SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
โครงการเสริมสร้างภูมิปัญญาทางบัญชีแก่เกษตรกร
                      ไทย
                      พระราชดารัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
     ¨ทาบัญชีให้เห็นว่าสมดุลไม่ขาดทุน ถ้าทุกคนสามารถที่จะทาให้พอดีไม่ขาดทุน ประเทศชาติไม่
                                       ขาดทุนแน่ และประเทศ
  ชาติขาดทุนอย่างนี้ไม่ขาดทุน อยู่รอด ข้อสาคัญเป็นอย่างนี้ ที่ว่าเศรษฐกิจพอเพียง ไม่ใช่ว่าพอเพียงใน
                                     การบริโภค แต่ให้พอเพียง
                            ในการมีชีวิตอยู่ บางคนก็อาจจะรวยได้ทีเดียว¨




                            นางสาวอมลวรรณ มีสัตย์ ชั้น ม.4/8 เลขที่ 30
หลักการและเหตุผล


                   การพัฒนาประเทศตามนโยบายรัฐบาล มีจุดมุ่งหมายเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนและ
                    ยกระดับคุณภาพของคนส่วนใหญ่ของประเทศไทย ให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนและความอยู่ดี มีสุข
                    ของคนไทย โดยเฉพาะเกษตรกรไทย นโยบายส่วนหนึ่งของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้เน้น
                    ในเรื่อง การอยู่ดี กินดี และเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ซึ่งสอดคล้องกับภารกิจของกรม
                    ตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ได้รับมอบหมายให้ดาเนินการโครงการเสริมสร้างภูมิปัญญาทางบัญชีแก่
                    เกษตรกรไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความรู้แก่สมาชิกสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร เกษตรกร
                    ทั่วไป กลุ่มอาชีพอิสระ และนักเรียนนักศึกษา ให้เห็นประโยชน์ของการจัดทาบัญชี รู้รายได้ รู้ราย
                    จ่าย จ่ายอย่างไรให้เกิดประโยชน์ เป็นการสร้างวินัยทางการเงินแก่ตนเองและครอบครัว



นางสาวอมลวรรณ มีสัตย์ ชั้น ม.4/8 เลขที่ 30
วัตถุประสงค์




                   2.1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการสอนแนะนาการจัดทาบัญชีรับ – จ่ายในครัวเรือน และ
                    บัญชีต้นทุน
                   การประกอบอาชีพ
                   2.2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ สามารถจาแนกรายรับ – รายจ่ายในครัวเรือน รายได้ และ
                    ค่าใช้จ่ายใน
                   การประกอบอาชีพได้
                   2.3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถจัดทาบัญชีรับ – จ่ายในครัวเรือน และบัญชีต้นทุนประกอบ
                    อาชีพได้อย่าง
                   สม่าเสมอ
นางสาวอมลวรรณ มีสัตย์ ชั้น ม.4/8 เลขที่ 30
เป้าหมาย


                   อบรมสอนแนะนาด้านบัญชีให้แก่เกษตรกร/เยาวชนที่ประกอบอาชีพทอผ้า/หัตถกรรมอื่นๆ ใน
                    พื้นที่
                   ดาเนินโครงการศิลปาชีพทั้ง 15 จังหวัด ได้แก่ พระนครศรีอยุธยา สุรินทร์ อุบลราชธานี
                    ร้อยเอ็ด มุกดาหาร
                   กาฬสินธุ์ ศรีสะเกษ อุดรธานี เลย สกลนคร หนองคาย ขอนแก่น นครพนม แม่ฮ่องสอน และ
                    นครศรีธรรมราช
                   จานวน 2,000 คน และสร้างเกษตรกรต้นแบบ 100 ราย


