SlideShare a Scribd company logo
1 of 60
การบริห ารงานกองลูก
เสือ

กลุ่ม สุร ิโ ยไท
กลุ่ม สุร ิโ ยไท
ภาษาอัง กฤษ
ภาษาอัง กฤษ
กลุ่ม ๐๑
กลุ่ม ๐๑
การอนุม ต ิต ั้ง กองและแต่ง ตั้ง ผู้
ั
บัง คับ บัญ ชาลูก เสือ
จากข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ ว่า
ด้วยการปกครอง หลักสูตร และวิชาพิเศษ
พ.ศ. 2509
ข้อ 64 การจัดตั้งกลุ่มหรือกองลูกเสือ
ต้องได้รับอนุญาตจากเลขาธิการคณะ
กรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติหรือผู้
อำานวยการลูกเสือจังหวัดแล้วแต่กรณี
และผู้มีอำานาจแต่งตั้งผู้บงคับบัญชาลูกเสือ
ั
คือ เลขาธิการ คณะกรรมการบริหารลูก
การดำา เนิน การก่อ นขออนุม ัต ิต ง
ั้
กองและแต่ง ตัง ผู้บ ัง คับ บัญ ชาลูก
้
เสือ

1. ดำา เนิน การรับ สมัค รเด็ก ( ใช้แ บบ ลส. 3
ใบสมัค รเข้า เป็น ลูก เสือ ) มีด ัง นี้
 กองลูก เสือ สำา รอง 1 กอง
มีจำานวนลูกเสือ 8-36 คน อายุตั้งแต่ 8 ปี
และไม่เกิน 11 ปี บริบรณ์ ( หรืออยู่ในระดับ
ู
ชันประถมศึกษาปีที่ 1 – 4 ) โดยแบ่งลูกเสือ
้
ออกเป็นหมู่ๆ อย่างน้อย 2 หมู่ และไม่เกิน 6
หมู่ หมู่หนึ่งมีลูกเสือ 4 – 6 คน รวมทั้งนายหมู่
และรองนายหมู่ลูกเสือด้วย ( ข้อบังคับ พ.ศ.
2509 ข้อ 72 )
การดำา เนิน การก่อ นขออนุม ัต ิต ั้ง
กองและแต่ง ตั้ง ผู้บ ัง คับ บัญ ชาลูก
เสือ

 กองลูก เสือ สามัญ 1 กอง
มีจำานวนลูกเสือ 12-48 คน มีอายุตั้งแต่
11 ปี และไม่เกิน 17 ปีบริบรณ์ (หรืออยู่ใน
ู
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 – 6 ) โดยแบ่งเด็ก
ออกเป็นหมูๆ ละ 2 – 6 หมู่ หมู่หนึ่งมีลูกเสือ 6 –
่
8 คน รวมทั้งนายหมู่และรองนายหมู่ลูกเสือ
ด้วย ( ข้อบังคับ ฯ ฉบับที่ 13 พ.ศ. 2525 ข้อ
84 )
การดำา เนิน การก่อ นขออนุม ัต ิต ั้ง
กองและแต่ง ตั้ง ผู้บ ัง คับ บัญ ชาลูก
เสือ

 กองลูก เสือ สามัญ รุ่น ใหญ่ 1 กอง
มีจำานวนลูกเสือ 8 – 48 คน มีอายุ 14 –
18 ปีหรือกำาลังเรียนอยู่ในชันมัธยมศึกษา โดย
้
แบ่งเด็กออกเป็นหมูๆ อย่างน้อย 2 หมู่ และไม่
่
เกิน 6 หมู่ หมู่หนึ่งมีลูกเสือ 4 – 8 คน รวมทั้ง
นายหมู่และรองนายหมู่ด้วย
( ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการ
ปกครอง หลักสูตร และวิชาพิเศษลูกเสือสามัญ
รุ่นใหญ่ ฉบับที่ 14 พ.ศ. 2528 )
การดำา เนิน การก่อ นขออนุม ัต ิต ั้ง
กองและแต่ง ตั้ง ผู้บ ัง คับ บัญ ชาลูก
เสือ

