SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
โครงงาน
เรื่อง การสารวจปัญหาระบบการศึกษาไทยในปัจจุบัน
จัดทาโดย
นายภานุวัฒน์ นาละคร เลขที่ 6
นางสาวเกษสุดา สีดาดาน เลขที่ 13
นางสาวจินดารัตน์ ฟองคาสี เลขที่ 14
นางสาวมาลิณี รักจันทร์ เลขที่ 34
นางสาวอภิญญา จันนาวัน เลขที่ 52
เสนอ
คุณครูเอกนรินทร์ แก้วอุ่นเรือน
โรงเรียนบ้านดุงวิทยา ตาบลศรีสุทโธ
อาเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี
เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 20
กิตติกรรมประกาศ
การศึกษานี้สาเร็จลุล่วงได้ด้วยดีด้วยความกรุณาจาก คณาจารย์ที่อบรมสั่งสอนทุกท่านที่ให้ความรู้และ
ให้คาปรึกษา ซึ่งได้ให้คาแนะนาตรวจแก้ข้อบกพร่องต่างๆ ด้วยความเอาใจใส่ปลูกฝังให้คณะผู้ศึกษารักการ
ทางาน สนับสนุนให้กาลังใจและเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับคณะผู้ศึกษามาโดยตลอด คณะผู้ศึกษาขอขอบพระคุณ
ไว้ ณ โอกาสนี้ด้วย
ทั้งนี้คณะผู้ศึกษารู้สึกซาบซึ้งและประทับใจในความกรุณาของท่านคณาจารย์ทุกท่านที่ประสิทธิ
ประสาทความรู้ในวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ จนทาให้การศึกษาสาเร็จเรียบร้อย คณะผู้ศึกษา
ขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้ด้วย
ขอขอบพระคุณ
1.นายชัยนาท พรมมาลุน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านดุงวิทยา จังหวัดอุดรธานี
2.นายสมชาย แสงมนตรี รองฝ่ายงบประมาณ
3.นายจตุพจน์ มะลิงาม รองฝ่ายปกครอง
4.นายพินิจ สมบัติกาไร รองฝ่ายวิชาการ
5.นายสาเนียง พิลาโสภา รองฝ่ายบริหารงานทั่วไป
6.นายเอกนรินทร์ แก้วอุ่นเรือน คุณครูผู้สอนประจาวิชา
7.ผู้ปกครองของคณะผู้จัดทาทุกคน
คณะผู้ศึกษา
สารบัญ
เรื่อง หน้า
กิตติกรรมประกาศ ก
สรุปผลการศึกษา 1
แบบสอบถาม 12
สรุปเรียงความการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม และข้อเสนอแนะ 14
บรรณานุกรม 17
ภาคผนวก
-โครงร่าง 18
-การหาร้อยละ 21
สรุปผลการศึกษา
1.ความหมายของการศึกษา ประวัติการศึกษาไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน
ความหมายของการศึกษา
-ยัง ยัคส์รุสโซ (Jean Jacques Rousseau)
การศึกษาคือ การปรับปรุงคนให้เหมาะกับโอกาสและสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไป
-โจฮันเฟรดเดอริคแฮร์บาร์ต (John Friedich Herbart)
การศึกษาคือการทาพลเมืองให้มีความประพฤติดีและมีอุปนิสัยที่ดีงาม
-เฟรดดเอริคเฟรอเบล (Friedrich Froebel)
การศึกษาหมายถึงการพัฒนาบุคลิกภาพของเด็กเพื่อให้เด็กพัฒนาตนเอง
ประวัติการศึกษาไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน
1.การศึกษาของไทยสมัยโบราณ ( พ.ศ. 1781 - พ.ศ. 2411)
การศึกษาสมัยนี้เป็นการศึกษาแบบสืบทอดวัฒนธรรมประเพณีที่มีมากแต่เดิมจาเป็นที่คนไทยในสมัยนั้นต้อง
ขวนขวายหาความรู้จากผู้รู้ในชุมชนต่างๆ ซึ่งการศึกษาในสมัยนี้มีบ้านและวัดเป็นศูนย์กลางการศึกษา
บ้านเป็นสถานที่อบรมกล่อมเกลาจิตใจของสมาชิกภายในบ้าน โดยมีพ่อและแม่ทาหน้าที่ในการถ่ายทอดอาชีพ
และอบรมลูกๆ วังเป็นสถานที่รวมเอานักปราชญ์สาขาต่างๆ มาเป็นขุนนางรับใช้เบื้องพระยุคลบาท โดย
เฉพาะงานช่างศิลปหัตถกรรมเพื่อสร้างพระราชวังและประกอบพระราชพิธีต่างๆ ซึ่งเป็นสถานที่ที่ถ่ายทอด
ความรู้ต่าง ๆ จากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง ส่วนวัดเป็นสถานที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา พระจะทา
หน้าที่ในการอบรมสั่งสอนธรรมะแก่พุทธศาสนิกชน โดยเฉพาะผู้ชายไทยมีโอกาสได้ศึกษาธรรมะและบวช
เรียน ในสังคมไทยจึงนิยมให้ผู้ชายบวชเรียนก่อนแต่งงานทาให้มีคุณธรรมและจิตใจมั่นคงสามารถครองเรือน
ได้อย่างมีความสุข
2. การศึกษาของไทยสมัยปฏิรูปการศึกษา(พ.ศ. 2412 พ.ศ. 2475)
มุ่งให้คนเข้ารับราชการและมีความรู้ทัดเทียมฝรั่งแต่ไม่ใช่ฝรั่ง
(คณะอาจารย์ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา. 2532 : 7) แบ่งออกเป็น 3 ช่วง ดังนี้
2.1 การศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
หลังจากที่พระองค์ได้ครองราชย์แล้ว ก็ได้ทรงปรับปรุงประเทศให้เจริญรุ่งเรืองในทุกๆ ด้าน ทั้งในด้านการ
ปกครองการศาล การคมนาคมและสาธารณสุข เป็นต้น โดยเฉพาะด้านการศึกษานั้นพระองค์ได้ทรงตระหนัก
เพื่อปรับปรุงคนในประเทศให้มีความรู้ความสามารถจะช่วยให้ ประเทศชาติมีความเจริญก้าวหน้าในทุกๆ ด้าน
ดังพระราชดารัสที่ว่า “ วิชาหนังสือเป็นวิชาที่น่านับถือและเป็นที่น่าสรรเสริญมาแต่โบราณว่า เป็นวิชาอย่าง
ประเสริฐซึ่งผู้ยิ่งใหญ่นับแต่ พระมหากษัตริย์เป็นต้นมา ตลอดจนราษฎรพลเมืองสมควรและจาเป็นจะต้องรู้
เพราะเป็นวิชาที่อาจทาให้การทั้งปวงสาเร็จในทุกสิ่งทุกอย่าง
2.2 การศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
1.ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษา มีดังนี้
(1) พระบรมราชโชบายในการปกครองประเทศ เพื่อให้ประเทศมีความเจริญก้าวหน้าทัดเทียมกับนานา
ประเทศ โดยการส่งทหารไปร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่ 1 นอกจากนี้พระองค์ทรงสร้าง
ความรู้สึกชาตินิยมในหมู่ประชาชนชาวไทยโดยมีสาระสาคัญของอุดมการณ์ชาตินิยม คือความรักชาติ ความ
จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์และความยึดมั่นในพุทธศาสนา
(2) พระองค์ทรงศึกษาวิชาการจากต่างประเทศ และเมื่อเสด็จกลับมาแล้วพระองค์ได้ทรงนาเอาแบบอย่างและ
วิธีการที่เป็นประโยชน์มาใช้เป็นหลักในการปรับปรุงการศึกษา เช่น ทรงนาเอาแบบอย่างและวิธีการที่เป็น
ประโยชน์มาใช้เป็นหลักในการปรับปรุงการศึกษา เช่น ทรงนาเอาวิชาลูกเสือจากประเทศอังกฤษเข้ามาจัดตั้ง
กองเสือป่า พระองค์ทรงเป็นนักปราชญ์โดย ทรงแปลวรรณคดีต่างประเทศเป็นภาษาไทยและทรงนิพนธ์
วรรณคดีไว้หลายเรื่อง
(3) ผลอันเนื่องจากการจัดการศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อคนส่วนมากที่
ได้รับการศึกษา มีความรู้และแนวคิดเกี่ยวกับการปกครองประเทศในระบอบรัฐธรรมนูญในระบบรัฐสภาจึงมี
ความปรารถนาจะเปลี่ยนแปลงการปกครองไปเป็นระบอบประชาธิปไตย
2. วิวัฒนาการในการจัดการศึกษา มีดังนี้
ปี พ.ศ. 2453 ประกาศตั้งโรงเรียนข้าราชการพลเรือนเพื่อฝึกคนเข้ารับราชการตามกระทรวงทบวงกรมต่าง ๆ
และต่อมาปี พ.ศ. 2459 ได้ประกาศยกฐานะโรงเรียนข้าราชการพลเรือนนี้ ขึ้นเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นับเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทยปี พ.ศ. 2454 ตั้งกองลูกเสือหรือเสือป่าขึ้นเป็นครั้งแรก
2.3 การจัดการศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
1.ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษาในสมัยนี้มีดังนี้
(1) ปัญหาการเมืองที่เกิดขึ้นภายในประเทศ มีกลุ่มผู้ตื่นตัวทางการเมืองในกรุงเทพมหานคร เรียกร้องให้มี
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง มีการวิพากษ์วิจารณ์ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช
(2) ปัญหาสืบเนื่องจากอิทธิพลจักรวรรดินิยมตะวันตก ซึ่งตกค้างมาตั้งแต่รัชกาลก่อน ๆ
(3) ปัญหาสืบเนื่องจากภาวะเศรษฐกิจตกต่า ในระหว่างพ.ศ.2463 - พ.ศ. 2474 เศรษฐกิจของประเทศตกต่า
จนเป็นเหตุให้รัฐบาลต้องตัดทอนรายจ่ายลง มีการยุบหน่วยงานและปลดข้าราชการออก สร้างความไม่พอใจ
ให้กับรัฐบาลระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
(4) ปัญหาสืบเนื่องจากการประกาศใช้กฎหมายการศึกษา คือพระราชบัญญัติประถมศึกษา ทาให้การศึกษา
แพร่หลายออกไป แต่ขาดความพร้อมทางด้านงบประมาณการศึกษา
2. วิวัฒนาการการจัดการศึกษาในสมัยนี้ มีดังนี้
(1) ปี พ.ศ. 2469 เปลี่ยนชื่อกระทรวงธรรมการอย่างเดิม
(2) ปี พ.ศ. 2473 ยกเลิกการเก็บเงินศึกษาพลีคนละ 1 - 3บาท จากผู้ชายทุกคนที่มีอายุระหว่าง 16 - 60 ปี โดย
ใช้เงินจากกระทรวงพระคลังมหาสมบัติอุดหนุนการศึกษาแทน
(3) ปี พ.ศ. 2474 ปรับปรุงกระทรวงธรรมการเพื่อให้สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจตกต่าของประเทศ โดยยุบ
กรมสามัญศึกษาในตอนนั้น กระทรวงธรรมการจึงมีหน่วยงานเพียง 3 หน่วยคือ กองบัญชาการ กองตรวจ
การศึกษากรุงเทพ ฯ และกองสุขาภิบาลโรงเรียน
(4) ยกเลิกระเบียบว่าด้วยการควบคุมแบบเรียน
3.การศึกษาของไทยในปัจจุบัน (พ.ศ. 2475-ปัจจุบัน)
การศึกษาไทยในปัจจุบัน เป็นยุคสังคมแห่งการเรียนรู้ที่เปิดกว้าง มีหลากหลายรูปแบบให้มนุษย์ได้ศึกษาค้นคว้า
ด้วยตัวเองได้อย่างรวดเร็วโดยการนาเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาในสถานศึกษา
ของไทย เพื่อให้ก้าวทันโลกยุคใหม่ที่ไร้ขอบเขตภายใต้จินตนาการของมนุษย์ที่สร้างขึ้น การศึกษาเป็น
กระบวนการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลา จะเห็นได้ว่า สถานศึกษาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นขนาดเล็ก ขนาดกลาง
ขนาดใหญ่และใหญ่พิเศษ สิ่งที่จาเป็นและหลีกเลี่ยงไม่ได้คือ คอมพิวเตอร์และระบบอินเตอร์เน็ต สถานศึกษา
ทุกแห่งมีความต้องการใช้เท่า ๆ กัน ความรู้ความเข้าใจที่ทุกคนต้องเข้าไปให้ถึงโลกแห่งสังคมการเรียนรู้และใช้
เทคโนโลยีเป็นจะทาให้เกิดคุณค่าและประโยชน์สูงสุดต่อตัวเอง แต่ในทางกลับกันหากใช้อย่างผิดวิธี ก็อาจทา
ให้เกิดความสูญเสีย ก็เป็นได้
2. วัตถุประสงค์ของการศึกษา
ตามทัศนะของเราในยุคปัจจุบัน ควรส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ
หมายถึง สถานศึกษาต้องจัดกิจกรรมการเรียนที่สอดคล้องกับธรรมชาติ ความสนใจ และความถนัดของผู้เรียน
เนื่องจากผู้เรียนแต่ละคนมีความแตกต่างกัน มีความสนใจและความถนัดที่ไม่เหมือนกัน ถ้าโรงเรียนได้จัด
การศึกษาที่สอดคล้องกับผู้เรียนแต่ละคน ประเทศของเราจะมีทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพ มีความสามารถยอด
เยี่ยมและหลากหลาย สามารถคิดอย่างเป็นระบบ มีเหตุผล และเราก็สามารถแข่งขันได้ในเวทีโลก
3. ระบบและรูปแบบของการศึกษาไทย
ระบบการศึกษาไทยปัจจุบันตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ 2) 2545 มีการจัดระบบการศึกษาขั้นประถมศึกษา 6 ปี (6 ระดับชั้น) การศึกษาขั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 3
ปี (3 ระดับชั้น) และการศึกษาขั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี (3 ระดับชั้น) หรือระบบ6-3-3นอกจากนั้นระบบ
การศึกษาไทยยังจัดเป็นระบบการศึกษาในระบบโรงเรียน การศึกษานอกระบบโรงเรียน และการศึกษาตาม
อัธยาศัย
การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาที่กาหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของ
การศึกษา การวัดและการประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสาเร็จการศึกษาที่แน่นอน
การศึกษาในระบบมีสองระดับคือ การศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาระดับอุดมศึกษา
1. การศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วย การศึกษาซึ่งจัดไม่น้อยกว่าสิบสองปีก่อนระดับอุดมศึกษาการ
แบ่งระดับและประเภทของการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง การแบ่งระดับหรือ
การเทียบระดับการศึกษานอกระบบหรือการศึกษาตามอัธยาศัยให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
การศึกษาในระบบที่เป็นการศึกษาขั้นพื้นฐานแบ่งเป็นสามระดับ
1.1 การศึกษาก่อนระดับประถมศึกษา เป็นการจัดการศึกษาให้แก่เด็กที่มีอายุ 3 – 6 ปี
1.2 การศึกษาระดับประถมศึกษา โดยปกติใช้เวลาเรียน 6 ปี