นางสาวอมลวรรณ มีสัตย์ ชั้น ม.4/8 เลขที่ 30
วิธีดาเนินการ


                   4.1 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ในพื้นที่เป้าหมาย ดาเนินการ
                    (1) จัดทาแผนอบรมและแจ้งให้กลุ่มเป้าหมายทราบ
                    (2) เตรียมอาสาสมัครเกษตรด้านบัญชี เพื่อทาหน้าที่ติดตามสอนแนะนา
                    (3) สอนแนะนาการจัดทาบัญชีรับ – จ่ายในครัวเรือนให้แก่กลุ่มเป้าหมาย
                    (4) สอนแนะนาการจัดทาบัญชีต้นทุนประกอบอาชีพให้แก่กลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการอบรมสอนแนะนาบัญชีรับ
                   – จ่ายในครัวเรือนและมีความพร้อมในการเรียนรู้
                    (5) บันทึกฐานข้อมูลกลุ่มเป้าหมายในระบบฐานข้อมูลของโครงการฯ
                    (6) อาสาสมัครเกษตรด้านบัญชีติดตามสอนแนะนากลุ่มเป้าหมาย 2 ครั้ง และเก็บข้อมูลตัวเลขการบันทึก
                   บัญชีรับ - จ่ายในครัวเรือนของกลุ่มเป้าหมาย
                    (7) จัดทารายงานผลการปฏิบัติงานตามที่กรมฯ กาหนด
                    4.2 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 1, 3 – 5 , 7 และ8 ติดตามตรวจเยี่ยมเกษตรกรในโครงการเป็นครั้งคราว
                   ประมาณปีละ 1 ครั้ง
                    4.3 ส่วนกลางกาหนดแนวทางในการปฏิบัติงานพร้อมกับสนับสนุนเอกสารแผ่นพับ สมุดบัญชี และสื่อการ
                   สอนรวมทั้งติดตามประเมินผลความสาเร็จของโครงการฯ


นางสาวอมลวรรณ มีสัตย์ ชั้น ม.4/8 เลขที่ 30
พื้นที่ดาเนินการและจานวนกลุ่มเป้าหมาย


                        สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์พระนครศรีอยุธยา จานวน 18 คน
                        สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์สุรินทร์            จานวน 150 คน
                        สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์อบลราชธานี
                                                  ุ               จานวน 200 คน
                        สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ร้อยเอ็ด            จานวน 100 คน
                        สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์มกดาหาร
                                                      ุ            จานวน 200 คน
                        สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์กาฬสินธุ์          จานวน 100 คน
                        สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ศรีสะเกษ          จานวน 100 คน
                        สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์อดรธานี
                                                    ุ              จานวน 150 คน

นางสาวอมลวรรณ มีสัตย์ ชั้น ม.4/8 เลขที่ 30
 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์เลย                 จานวน 130 คน
   สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์สกลนคร             จานวน 200 คน
   สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์หนองคาย           จานวน 100 คน
   สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ขอนแก่น            จานวน 200 คน
   สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์นครพนม             จานวน 200 คน
   สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์แม่ฮ่องสอน         จานวน 52 คน
   สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์นครศรีธรรมราช     จานวน 100 คน




นางสาวอมลวรรณ มีสัตย์ ชั้น ม.4/8 เลขที่ 30
ระยะเวลาดาเนินการ


                   ปีงบประมาณ 2553

                                         งบประมาณโครงการ
                   งบประมาณจากกรมตรวจบัญชีสหกรณ์




นางสาวอมลวรรณ มีสัตย์ ชั้น ม.4/8 เลขที่ 30
ผลที่คาดว่าจะได้รับ


                   8.1 กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการสอนบัญชีรับ – จ่ายในครัวเรือน มีความรู้เรื่องรายรับ รายจ่าย และ
                    สามารถ
                   ทาบัญชีได้
                    8.2 กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการสอนบัญชีต้นทุนประกอบอาชีพ มีความรู้เรื่องการคานวณรายได้และ
                    ค่าใช้จ่ายจากการประกอบอาชีพ และสามารถทาบัญชีได้
                   8.1 กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการสอนบัญชีรับ – จ่ายในครัวเรือน มีความรู้เรื่องรายรับ รายจ่าย และ
                    สามารถ
                   ทาบัญชีได้
                    8.2 กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการสอนบัญชีต้นทุนประกอบอาชีพ มีความรู้เรื่องการคานวณรายได้และ
                    ค่าใช้จ่ายจากการประกอบอาชีพ และสามารถทาบัญชีได้