 กองลูก เสือ วิส ามัญ รุ่น ใหญ่ 1 กอง
มีจำานวนลูกเสืออย่างน้อย 10 คน และไม่
เกิน 40 คน อายุระหว่าง 16 – 25 ปี หรือ
กำาลังเรียนอยู่ในชันมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือ
้
ระดับ
อาชีวศึกษา หรือระดับอุดมศึกษา
กองลุกเสือวิสามัญจะแบ่งออกเป็นชุดหรือหมู่
ตามความต้องการก็ได้ และควรมีลูกเสือวิสามัญ
ชุดหรือหมู่ละ 4 – 6 คน รวมทั้งนายหมูและรอง
่
นายหมู่ด้วย
เมื่อ รับ สมัค รเด็ก เป็น ที่เ รีย บร้อ ยแล้ว จะ
2. ผู้ก ำา กับ และรองผู้ก ำา กับ ลูก เสือ
 เป็นผู้มีนสัยใจคอและความประพฤติเรียบร้อย
ิ
สมควรเป็นตัวอย่างที่ดีแก่เด็ก
 เป็นผู้มีศาสนาและปฏิบติพิธีกรรมทางศาสนา
ั
 เป็นผู้ไม่มีโรคซึ่งเป็นที่รังเกียจแก่สังคม
 เป็นผู้มีสญชาติไทยตามกฎหมาย แต่ถ้ามิได้มี
ั
สัญชาติไทย ต้องได้รับอนุมัติจาก คณะ
กรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ
 มีความเข้าใจในวัตถุประสงค์และวิธีการของลูก
เสือ ฝักใฝ่ สนใจต่อการลูกเสือ และสมัครใจที่
 มีอายุดังต่อไปนี้
 ผูกำากับลูกเสือสำารองและสามัญ มีอายุไม่น้อย
้
กว่า 20 ปี รองผูกำากับลูกเสือสำารองและสามัญ
้
มีอายุไม่น้อยกว่า 18 ปี
 ผูกำากับลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ มีอายุไม่ตำ่ากว่า
้
23 ปี รองผูกำากับไม่ตำ่ากว่า 21 ปี ( ข้อบังคับ ฯ
้
ฉบับที่ 15 พ.ศ. 2528 )
 ผูกำากับลูกเสือวิสามัญ มีอายุไม่ตำ่ากว่า 25 ปี
้
รองผู้กำากับมีอายุไม่ตำ่ากว่า 23 ปี ( ข้อบังคับ
ฯ ฉบับที่ 15 พ.ศ. 2529 )
วูด แบดจ์ มาจากไหน
เครื่องหมายวูดแบดจ์ 2 ท่อน 
ได้มาจากปฏิบติงานในกองลูกเสือตาม
ั
ประเภทที่ผ่านการฝึกอบรมขั้นความรู้ชนสูง  ไม่
ั้
น้อยกว่า 4 เดือน  ไม่เกิน 2 ปี  และผ่านการ
ตรวจขั้นที่ 5 ขั้นปฏิบติการและประเมินผล  จาก
ั
กรรมการผูทรงคุณวุฒิ)ได้รับวุฒิบตรให้มีสิทธิ์
้
ั
ประดับเครื่องหมายวูดแบดจ์  2 ท่อน  มีสทธิ์ใช้
ิ
ผ้าผูกคอกิลเวลล์  ใช้ตัวอักษรย่อ  W.B. 
การขออนุม ัต ิต ั้ง กลุ่ม และแต่ง ตั้ง
ผู้ก ำา กับ กลุ่ม รองผู้ก ำา กับ กลุ่ม ลูก เสือ
การจัดตั้งกลุ่มหรือกองลูกเสือ ต้องได้รับ
อนุญาตจากเลขาธิการคณะกรรมการบริหารลูก
เสือแห่งชาติหรือผูอำานวยการลูกเสือจังหวัดแล้ว
้
แต่กรณี ( ข้อบังคับ พ.ศ. ๒๕๐๙ ข้อ ๖๔