1.3 การศึกษาระดับมัธยมศึกษา แบ่งเป็นสองระดับ ดังนี้
- การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดยปกติใช้เวลาเรียน 3 ปี
- การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยปกติใช้เวลาเรียน 3 ปี แบ่งเป็นสองประเภท ดังนี้
1) ประเภทสามัญศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา
2) ประเภทอาชีวศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ หรือ ศึกษา
ต่อในระดับอาชีพชั้นสูงต่อไป
2. การศึกษาระดับอุดมศึกษาแบ่งเป็นสองระดับ คือ ระดับต่ากว่าปริญญาและระดับปริญญาการใช้คา
ว่า "อุดมศึกษา" แทนคาว่า "การศึกษาระดับมหาวิทยาลัย" ก็เพื่อจะให้ครอบคลุมการศึกษาในระดับ
ประกาศนียบัตรหรืออนุปริญญา ที่เรียนภายหลังที่จบการศึกษาขั้นพื้นฐานแล้ว
3. การศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกาหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบวิธีการจัด
การศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขสาคัญของการสาเร็จการศึกษา โดย
เนื้อหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของบุคคลแต่ละกลุ่ม
4. การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการศึกษาที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจศักยภาพ ความ
พร้อมและโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้อม หรือแหล่งความรู้อื่นๆ
4.ปัญหาและผลกระทบการจัดการศึกษาของไทย
สถานศึกษาอาจจัดการศึกษาในรูปใดรูปแบบหนึ่งหรือทั้งสามรูปแบบก็ได้ให้มีการเทียบโอนผลการ
เรียนที่ผู้เรียนสะสมไว้ในระหว่างรูปแบบเดียวกันหรือต่างรูปแบบได้ไม่ว่าจะเป็นผลการเรียนจากสถานศึกษา
เดียวกันหรือไม่ก็ตาม รวมทั้งจากการเรียนรู้นอกระบบตามอัธยาศัย การฝึกอาชีพ หรือจากประสบการณ์การ
ทางานการสอน และจะส่งเสริมให้สถานศึกษาจัดได้ทั้ง 3 รูปแบบ
1. คุณภาพการศึกษาพื้นฐานตกต่า
ในการจัดการทดสอบการศึกษาขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Educational Test: O-Net) ในทุกๆปีนั้น
ผลที่ออกมามักจะเป็นไปในทิศทางเดียวกันในทุกๆปี นั่นก็คือ เด็กไทยมีความรู้ต่ากว่ามาตรฐานอยู่เสมอๆ หรือ
แม้แต่การศึกษาขององค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา(Organization for Economics Co-
operation andDevelopment, OECD) ที่รู้กันในชื่อของ PISA (Programme for International Students
Assessment) พบว่านักเรียนไทยที่จัดได้ว่ามีความรู้วิทยาศาสตร์อยู่ในระดับสูงมีเพียง 1%เท่านั้นเองทั้งๆที่เราใช้
เวลาในการเรียนการสอนมากกว่า 8 ชม. ต่อวันPISA ยังพบว่า เด็กไทย 74% อ่านภาษาไทยไม่รู้เรื่องคือมีตั้งแต่
อ่านไม่ออก อ่านแล้วตีความไม่ได้วิเคราะห์ความหมายไม่ถูก หรือแม้แต่ใช้ภาษาให้เป็นประโยชน์ในการศึกษา
วิชาอื่นๆ แต่เรากลับมองสภาพเหล่านี้ด้วยความเคยชิน และยังคงเชื่อว่าลูกหลานของเราจะต้องได้รับการพัฒนา
โดยการจัดการศึกษาแบบเดิมๆอย่างทุกวันนี้
2. ปัญหาของครู
ครู ผู้บริหารและบุคลากรทางการศึกษาของไทยส่วนใหญ่ ยังขาดความเข้าใจว่า การปฏิรูปการศึกษาที่
แท้จริงนั้น หมายถึงการเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่อย่างถึงรากถึงโคน เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นและ
แตกต่างไปจากเดิม เช่น การเปลี่ยนแปลงวิธีคิด เป็นต้น แต่การปฏิรูปการ ศึกษาของไทยในรอบ 7-8 ปีที่ผ่าน
กลับถูกตีความหมายว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการบริหาร และวิธีการทางานของครูอาจารย์ตาม
กฎหมาย นโยบายคาสั่ง และคาชี้แนะต่างๆจากบนลงล่างการที่จะให้คนในองค์กรไม่ว่าครูอาจารย์ผู้บริหารทุก
ระดับในกระทรวงศึกษาธิการ ปฏิรูปการศึกษาหรือปฏิรูปตนเองเป็นไปได้ยากและมีข้อจากัดหลายประการมี
ความ เคยชินกับวิถีชีวิตเดิม ไม่อยากเปลี่ยนแปลง มักคิดแบบเข้าข้างตนเองว่าตนเองทาถูกแล้วหรือทาดีอยู่แล้ว
ถึงแม้จะมีคนในองค์กร บางคนที่มีความคิดก้าวหน้า วิเคราะห์องค์กรตัวเองแบบวิพากษ์วิจารณ์ได้และสนใจที่
จะปฏิรูปตัวเองและ องค์กรของตัวเองอยู่บ้าง แต่ก็มักเป็นคนส่วนน้อยที่มีอานาจและบทบาทที่จากัด ทาให้มีการ
วิเคราะห์ได้จากัดไปด้วย
3. ปัญหาการขาดภาวะผู้นาที่ตระหนักถึงรากเหง้าและความสาคัญของปัญหาการปฏิรูปการศึกษา มอง
ปัญหาเรื่องการศึกษาอย่างเชื่อมโยงกับเรื่องอื่นในสังคมแบบเป็นระบบองค์ รวม ซึ่งเป็นปัจจัยที่ทาให้ไม่เกิดการ
เปลี่ยนแปลง (Critital Mass) ที่จะไปผลักดันการเปลี่ยนแปลงการปฏิรูปการศึกษาทั้งระบบได้อย่างแท้จริง
4.ปัญหาระบบคัดเลือก การบริหารและการให้ความดีความชอบครูอาจารย์ผู้บริหารและ บุคลากรทางการ
ศึกษา อยู่ภายใต้ระบบราชการแบบรวมศูนย์กลายเป็นอุปสรรคขัดขวางการปฏิรูปทางการ ศึกษา ผู้บริหารส่วน
ใหญ่ทางานตามหน้าที่ให้พอผ่านกฎระเบียบไปวันๆก็ได้รับเงินเดือนเพิ่มขึ้นทุกปีตามระบบราชการ ไม่มีการ
แข่งขัน การตรวจสอบและประเมิน เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพในการทางานอย่างจริงจัง แม้จะมีการประเมินเพื่อ
เลื่อนขั้นเงินเดือน เลื่อน ตาแหน่งบ้าง แต่ก็เป็นการประเมินภายใต้กรอบข้าราชการแบบหล้าหลัง เช่น การสอบ
การประเมินจากงานเขียน การรายงานเอกสาร ไม่ได้มีการประเมินจากผลลัพธ์ทางการเรียนของผู้เรียนอย่าง
แท้จริง อีกทั้งระบบราชการแบบรวมศูนย์เป็นระบบบริหารแบบอุปถัมภ์มีการปกป้องผลประโยชน์ ส่วนตัว
แบบถ้อยทีถ้อยอาศัย ไม่ค่อยดูแล วิจารณ์ หรือลงโทษเพื่อนร่วมงานในกระทรวงอย่างจริงจัง ส่วนการได้ดี
ระบบดังกล่าวมักใช้วิธีการประจบ แสดงความจงรักภักดี เป็นพรรคพวก มีการวิ่งเต้นแลกด้วยผลประโยชน์
ภายใต้ระบบอุปถัมภ์กลายเป็นระบบการบริหารที่ขาดประสิทธิภาพและขาดความเป็นธรรม ทาให้ครูอาจารย์ที่
เก่งที่ดีบางส่วนลาออกไปทางานอื่นที่ท้าทายหรือให้ความพอ ใจมากกว่า บางส่วนอาจทนอยู่แบบไฟค่อยๆมอด
ลงตามลาดับ
5. ปัญหา ด้านประสิทธิภาพการใช้งบประมาณการศึกษาในแง่คุณภาพของผู้จบการศึกษา ทุกระดับต่ากว่า
หลายประเทศ ทั้งๆที่การจัดสรรงบประมาณการศึกษาของรัฐบาล คิดเป็นสัดส่วนต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมของ
ประเทศ หรืองบประมาณประจาปีทั้งหมดอยู่ในเกณฑ์สูงเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ ปัญหาเกิดจากการใช้
งบประมาณไม่เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในหลายด้าน เช่น นิยมใช้งบประมาณไปก่อสร้างอาคารสถานที่ และการ
ซ่อมแซมมากกว่าการใช้วัสดุอุปกรณ์ สื่อการศึกษา หนังสือ ห้องทดลอง ห้องปฏิบัติการ ฯลฯ
6. ปัญหา ระบบการประเมินผลและการสอบแข่งขันเพื่อรับการคัดเลือกเรียนต่อใน มหาวิทยาลัย รวมทั้ง
การศึกษาระดับอื่นๆด้วยยังเป็นการสอบแบบปรนัย เพื่อวัดความสามารถในการจดจาข้อมูล ทาให้ขัดแย้งกับ
แนวคิดปฏิรูปการเรียนรู้แบบใหม่ที่เสนอว่า ควรให้ผู้เรียนได้หัด คิดวิเคราะห์เป็น ระบบการประเมินผลแบบนี้
เป็นอุปสรรคในการพัฒนาการเรียนรู้แบบใหม่ที่ต้องการ ให้ผู้เรียนเก่ง ดี มีความสุข คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์
เป็น เพราะผู้ปกครอง ครูอาจารย์นักเรียนต่างก็ห่วงแต่เรื่องทาเกรดเพื่อการสอบแข่งขันในระบบแพ้คัดออก
คัดเลือกคนส่วนน้อยไปเรียนระดับสูง ขณะเดียวกันยังมีปัญหาสถาบันการศึกษาที่มีคุณภาพแตกต่างกันมาก
โดยเฉพาะ มหาวิทยาลัยของรัฐที่ตั้งมานานและได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐมาก ทาให้มีชื่อเสียงและผู้เรียนก็เสียค่า
เล่าเรียนที่ต่ากว่ามหาวิทยาลัยเอกชน ทาให้นักเรียนต้องแข่งขันแย่งกันเข้าไปเรียน เพื่อที่จะได้รับ ปริญญาไป
แข่งขันหางานทา หาเงินให้มากภายใต้ระบบและนโยบายพัฒนาเศรษฐกิจแบบทุนนิยมที่ เน้นการเพิ่มผลผลิต
และการแสวงหากาไรสูงสุด
5.แนวทางการแก้ไขปัญหาการศึกษาของไทย
คุณภาพการจัดการศึกษาของประเทศไทย จากการประเมินตรวจสอบของหลายสานักล้วนสอดคล้อง
กันว่า อยู่ในภาวะที่น่าเป็นห่วง คุณภาพตกต่าติดต่อกันมาหลายปี นักเรียนด้อยคุณภาพ เราปฏิรูปการศึกษากันมา
หลายครั้ง ลงทุนด้านการศึกษาไปค่อนข้างสูง แต่คุณภาพยังตกต่า ไม่ประสบความสาเร็จเลย ควรจะทบทวน
และใคร่ครวญดู โดยอาจใช้วิธีการหรือแนวทางดังต่อไปนี้
1) ปัญหาด้านคุณภาพของครู ที่ผ่านมากระทรวงศึกษาธิการประสบความสาเร็จอย่างสูงในการนาคนเก่งคน
ดี มีความรู้เข้าสู่วิชาชีพครู โดยคัดเลือกจากนักเรียนที่เก่งที่สุดของแต่ละจังหวัดให้เข้ารับทุนเพื่อเรียนต่อด้านการ
ฝึกหัดครู ดังนั้นครูในยุคนั้นจึงเป็นคนเก่งของประเทศ และมักประสบความสาเร็จทั้งในด้านการพัฒนานักเรียน
และชีวิตส่วนตัว ต่อมาเมื่อประเทศไทยมีความต้องการครูสูงขึ้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงเร่งผลิตครูมากขึ้นเป็น
เงาตามตัวโดยปราศจากการวางแผนที่เหมาะสม ถึงกับสถาบันฝึกหัดครูทุกแห่งต่างเปิดสอนในภาคพิเศษและ
ภาคสมทบอย่างแพร่หลาย ด้วยเหตุนี้บัณฑิตที่สาเร็จการศึกษาสาขาครูจึงมีจานวนมากเกินความต้องการของ
ตลาดแรงงานส่งผลให้ตกงานในที่สุด ดังนั้นเด็กรุ่นต่อมาจึงไม่เลือกเรียนครูหรือเลือกเป็นลาดับสุดท้ายเนื่องจาก
ไม่มั่นใจในโอกาสที่จะได้งานทา จึงเป็นที่กล่าวขานกันว่านักเรียนที่เรียนอะไรไม่ได้จึงเข้าเรียนครูทาให้
ภาพลักษณ์ของครู และคุณภาพการศึกษาตกต่าลงมาก นอกจากนี้ ดร.เลขา ปิยะอัจริยะ ผู้ทรงคุณวุฒิของ
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้ให้ข้อคิดเห็นที่น่าสนใจเกี่ยวกับปัญหาครูไม่มีคุณภาพว่ามิได้เกิดจาก
ระบบไม่ดี
หากเกิดจากการที่ครูขาดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ไม่มีแรงบันดาลใจในการพัฒนาตนเอง รวมถึงยังขาดการ
จัดการความรู้ที่ดีและมิได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนและแบ่งปันความรู้ระหว่างกัน ทั้งนี้ความรู้ในหลักสูตรและใน
หนังสือที่ประมวลมาสอนเด็กคิดเป็นเพียงร้อยละ 20 ของความรู้ทั้งหมด แต่ความรู้ส่วนใหญ่หรืออีกร้อยละ 80
กลับถูกละเลยได้แก่ความรู้ของครูที่เกษียณอายุไป เพราะที่จริงแล้วครูเหล่านี้มีความรู้และมีประสบการณ์ที่ฝัง
ลึก กระทรวงศึกษาธิการจึงควรนาครูดังกล่าวมาถอดแบบความรู้เพื่อที่คนทั้ง สองรุ่นได้เรียนรู้จากประสบการณ์
ที่ประสบความสาเร็จร่วมกันและนาไปต่อยอดเพื่อสร้างคุณภาพเพิ่มแก่เยาชนในอนาคตได้
สาหรับการแก้ไขปัญหาเรื่องคุณภาพของครูในปัจจุบันของกระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องได้ดาเนินการดังนี้
1.1การปฏิรูปการผลิตครูและสถาบันผลิตครู โดยกาหนดนโยบายการผลิตครูให้ชัดเจนด้วยการจัดทา
ยุทธศาสตร์การปฏิรูปครูและบุคลากรทางการศึกษา (2547-2556) และการผลิตครูแนวใหม่หลักสูตร 5 ปี ใน 8
สาขา โดยเริ่มรุ่นแรกในปี 2547
ส่วนการปฏิรูปสถาบันผลิตครู ได้มีการปฏิรูปคุณภาพคณาจารย์ในสถาบันผลิตครู การวิจัยและพัฒนาเพื่อ
ยกระดับความเป็นเลิศทางครุศาสตร์และศึกษาศาสตร์และการปฏิรูปโครงสร้างการบริหารงานและประกัน
คุณภาพสถาบันฝึกหัดครู
1.2การพัฒนาและส่งเสริมครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา โดยจัดตั้งสถาบัน
พัฒนาและส่งเสริมครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา และการกาหนดนโยบายและแผนการพัฒนาครู
ดาเนินการพัฒนาครู รวมถึงการยกย่องครู ฯ ที่มีผลงานดีเด่น
1.3การพัฒนามาตรฐานวิชาชีพ และการควบคุมการประกอบวิชาชีพ ได้แก่การจัดตั้งองค์กรวิชาชีพครู การ
พัฒนามาตรฐานวิชาชีพครู การส่งเสริม และยกย่องผู้ประกอบวิชาชีพ และการควบคุมการประกอบวิชาชีพ
2) ปัญหาหนี้สินครู ปัจจุบันมีครูมากกว่า 130,000 คน อยู่ในสภาพมีหนี้สินล้นพ้นตัวโดยเฉลี่ยมีหนี้คน