นางสาวอมลวรรณ มีสัตย์ ชั้น ม.4/8 เลขที่ 30
ตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ


                   เกษตรกรต้นแบบมีการพัฒนาศักยภาพทางบัญชี สามารถลดต้นทุนประกอบอาชีพได้ 10 %




นางสาวอมลวรรณ มีสัตย์ ชั้น ม.4/8 เลขที่ 30
นางสาวอมลวรรณ มีสัตย์ ชั้น ม.4/8 เลขที่ 30

More Related Content

Similar to โครงการเสริมสร้างการบัยชี

หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 51 100
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 51 100หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 51 100
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 51 100Makin Puttaisong
 
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงfreelance
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงพัน พัน
 
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทยยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทยวราภรณ์ ทรัพย์รวงทอง
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 
งานนำเสนอ1.2
งานนำเสนอ1.2งานนำเสนอ1.2
งานนำเสนอ1.2nukedza
 
การทำนา ม.ต้น อช0201
การทำนา ม.ต้น อช0201การทำนา ม.ต้น อช0201
การทำนา ม.ต้น อช0201Thidarat Termphon
 
แผน10 นวัตกรรม บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผน10 นวัตกรรม  บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผน10 นวัตกรรม  บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผน10 นวัตกรรม บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงJirathorn Buenglee
 
กรณีศึกษาหจก.ครอบครัวน้ำพริกไทย
กรณีศึกษาหจก.ครอบครัวน้ำพริกไทยกรณีศึกษาหจก.ครอบครัวน้ำพริกไทย
กรณีศึกษาหจก.ครอบครัวน้ำพริกไทยssuserf7c23f
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..Pornthip Tanamai
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานtongkesmanee
 
นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551weerabong
 
งานนำเสนอ1.2
งานนำเสนอ1.2งานนำเสนอ1.2
งานนำเสนอ1.2nannee
 
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้นคำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้นschool
 
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อยวิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อยratchadaphun
 
โครงการธนาคารโค กระบือ
โครงการธนาคารโค กระบือโครงการธนาคารโค กระบือ
โครงการธนาคารโค กระบือtugtig_nrcp
 

Similar to โครงการเสริมสร้างการบัยชี (20)

หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 51 100
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 51 100หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 51 100
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 51 100
 
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทยยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
งานนำเสนอ1.2
งานนำเสนอ1.2งานนำเสนอ1.2
งานนำเสนอ1.2
 
การทำนา ม.ต้น อช0201
การทำนา ม.ต้น อช0201การทำนา ม.ต้น อช0201
การทำนา ม.ต้น อช0201
 
Pady1
Pady1Pady1
Pady1
 
Pady1
Pady1Pady1
Pady1
 
แผน10 นวัตกรรม บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผน10 นวัตกรรม  บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผน10 นวัตกรรม  บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผน10 นวัตกรรม บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
กรณีศึกษาหจก.ครอบครัวน้ำพริกไทย
กรณีศึกษาหจก.ครอบครัวน้ำพริกไทยกรณีศึกษาหจก.ครอบครัวน้ำพริกไทย
กรณีศึกษาหจก.ครอบครัวน้ำพริกไทย
 
W200753 53
W200753 53W200753 53
W200753 53
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551
 
งานนำเสนอ1.2
งานนำเสนอ1.2งานนำเสนอ1.2
งานนำเสนอ1.2
 
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้นคำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
 
Focus 7-55
Focus 7-55Focus 7-55
Focus 7-55
 
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อยวิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
 
โครงการธนาคารโค กระบือ
โครงการธนาคารโค กระบือโครงการธนาคารโค กระบือ
โครงการธนาคารโค กระบือ
 