)
การขออนุม ัต ิต ั้ง กลุ่ม และแต่ง ตั้ง
ผู้ก ำา กับ กลุ่ม รองผู้ก ำา กับ กลุ่ม ลูก เสือ
การที่จะขอจัดตั้งกลุ่มลูกเสือได้จะต้องมีกอง
ลูกเสือตั้งแต่ ๔ กองขึ้นไป กลุ่มลูกเสือแบ่งออก
ได้เป็น ๒ ลักษณะ คือ
๑. กลุ่ม ลูก เสือ ที่ส มบูร ณ์ ประกอบด้วยกอง
ลูกเสือสำารอง ๑ กอง
สามัญ
๑
กอง
สามัญรุ่นใหญ่
๑ กอง
วิสามัญ ๑
การขออนุม ัต ิต ั้ง กลุ่ม และแต่ง ตั้ง
ผู้ก ำา กับ กลุ่ม รองผู้ก ำา กับ กลุ่ม ลูก เสือ
b. กลุ่ม ลูก เสือ ที่ไ ม่ส มบูร ณ์
ประกอบด้วย กองลูกเสือ ๒ - ๓ ประเภท ๆ ละ
๒ กอง ขึ้นไป หรือมีประเภทเดียว ๔ กองขึ้น
ไป ( ข้อบังคับ ข้อ ๖๓ พ.ศ. ๒๕๐๙ ) เมื่อ
รวบรวมกองลูกเสือ ๔ กอง เป็น ๑ กลุ่มแล้ว
จะต้องมีผกำากับกลุ่ม ๑ คน และมีรองผูกำากับ
ู้
้
กลุ่มเป็นผู้ช่วย
การขออนุม ัต ิต ั้ง กลุ่ม และแต่ง ตั้ง
ผู้ก ำา กับ กลุ่ม รองผู้ก ำา กับ กลุ่ม ลูก เสือ
 ผู้กำากับกลุ่มลูกเสือโดยปกติให้แต่งตั้งจากบุรุษ
ควรมีอายุตั้งแต่ ๓๐ ปี ขึ้นไป แต่ถ้าจำาเป็น
อาจแต่งตั้งจากบุคคลที่มีอายุไม่น้อยกว่า ๒๕ ปี
ก็ได้
 ถ้าแต่งตั้งครูสตรีเป็นผูกำากับกลุ่มลูกเสือ จะต้อง
้
ได้รับเครื่องหมายวิชาผู้กำากับลูกเสือ ขั้นวูด
แบดจ์ก่อน
 ส่วนรองผูกำากับกลุ่มนั้นแต่งตั้งจากบุรุษและ
้
สตรีได้ ควรมีอายุตั้งแต่ ๓๐ ปีขึ้นไป หรือไม่
น้อยกว่า ๒๕ ปีก็ได้
การจัด หมู่ล ก เสือ
ู
การจัดหมู่ลูกเสือ ในเรื่องของอัตรากำาลัง
ของหมู่ลูกเสือตามข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ
ว่าด้วยการปกครอง หลักสูตรวิชาพิเศษ
•
หมู่ล ูก เสือ สำา รอง 4-6คน
•
หมูล ูก เสือ สามัญ 6-8 คน ห
่
•
หมูล ูก เสือ สามัญ รุ่น ใหญ่ 3-7 คน
่
•
หมูล ูก เสือ วิส ามัญ 4-6 คน
่
หน้า ทีร ับ ผิด ชอบในหมู่ล ก เสือ
่
ู
1. นายหมู่
2. รองนายหมู่
3. พลาธิก าร
4. คนครัว
5. ผู้ช ่ว ยคนครัว
6. คนหานำ้า
7. คนฟืน
8. ผู้ม ีห น้า ที่ช ่ว ยเหลือ ทั่ว ไป
การเรีย กชื่อ หมูก ลุ่ม ลูก เสือ
่
• หมูลกเสือสำารอง เรีย กตามสีข องหมู่
่ ู
• หมูลกเสือสามัญ เรีย กตามชื่อ สัต ว์
่ ู
ตามทีกล่าวไว้ในหนังสือการลูกเสือ
่
สำาหรับเด็กชาย
• หมูลกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เรีย นตาม
่ ู
ชื่อ ของบุค คลสำา คัญ ของชาติไ ทย
(ตามที่บญญัตไว้ในกระทรวงว่าด้วย
ั
ิ
เครื่องแบบลูกเสือ)
การขอแต่ง ตั้ง กรรมการกลุม ลูก เสือ
่
ผูมีอำานาจแต่งตั้งกรรมการกลุ่มลูกเสือ
้
โรงเรียน คือ เลขาธิก ารคณะกรรมการ
บริห ารลูก เสือ แห่ง ชาติ หรือ ผูอ ำา นวยการ
้
ลูก เสือ จัง หวัด แล้วแต่กรณี ( ข้อบังคับ พ.ศ.
๒๕๐๙ ข้อ ๕๓ และ ๕๔ )
โรงเรียนที่มีกลุ่มลูกเสือ จึงจะสามารถขอ
แต่งตั้งกรรมการกลุ่มลูกเสือได้ ( วิธปฏิบติของ
ี
ั
สำานักงานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ
กลุ่มลูกเสือ ๑ กลุ่ม มีกรรมการกลุ่มลูกเสือไม่
เกิน ๔๐ คน
หลัก เกณฑ์ก ารตั้ง กองลูก เสือ เหล่า
สมุท รและเหล่า อากาศ
ด้วยในการประชุมคณะกรรมการ
บริหารลูกเสือแห่งชาติ ครั้งที่ ๑๐ /
๒๕๒๔ เมื่อวันที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๒๔ ที่
ประชุมมีมติให้แก้ไขปรับปรุงหลักเกณฑ์
เกี่ยวกับการตั้งกองลูกเสือเหล่าสมุทร และ
เหล่าอากาศ ดังนี้
ลูก เสือ เหล่า สมุท ร