ละ 1.1 ล้านบาท ทาให้ครูขาดขวัญกาลังใจในการทางาน มีคุณภาพชีวิตลดลง และต้องทางานเพื่อหารายได้เสริม
ทาให้ครูอุทิศตนต่อการปฏิบัติหน้าที่ที่รับผิดชอบได้ไม่เต็มที่ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนการสอนของ
ผู้เรียนลดลง ทั้งนี้จากการเปิดเผยของโครงการติดตามสภาวการณ์ครูรายจังหวัด (Teacher Watch) พบว่า 5
จังหวัดแรกที่มีครูเป็นหนี้นอกระบบมากที่สุดคือมหาสารคาม มีครูเป็นหนี้นอกระบบถึงร้อยละ 60 มุกดาหาร
ร้อยละ 58 สตูลร้อยละ 57.14 ยโสธรร้อยละ 53.93 และร้อยเอ็ดร้อยละ 53.10
สาหรับแนวทางในการเยียวยาเรื่องหนี้สินครูกระทรวงศึกษาธิการได้ร่วมมือกับธนาคารออมสินอนุมัติ
เงินกู้จานวนทั้งหมด 8 พันล้านบาทเพื่อดูแลครูที่มีปัญหาวิกฤติจริงๆ
และได้กาหนด แนวทางการแก้ปัญหาเพิ่มเติมดังนี้ การเปิดคลีนิคทางการเงินเพื่อให้คาแนะนาเรื่องการออม
เงินและการปรับสภาพหนี้ เปิดศูนย์ฮอตไลน์ 1579 เพื่อให้บริการคาแนะนาเรื่องปัญหาหนี้สินของครู จัด
โครงการสัมมนาแก่ครูทั่วประเทศเพื่อให้ความรู้ และจัดทาคู่มือเกี่ยวกับคาถาม-ตอบในเรื่องที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น
3) ปัญหาการขาดแคลนครูสะสม สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้สารวจภาวะการขาด
แคลนครูในสังกัดตามเกณฑ์ของสานักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกค) เมื่อ
ต้นปี 2550 พบว่าโรงเรียนมัธยมศึกษาทั่วประเทศยังขาดแคลนครูประมาณ 70,000 คน ทั้งนี้มีสาเหตุจากหลาย
ประการอาทิการผลิตและบรรจุครูไม่สัมพันธ์กัน นโยบายของรัฐในการจากัดกาลังคนภาครัฐและการคืน
อัตรากาลังทดแทนขาดดุลยภาพ โครงการเกษียณอายุก่อนกาหนด
สาหรับแนวทางในการแก้ไขปัญหาเรื่องการขาดแคลนครูคือการจัดทาโครงการครูสหกิจ โดยให้นักศึกษา
ครูในหลักสูตร 5 ปี ได้ฝึกสอนในโรงเรียนที่ขาดครูโดยมีค่าเบี้ยเลี้ยงตอบแทน จัดให้ครูที่สอนไม่ตรงคุณวุฒิได้
อบรมด้านการศึกษาเพิ่มเติม ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนในโรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่โดยพัฒนาการ
สอนในชั้นเรียนขนาดใหญ่ขึ้น พร้อมนาสื่อเทคโนโลยีทันสมัยมาใช้เช่น e-learning และ multi media และ
นโยบายรวมโรงเรียนขนาดเล็กที่มีนักเรียนไม่เกิน 120 คนเข้าด้วยกันเพื่อให้มีครูครบ 8 สาระการเรียนรู้ รวมถึง
ประหยัดครูและงบประมาณด้วย
อย่างไรก็ตามหากพิจารณาอย่างรอบคอบแล้วจะพบว่าปัญหาเรื่องคุณภาพของครูอยู่ในลาดับความสาคัญ
แรก ๆ จาเป็นต้องได้รับการแก้ไขโดยเร็วเนื่องจากส่งผลกระทบถึงนักเรียนโดยตรง’ ทั้งนี้จากการศึกษาครูที่มี
ความสามารถจะต้องมีองค์ประกอบสามส่วน ได้แก่ความรู้ความสามารถในรายวิชาที่สอน ความเอื้ออาทรต่อ
ผู้เรียน และความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน ซึ่งความคิดดังกล่าวสอดคล้องกับผลการวิจัยของสมชาย บุญศิริ
เภสัช ที่ว่าพลังความสามารถในการทางานของครูมีความสัมพันธ์กับความมุ่งหวัง ความรู้ ทักษะประสบการณ์
และอานาจหน้าที่ของครู ซึ่งทั้งหมดนี้เรียกว่าปัจจัยพื้นฐานของครู ในขณะที่กระบวนการเสริมสร้างอานาจ
(ความสามารถ) ในการทางานของครู ประกอบด้วยการทางานอย่างมีอิสระ การมีส่วนร่วมในการทางาน รวมถึง
กระบวนการประเมินผลตัวเอง และความพร้อมรับการตรวจสอบสามารถเพิ่มอานาจในการทางานของครูได้
อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
ปัญหาของครูผู้สอนนับเป็นประเด็นเร่งด่วนที่อยู่ในขั้นวิกฤติซึ่งภาครัฐและทุกภาคส่วนต้องประสานพลัง
ในการแก้ไขและต้องดาเนินการอย่างจริงจัง รอบคอบ และต่อเนื่อง ทั้งนี้ยุทธศาสตร์ มาตรการ และแนวทางใน
การแก้ไขปัญหาทั้งหมดต้องพิจารณาในลักษณะองค์รวมตั้งแต่สถานภาพครู
6 .อาเซียนกับการศึกษาไทย การเตรียมความพร้อมของการศึกษาไทยต่ออาเซียน
การปรับตัวและการเตรียมความพร้อมของรัฐบาลในเชิง คือ กระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงที่
เกี่ยวข้อง ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวกับสถาบันอุดมศึกษาควรมีนโยบาย และแผนยุทธศาสตร์ในการรองรับ
การเตรียมความพร้อมของอุดมศึกษาไทยในการก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ซึ่งที่ผ่านมา นโยบายที่รองรับการ
เข้าสู่ประชาคมอาเซียนของรัฐบาลยังไม่มีความชัดเจนมากนักในการนาไปสู่การปฏิบัติ ซึ่งควรมีนโยบายใน
การปรับตัวและการเตรียมความพร้อมในการก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียนแก่มหาวิทยาลัยในประเทศไทยอย่าง
เป็นรูปธรรม
การปรับตัวด้านการเตรียมความพร้อมของอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา คือ อาจารย์ใน
มหาวิทยาลัยต่างๆ ที่ต้องพัฒนาศักยภาพของตนเองทางด้านการเรียนการสอน การวิจัย การบริการทางวิชาการ
และการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ ซึ่งเป็นภาษากลางในการสื่อสารในภูมิภาคอาเซียน
การปรับตัวด้านการเตรียมความพร้อมของนักศึกษาคือ นักศึกษานั้นหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องเรียนรู้
ปรับตัว และเตรียมพร้อมรับมือกับสถานการณ์ในอนาคต เช่น นักศึกษาต้องมีความสนใจและตระหนักถึงผลที่
เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากการรวมตัวของประเทศต่างๆ สู่ประชาคมอาเซียนในส่วนของข้อดีและข้อเสียอย่างเข้าใจ
การเกิดขึ้นของประชาคมอาเซียนซึ่งสังคมยุคใหม่จะสะท้อนความเป็นสังคมพหุวัฒนธรรมเพิ่มมากขึ้น การ
เรียนรู้ของนักศึกษายุคใหม่จึงจาเป็นต้องปรับทั้งกระบวนการเรียนรู้ ปรับทัศนคติที่จะต้องตระหนักถึงความเป็น
ชาติ การปรับกระบวนทัศน์การเรียนรู้ยุคใหม่ควรเป็นไปอย่างมีเป้าหมาย อย่างคนรู้เท่าทันสถานการณ์ การสร้าง
ความสามารถในการทางานร่วมกับผู้อื่นที่ต่างวัฒนธรรมได้และเรียนรู้ประเทศเพื่อนบ้านทั้งในด้าน
ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมเพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างกัน พร้อมกับสร้างโอกาสเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศ ต้องเพิ่มทักษะทางด้านภาษาอังกฤษให้มากขึ้นให้สามารถสื่อสารได้เป็นอย่างดี
แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาระบบการศึกษาไทยในปัจจุบัน
คาชี้แจง 1.ข้อมูลนี้จะถูกเก็บเป็นความลับเฉพาะกรุณาตอบให้ตรงกับความเป็นจริงที่สุด
2.โปรดอ่านข้อความอย่างละเอียดและทาเครื่องหมาย ในช่องระดับที่เป็นความจริงหรือใกล้เคียง
ตรงกับความคิดเห็นของท่านมากที่สุดในแต่ละหัวข้อ
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
1.เพศ
ชาย หญิง
2.ระดับการศึกษา
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
3.แผนการเรียนที่ศึกษา
วิทย์-คณิต
คณิต-ภาษา
สังคม-ภาษา
วิทย์-คณิต-เทคโน
4.อายุ
15ปี 16ปี
17ปี 18ปี
ตอนที่ 2 ตารางแบบสอบถามความคิดเห็น
ข้อ รายการ
ระดับความคิดเห็น
เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็น
ด้วย
1. ปัญหาการศึกษาไทยเป็นปัญหาใหญ่ในสังคมปัจจุบัน
2. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาขาดความเข้าใจ
เกี่ยวกับหลักสูตรการสอน
3. การทดสอบระดับชาติ (O-net Gat-Pat ฯลฯ)ออกข้อสอบเกิน
หลักสูตรขั้นพื้นฐานการศึกษาของไทย
4. นักเรียนไทยส่วนใหญ่ใช้Social network ไม่เป็นประโยชน์
ต่อการเรียน
5. ครูบางส่วนได้สอนในรายวิชาที่ตัวเองไม่ได้จบมาโดยตรงทา
ให้ความรู้ไม่แน่นในรายวิชานั้น (จบรายวิชาภาษาอังกฤษมา
สอนรายวิชาการงานอาชีพ)
6. เด็กที่ห่างไกลความเจริญขาดโอกาสในการศึกษาที่ดี เนื่องจาก
บุคลากรทางการศึกษามีไม่เพียงพอต่อจานวนนักเรียน
7. ควรปรับเปลี่ยนแนวคิดของนักเรียนในการใช้social network
ให้มีประโยชน์มากขึ้น
8. ควรปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนของครูให้น่าสนุกทาให้
นักเรียนตั้งใจเรียนขึ้น
9. นักเรียนควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนใหม่เพื่อที่จะทา
ให้ระบบการศึกษามีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
10. ควรเพิ่มบุคลากรทางการศึกษาให้เหมาะสมต่อจานวน
นักเรียนที่มี เพื่อประสิทธิภาพของการสอนที่ดี
ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
สรุปเรียงความการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามและข้อเสนอแนะ
ขนาดของกลุ่มตัวอย่างนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 และนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่5 ปีการศึกษา 2558
จานวน 30 คน โรงเรียนบ้านดุงวิทยา อาเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
1.เพศ
ชาย : 4 คน คิดเป็นร้อยละ 13.33
หญิง :26 คน คิดเป็นร้อยละ 86.67
2.ระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 4 : 16 คน คิดเป็นร้อยละ 53.33
มัธยมศึกษาปีที่ 5 : 14 คน คิดเป็นร้อยละ 46.67
3.แผนการเรียน
วิทย์-คณิต : 22 คน คิดเป็นร้อยละ 73.33
คณิต-ภาษา : 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.33
สังคม-ภาษา : 6 คน คิดเป็นร้อยละ 20
วิทย์-คณิต-เทคโน : 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.33
4.อายุ
15 ปี : 2 คน คิดเป็นร้อยละ 6.67
16 ปี : 14 คน คิดเป็นร้อยละ 46.67
17 ปี : 14 คน คิดเป็นร้อยละ 46.67
18 ปี : 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0
ตอนที่ 2 ตารางแบบสอบถามความคิดเห็น
จากการให้นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 และนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2558โรงเรียนบ้านดุงวิทยา
อาเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานีทาแบบสอบถามความคิดเห็น พบว่า
ปัญหาการศึกษาไทยเป็นปัญหาใหญ่ในสังคมปัจจุบันมีผู้เห็นด้วย 23 คน คิดเป็นร้อยละ 76.67 ไม่แน่ใจ
7 คน คิดเป็นร้อยละ 23.33 ไม่เห็นด้วย 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาขาดความ
เข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตรการสอนมีผู้เห็นด้วย 12 คน คิดเป็นร้อยละ 40 ไม่แน่ใจ 17 คน คิดเป็นร้อยละ 56.67
ไม่เห็นด้วย 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.33 การทดสอบระดับชาติ (O-net Gat-Patฯลฯ) ออกข้อสอบเกินหลักสูตรขั้น
พื้นฐานการศึกษาของไทย มีผู้เห็นด้วย 25 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 ไม่แน่ใจ 4 คน คิดเป็นร้อยละ13.33
ไม่เห็นด้วย 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.33 นักเรียนไทยส่วนใหญ่ใช้Social network ไม่เป็นประโยชน์ต่อการเรียนมีผู้
เห็นด้วย 14 คน คิดเป็นร้อยละ 46.67 ไม่แน่ใจ 12 คน คิดเป็นร้อยละ 40 ไม่เห็นด้วย 4 คน คิดเป็นร้อยละ 13.33
ครูบางส่วนได้สอนในรายวิชาที่ตัวเองไม่ได้จบมาโดยตรงทาให้ความรู้ไม่แน่นในรายวิชานั้น (จบรายวิชา
ภาษาอังกฤษมาสอนรายวิชาการงานอาชีพ) มีผู้เห็นด้วย 15 คน คิดเป็นร้อยละ 50 ไม่แน่ใจ 14 คน
คิดเป็นร้อยละ 46.67 ไม่เห็นด้วย 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.33 เด็กที่ห่างไกลความเจริญขาดโอกาสในการศึกษาที่ดี
เนื่องจาก บุคลากรทางการศึกษามีไม่เพียงพอต่อจานวนนักเรียนมีผู้เห็นด้วย 15 คน คิดเป็นร้อยละ 50 ไม่แน่ใจ 14
คน คิดเป็นร้อยละ 46.67 ไม่เห็นด้วย 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.33 ควรปรับเปลี่ยนแนวคิดของนักเรียนในการใช้
social network ให้มีประโยชน์มากขึ้นมีผู้เห็นด้วย 19 คนคิดเป็นร้อยละ 63.33 ไม่แน่ใจ 11 คน คิดเป็นร้อยละ
