคิดใหม่ๆในรายวิชานี้ได้
  • 16. ครู ครูผู้สอนมักจะสอนทฤษฎี ต่อมาก็จะเป็นการ ยกตัวอย่าง แน่นอนว่าสิ่งที่ครูผู้สอนได้สอนมานั้นเป็นสิ่ง ที่ผู้เรียนสามารถท้าความเข้าใจได้และสามารถแก้โจทย์ปัญหา ได้ด้วยตนเอง แต่ในบางเรื่อง ซึ่งเป็นการยากที่จะท้าความ เข้าใจต่อเนื้อหาแล้ว ตัวเด็กเองก็ยังไม่มีความสามารถในการ น้าความรู้เหล่านี้ไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาต่างๆ ซึ่งในจุดนี้ เอง เป็นข้อบกพร่องที่ครูผู้สอนควรให้การแนะน้าและให้ แนวคิด เพื่อให้ผู้เรียนสามารถที่จะต่อยอดความรู้ได้ต่อไป
  • 18. ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) ที่เน้นการ สร้างความรู้ด้วยตนเอง ด้วยการลงมือปฏิบัติที่ผ่ากระบวนการ คิดและอาศัยประสบการณ์เดิมหรือความรู้เดิมที่มีอยู่แล้ว เชื่อมโยงกับประสบการณ์หรือความรู้ใหม่ เพื่อขยายโครงสร้าง ทางปัญญา (Schema) ซึ่งเชื่อว่า ครูไม่สามารถขยายโครงสร้าง ทางปัญญาให้แก่ผู้เรียนได้ ผู้เรียนต้องเป็นผู้สร้างและขยาย โครงสร้างทางปัญญาด้วยตนเอง โดยครูเป็นผู้จัดสิ่งแวดล้อมที่ เอื้อต่อการเรียนรู้หรือสร้างความรู้ของผู้เรียน ด้วยการน้า วิธีการ เทคโนโลยีและนวัตกรรมหรือสื่อตลอดจนภูมิปัญญา ท้องถิ่นมาใช้ร่วมกันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรู้
  • 20. เป็นการน้าทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐานใน การออกแบบ โดยประสานร่วมกับการน้าสื่อประเภทต่าง ๆ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ หนังสือวีดทัศน์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ิ อุปกรณ์การทดลอง รวมทั้งกิจกรรมต่าง ๆ มาใช้ร่วมกัน โดยคุณลักษณะของสื่อต่างๆจะส่งเสริมซึ่งกันและกัน เพื่อช่วย ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีระสิทธิภาพ
  • 21. กระตุน ้ ข้อมูลใหม่ โครงสร้างทางปัญญา เสียสมดุลทางปัญญา ปรับสมดุลทางปัญญา การปรับเปลี่ยน การดูดซึม (Accommodation) (Assimilation) ความรู้ใหม่
  • 22. จัดท้าโดย 1. นายวุฒินันท์ กัลยา 543050064-4 2. นางสาวศรัญย์ภร ติงมหาอินทร์ 543050066-0 3. นางสาวมารีนา บาซอ 543050556-3