ลูก เสือ เหล่า อากาศ
หลัก เกณฑ์ก ารตั้ง กองลูก เสือ เหล่า
สมุท ร

1. เป็นกองลูกเสือที่จัดตั้งขึ้นโดยถูกต้องตามข้อ
บังคับ ฯ และสมัครที่จะเป็นลูกเสือเหล่าสมุทร
2. เป็น กองลูก เสือ ที่ต ั้ง อยู่ท ี่จ ัง หวัด ชายทะเล
หรือ ริม แม่น ำ้า ใหญ่ หรือ ใกล้แ หล่ง นำ้า ซึ่ง
สะดวกต่อ การฝึก อบรม
3. เป็นกองลูกเสือที่กองทัพเรือยินดีให้ความ
สนับสนุน และให้ความช่วยเหลือในการฝึก
อบรม
4. เป็นกองลูกเสือที่มีผบังคับบัญชาลูกเสือซึ่งผ่าน
ู้
การฝึกอบรมวิชาผูกำากับลูกเสือเหล่าสมุทร
้
หลัก เกณฑ์ก ารตั้ง กองลูก เสือ เหล่า
อากาศ
1. เป็นกองลูกเสือที่จัดตั้งขึ้นโดยถูกต้องตามข้อ
บังคับ ฯ และสมัครที่จะเป็นลูกเสือเหล่าอากาศ
2. เป็น กองลูก เสือ ที่ต ั้ง อยู่ท ี่จ ัง หวัด ซึ่ง มี
หน่ว ยของกองทัพ อากาศตั้ง อยู่
3. เป็นกองลูกเสือที่กองทัพอากาศยินดีให้ความ
สนับสนุน และให้ความช่วยเหลือในการฝึก
อบรม
4. เป็นกองลูกเสือที่มีผู้บงคับบัญชาลูกเสือซึ่งได้
ั
ผ่านการฝึกอบรมวิชาผู้กำากับลูกเสือเหล่า
อากาศ
การเงิน
รายได้