33.67 ไม่เห็นด้วย 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ควรปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนของครูให้น่าสนุกทาให้นักเรียนตั้งใจ
เรียนขึ้นมีผู้เห็นด้วย 21 คน คิดเป็นร้อยละ 70 ไม่แน่ใจ 9 คน คิดเป็นร้อยละ 30 ไม่เห็นด้วย 0 คน คิดเป็นร้อยละ
0 นักเรียนควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนใหม่เพื่อที่จะทาให้ระบบการศึกษามีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นมีผู้
เห็นด้วย 26 คน คิดเป็นร้อยละ 86.67 ไม่แน่ใจ 3 คน คิดเป็นร้อยละ 10 ไม่เห็นด้วย 1 คน 3.33 ควรเพิ่มบุคลากร
ทางการศึกษาให้เหมาะสมต่อจานวนนักเรียนที่มี เพื่อประสิทธิภาพของการสอนที่ดีมีผู้เห็นด้วย 23 คน คิดเป็น
ร้อยละ 76.67 ไม่แน่ใจ 6 คน คิดเป็นร้อยละ 20 ไม่เห็นด้วย 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.33
ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ
จากแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 และ 5 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนบ้านดุง
วิทยา อาเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี ข้อเสนอแนะส่วนมากนักเรียนมีความต้องการในการที่จะลดกิจกรรม ลด
การสอบต่างๆ ลดเวลาเรียนที่มีมากเกินไปจนทาให้นักเรียนมีความเหนื่อยล้าของทางคุณครูหรือโรงเรียนลง
และอยากให้คุณครูสอนในรายวิชาที่ตัวเองจบออกมาโดยตรงเพื่อให้ได้เนื้อหาเรื่องเรียนมีความถูกต้องและ
แม่นยามากกว่าที่ต้องไปเอาครูในรายวิชาที่ตัวเองไม่ได้จบมาโดยตรงมาสอน และนักเรียนก็อยากให้ครูมีระบบ
การสอนที่สนุกสนานทาให้นักเรียนตั้งใจเรียนมากขึ้น จนทาให้นักเรียนไม่ไปพึ่งเรียนพิเศษ
แนวทางการแก้ไขปัญหาทางการศึกษานักเรียนก็มีความเห็นตรงกันว่าควรปรับเปลี่ยนแนวคิดของนักเรียน
ในการใช้social network ให้มีประโยชน์มากขึ้น ปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนของครูให้น่าสนุกทาให้นักเรียน
ตั้งใจเรียนขึ้น และหากนักเรียนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนใหม่จะทาให้ระบบการศึกษามีประสิทธิภาพมาก
ยิ่งขึ้นเช่นกัน การเพิ่มบุคลากรทางการศึกษาให้เหมาะสมต่อจานวนนักเรียนที่มี เพื่อประสิทธิภาพของการสอน
ที่ดีก็เป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาการศึกษาไทยอีกทางหนึ่ง
บรรณานุกรม
กรมวิชาการ. การปฏิรูปการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนสาคัญที่สุด : แนวทางสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์คุรุสภา, 2543.
. การสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ.
กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์คุรุสภา, 2544.
กรองทอง จิรเดชากุล, คู่มือการนิเทศภายในโรงเรียน. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ธารอักษร จากัด,
2550.
กฤษมันต์วัฒนาณรงค์. เทคโนโลยีเทคนิคศึกษา. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์สถาบันเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2536
ก่อ สวัสดิ์พาณิชย์. “แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาการศึกษา,” วารสารมิตรครู. 27,21
(พฤศจิกายน 2525) : 6 – 8.
จิราพร ศิริทวี. “มิติใหม่ของการวัดและประเมินผล.” สารพัฒนาหลักสูตร 12, 8
(มกราคม-มีนาคม2540) : 65-71.
จุฑามาศ เจริญธรรมและคณะ. การวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน. พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรุงเทพฯ : บริษัท พี.เอ.ลิฟวิ่ง จากัด,2544.
ฉลองชัย สุรวัฒนบูรณ์. การเลือกและการใช้สื่อการสอน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2528.
ชัยพจน์ รักงาม. “กว่าจะรู้ว่าวิจัยก็ทาวิจัยเสร็จเสียแล้ว.”วารสารวิชาการ. 4 ,5 (พฤษภาคม 2544) :
21 – 25.
ธีรวุฒิ ประทุมนพรัตน์ และคนอื่นๆ. การบริหารและการนิเทศการศึกษา. สงขลา :เทพการพิมพ์,
2533.
ภาคผนวก
ชื่อโครงร่าง: การศึกษาเกี่ยวกับการสารวจปัญหาระบบการศึกษาไทยในปัจจุบัน
สาระการเรียนรู้ : วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชื่อผู้ค้นคว้าหรือเจ้าของผลงาน
1)นายภานุวัฒน์ นาละคร เลขที่ 6
2)นางสาวเกษสุดา สีดาดาน เลขที่ 13
3)นางสาวจินดารัตน์ ฟองคาสี เลขที่ 14
4)นางสาวมาลิณี รักจันทร์ เลขที่ 34
5)นางสาวอภิญญา จันนาวัน เลขที่ 52
ความสาคัญของหัวเรื่องที่ค้นคว้า
การศึกษาในปัจจุบันมีปัญหา จึงทาให้เกิดวิกฤตทางปัญญา แล้วพาให้เกิดวิกฤตชาติ การแก้วิกฤตต้องทา
หลายอย่าง รวมทั้งการรักษาด้วยยุทธศาสตร์ทางปัญญา และการปฏิรูปการศึกษาเพื่อความเข้มแข็งทางปัญญา
โดยรอบด้านโดยเร็ว การปฏิรูปการศึกษาจึงเป็นวาระเร่งด่วนของชาติ และประเด็นสาคัญที่จาเป็นต้องมีการ
ปฏิรูปการศึกษา
วัตถุประสงค์ของการค้นคว้า
1) เพื่อสารวจปัญหาระบบการศึกษาไทยในปัจจุบัน
2) เพื่อรู้แนวทางแก้ไขระบบการศึกษาไทย
ประโยชน์ที่ได้รับจาการค้นคว้า
1) รู้เกี่ยวกับปัญหาของระบบการศึกษาไทยในปัจจุบัน
2) รู้แนวทางการแก้ไขปัญหาของระบบการศึกษาไทยในปัจจุบัน
3) การรวบรวมสรุปข้อมูลที่ได้จากการค้นคว้า
การศึกษาในปัจจุบันมีปัญหา จึงทาให้เกิดวิกฤตทางปัญญา แล้วพาให้เกิดวิกฤตชาติ การแก้วิกฤตต้องทา
หลายอย่าง รวมทั้งการรักษาด้วยยุทธศาสตร์ทางปัญญา และการปฏิรูปการศึกษาเพื่อความเข้มแข็งทางปัญญา
โดยรอบด้านโดยเร็ว การปฏิรูปการศึกษาจึงเป็นวาระเร่งด่วนของชาติ และประเด็นสาคัญที่จาเป็นต้องมีการ
ปฏิรูปการศึกษา คือการบริหารจัดการศึกษาขาดประสิทธิภาพและประสิทธิผล คือ ในปัจจุบันมีการบริหารรวม
ศูนย์อานาจสู่ส่วนกลาง, มีการจัดองค์กรซ้าซ้อน ไม่มีเอกภาพด้านนโยบาย และมาตรฐานประสิทธิภาพการใช้
ทรัพยากรต่า, ขาดการเปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วม, จึงไม่ได้คนดีคนเก่งมาเป็นครู, สังคมขาดศรัทธาและ
ความเชื่อมั่นในวิชาชีพครู, ขาดการพัฒนานโยบายอย่างต่อเนื่อง, ขาดแคลนโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศ เพื่อเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ และขาดความเชื่อมโยงกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชน
การเข้ารับการศึกษาไม่กว้างขวาง ไม่ทั่วถึง และไม่เป็นธรรม, เกิดความเหลื่อมล้าในโอกาสการเข้ารับ
การศึกษา และคุณภาพการศึกษาที่ได้รับ ก็เป็นอีกเหตุผลหนึ่งที่จาเป็นต้องมีการปฏิรูป การศึกษาขึ้น รวมถึงการ
เรียนการสอนไม่ได้เน้นความสามารถสากลเท่าที่ควร ขาดการอบรมบ่มนิสัย ไม่ได้ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม
และภูมิปัญญาไทยอย่างเพียงพอ. ทั้งนี้เพราะคุณภาพครูส่วนใหญ่ไม่ได้มาตรฐาน และหลักสูตรการเรียนการ
สอนและการประเมินผลผู้เรียน เน้นวิชาและครูเป็นตัวตั้งไม่ได้ให้ความสาคัญแก่ผู้เรียน, การเรียนการสอนไม่
เชื่อมโยงกับชีวิตจริง เน้นการท่องจา แต่ไม่เน้นการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ทาให้
เด็กนักเรียนสมัยใหม่คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ไม่เป็น รวมทั้งการศึกษาแปลกแยกจากสังคม ศาสนา และ
วัฒนธรรมการศึกษาที่จัดอยู่ในปัจจุบันเป็นการศึกษาแบบแยกส่วน ไม่สอดคล้องกับการดารงชีวิตในสังคม อีก
ทั้งการศึกษาขาดการบูรณาการเชื่อมโยงกับด้านศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมเข้าไว้ในกระบวนการเรียนรู้อย่าง
เหมาะสม ทาให้ผู้สาเร็จการศึกษาอ่อนด้อยทางคุณภาพ และจริยธรรม และขาดความภูมิใจในศิลปะ และภูมิ
ปัญญาไทย ซึ่งเป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อการดารงอยู่และความมั่นคงสถาพรของชาติไทย
เอกสารอ้างอิง
https://blog.eduzones.com/training/129954
https://www.gotoknow.org/posts/409185
http://www.commonsenseforpubliceducation.org/11/28
วิธีหรือแบบแผนการค้นคว้า การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นต้น
ปฏิทินการดาเนินงาน
ลาดับ รายการปฏิบัติงาน ว/ด/ป ความรับผิดชอบ
1 เขียนโครงร่างการรายงาน 2 มกราคม 2559 รับผิดชอบร่วมกัน
2 สรุปความรู้ที่ได้จากภาคเรียนที่ 1 9 มกราคม 2559 นายภานุวัฒน์
น.ส.เกษสุดา
3 ออกแบบรูปแบบการเก็บข้อมูลใน ภาคเรียนที่ 2
(ทาแบบสอบถาม)
9 มกราคม 2559 น.ส.อภิญญา
4 กาหนดกลุ่มตัวอย่างที่จะเก็บข้อมูล
(นักเรียน ม.4 ม.5 จานวน 30 คนโรงเรียนบ้านดุงวิทยา
อ.บ้านดุง จ.อุดรธานี)
16 มกราคม 2559 น.ส.จินดารัตน์
น.ส.มาลิณี
5 กาหนดค่าสถิติต่างๆ คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เกณฑ์คะแนน
ช่วงคะแนน การแปลผลคะแนน
13 กุมภาพันธ์2559 รับผิดชอบร่วมกัน
6 สรุป วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลที่ได้แปลงาน สรุปผลที่
ได้เขียนรายงาน
22 กุมภาพันธ์2559 รับผิดชอบร่วมกัน
7 นาเสนอผลงานในรูปแบบต่างๆ
(เช่น โปรแกรมนาเสนอ วีดีโอ สื่ออิเล็กทรอนิคส์
อินเทอร์เน็ต เป็นต้น)
26 กุมภาพันธ์2559 รับผิดชอบร่วมกัน
สรุปค่าร้อยละจากข้อมูลแบบสอบถาม
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
1.เพศ
ชาย : คิดเป็นร้อยละ 13.33
หญิง : คิดเป็นร้อยละ 86.67
2.ระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 4 : คิดเป็นร้อยละ 53.33
มัธยมศึกษาปีที่ 5 : คิดเป็นร้อยละ 46.67
3.แผนการเรียน
วิทย์-คณิต : คิดเป็นร้อยละ 73.33
คณิต-ภาษา : คิดเป็นร้อยละ 3.33
สังคม-ภาษา : คิดเป็นร้อยละ 20
วิทย์-คณิต-เทคโน : คิดเป็นร้อยละ 3.33
4.อายุ
15 ปี : คิดเป็นร้อยละ 6.67
16 ปี : คิดเป็นร้อยละ 46.67
17 ปี : คิดเป็นร้อยละ 46.67
18 ปี : คิดเป็นร้อยละ 0
ตอนที่ 2 ตารางแบบสอบถามความคิดเห็น
ข้อ รายการ
ระดับความคิดเห็น สรุปผลการตอบ
แบบสอบถามเห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็น
ด้วย
1. ปัญหาการศึกษาไทยเป็นปัญหาใหญ่ในสังคม
ปัจจุบัน
76.67% 23.33% 0% ส่วนมากเห็นด้วย
2. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาขาดความ
เข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตรการสอน
40% 56.67% 3.33% ส่วนมากไม่แน่ใจ
3. การทดสอบระดับชาติ (O-net Gat-Pat ฯลฯ)ออก
ข้อสอบเกินหลักสูตรขั้นพื้นฐานการศึกษาของไทย
83.33% 13.33% 3.33% ส่วนมากเห็นด้วย
4. นักเรียนไทยส่วนใหญ่ใช้Social network ไม่เป็น
ประโยชน์ต่อการเรียน
46.67% 40% 13.33% ส่วนมากเห็นด้วย
5. ครูบางส่วนได้สอนในรายวิชาที่ตัวเองไม่ได้จบมา
โดยตรง ทาให้ความรู้ไม่แน่นในรายวิชานั้น (จบ
รายวิชาภาษาอังกฤษมาสอนรายวิชาการงานอาชีพ)
50% 46.67% 3.33% ส่วนมากเห็นด้วย
6. เด็กที่ห่างไกลความเจริญขาดโอกาสในการศึกษาที่ดี
เนื่องจากบุคลากรทางการศึกษามีไม่เพียงพอต่อ
จานวนนักเรียน
50% 46.67% 3.33% ส่วนมากเห็นด้วย
7. ควรปรับเปลี่ยนแนวคิดของนักเรียนในการใช้social
network ให้มีประโยชน์มากขึ้น
63.33% 33.67% 0% ส่วนมากเห็นด้วย
8. ควรปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนของครูให้น่าสนุก
ทาให้นักเรียนตั้งใจเรียนขึ้น
70% 30% 0% ส่วนมากเห็นด้วย
9. หากนักเรียนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนใหม่จะ
ทาให้ระบบการศึกษามีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
86.67% 10% 3.33% ส่วนมากเห็นด้วย
10. เพิ่มบุคลากรทางการศึกษาให้เหมาะสมต่อจานวน
นักเรียนที่มี เพื่อประสิทธิภาพของการสอนที่ดี
76.67% 20% 3.33% ส่วนมากเห็นด้วย
Isการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบัน

More Related Content

What's hot

ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxJessie SK
 
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) Np Vnk
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม IsSasiyada Promsuban
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์Nonsawan Exschool
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะPang Pond
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์Rapheephan Phola
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยNU
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยPoppy Nana
 
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60Krittalak Chawat
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญPongpob Srisaman
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านthkitiya
 

What's hot (20)

ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะ
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัย
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทย
 
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 

Similar to Isการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบัน

Cheet5 curriculam
Cheet5 curriculamCheet5 curriculam
Cheet5 curriculamZTu Zii ICe
 
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามSuppalak Lim
 
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55docหลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55dockrupornpana55
 
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55docหลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55dockrupornpana55
 
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86Mk Mankong
 
สารสนเทศ 53
สารสนเทศ  53สารสนเทศ  53
สารสนเทศ 53saenphinit
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นkruklai98
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นkruklai98
 
งานนำเสนอ..ส้ม
งานนำเสนอ..ส้มงานนำเสนอ..ส้ม
งานนำเสนอ..ส้มZomza Sirada
 
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555Worrachet Boonyong
 
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะMontree Jareeyanuwat
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556oraneehussem
 
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559Yui Yuyee
 
โรงเรียนเทศบาลนครรังสิต (สินสมุทร)
โรงเรียนเทศบาลนครรังสิต (สินสมุทร)โรงเรียนเทศบาลนครรังสิต (สินสมุทร)
โรงเรียนเทศบาลนครรังสิต (สินสมุทร)yahapop
 
การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์
การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์
การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์Pattie Pattie
 
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคมข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคมพงษ์เทพ ทองจันทร์
 
รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42
รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42
รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42ungpao
 

Similar to Isการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบัน (20)

Cheet5 curriculam
Cheet5 curriculamCheet5 curriculam
Cheet5 curriculam
 
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
 
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55docหลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
 
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55docหลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
 
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86
 
สารสนเทศ 53
สารสนเทศ  53สารสนเทศ  53
สารสนเทศ 53
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
 
พระบรมราโชบายด้านการศึกษา
พระบรมราโชบายด้านการศึกษาพระบรมราโชบายด้านการศึกษา
พระบรมราโชบายด้านการศึกษา
 
งานนำเสนอ..ส้ม
งานนำเสนอ..ส้มงานนำเสนอ..ส้ม
งานนำเสนอ..ส้ม
 
Sar5 255
Sar5 255Sar5 255
Sar5 255
 
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
 
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556
 
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
 
โรงเรียนเทศบาลนครรังสิต (สินสมุทร)
โรงเรียนเทศบาลนครรังสิต (สินสมุทร)โรงเรียนเทศบาลนครรังสิต (สินสมุทร)
โรงเรียนเทศบาลนครรังสิต (สินสมุทร)
 
การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์
การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์
การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์
 
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคมข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
 
3 23-6-53
3 23-6-533 23-6-53
3 23-6-53
 
รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42
รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42
รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42
 

Isการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบัน

  • 1. โครงงาน เรื่อง การสารวจปัญหาระบบการศึกษาไทยในปัจจุบัน จัดทาโดย นายภานุวัฒน์ นาละคร เลขที่ 6 นางสาวเกษสุดา สีดาดาน เลขที่ 13 นางสาวจินดารัตน์ ฟองคาสี เลขที่ 14 นางสาวมาลิณี รักจันทร์ เลขที่ 34 นางสาวอภิญญา จันนาวัน เลขที่ 52 เสนอ คุณครูเอกนรินทร์ แก้วอุ่นเรือน โรงเรียนบ้านดุงวิทยา ตาบลศรีสุทโธ อาเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 20 กิตติกรรมประกาศ
  • 2. การศึกษานี้สาเร็จลุล่วงได้ด้วยดีด้วยความกรุณาจาก คณาจารย์ที่อบรมสั่งสอนทุกท่านที่ให้ความรู้และ ให้คาปรึกษา ซึ่งได้ให้คาแนะนาตรวจแก้ข้อบกพร่องต่างๆ ด้วยความเอาใจใส่ปลูกฝังให้คณะผู้ศึกษารักการ ทางาน สนับสนุนให้กาลังใจและเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับคณะผู้ศึกษามาโดยตลอด คณะผู้ศึกษาขอขอบพระคุณ ไว้ ณ โอกาสนี้ด้วย ทั้งนี้คณะผู้ศึกษารู้สึกซาบซึ้งและประทับใจในความกรุณาของท่านคณาจารย์ทุกท่านที่ประสิทธิ ประสาทความรู้ในวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ จนทาให้การศึกษาสาเร็จเรียบร้อย คณะผู้ศึกษา ขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้ด้วย ขอขอบพระคุณ 1.นายชัยนาท พรมมาลุน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านดุงวิทยา จังหวัดอุดรธานี 2.นายสมชาย แสงมนตรี รองฝ่ายงบประมาณ 3.นายจตุพจน์ มะลิงาม รองฝ่ายปกครอง 4.นายพินิจ สมบัติกาไร รองฝ่ายวิชาการ 5.นายสาเนียง พิลาโสภา รองฝ่ายบริหารงานทั่วไป 6.นายเอกนรินทร์ แก้วอุ่นเรือน คุณครูผู้สอนประจาวิชา 7.ผู้ปกครองของคณะผู้จัดทาทุกคน คณะผู้ศึกษา
  • 3. สารบัญ เรื่อง หน้า กิตติกรรมประกาศ ก สรุปผลการศึกษา 1 แบบสอบถาม 12 สรุปเรียงความการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม และข้อเสนอแนะ 14 บรรณานุกรม 17 ภาคผนวก -โครงร่าง 18 -การหาร้อยละ 21
  • 4. สรุปผลการศึกษา 1.ความหมายของการศึกษา ประวัติการศึกษาไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน ความหมายของการศึกษา -ยัง ยัคส์รุสโซ (Jean Jacques Rousseau) การศึกษาคือ การปรับปรุงคนให้เหมาะกับโอกาสและสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไป -โจฮันเฟรดเดอริคแฮร์บาร์ต (John Friedich Herbart) การศึกษาคือการทาพลเมืองให้มีความประพฤติดีและมีอุปนิสัยที่ดีงาม -เฟรดดเอริคเฟรอเบล (Friedrich Froebel) การศึกษาหมายถึงการพัฒนาบุคลิกภาพของเด็กเพื่อให้เด็กพัฒนาตนเอง ประวัติการศึกษาไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน 1.การศึกษาของไทยสมัยโบราณ ( พ.ศ. 1781 - พ.ศ. 2411) การศึกษาสมัยนี้เป็นการศึกษาแบบสืบทอดวัฒนธรรมประเพณีที่มีมากแต่เดิมจาเป็นที่คนไทยในสมัยนั้นต้อง ขวนขวายหาความรู้จากผู้รู้ในชุมชนต่างๆ ซึ่งการศึกษาในสมัยนี้มีบ้านและวัดเป็นศูนย์กลางการศึกษา บ้านเป็นสถานที่อบรมกล่อมเกลาจิตใจของสมาชิกภายในบ้าน โดยมีพ่อและแม่ทาหน้าที่ในการถ่ายทอดอาชีพ และอบรมลูกๆ วังเป็นสถานที่รวมเอานักปราชญ์สาขาต่างๆ มาเป็นขุนนางรับใช้เบื้องพระยุคลบาท โดย เฉพาะงานช่างศิลปหัตถกรรมเพื่อสร้างพระราชวังและประกอบพระราชพิธีต่างๆ ซึ่งเป็นสถานที่ที่ถ่ายทอด ความรู้ต่าง ๆ จากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง ส่วนวัดเป็นสถานที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา พระจะทา หน้าที่ในการอบรมสั่งสอนธรรมะแก่พุทธศาสนิกชน โดยเฉพาะผู้ชายไทยมีโอกาสได้ศึกษาธรรมะและบวช เรียน ในสังคมไทยจึงนิยมให้ผู้ชายบวชเรียนก่อนแต่งงานทาให้มีคุณธรรมและจิตใจมั่นคงสามารถครองเรือน ได้อย่างมีความสุข
  • 5. 2. การศึกษาของไทยสมัยปฏิรูปการศึกษา(พ.ศ. 2412 พ.ศ. 2475) มุ่งให้คนเข้ารับราชการและมีความรู้ทัดเทียมฝรั่งแต่ไม่ใช่ฝรั่ง (คณะอาจารย์ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา. 2532 : 7) แบ่งออกเป็น 3 ช่วง ดังนี้ 2.1 การศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หลังจากที่พระองค์ได้ครองราชย์แล้ว ก็ได้ทรงปรับปรุงประเทศให้เจริญรุ่งเรืองในทุกๆ ด้าน ทั้งในด้านการ ปกครองการศาล การคมนาคมและสาธารณสุข เป็นต้น โดยเฉพาะด้านการศึกษานั้นพระองค์ได้ทรงตระหนัก เพื่อปรับปรุงคนในประเทศให้มีความรู้ความสามารถจะช่วยให้ ประเทศชาติมีความเจริญก้าวหน้าในทุกๆ ด้าน ดังพระราชดารัสที่ว่า “ วิชาหนังสือเป็นวิชาที่น่านับถือและเป็นที่น่าสรรเสริญมาแต่โบราณว่า เป็นวิชาอย่าง ประเสริฐซึ่งผู้ยิ่งใหญ่นับแต่ พระมหากษัตริย์เป็นต้นมา ตลอดจนราษฎรพลเมืองสมควรและจาเป็นจะต้องรู้ เพราะเป็นวิชาที่อาจทาให้การทั้งปวงสาเร็จในทุกสิ่งทุกอย่าง 2.2 การศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว 1.ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษา มีดังนี้ (1) พระบรมราชโชบายในการปกครองประเทศ เพื่อให้ประเทศมีความเจริญก้าวหน้าทัดเทียมกับนานา ประเทศ โดยการส่งทหารไปร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่ 1 นอกจากนี้พระองค์ทรงสร้าง ความรู้สึกชาตินิยมในหมู่ประชาชนชาวไทยโดยมีสาระสาคัญของอุดมการณ์ชาตินิยม คือความรักชาติ ความ จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์และความยึดมั่นในพุทธศาสนา (2) พระองค์ทรงศึกษาวิชาการจากต่างประเทศ และเมื่อเสด็จกลับมาแล้วพระองค์ได้ทรงนาเอาแบบอย่างและ วิธีการที่เป็นประโยชน์มาใช้เป็นหลักในการปรับปรุงการศึกษา เช่น ทรงนาเอาแบบอย่างและวิธีการที่เป็น ประโยชน์มาใช้เป็นหลักในการปรับปรุงการศึกษา เช่น ทรงนาเอาวิชาลูกเสือจากประเทศอังกฤษเข้ามาจัดตั้ง กองเสือป่า พระองค์ทรงเป็นนักปราชญ์โดย ทรงแปลวรรณคดีต่างประเทศเป็นภาษาไทยและทรงนิพนธ์ วรรณคดีไว้หลายเรื่อง (3) ผลอันเนื่องจากการจัดการศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อคนส่วนมากที่ ได้รับการศึกษา มีความรู้และแนวคิดเกี่ยวกับการปกครองประเทศในระบอบรัฐธรรมนูญในระบบรัฐสภาจึงมี ความปรารถนาจะเปลี่ยนแปลงการปกครองไปเป็นระบอบประชาธิปไตย
  • 6. 2. วิวัฒนาการในการจัดการศึกษา มีดังนี้ ปี พ.ศ. 2453 ประกาศตั้งโรงเรียนข้าราชการพลเรือนเพื่อฝึกคนเข้ารับราชการตามกระทรวงทบวงกรมต่าง ๆ และต่อมาปี พ.ศ. 2459 ได้ประกาศยกฐานะโรงเรียนข้าราชการพลเรือนนี้ ขึ้นเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นับเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทยปี พ.ศ. 2454 ตั้งกองลูกเสือหรือเสือป่าขึ้นเป็นครั้งแรก 2.3 การจัดการศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว 1.ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษาในสมัยนี้มีดังนี้ (1) ปัญหาการเมืองที่เกิดขึ้นภายในประเทศ มีกลุ่มผู้ตื่นตัวทางการเมืองในกรุงเทพมหานคร เรียกร้องให้มี การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง มีการวิพากษ์วิจารณ์ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช (2) ปัญหาสืบเนื่องจากอิทธิพลจักรวรรดินิยมตะวันตก ซึ่งตกค้างมาตั้งแต่รัชกาลก่อน ๆ (3) ปัญหาสืบเนื่องจากภาวะเศรษฐกิจตกต่า ในระหว่างพ.ศ.2463 - พ.ศ. 2474 เศรษฐกิจของประเทศตกต่า จนเป็นเหตุให้รัฐบาลต้องตัดทอนรายจ่ายลง มีการยุบหน่วยงานและปลดข้าราชการออก สร้างความไม่พอใจ ให้กับรัฐบาลระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (4) ปัญหาสืบเนื่องจากการประกาศใช้กฎหมายการศึกษา คือพระราชบัญญัติประถมศึกษา ทาให้การศึกษา แพร่หลายออกไป แต่ขาดความพร้อมทางด้านงบประมาณการศึกษา 2. วิวัฒนาการการจัดการศึกษาในสมัยนี้ มีดังนี้ (1) ปี พ.ศ. 2469 เปลี่ยนชื่อกระทรวงธรรมการอย่างเดิม (2) ปี พ.ศ. 2473 ยกเลิกการเก็บเงินศึกษาพลีคนละ 1 - 3บาท จากผู้ชายทุกคนที่มีอายุระหว่าง 16 - 60 ปี โดย ใช้เงินจากกระทรวงพระคลังมหาสมบัติอุดหนุนการศึกษาแทน (3) ปี พ.ศ. 2474 ปรับปรุงกระทรวงธรรมการเพื่อให้สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจตกต่าของประเทศ โดยยุบ กรมสามัญศึกษาในตอนนั้น กระทรวงธรรมการจึงมีหน่วยงานเพียง 3 หน่วยคือ กองบัญชาการ กองตรวจ การศึกษากรุงเทพ ฯ และกองสุขาภิบาลโรงเรียน (4) ยกเลิกระเบียบว่าด้วยการควบคุมแบบเรียน 3.การศึกษาของไทยในปัจจุบัน (พ.ศ. 2475-ปัจจุบัน) การศึกษาไทยในปัจจุบัน เป็นยุคสังคมแห่งการเรียนรู้ที่เปิดกว้าง มีหลากหลายรูปแบบให้มนุษย์ได้ศึกษาค้นคว้า ด้วยตัวเองได้อย่างรวดเร็วโดยการนาเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาในสถานศึกษา ของไทย เพื่อให้ก้าวทันโลกยุคใหม่ที่ไร้ขอบเขตภายใต้จินตนาการของมนุษย์ที่สร้างขึ้น การศึกษาเป็น กระบวนการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลา จะเห็นได้ว่า สถานศึกษาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นขนาดเล็ก ขนาดกลาง
  • 7. ขนาดใหญ่และใหญ่พิเศษ สิ่งที่จาเป็นและหลีกเลี่ยงไม่ได้คือ คอมพิวเตอร์และระบบอินเตอร์เน็ต สถานศึกษา ทุกแห่งมีความต้องการใช้เท่า ๆ กัน ความรู้ความเข้าใจที่ทุกคนต้องเข้าไปให้ถึงโลกแห่งสังคมการเรียนรู้และใช้ เทคโนโลยีเป็นจะทาให้เกิดคุณค่าและประโยชน์สูงสุดต่อตัวเอง แต่ในทางกลับกันหากใช้อย่างผิดวิธี ก็อาจทา ให้เกิดความสูญเสีย ก็เป็นได้ 2. วัตถุประสงค์ของการศึกษา ตามทัศนะของเราในยุคปัจจุบัน ควรส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ หมายถึง สถานศึกษาต้องจัดกิจกรรมการเรียนที่สอดคล้องกับธรรมชาติ ความสนใจ และความถนัดของผู้เรียน เนื่องจากผู้เรียนแต่ละคนมีความแตกต่างกัน มีความสนใจและความถนัดที่ไม่เหมือนกัน ถ้าโรงเรียนได้จัด การศึกษาที่สอดคล้องกับผู้เรียนแต่ละคน ประเทศของเราจะมีทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพ มีความสามารถยอด เยี่ยมและหลากหลาย สามารถคิดอย่างเป็นระบบ มีเหตุผล และเราก็สามารถแข่งขันได้ในเวทีโลก 3. ระบบและรูปแบบของการศึกษาไทย ระบบการศึกษาไทยปัจจุบันตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) 2545 มีการจัดระบบการศึกษาขั้นประถมศึกษา 6 ปี (6 ระดับชั้น) การศึกษาขั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี (3 ระดับชั้น) และการศึกษาขั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี (3 ระดับชั้น) หรือระบบ6-3-3นอกจากนั้นระบบ การศึกษาไทยยังจัดเป็นระบบการศึกษาในระบบโรงเรียน การศึกษานอกระบบโรงเรียน และการศึกษาตาม อัธยาศัย การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาที่กาหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของ การศึกษา การวัดและการประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสาเร็จการศึกษาที่แน่นอน การศึกษาในระบบมีสองระดับคือ การศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาระดับอุดมศึกษา 1. การศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วย การศึกษาซึ่งจัดไม่น้อยกว่าสิบสองปีก่อนระดับอุดมศึกษาการ แบ่งระดับและประเภทของการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง การแบ่งระดับหรือ การเทียบระดับการศึกษานอกระบบหรือการศึกษาตามอัธยาศัยให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง การศึกษาในระบบที่เป็นการศึกษาขั้นพื้นฐานแบ่งเป็นสามระดับ 1.1 การศึกษาก่อนระดับประถมศึกษา เป็นการจัดการศึกษาให้แก่เด็กที่มีอายุ 3 – 6 ปี 1.2 การศึกษาระดับประถมศึกษา โดยปกติใช้เวลาเรียน 6 ปี
  • 8. 1.3 การศึกษาระดับมัธยมศึกษา แบ่งเป็นสองระดับ ดังนี้ - การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดยปกติใช้เวลาเรียน 3 ปี - การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยปกติใช้เวลาเรียน 3 ปี แบ่งเป็นสองประเภท ดังนี้ 1) ประเภทสามัญศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา 2) ประเภทอาชีวศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ หรือ ศึกษา ต่อในระดับอาชีพชั้นสูงต่อไป 2. การศึกษาระดับอุดมศึกษาแบ่งเป็นสองระดับ คือ ระดับต่ากว่าปริญญาและระดับปริญญาการใช้คา ว่า "อุดมศึกษา" แทนคาว่า "การศึกษาระดับมหาวิทยาลัย" ก็เพื่อจะให้ครอบคลุมการศึกษาในระดับ ประกาศนียบัตรหรืออนุปริญญา ที่เรียนภายหลังที่จบการศึกษาขั้นพื้นฐานแล้ว 3. การศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกาหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบวิธีการจัด การศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขสาคัญของการสาเร็จการศึกษา โดย เนื้อหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของบุคคลแต่ละกลุ่ม 4. การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการศึกษาที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจศักยภาพ ความ พร้อมและโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้อม หรือแหล่งความรู้อื่นๆ 4.ปัญหาและผลกระทบการจัดการศึกษาของไทย สถานศึกษาอาจจัดการศึกษาในรูปใดรูปแบบหนึ่งหรือทั้งสามรูปแบบก็ได้ให้มีการเทียบโอนผลการ เรียนที่ผู้เรียนสะสมไว้ในระหว่างรูปแบบเดียวกันหรือต่างรูปแบบได้ไม่ว่าจะเป็นผลการเรียนจากสถานศึกษา เดียวกันหรือไม่ก็ตาม รวมทั้งจากการเรียนรู้นอกระบบตามอัธยาศัย การฝึกอาชีพ หรือจากประสบการณ์การ ทางานการสอน และจะส่งเสริมให้สถานศึกษาจัดได้ทั้ง 3 รูปแบบ 1. คุณภาพการศึกษาพื้นฐานตกต่า ในการจัดการทดสอบการศึกษาขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Educational Test: O-Net) ในทุกๆปีนั้น ผลที่ออกมามักจะเป็นไปในทิศทางเดียวกันในทุกๆปี นั่นก็คือ เด็กไทยมีความรู้ต่ากว่ามาตรฐานอยู่เสมอๆ หรือ แม้แต่การศึกษาขององค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา(Organization for Economics Co- operation andDevelopment, OECD) ที่รู้กันในชื่อของ PISA (Programme for International Students Assessment) พบว่านักเรียนไทยที่จัดได้ว่ามีความรู้วิทยาศาสตร์อยู่ในระดับสูงมีเพียง 1%เท่านั้นเองทั้งๆที่เราใช้ เวลาในการเรียนการสอนมากกว่า 8 ชม. ต่อวันPISA ยังพบว่า เด็กไทย 74% อ่านภาษาไทยไม่รู้เรื่องคือมีตั้งแต่
  • 9. อ่านไม่ออก อ่านแล้วตีความไม่ได้วิเคราะห์ความหมายไม่ถูก หรือแม้แต่ใช้ภาษาให้เป็นประโยชน์ในการศึกษา วิชาอื่นๆ แต่เรากลับมองสภาพเหล่านี้ด้วยความเคยชิน และยังคงเชื่อว่าลูกหลานของเราจะต้องได้รับการพัฒนา โดยการจัดการศึกษาแบบเดิมๆอย่างทุกวันนี้ 2. ปัญหาของครู ครู ผู้บริหารและบุคลากรทางการศึกษาของไทยส่วนใหญ่ ยังขาดความเข้าใจว่า การปฏิรูปการศึกษาที่ แท้จริงนั้น หมายถึงการเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่อย่างถึงรากถึงโคน เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นและ แตกต่างไปจากเดิม เช่น การเปลี่ยนแปลงวิธีคิด เป็นต้น แต่การปฏิรูปการ ศึกษาของไทยในรอบ 7-8 ปีที่ผ่าน กลับถูกตีความหมายว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการบริหาร และวิธีการทางานของครูอาจารย์ตาม กฎหมาย นโยบายคาสั่ง และคาชี้แนะต่างๆจากบนลงล่างการที่จะให้คนในองค์กรไม่ว่าครูอาจารย์ผู้บริหารทุก ระดับในกระทรวงศึกษาธิการ ปฏิรูปการศึกษาหรือปฏิรูปตนเองเป็นไปได้ยากและมีข้อจากัดหลายประการมี ความ เคยชินกับวิถีชีวิตเดิม ไม่อยากเปลี่ยนแปลง มักคิดแบบเข้าข้างตนเองว่าตนเองทาถูกแล้วหรือทาดีอยู่แล้ว ถึงแม้จะมีคนในองค์กร บางคนที่มีความคิดก้าวหน้า วิเคราะห์องค์กรตัวเองแบบวิพากษ์วิจารณ์ได้และสนใจที่ จะปฏิรูปตัวเองและ องค์กรของตัวเองอยู่บ้าง แต่ก็มักเป็นคนส่วนน้อยที่มีอานาจและบทบาทที่จากัด ทาให้มีการ วิเคราะห์ได้จากัดไปด้วย