โครงการเสริมสร้างการบัยชี

  • 1. โครงการเสริมสร้างภูมิปัญญาทางบัญชีแก่เกษตรกร ไทย พระราชดารัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ¨ทาบัญชีให้เห็นว่าสมดุลไม่ขาดทุน ถ้าทุกคนสามารถที่จะทาให้พอดีไม่ขาดทุน ประเทศชาติไม่ ขาดทุนแน่ และประเทศ ชาติขาดทุนอย่างนี้ไม่ขาดทุน อยู่รอด ข้อสาคัญเป็นอย่างนี้ ที่ว่าเศรษฐกิจพอเพียง ไม่ใช่ว่าพอเพียงใน การบริโภค แต่ให้พอเพียง ในการมีชีวิตอยู่ บางคนก็อาจจะรวยได้ทีเดียว¨ นางสาวอมลวรรณ มีสัตย์ ชั้น ม.4/8 เลขที่ 30
  • 2. หลักการและเหตุผล  การพัฒนาประเทศตามนโยบายรัฐบาล มีจุดมุ่งหมายเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนและ ยกระดับคุณภาพของคนส่วนใหญ่ของประเทศไทย ให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนและความอยู่ดี มีสุข ของคนไทย โดยเฉพาะเกษตรกรไทย นโยบายส่วนหนึ่งของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้เน้น ในเรื่อง การอยู่ดี กินดี และเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ซึ่งสอดคล้องกับภารกิจของกรม ตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ได้รับมอบหมายให้ดาเนินการโครงการเสริมสร้างภูมิปัญญาทางบัญชีแก่ เกษตรกรไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความรู้แก่สมาชิกสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร เกษตรกร ทั่วไป กลุ่มอาชีพอิสระ และนักเรียนนักศึกษา ให้เห็นประโยชน์ของการจัดทาบัญชี รู้รายได้ รู้ราย จ่าย จ่ายอย่างไรให้เกิดประโยชน์ เป็นการสร้างวินัยทางการเงินแก่ตนเองและครอบครัว นางสาวอมลวรรณ มีสัตย์ ชั้น ม.4/8 เลขที่ 30
  • 3. วัตถุประสงค์  2.1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการสอนแนะนาการจัดทาบัญชีรับ – จ่ายในครัวเรือน และ บัญชีต้นทุน  การประกอบอาชีพ  2.2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ สามารถจาแนกรายรับ – รายจ่ายในครัวเรือน รายได้ และ ค่าใช้จ่ายใน  การประกอบอาชีพได้  2.3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถจัดทาบัญชีรับ – จ่ายในครัวเรือน และบัญชีต้นทุนประกอบ อาชีพได้อย่าง  สม่าเสมอ นางสาวอมลวรรณ มีสัตย์ ชั้น ม.4/8 เลขที่ 30
  • 4. เป้าหมาย  อบรมสอนแนะนาด้านบัญชีให้แก่เกษตรกร/เยาวชนที่ประกอบอาชีพทอผ้า/หัตถกรรมอื่นๆ ใน พื้นที่  ดาเนินโครงการศิลปาชีพทั้ง 15 จังหวัด ได้แก่ พระนครศรีอยุธยา สุรินทร์ อุบลราชธานี ร้อยเอ็ด มุกดาหาร  กาฬสินธุ์ ศรีสะเกษ อุดรธานี เลย สกลนคร หนองคาย ขอนแก่น นครพนม แม่ฮ่องสอน และ นครศรีธรรมราช  จานวน 2,000 คน และสร้างเกษตรกรต้นแบบ 100 ราย นางสาวอมลวรรณ มีสัตย์ ชั้น ม.4/8 เลขที่ 30
  • 5. วิธีดาเนินการ  4.1 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ในพื้นที่เป้าหมาย ดาเนินการ (1) จัดทาแผนอบรมและแจ้งให้กลุ่มเป้าหมายทราบ (2) เตรียมอาสาสมัครเกษตรด้านบัญชี เพื่อทาหน้าที่ติดตามสอนแนะนา (3) สอนแนะนาการจัดทาบัญชีรับ – จ่ายในครัวเรือนให้แก่กลุ่มเป้าหมาย (4) สอนแนะนาการจัดทาบัญชีต้นทุนประกอบอาชีพให้แก่กลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการอบรมสอนแนะนาบัญชีรับ  – จ่ายในครัวเรือนและมีความพร้อมในการเรียนรู้ (5) บันทึกฐานข้อมูลกลุ่มเป้าหมายในระบบฐานข้อมูลของโครงการฯ (6) อาสาสมัครเกษตรด้านบัญชีติดตามสอนแนะนากลุ่มเป้าหมาย 2 ครั้ง