คณะลูกเสือแห่งชาติอาจมีรายได้

ดังต่อไปนี้
1.เงินอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน
2.เงินค่าบำารุงลูกเสือ
3.เงินผลประโยชน์ต่างๆ ของคณะลูกเสือแห่งชาติ
4.เงินและทรัพย์สนซึ่งมีผอุทิศให้แก่คณะลูกเสือ
ิ
ู้
แห่งชาติ
5.รายได้อื่นๆ ซึ่งไม่ขัดต่อวัตถุประสงค์ของคณะ
ลูกเสือแห่งชาติ
การเงิน
วัต ถุป ระสงค์ก ารเก็บ เงิน ค่า บำา รุง ลูก
เสือ มีดังต่อไปนี้
1.เพื่อให้ได้เงินมาใช้จ่ายในกิจการลูกเสือ
2.เพื่อให้ลูกเสือ ผูบังคับบัญชาลูกเสือ ผู้ตรวจการ
้
ลูกเสือ กรรมการลูกเสือ และเจ้าหน้าที่
ลูก
เสือ ทะนุบำารุงองค์การของตนด้วยความเสียสละ
3.เพื่อฝึกอบรมลูกเสือให้รู้จักทำางานเพื่อให้ได้เงิน
มาด้วยนำ้าพักนำ้าแรงของตนเองโดยสุจริต
การเงิน
เงิน ค่า บำา รุง ลูก เสือ ได้แก่ เงินค่าบำารุงประจำาปี
ที่เก็บจากลูกเสือ
ผูบังคับ
้
บัญชาลูกเสือ ผู้ตรวจการลูกเสือ กรรมการ
ลูกเสือ และเจ้าหน้าที่ลูกเสือ
อัต ราเงิน ค่า บำา รุง ลูก เสือ เงินค่าบำารุงลูกเสือ
เก็บคนหนึ่งไม่เกินปีละ ๕ บาท
จะเก็บในอัตราเท่าใด ให้ผอำานวยการลูกเสือ
ู้
จังหวัด
เป็นผู้กำาหนด
สำา หรับ กองลูก เสือ ทีส ัง กัด สำา นัก งาน คณะ
่
การเงิน
ระยะเวลาชำา ระให้ล ูก เสือ ผูบังคับบัญชาลูก
้
เสือ ผูตรวจการลูกเสือ กรรมการ
้
ลูกเสือ และเจ้าหน้าที่ลูกเสือ ชำาระเงินค่า
บำารุง
ตามอัตราที่กำาหนดไว้ให้
เสร็จภายในเดือน
สิงหาคม
ของทุกปี
การเก็บ เงิน ค่า บำา รุง ลูก เสือ กลุ่มหรือกองลูก
เสือที่ตั้งอยู่ในโรงเรียน หรือ
นอกโรงเรียนให้อาจารย์ใหญ่ ครูใหญ่ หรือ
ผูจัดการโรงเรียนเป็นผู้เก็บ
้
การแบ่ง เงิน ค่า บำา รุง ลูก เสือ
ตามข้อบังคับของสมาคมลูกเสือโลก
คณะลูกเสือแห่งชาติจะต้องเสียเงินค่า
บำารุงให้แก่สำานักงานลูกเสือโลกตาม
จำานวนลูกเสือและเจ้าหน้าที่ลกเสือ ใน
ู
อัตราคนหนึ่งปีละประมาณ ๕๐ สตางค์
การแบ่ง เงิน ค่า บำา รุง ลูก เสือ
ค่า บำา รุง