  • 10. 3. ปัญหาการขาดภาวะผู้นาที่ตระหนักถึงรากเหง้าและความสาคัญของปัญหาการปฏิรูปการศึกษา มอง ปัญหาเรื่องการศึกษาอย่างเชื่อมโยงกับเรื่องอื่นในสังคมแบบเป็นระบบองค์ รวม ซึ่งเป็นปัจจัยที่ทาให้ไม่เกิดการ เปลี่ยนแปลง (Critital Mass) ที่จะไปผลักดันการเปลี่ยนแปลงการปฏิรูปการศึกษาทั้งระบบได้อย่างแท้จริง 4.ปัญหาระบบคัดเลือก การบริหารและการให้ความดีความชอบครูอาจารย์ผู้บริหารและ บุคลากรทางการ ศึกษา อยู่ภายใต้ระบบราชการแบบรวมศูนย์กลายเป็นอุปสรรคขัดขวางการปฏิรูปทางการ ศึกษา ผู้บริหารส่วน ใหญ่ทางานตามหน้าที่ให้พอผ่านกฎระเบียบไปวันๆก็ได้รับเงินเดือนเพิ่มขึ้นทุกปีตามระบบราชการ ไม่มีการ แข่งขัน การตรวจสอบและประเมิน เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพในการทางานอย่างจริงจัง แม้จะมีการประเมินเพื่อ เลื่อนขั้นเงินเดือน เลื่อน ตาแหน่งบ้าง แต่ก็เป็นการประเมินภายใต้กรอบข้าราชการแบบหล้าหลัง เช่น การสอบ การประเมินจากงานเขียน การรายงานเอกสาร ไม่ได้มีการประเมินจากผลลัพธ์ทางการเรียนของผู้เรียนอย่าง แท้จริง อีกทั้งระบบราชการแบบรวมศูนย์เป็นระบบบริหารแบบอุปถัมภ์มีการปกป้องผลประโยชน์ ส่วนตัว แบบถ้อยทีถ้อยอาศัย ไม่ค่อยดูแล วิจารณ์ หรือลงโทษเพื่อนร่วมงานในกระทรวงอย่างจริงจัง ส่วนการได้ดี ระบบดังกล่าวมักใช้วิธีการประจบ แสดงความจงรักภักดี เป็นพรรคพวก มีการวิ่งเต้นแลกด้วยผลประโยชน์ ภายใต้ระบบอุปถัมภ์กลายเป็นระบบการบริหารที่ขาดประสิทธิภาพและขาดความเป็นธรรม ทาให้ครูอาจารย์ที่ เก่งที่ดีบางส่วนลาออกไปทางานอื่นที่ท้าทายหรือให้ความพอ ใจมากกว่า บางส่วนอาจทนอยู่แบบไฟค่อยๆมอด ลงตามลาดับ 5. ปัญหา ด้านประสิทธิภาพการใช้งบประมาณการศึกษาในแง่คุณภาพของผู้จบการศึกษา ทุกระดับต่ากว่า หลายประเทศ ทั้งๆที่การจัดสรรงบประมาณการศึกษาของรัฐบาล คิดเป็นสัดส่วนต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมของ ประเทศ หรืองบประมาณประจาปีทั้งหมดอยู่ในเกณฑ์สูงเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ ปัญหาเกิดจากการใช้ งบประมาณไม่เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในหลายด้าน เช่น นิยมใช้งบประมาณไปก่อสร้างอาคารสถานที่ และการ ซ่อมแซมมากกว่าการใช้วัสดุอุปกรณ์ สื่อการศึกษา หนังสือ ห้องทดลอง ห้องปฏิบัติการ ฯลฯ
  • 11. 6. ปัญหา ระบบการประเมินผลและการสอบแข่งขันเพื่อรับการคัดเลือกเรียนต่อใน มหาวิทยาลัย รวมทั้ง การศึกษาระดับอื่นๆด้วยยังเป็นการสอบแบบปรนัย เพื่อวัดความสามารถในการจดจาข้อมูล ทาให้ขัดแย้งกับ แนวคิดปฏิรูปการเรียนรู้แบบใหม่ที่เสนอว่า ควรให้ผู้เรียนได้หัด คิดวิเคราะห์เป็น ระบบการประเมินผลแบบนี้ เป็นอุปสรรคในการพัฒนาการเรียนรู้แบบใหม่ที่ต้องการ ให้ผู้เรียนเก่ง ดี มีความสุข คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ เป็น เพราะผู้ปกครอง ครูอาจารย์นักเรียนต่างก็ห่วงแต่เรื่องทาเกรดเพื่อการสอบแข่งขันในระบบแพ้คัดออก คัดเลือกคนส่วนน้อยไปเรียนระดับสูง ขณะเดียวกันยังมีปัญหาสถาบันการศึกษาที่มีคุณภาพแตกต่างกันมาก โดยเฉพาะ มหาวิทยาลัยของรัฐที่ตั้งมานานและได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐมาก ทาให้มีชื่อเสียงและผู้เรียนก็เสียค่า เล่าเรียนที่ต่ากว่ามหาวิทยาลัยเอกชน ทาให้นักเรียนต้องแข่งขันแย่งกันเข้าไปเรียน เพื่อที่จะได้รับ ปริญญาไป แข่งขันหางานทา หาเงินให้มากภายใต้ระบบและนโยบายพัฒนาเศรษฐกิจแบบทุนนิยมที่ เน้นการเพิ่มผลผลิต และการแสวงหากาไรสูงสุด 5.แนวทางการแก้ไขปัญหาการศึกษาของไทย คุณภาพการจัดการศึกษาของประเทศไทย จากการประเมินตรวจสอบของหลายสานักล้วนสอดคล้อง กันว่า อยู่ในภาวะที่น่าเป็นห่วง คุณภาพตกต่าติดต่อกันมาหลายปี นักเรียนด้อยคุณภาพ เราปฏิรูปการศึกษากันมา หลายครั้ง ลงทุนด้านการศึกษาไปค่อนข้างสูง แต่คุณภาพยังตกต่า ไม่ประสบความสาเร็จเลย ควรจะทบทวน และใคร่ครวญดู โดยอาจใช้วิธีการหรือแนวทางดังต่อไปนี้ 1) ปัญหาด้านคุณภาพของครู ที่ผ่านมากระทรวงศึกษาธิการประสบความสาเร็จอย่างสูงในการนาคนเก่งคน ดี มีความรู้เข้าสู่วิชาชีพครู โดยคัดเลือกจากนักเรียนที่เก่งที่สุดของแต่ละจังหวัดให้เข้ารับทุนเพื่อเรียนต่อด้านการ ฝึกหัดครู ดังนั้นครูในยุคนั้นจึงเป็นคนเก่งของประเทศ และมักประสบความสาเร็จทั้งในด้านการพัฒนานักเรียน และชีวิตส่วนตัว ต่อมาเมื่อประเทศไทยมีความต้องการครูสูงขึ้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงเร่งผลิตครูมากขึ้นเป็น เงาตามตัวโดยปราศจากการวางแผนที่เหมาะสม ถึงกับสถาบันฝึกหัดครูทุกแห่งต่างเปิดสอนในภาคพิเศษและ ภาคสมทบอย่างแพร่หลาย ด้วยเหตุนี้บัณฑิตที่สาเร็จการศึกษาสาขาครูจึงมีจานวนมากเกินความต้องการของ ตลาดแรงงานส่งผลให้ตกงานในที่สุด ดังนั้นเด็กรุ่นต่อมาจึงไม่เลือกเรียนครูหรือเลือกเป็นลาดับสุดท้ายเนื่องจาก ไม่มั่นใจในโอกาสที่จะได้งานทา จึงเป็นที่กล่าวขานกันว่านักเรียนที่เรียนอะไรไม่ได้จึงเข้าเรียนครูทาให้ ภาพลักษณ์ของครู และคุณภาพการศึกษาตกต่าลงมาก นอกจากนี้ ดร.เลขา ปิยะอัจริยะ ผู้ทรงคุณวุฒิของ สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้ให้ข้อคิดเห็นที่น่าสนใจเกี่ยวกับปัญหาครูไม่มีคุณภาพว่ามิได้เกิดจาก ระบบไม่ดี
  • 12. หากเกิดจากการที่ครูขาดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ไม่มีแรงบันดาลใจในการพัฒนาตนเอง รวมถึงยังขาดการ จัดการความรู้ที่ดีและมิได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนและแบ่งปันความรู้ระหว่างกัน ทั้งนี้ความรู้ในหลักสูตรและใน หนังสือที่ประมวลมาสอนเด็กคิดเป็นเพียงร้อยละ 20 ของความรู้ทั้งหมด แต่ความรู้ส่วนใหญ่หรืออีกร้อยละ 80 กลับถูกละเลยได้แก่ความรู้ของครูที่เกษียณอายุไป เพราะที่จริงแล้วครูเหล่านี้มีความรู้และมีประสบการณ์ที่ฝัง ลึก กระทรวงศึกษาธิการจึงควรนาครูดังกล่าวมาถอดแบบความรู้เพื่อที่คนทั้ง สองรุ่นได้เรียนรู้จากประสบการณ์ ที่ประสบความสาเร็จร่วมกันและนาไปต่อยอดเพื่อสร้างคุณภาพเพิ่มแก่เยาชนในอนาคตได้ สาหรับการแก้ไขปัญหาเรื่องคุณภาพของครูในปัจจุบันของกระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องได้ดาเนินการดังนี้ 1.1การปฏิรูปการผลิตครูและสถาบันผลิตครู โดยกาหนดนโยบายการผลิตครูให้ชัดเจนด้วยการจัดทา ยุทธศาสตร์การปฏิรูปครูและบุคลากรทางการศึกษา (2547-2556) และการผลิตครูแนวใหม่หลักสูตร 5 ปี ใน 8 สาขา โดยเริ่มรุ่นแรกในปี 2547 ส่วนการปฏิรูปสถาบันผลิตครู ได้มีการปฏิรูปคุณภาพคณาจารย์ในสถาบันผลิตครู การวิจัยและพัฒนาเพื่อ ยกระดับความเป็นเลิศทางครุศาสตร์และศึกษาศาสตร์และการปฏิรูปโครงสร้างการบริหารงานและประกัน คุณภาพสถาบันฝึกหัดครู 1.2การพัฒนาและส่งเสริมครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา โดยจัดตั้งสถาบัน พัฒนาและส่งเสริมครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา และการกาหนดนโยบายและแผนการพัฒนาครู ดาเนินการพัฒนาครู รวมถึงการยกย่องครู ฯ ที่มีผลงานดีเด่น 1.3การพัฒนามาตรฐานวิชาชีพ และการควบคุมการประกอบวิชาชีพ ได้แก่การจัดตั้งองค์กรวิชาชีพครู การ พัฒนามาตรฐานวิชาชีพครู การส่งเสริม และยกย่องผู้ประกอบวิชาชีพ และการควบคุมการประกอบวิชาชีพ 2) ปัญหาหนี้สินครู ปัจจุบันมีครูมากกว่า 130,000 คน อยู่ในสภาพมีหนี้สินล้นพ้นตัวโดยเฉลี่ยมีหนี้คน ละ 1.1 ล้านบาท ทาให้ครูขาดขวัญกาลังใจในการทางาน มีคุณภาพชีวิตลดลง และต้องทางานเพื่อหารายได้เสริม ทาให้ครูอุทิศตนต่อการปฏิบัติหน้าที่ที่รับผิดชอบได้ไม่เต็มที่ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนการสอนของ ผู้เรียนลดลง ทั้งนี้จากการเปิดเผยของโครงการติดตามสภาวการณ์ครูรายจังหวัด (Teacher Watch) พบว่า 5 จังหวัดแรกที่มีครูเป็นหนี้นอกระบบมากที่สุดคือมหาสารคาม มีครูเป็นหนี้นอกระบบถึงร้อยละ 60 มุกดาหาร ร้อยละ 58 สตูลร้อยละ 57.14 ยโสธรร้อยละ 53.93 และร้อยเอ็ดร้อยละ 53.10 สาหรับแนวทางในการเยียวยาเรื่องหนี้สินครูกระทรวงศึกษาธิการได้ร่วมมือกับธนาคารออมสินอนุมัติ เงินกู้จานวนทั้งหมด 8 พันล้านบาทเพื่อดูแลครูที่มีปัญหาวิกฤติจริงๆ
  • 13. และได้กาหนด แนวทางการแก้ปัญหาเพิ่มเติมดังนี้ การเปิดคลีนิคทางการเงินเพื่อให้คาแนะนาเรื่องการออม เงินและการปรับสภาพหนี้ เปิดศูนย์ฮอตไลน์ 1579 เพื่อให้บริการคาแนะนาเรื่องปัญหาหนี้สินของครู จัด โครงการสัมมนาแก่ครูทั่วประเทศเพื่อให้ความรู้ และจัดทาคู่มือเกี่ยวกับคาถาม-ตอบในเรื่องที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น 3) ปัญหาการขาดแคลนครูสะสม สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้สารวจภาวะการขาด แคลนครูในสังกัดตามเกณฑ์ของสานักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกค) เมื่อ ต้นปี 2550 พบว่าโรงเรียนมัธยมศึกษาทั่วประเทศยังขาดแคลนครูประมาณ 70,000 คน ทั้งนี้มีสาเหตุจากหลาย ประการอาทิการผลิตและบรรจุครูไม่สัมพันธ์กัน นโยบายของรัฐในการจากัดกาลังคนภาครัฐและการคืน อัตรากาลังทดแทนขาดดุลยภาพ โครงการเกษียณอายุก่อนกาหนด สาหรับแนวทางในการแก้ไขปัญหาเรื่องการขาดแคลนครูคือการจัดทาโครงการครูสหกิจ โดยให้นักศึกษา ครูในหลักสูตร 5 ปี ได้ฝึกสอนในโรงเรียนที่ขาดครูโดยมีค่าเบี้ยเลี้ยงตอบแทน จัดให้ครูที่สอนไม่ตรงคุณวุฒิได้ อบรมด้านการศึกษาเพิ่มเติม ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนในโรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่โดยพัฒนาการ สอนในชั้นเรียนขนาดใหญ่ขึ้น พร้อมนาสื่อเทคโนโลยีทันสมัยมาใช้เช่น e-learning และ multi media และ นโยบายรวมโรงเรียนขนาดเล็กที่มีนักเรียนไม่เกิน 120 คนเข้าด้วยกันเพื่อให้มีครูครบ 8 สาระการเรียนรู้ รวมถึง ประหยัดครูและงบประมาณด้วย อย่างไรก็ตามหากพิจารณาอย่างรอบคอบแล้วจะพบว่าปัญหาเรื่องคุณภาพของครูอยู่ในลาดับความสาคัญ แรก ๆ จาเป็นต้องได้รับการแก้ไขโดยเร็วเนื่องจากส่งผลกระทบถึงนักเรียนโดยตรง’ ทั้งนี้จากการศึกษาครูที่มี ความสามารถจะต้องมีองค์ประกอบสามส่วน ได้แก่ความรู้ความสามารถในรายวิชาที่สอน ความเอื้ออาทรต่อ ผู้เรียน และความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน ซึ่งความคิดดังกล่าวสอดคล้องกับผลการวิจัยของสมชาย บุญศิริ เภสัช ที่ว่าพลังความสามารถในการทางานของครูมีความสัมพันธ์กับความมุ่งหวัง ความรู้ ทักษะประสบการณ์ และอานาจหน้าที่ของครู ซึ่งทั้งหมดนี้เรียกว่าปัจจัยพื้นฐานของครู ในขณะที่กระบวนการเสริมสร้างอานาจ (ความสามารถ) ในการทางานของครู ประกอบด้วยการทางานอย่างมีอิสระ การมีส่วนร่วมในการทางาน รวมถึง กระบวนการประเมินผลตัวเอง และความพร้อมรับการตรวจสอบสามารถเพิ่มอานาจในการทางานของครูได้ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ปัญหาของครูผู้สอนนับเป็นประเด็นเร่งด่วนที่อยู่ในขั้นวิกฤติซึ่งภาครัฐและทุกภาคส่วนต้องประสานพลัง ในการแก้ไขและต้องดาเนินการอย่างจริงจัง รอบคอบ และต่อเนื่อง ทั้งนี้ยุทธศาสตร์ มาตรการ และแนวทางใน การแก้ไขปัญหาทั้งหมดต้องพิจารณาในลักษณะองค์รวมตั้งแต่สถานภาพครู
  • 14. 6 .อาเซียนกับการศึกษาไทย การเตรียมความพร้อมของการศึกษาไทยต่ออาเซียน การปรับตัวและการเตรียมความพร้อมของรัฐบาลในเชิง คือ กระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงที่ เกี่ยวข้อง ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวกับสถาบันอุดมศึกษาควรมีนโยบาย และแผนยุทธศาสตร์ในการรองรับ การเตรียมความพร้อมของอุดมศึกษาไทยในการก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ซึ่งที่ผ่านมา นโยบายที่รองรับการ เข้าสู่ประชาคมอาเซียนของรัฐบาลยังไม่มีความชัดเจนมากนักในการนาไปสู่การปฏิบัติ ซึ่งควรมีนโยบายใน การปรับตัวและการเตรียมความพร้อมในการก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียนแก่มหาวิทยาลัยในประเทศไทยอย่าง เป็นรูปธรรม การปรับตัวด้านการเตรียมความพร้อมของอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา คือ อาจารย์ใน มหาวิทยาลัยต่างๆ ที่ต้องพัฒนาศักยภาพของตนเองทางด้านการเรียนการสอน การวิจัย การบริการทางวิชาการ และการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ ซึ่งเป็นภาษากลางในการสื่อสารในภูมิภาคอาเซียน การปรับตัวด้านการเตรียมความพร้อมของนักศึกษาคือ นักศึกษานั้นหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องเรียนรู้ ปรับตัว และเตรียมพร้อมรับมือกับสถานการณ์ในอนาคต เช่น นักศึกษาต้องมีความสนใจและตระหนักถึงผลที่ เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากการรวมตัวของประเทศต่างๆ สู่ประชาคมอาเซียนในส่วนของข้อดีและข้อเสียอย่างเข้าใจ การเกิดขึ้นของประชาคมอาเซียนซึ่งสังคมยุคใหม่จะสะท้อนความเป็นสังคมพหุวัฒนธรรมเพิ่มมากขึ้น การ เรียนรู้ของนักศึกษายุคใหม่จึงจาเป็นต้องปรับทั้งกระบวนการเรียนรู้ ปรับทัศนคติที่จะต้องตระหนักถึงความเป็น ชาติ การปรับกระบวนทัศน์การเรียนรู้ยุคใหม่ควรเป็นไปอย่างมีเป้าหมาย อย่างคนรู้เท่าทันสถานการณ์ การสร้าง ความสามารถในการทางานร่วมกับผู้อื่นที่ต่างวัฒนธรรมได้และเรียนรู้ประเทศเพื่อนบ้านทั้งในด้าน ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมเพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างกัน พร้อมกับสร้างโอกาสเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ ต้องเพิ่มทักษะทางด้านภาษาอังกฤษให้มากขึ้นให้สามารถสื่อสารได้เป็นอย่างดี
  • 15. แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาระบบการศึกษาไทยในปัจจุบัน คาชี้แจง 1.ข้อมูลนี้จะถูกเก็บเป็นความลับเฉพาะกรุณาตอบให้ตรงกับความเป็นจริงที่สุด 2.โปรดอ่านข้อความอย่างละเอียดและทาเครื่องหมาย ในช่องระดับที่เป็นความจริงหรือใกล้เคียง ตรงกับความคิดเห็นของท่านมากที่สุดในแต่ละหัวข้อ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 1.เพศ ชาย หญิง 2.ระดับการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 3.แผนการเรียนที่ศึกษา วิทย์-คณิต คณิต-ภาษา สังคม-ภาษา วิทย์-คณิต-เทคโน 4.อายุ 15ปี 16ปี 17ปี 18ปี
  • 16. ตอนที่ 2 ตารางแบบสอบถามความคิดเห็น ข้อ รายการ ระดับความคิดเห็น เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็น ด้วย 1. ปัญหาการศึกษาไทยเป็นปัญหาใหญ่ในสังคมปัจจุบัน 2. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาขาดความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักสูตรการสอน 3. การทดสอบระดับชาติ (O-net Gat-Pat ฯลฯ)ออกข้อสอบเกิน หลักสูตรขั้นพื้นฐานการศึกษาของไทย 4. นักเรียนไทยส่วนใหญ่ใช้Social network ไม่เป็นประโยชน์ ต่อการเรียน 5. ครูบางส่วนได้สอนในรายวิชาที่ตัวเองไม่ได้จบมาโดยตรงทา ให้ความรู้ไม่แน่นในรายวิชานั้น (จบรายวิชาภาษาอังกฤษมา สอนรายวิชาการงานอาชีพ) 6. เด็กที่ห่างไกลความเจริญขาดโอกาสในการศึกษาที่ดี เนื่องจาก บุคลากรทางการศึกษามีไม่เพียงพอต่อจานวนนักเรียน 7. ควรปรับเปลี่ยนแนวคิดของนักเรียนในการใช้social network ให้มีประโยชน์มากขึ้น 8. ควรปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนของครูให้น่าสนุกทาให้ นักเรียนตั้งใจเรียนขึ้น 9. นักเรียนควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนใหม่เพื่อที่จะทา ให้ระบบการศึกษามีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 10. ควรเพิ่มบุคลากรทางการศึกษาให้เหมาะสมต่อจานวน นักเรียนที่มี เพื่อประสิทธิภาพของการสอนที่ดี ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………