และเก็บข้อมูลตัวเลขการบันทึก  บัญชีรับ - จ่ายในครัวเรือนของกลุ่มเป้าหมาย (7) จัดทารายงานผลการปฏิบัติงานตามที่กรมฯ กาหนด 4.2 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 1, 3 – 5 , 7 และ8 ติดตามตรวจเยี่ยมเกษตรกรในโครงการเป็นครั้งคราว  ประมาณปีละ 1 ครั้ง 4.3 ส่วนกลางกาหนดแนวทางในการปฏิบัติงานพร้อมกับสนับสนุนเอกสารแผ่นพับ สมุดบัญชี และสื่อการ  สอนรวมทั้งติดตามประเมินผลความสาเร็จของโครงการฯ นางสาวอมลวรรณ มีสัตย์ ชั้น ม.4/8 เลขที่ 30
  • 6. พื้นที่ดาเนินการและจานวนกลุ่มเป้าหมาย  สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์พระนครศรีอยุธยา จานวน 18 คน  สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์สุรินทร์ จานวน 150 คน  สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์อบลราชธานี ุ จานวน 200 คน  สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ร้อยเอ็ด จานวน 100 คน  สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์มกดาหาร ุ จานวน 200 คน  สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์กาฬสินธุ์ จานวน 100 คน  สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ศรีสะเกษ จานวน 100 คน  สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์อดรธานี ุ จานวน 150 คน นางสาวอมลวรรณ มีสัตย์ ชั้น ม.4/8 เลขที่ 30
  • 7.  สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์เลย จานวน 130 คน  สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์สกลนคร จานวน 200 คน  สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์หนองคาย จานวน 100 คน  สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ขอนแก่น จานวน 200 คน  สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์นครพนม จานวน 200 คน  สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์แม่ฮ่องสอน จานวน 52 คน  สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์นครศรีธรรมราช จานวน 100 คน นางสาวอมลวรรณ มีสัตย์ ชั้น ม.4/8 เลขที่ 30
  • 8. ระยะเวลาดาเนินการ  ปีงบประมาณ 2553 งบประมาณโครงการ  งบประมาณจากกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ นางสาวอมลวรรณ มีสัตย์ ชั้น ม.4/8 เลขที่ 30
  • 9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ  8.1 กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการสอนบัญชีรับ – จ่ายในครัวเรือน มีความรู้เรื่องรายรับ รายจ่าย และ สามารถ  ทาบัญชีได้ 8.2 กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการสอนบัญชีต้นทุนประกอบอาชีพ มีความรู้เรื่องการคานวณรายได้และ ค่าใช้จ่ายจากการประกอบอาชีพ และสามารถทาบัญชีได้  8.1 กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการสอนบัญชีรับ – จ่ายในครัวเรือน มีความรู้เรื่องรายรับ รายจ่าย และ สามารถ  ทาบัญชีได้ 8.2 กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการสอนบัญชีต้นทุนประกอบอาชีพ มีความรู้เรื่องการคานวณรายได้และ ค่าใช้จ่ายจากการประกอบอาชีพ และสามารถทาบัญชีได้ นางสาวอมลวรรณ มีสัตย์ ชั้น ม.4/8 เลขที่ 30
  • 10. ตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ  เกษตรกรต้นแบบมีการพัฒนาศักยภาพทางบัญชี สามารถลดต้นทุนประกอบอาชีพได้ 10 % นางสาวอมลวรรณ มีสัตย์ ชั้น ม.4/8 เลขที่ 30