กองลูก เสือ

กองลูก เสือ ที่
ขึน ตรงต่อ
้
อำา เภอ

กองลูก เสือ ที่
ขึ้น ตรง
เทศบาล

กองลูก เสือ ที่
ขึ้น ตรง
จัง หวัด

กองลูกเสือ

ร้อยละ ๗๐

ร้อยละ ๗๐

ร้อยละ ๗๘

ร้อยละ ๗๘

ค่าใช้จ่ายใน
สำานักงานคณะ
กรรมการบริหาร
ลูกเสือแห่งชาติ

ร้อยละ ๓๐

ร้อยละ ๖

ร้อยละ ๖

ร้อยละ ๖

สำานักงานคณะ
กรรมการลูกเสือ
อำาเภอ

-

ร้อยละ ๘

-

-

คณะกรรมการ
บริห ารลูก เสือ
แห่ง ชาติ

สำานักงานคณะ
กรรมการลูกเสือ
จังหวัด

ร้อยละ ๘

ร้อยละ ๘

สำานักงานภาค

ร้อยละ ๘

ร้อยละ ๘
การแบ่ง เงิน ค่า บำา รุง ลูก เสือ
• ผูบังคับบัญชาลูกเสือและลูกเสือต้องไม่เรี่ยไร
้
เงินและไม่เข้าร่วมเร่ขายสิงของใดๆ ตามท้อง
่
ถนนหรือเก็บบัตรผ่านประตู หรือปฏิบัติงานใดๆ
ที่ไม่สมเกียรติของลูกเสือ
• สมาชิกของคณะลูกเสือแห่งชาติทุกคนต้องไม่
สนับสนุนหรือเกี่ยวข้องกับวิธีการหาเงินใดๆ ที่
ขัดต่อกฎหมายของบ้านเมือง หรือเป็นไปใน
ทำานองส่งเสริมให้ลูกเสือเล่นการพนัน
หลักการจ่ายเงินรายได้ล ูก เสือ
หลัก การจ่า ยเงิน รายได้ ลูกเสือ
จ่ายเงินรายได้ลูกเสือ ต้องจ่ายตามวัตถุประสงค์ดัง
ต่อไปนี้
1.เพื่อจัดหาอุปกรณ์การฝึกอบรมลูกเสือ
2.เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการฝึกอบรมผู้
บังคับบัญชาลูกเสือและลูกเสือ
3.เพื่อจัดพิมพ์ตำารา คูมือ และเอกสารเกี่ยวกับ
่
การลูกเสือ
4.เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายอื่นๆ เกี่ยวกับกิจการลูกเสือ
อำำ นำจกำรสัง จ่ำ ยเงิน ลูก เสือ ทุก
่
ประเภท
อำำนำจกำรสั่งจ่ำยเงินลูกเสือทุกประเภท ให้
กำำหนด ดังนี้
• ผูกำำกับลูกเสือ
้
ผูกำำกับลูกเสือ
้
- สัง จ่ำ ยได้ค รั้ง ละ
่
ไม่เ กิน 2,500 บำท
• รองผู้อำำนวยกำรลูกเสือโรงเรียน
รองผู้อำำนวยกำรลูกเสืออำำเภอ
- สัง จ่ำ ย
่
ได้ค รั้ง ละไม่เ กิน 5,000 บำท
อำำ นำจกำรสัง จ่ำ ยเงิน ลูก เสือ ทุก
่
ประเภท
• ผูอำำนวยกำรลูกเสือโรงเรียน
้
ผูอำำนวยกำรลูกเสืออำำเภอ
้
รองผู้อำำนวยกำรลูกเสือจังหวัด - สัง จ่ำ ยได้
่
ครั้ง ละไม่เ กิน 15,000 บำท
 
อำำ นำจกำรสัง จ่ำ ยเงิน ลูก เสือ ทุก
่
ประเภท
• ผูอำำนวยกำรลูกเสือโรงเรียน
้
( มีกลุ่มลูกเสือที่
สมบูรณ์ )
รองผู้ตรวจกำรลูกเสือประจำำ สำำนักคณะ
กรรมกำรบริหำรลูกเสือแห่งชำติ ( ผู้ตรวจกำร
ศึกษำภำคศึกษำ )
ผูอำำนวยกำรลูกเสือจังหวัด
้
- สัง จ่ำ ยได้ค รั้ง ละไม่เ กิน 25,000 บำท
่
อำำ นำจกำรสัง จ่ำ ยเงิน ลูก เสือ ทุก
่
ประเภท
• เลขำธิกำรคณะกรรมกำรบริหำรลูกเสือแห่งชำติ
- สัง จ่ำ ยได้ค รั้ง ละไม่เ กิน 10,000 บำท
่
• รองประธำนคณะกรรมกำรบริหำรลูกเสือแห่ง
ชำติ
- สัง จ่ำ ยได้ค รั้ง ละไม่เ กิน 50,000 บำท
่
• ประธำนคณะกรรมกำรบริหำรลูกเสือแห่งชำติ
- สัง จ่ำ ยได้ค รั้ง ละไม่เ กิน 50,000 บำท
่
กำรควบคุม
• เลขำธิกำรและเหรัญญิกคณะกรรมกำรบริหำร
ลูกเสือแห่งชำติ
มีห น้ำ ที่ค วบคุม และตรวจสอบกำรเงิน
ของลูก เสือ ทั่ว ไป
• รองผู้อำำนวยกำรลูกเสือจังหวัดและรองผู้อำำนวย
กำรลูกเสืออำำเภอ
มีห น้ำ ที่ค วบคุม และ
ตรวจสอบกำรเงิน ของลูก เสือ ในสัง กัด
• กองลูกเสือที่สังกัดสำำนักงำนคณะกรรมกำร
บริหำรลูกเสือแห่งชำติ และลูกเสือจังหวัด
รำยงำนฐำนะกำรเงิน ตำมแบบคณะ
ทรัพ ย์ส ิน เมื่อ ยุบ กองลูก เสือ
ในกรณีที่กองลูกเสือยุบหรือเลิกกิจกำร ให้
บรรดำทรัพย์สินของกองลูกเสือนั้นตกเป็น