  • 17. สรุปเรียงความการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามและข้อเสนอแนะ ขนาดของกลุ่มตัวอย่างนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 และนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่5 ปีการศึกษา 2558 จานวน 30 คน โรงเรียนบ้านดุงวิทยา อาเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 1.เพศ ชาย : 4 คน คิดเป็นร้อยละ 13.33 หญิง :26 คน คิดเป็นร้อยละ 86.67 2.ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 : 16 คน คิดเป็นร้อยละ 53.33 มัธยมศึกษาปีที่ 5 : 14 คน คิดเป็นร้อยละ 46.67 3.แผนการเรียน วิทย์-คณิต : 22 คน คิดเป็นร้อยละ 73.33 คณิต-ภาษา : 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.33 สังคม-ภาษา : 6 คน คิดเป็นร้อยละ 20 วิทย์-คณิต-เทคโน : 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.33 4.อายุ 15 ปี : 2 คน คิดเป็นร้อยละ 6.67 16 ปี : 14 คน คิดเป็นร้อยละ 46.67 17 ปี : 14 คน คิดเป็นร้อยละ 46.67 18 ปี : 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0
  • 18. ตอนที่ 2 ตารางแบบสอบถามความคิดเห็น จากการให้นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 และนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2558โรงเรียนบ้านดุงวิทยา อาเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานีทาแบบสอบถามความคิดเห็น พบว่า ปัญหาการศึกษาไทยเป็นปัญหาใหญ่ในสังคมปัจจุบันมีผู้เห็นด้วย 23 คน คิดเป็นร้อยละ 76.67 ไม่แน่ใจ 7 คน คิดเป็นร้อยละ 23.33 ไม่เห็นด้วย 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาขาดความ เข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตรการสอนมีผู้เห็นด้วย 12 คน คิดเป็นร้อยละ 40 ไม่แน่ใจ 17 คน คิดเป็นร้อยละ 56.67 ไม่เห็นด้วย 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.33 การทดสอบระดับชาติ (O-net Gat-Patฯลฯ) ออกข้อสอบเกินหลักสูตรขั้น พื้นฐานการศึกษาของไทย มีผู้เห็นด้วย 25 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 ไม่แน่ใจ 4 คน คิดเป็นร้อยละ13.33 ไม่เห็นด้วย 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.33 นักเรียนไทยส่วนใหญ่ใช้Social network ไม่เป็นประโยชน์ต่อการเรียนมีผู้ เห็นด้วย 14 คน คิดเป็นร้อยละ 46.67 ไม่แน่ใจ 12 คน คิดเป็นร้อยละ 40 ไม่เห็นด้วย 4 คน คิดเป็นร้อยละ 13.33 ครูบางส่วนได้สอนในรายวิชาที่ตัวเองไม่ได้จบมาโดยตรงทาให้ความรู้ไม่แน่นในรายวิชานั้น (จบรายวิชา ภาษาอังกฤษมาสอนรายวิชาการงานอาชีพ) มีผู้เห็นด้วย 15 คน คิดเป็นร้อยละ 50 ไม่แน่ใจ 14 คน คิดเป็นร้อยละ 46.67 ไม่เห็นด้วย 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.33 เด็กที่ห่างไกลความเจริญขาดโอกาสในการศึกษาที่ดี เนื่องจาก บุคลากรทางการศึกษามีไม่เพียงพอต่อจานวนนักเรียนมีผู้เห็นด้วย 15 คน คิดเป็นร้อยละ 50 ไม่แน่ใจ 14 คน คิดเป็นร้อยละ 46.67 ไม่เห็นด้วย 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.33 ควรปรับเปลี่ยนแนวคิดของนักเรียนในการใช้ social network ให้มีประโยชน์มากขึ้นมีผู้เห็นด้วย 19 คนคิดเป็นร้อยละ 63.33 ไม่แน่ใจ 11 คน คิดเป็นร้อยละ 33.67 ไม่เห็นด้วย 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ควรปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนของครูให้น่าสนุกทาให้นักเรียนตั้งใจ เรียนขึ้นมีผู้เห็นด้วย 21 คน คิดเป็นร้อยละ 70 ไม่แน่ใจ 9 คน คิดเป็นร้อยละ 30 ไม่เห็นด้วย 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 นักเรียนควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนใหม่เพื่อที่จะทาให้ระบบการศึกษามีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นมีผู้ เห็นด้วย 26 คน คิดเป็นร้อยละ 86.67 ไม่แน่ใจ 3 คน คิดเป็นร้อยละ 10 ไม่เห็นด้วย 1 คน 3.33 ควรเพิ่มบุคลากร ทางการศึกษาให้เหมาะสมต่อจานวนนักเรียนที่มี เพื่อประสิทธิภาพของการสอนที่ดีมีผู้เห็นด้วย 23 คน คิดเป็น ร้อยละ 76.67 ไม่แน่ใจ 6 คน คิดเป็นร้อยละ 20 ไม่เห็นด้วย 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.33
  • 19. ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ จากแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 และ 5 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนบ้านดุง วิทยา อาเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี ข้อเสนอแนะส่วนมากนักเรียนมีความต้องการในการที่จะลดกิจกรรม ลด การสอบต่างๆ ลดเวลาเรียนที่มีมากเกินไปจนทาให้นักเรียนมีความเหนื่อยล้าของทางคุณครูหรือโรงเรียนลง และอยากให้คุณครูสอนในรายวิชาที่ตัวเองจบออกมาโดยตรงเพื่อให้ได้เนื้อหาเรื่องเรียนมีความถูกต้องและ แม่นยามากกว่าที่ต้องไปเอาครูในรายวิชาที่ตัวเองไม่ได้จบมาโดยตรงมาสอน และนักเรียนก็อยากให้ครูมีระบบ การสอนที่สนุกสนานทาให้นักเรียนตั้งใจเรียนมากขึ้น จนทาให้นักเรียนไม่ไปพึ่งเรียนพิเศษ แนวทางการแก้ไขปัญหาทางการศึกษานักเรียนก็มีความเห็นตรงกันว่าควรปรับเปลี่ยนแนวคิดของนักเรียน ในการใช้social network ให้มีประโยชน์มากขึ้น ปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนของครูให้น่าสนุกทาให้นักเรียน ตั้งใจเรียนขึ้น และหากนักเรียนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนใหม่จะทาให้ระบบการศึกษามีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้นเช่นกัน การเพิ่มบุคลากรทางการศึกษาให้เหมาะสมต่อจานวนนักเรียนที่มี เพื่อประสิทธิภาพของการสอน ที่ดีก็เป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาการศึกษาไทยอีกทางหนึ่ง
  • 20. บรรณานุกรม กรมวิชาการ. การปฏิรูปการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนสาคัญที่สุด : แนวทางสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา, 2543. . การสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์คุรุสภา, 2544. กรองทอง จิรเดชากุล, คู่มือการนิเทศภายในโรงเรียน. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ธารอักษร จากัด, 2550. กฤษมันต์วัฒนาณรงค์. เทคโนโลยีเทคนิคศึกษา. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2536 ก่อ สวัสดิ์พาณิชย์. “แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาการศึกษา,” วารสารมิตรครู. 27,21 (พฤศจิกายน 2525) : 6 – 8. จิราพร ศิริทวี. “มิติใหม่ของการวัดและประเมินผล.” สารพัฒนาหลักสูตร 12, 8 (มกราคม-มีนาคม2540) : 65-71. จุฑามาศ เจริญธรรมและคณะ. การวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : บริษัท พี.เอ.ลิฟวิ่ง จากัด,2544. ฉลองชัย สุรวัฒนบูรณ์. การเลือกและการใช้สื่อการสอน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2528. ชัยพจน์ รักงาม. “กว่าจะรู้ว่าวิจัยก็ทาวิจัยเสร็จเสียแล้ว.”วารสารวิชาการ. 4 ,5 (พฤษภาคม 2544) : 21 – 25. ธีรวุฒิ ประทุมนพรัตน์ และคนอื่นๆ. การบริหารและการนิเทศการศึกษา. สงขลา :เทพการพิมพ์, 2533.
  • 22. ชื่อโครงร่าง: การศึกษาเกี่ยวกับการสารวจปัญหาระบบการศึกษาไทยในปัจจุบัน สาระการเรียนรู้ : วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชื่อผู้ค้นคว้าหรือเจ้าของผลงาน 1)นายภานุวัฒน์ นาละคร เลขที่ 6 2)นางสาวเกษสุดา สีดาดาน เลขที่ 13 3)นางสาวจินดารัตน์ ฟองคาสี เลขที่ 14 4)นางสาวมาลิณี รักจันทร์ เลขที่ 34 5)นางสาวอภิญญา จันนาวัน เลขที่ 52 ความสาคัญของหัวเรื่องที่ค้นคว้า การศึกษาในปัจจุบันมีปัญหา จึงทาให้เกิดวิกฤตทางปัญญา แล้วพาให้เกิดวิกฤตชาติ การแก้วิกฤตต้องทา หลายอย่าง รวมทั้งการรักษาด้วยยุทธศาสตร์ทางปัญญา และการปฏิรูปการศึกษาเพื่อความเข้มแข็งทางปัญญา โดยรอบด้านโดยเร็ว การปฏิรูปการศึกษาจึงเป็นวาระเร่งด่วนของชาติ และประเด็นสาคัญที่จาเป็นต้องมีการ ปฏิรูปการศึกษา วัตถุประสงค์ของการค้นคว้า 1) เพื่อสารวจปัญหาระบบการศึกษาไทยในปัจจุบัน 2) เพื่อรู้แนวทางแก้ไขระบบการศึกษาไทย ประโยชน์ที่ได้รับจาการค้นคว้า 1) รู้เกี่ยวกับปัญหาของระบบการศึกษาไทยในปัจจุบัน 2) รู้แนวทางการแก้ไขปัญหาของระบบการศึกษาไทยในปัจจุบัน 3) การรวบรวมสรุปข้อมูลที่ได้จากการค้นคว้า
  • 23. การศึกษาในปัจจุบันมีปัญหา จึงทาให้เกิดวิกฤตทางปัญญา แล้วพาให้เกิดวิกฤตชาติ การแก้วิกฤตต้องทา หลายอย่าง รวมทั้งการรักษาด้วยยุทธศาสตร์ทางปัญญา และการปฏิรูปการศึกษาเพื่อความเข้มแข็งทางปัญญา โดยรอบด้านโดยเร็ว การปฏิรูปการศึกษาจึงเป็นวาระเร่งด่วนของชาติ และประเด็นสาคัญที่จาเป็นต้องมีการ ปฏิรูปการศึกษา คือการบริหารจัดการศึกษาขาดประสิทธิภาพและประสิทธิผล คือ ในปัจจุบันมีการบริหารรวม ศูนย์อานาจสู่ส่วนกลาง, มีการจัดองค์กรซ้าซ้อน ไม่มีเอกภาพด้านนโยบาย และมาตรฐานประสิทธิภาพการใช้ ทรัพยากรต่า, ขาดการเปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วม, จึงไม่ได้คนดีคนเก่งมาเป็นครู, สังคมขาดศรัทธาและ ความเชื่อมั่นในวิชาชีพครู, ขาดการพัฒนานโยบายอย่างต่อเนื่อง, ขาดแคลนโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ เพื่อเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ และขาดความเชื่อมโยงกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชน การเข้ารับการศึกษาไม่กว้างขวาง ไม่ทั่วถึง และไม่เป็นธรรม, เกิดความเหลื่อมล้าในโอกาสการเข้ารับ การศึกษา และคุณภาพการศึกษาที่ได้รับ ก็เป็นอีกเหตุผลหนึ่งที่จาเป็นต้องมีการปฏิรูป การศึกษาขึ้น รวมถึงการ เรียนการสอนไม่ได้เน้นความสามารถสากลเท่าที่ควร ขาดการอบรมบ่มนิสัย ไม่ได้ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และภูมิปัญญาไทยอย่างเพียงพอ. ทั้งนี้เพราะคุณภาพครูส่วนใหญ่ไม่ได้มาตรฐาน และหลักสูตรการเรียนการ สอนและการประเมินผลผู้เรียน เน้นวิชาและครูเป็นตัวตั้งไม่ได้ให้ความสาคัญแก่ผู้เรียน, การเรียนการสอนไม่ เชื่อมโยงกับชีวิตจริง เน้นการท่องจา แต่ไม่เน้นการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ทาให้ เด็กนักเรียนสมัยใหม่คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ไม่เป็น รวมทั้งการศึกษาแปลกแยกจากสังคม ศาสนา และ วัฒนธรรมการศึกษาที่จัดอยู่ในปัจจุบันเป็นการศึกษาแบบแยกส่วน ไม่สอดคล้องกับการดารงชีวิตในสังคม อีก ทั้งการศึกษาขาดการบูรณาการเชื่อมโยงกับด้านศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมเข้าไว้ในกระบวนการเรียนรู้อย่าง เหมาะสม ทาให้ผู้สาเร็จการศึกษาอ่อนด้อยทางคุณภาพ และจริยธรรม และขาดความภูมิใจในศิลปะ และภูมิ ปัญญาไทย ซึ่งเป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อการดารงอยู่และความมั่นคงสถาพรของชาติไทย เอกสารอ้างอิง https://blog.eduzones.com/training/129954 https://www.gotoknow.org/posts/409185 http://www.commonsenseforpubliceducation.org/11/28
  • 24. วิธีหรือแบบแผนการค้นคว้า การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นต้น ปฏิทินการดาเนินงาน ลาดับ รายการปฏิบัติงาน ว/ด/ป ความรับผิดชอบ 1 เขียนโครงร่างการรายงาน 2 มกราคม 2559 รับผิดชอบร่วมกัน 2 สรุปความรู้ที่ได้จากภาคเรียนที่ 1 9 มกราคม 2559 นายภานุวัฒน์ น.ส.เกษสุดา 3 ออกแบบรูปแบบการเก็บข้อมูลใน ภาคเรียนที่ 2 (ทาแบบสอบถาม) 9 มกราคม 2559 น.ส.อภิญญา 4 กาหนดกลุ่มตัวอย่างที่จะเก็บข้อมูล (นักเรียน ม.4 ม.5 จานวน 30 คนโรงเรียนบ้านดุงวิทยา อ.บ้านดุง จ.อุดรธานี) 16 มกราคม 2559 น.ส.จินดารัตน์ น.ส.มาลิณี 5 กาหนดค่าสถิติต่างๆ คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เกณฑ์คะแนน ช่วงคะแนน การแปลผลคะแนน 13 กุมภาพันธ์2559 รับผิดชอบร่วมกัน 6 สรุป วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลที่ได้แปลงาน สรุปผลที่ ได้เขียนรายงาน 22 กุมภาพันธ์2559 รับผิดชอบร่วมกัน 7 นาเสนอผลงานในรูปแบบต่างๆ (เช่น โปรแกรมนาเสนอ วีดีโอ สื่ออิเล็กทรอนิคส์ อินเทอร์เน็ต เป็นต้น) 26 กุมภาพันธ์2559 รับผิดชอบร่วมกัน
  • 25. สรุปค่าร้อยละจากข้อมูลแบบสอบถาม ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 1.เพศ ชาย : คิดเป็นร้อยละ 13.33 หญิง : คิดเป็นร้อยละ 86.67 2.ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 : คิดเป็นร้อยละ 53.33 มัธยมศึกษาปีที่ 5 : คิดเป็นร้อยละ 46.67 3.แผนการเรียน วิทย์-คณิต : คิดเป็นร้อยละ 73.33 คณิต-ภาษา : คิดเป็นร้อยละ 3.33 สังคม-ภาษา : คิดเป็นร้อยละ 20 วิทย์-คณิต-เทคโน : คิดเป็นร้อยละ 3.33 4.อายุ 15 ปี : คิดเป็นร้อยละ 6.67 16 ปี : คิดเป็นร้อยละ 46.67 17 ปี : คิดเป็นร้อยละ 46.67 18 ปี : คิดเป็นร้อยละ 0
  • 26. ตอนที่ 2 ตารางแบบสอบถามความคิดเห็น ข้อ รายการ ระดับความคิดเห็น สรุปผลการตอบ แบบสอบถามเห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็น ด้วย 1. ปัญหาการศึกษาไทยเป็นปัญหาใหญ่ในสังคม ปัจจุบัน 76.67% 23.33% 0% ส่วนมากเห็นด้วย 2. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาขาดความ เข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตรการสอน 40% 56.67% 3.33% ส่วนมากไม่แน่ใจ 3. การทดสอบระดับชาติ (O-net Gat-Pat ฯลฯ)ออก ข้อสอบเกินหลักสูตรขั้นพื้นฐานการศึกษาของไทย 83.33% 13.33% 3.33% ส่วนมากเห็นด้วย 4. นักเรียนไทยส่วนใหญ่ใช้Social network ไม่เป็น ประโยชน์ต่อการเรียน 46.67% 40% 13.33% ส่วนมากเห็นด้วย 5. ครูบางส่วนได้สอนในรายวิชาที่ตัวเองไม่ได้จบมา โดยตรง ทาให้ความรู้ไม่แน่นในรายวิชานั้น (จบ รายวิชาภาษาอังกฤษมาสอนรายวิชาการงานอาชีพ) 50% 46.67% 3.33% ส่วนมากเห็นด้วย 6. เด็กที่ห่างไกลความเจริญขาดโอกาสในการศึกษาที่ดี เนื่องจากบุคลากรทางการศึกษามีไม่เพียงพอต่อ จานวนนักเรียน 50% 46.67% 3.33% ส่วนมากเห็นด้วย 7. ควรปรับเปลี่ยนแนวคิดของนักเรียนในการใช้social network ให้มีประโยชน์มากขึ้น 63.33% 33.67% 0% ส่วนมากเห็นด้วย 8. ควรปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนของครูให้น่าสนุก ทาให้นักเรียนตั้งใจเรียนขึ้น 70% 30% 0% ส่วนมากเห็นด้วย 9. หากนักเรียนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนใหม่จะ ทาให้ระบบการศึกษามีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 86.67% 10% 3.33% ส่วนมากเห็นด้วย 10. เพิ่มบุคลากรทางการศึกษาให้เหมาะสมต่อจานวน นักเรียนที่มี เพื่อประสิทธิภาพของการสอนที่ดี 76.67% 20% 3.33% ส่วนมากเห็นด้วย