กรรมสิท ธิข องคณะลูก เสือ แห่ง ชำติ
์
กำรขออนุม ัต ิก ำรแต่ง ตัง กรรมกำร
้
ลูก เสือ จัง หวัด และกรรมกำรลูก เสือ
อำำ เภอ

ผู้มอำำนำจแต่งตั้งกรรมกำรลูกเสือจังหวัด
ี
และกรรมกำรลูกเสืออำำเภอคือ ประธำนคณะ
กรรมกำรบริห ำรลูก เสือ แห่ง ชำติ
คุณ สมบัต ิท ั่ว ไปของกรรมกำรลูก เสือ ( ข้อ
บังคับ พ.ศ. ๒๕๐๙ ข้อ ๕๑ )
๑. เป็นผู้มีนิสัยใจคอและควำมประพฤติเรียบร้อย
สมควรเป็นตัวอย่ำงที่ดีแก่เด็ก
๒.เป็นผูมีศำสนำและปฏิบติพิธกรรมทำงศำสนำ
้
ั
ี
๓. เป็นผู้ไม่มีโรคซึ่งเป็นที่รังเกียจแก่สังคม
กำรขออนุม ัต ิก ำรแต่ง ตัง กรรมกำร
้
ลูก เสือ จัง หวัด และกรรมกำรลูก เสือ
อำำ เภอ

๔. เป็นผู้มีสญชำติไทยตำมกฎหมำย แต่ถ้ำมิได้มี
ั
สัญชำติไทย ต้องได้รับอนุมัติจำกคณะกรรมกำร
บริหำรลูกเสือแห่งชำติ
๕. มีควำมเข้ำใจในวัตถุประสงค์และวิธีกำรของ
ลูกเสือ ฝักใฝ่สนใจต่อกำรลูกเสือ และสมัครใจที่
จะดำำรงตำำแหน่งลูกเสือ
๖. มีอำยุดังต่อไปนี้ ฯลฯ
( ค ) ผูบังคับบัญชำหรือ ผู้ตรวจกำรลูกเสือ
้
กรรมกำรลูกเสือ และเจ้ำหน้ำที่ลูกเสือมีอำยุไม่
น้อยกว่ำ ๑๘ ปี
กำรโอน
1. เมื่อลูกเสือผู้ใดจะย้ำยจำกกองหนึ่งไปเข้ำอีก
กองหนึ่ง ให้กองลูกเสือเดิม ลงรำยกำรในใบโอน
ทะเบียน ( ล.ส. 4 ) แล้วมอบให้แก่ลูกเสือผู้นน
ั้
นำำไปยังกองใหม่พร้อมกับบัตรประจำำตัวลูกเสือ
2. กำรจำำหน่ำยลูกเสือออกจำกทะเบียนย่อม
ทำำได้ด้วยเหตุใดเหตุหนึงต่อไปนี้
่
1.ลำออก
2.ตำย
3.โอนทะเบียน
กำรยุบ หน่ว ยลูก เสือ
กำรสังยุบกลุ่มลูกเสือ หรือกองลูกเสือเป็น
่
อำำนำจของเลขำธิกำร คณะกรรมกำรกำรบริหำรลูก
เสือแห่งชำติ หรือผู้อำำนวยกำรลูกเสือจังหวัด แล้ว
แต่กรณี ด้วยสำเหตุดังต่อไปนี้
-  สถำนที่ซึ่งเป็นที่ตั้งกลุ่มหรือกองลูกเสือเลิกล้ม
หรือปรำกฏภำยหลังว่ำเป็นสถำนที่อันไม่ควร
- ทำำกำรฝึกและอบรมลูกเสือในทำงที่ไม่ตรงหรือ
ขัดกับหลักกำรและวัตถุประสงค์ของคณะลูกเสือแห่ง
ชำติ
กำรยุบ หน่ว ยลูก เสือ
-  ลูกเสือในกลุ่มหรือในกองลูกเสือพำกันประพฤติ
ชัว เป็นเหตุนำำมำซึ่งควำมเสือมเสียชือเสียง
่
่
่
เกียรติคณของคณะลูกเสือแห่งชำติ
ุ
มีจำำนวนลูกเสือ ผู้บงคับบัญชำลูกเสือไม่
ั
พอที่จะดำำรงเป็นกลุ่มหรือกองลูกเสือต่อไปได้
ทั้งนี้ ภำยในเวลำที่กำำหนดให้ตำมสมควร
แบบพิม พ์ล ก
ู
เสือ ต่ำ งๆ
ลส. 1 :
คำำ ร้อ งขอจัด
ตั้ง กลุม ลูก
่
เสือ หรือ กอง
ลูก เสือ
แบบพิม พ์ล ก
ู
เสือ ต่ำ งๆ
ลส. 2 :
ใบสมัค รขอ
เป็น ผู้บ ัง คับ
บัญ ชำลูก เสือ
ผู้ต รวจกำรลูก
เสือ และเจ้ำ
หน้ำ ที่ล ก เสือ
ู
แบบพิม พ์ล ก
ู
เสือ ต่ำ งๆ
ลส. 3 :
ใบสมัค รเข้ำ
เป็น ลูก เสือ
แบบพิม พ์ล ก
ู
เสือ ต่ำ งๆ
ลส. 4 :
ใบโอนกองลูก
เสือ
แบบพิม พ์ล ก
ู
เสือ ต่า งๆ
ลส. 5 :
รายงานการลูก
เสือ ประจำา ปี
แบบพิม พ์ล ก
ู
เสือ ต่า งๆ
ลส. 6 :
ทะเบีย นกองลูก
เสือ สำา รอง
แบบพิม พ์ล ก
ู
เสือ ต่า งๆ
ลส. 7 :
ทะเบีย นกอง
ลูก เสือ
สามัญ
แบบพิม พ์ล ก
ู
เสือ ต่า งๆ
ลส. 8 :
ทะเบีย นกอง
ลูก เสือ
สามัญ รุ่น
ใหญ่
แบบพิม พ์ล ก
ู
เสือ ต่า งๆ
ลส. 9:
ทะเบีย น
กองลูก เสือ
วิส ามัญ
แบบพิม พ์ล ก
ู
เสือ ต่า งๆ
ลส. 10:
รายงานการ
เงิน ลูก เสือ
แบบพิม พ์ล ก
ู
เสือ ต่า งๆ
ลส. 11:
ใบตั้ง กลุม
่
ลูก เสือ
แบบพิม พ์ล ก
ู
เสือ ต่า งๆ
ลส. 12:
ใบตั้ง กองลูก
เสือ
แบบพิม พ์ล ก
ู
เสือ ต่า งๆ
ลส. 13:
ใบตั้ง ผู้
บัง คับ บัญ ชา
ผู้ต รวจการ
กรรมการลูก
เสือ
แบบพิม พ์ล ก
ู
เสือ ต่า งๆ
ลส. 14:
ใบสำา คัญ คู่
กับ เข็ม
สมนาคุณ
แบบพิม พ์ล ก
ู
เสือ ต่า งๆ
ลส. 15:
บัต รประจำา
ตัว ลูก เสือ
สำา รอง
แบบพิม พ์ล ก
ู
เสือ ต่า งๆ
ลส. 16:
บัต รประจำา
ตัว ลูก เสือ
สามัญ
แบบพิม พ์ล ก
ู
เสือ ต่า งๆ
ลส. 17:
บัต รประจำา
ตัว ลูก เสือ
สามัญ รุ่น
ใหญ่
แบบพิม พ์ล ก
ู
เสือ ต่า งๆ
ลส. 18:
บัต รประจำา
ตัว ลูก เสือ
วิส ามัญ
แบบพิม พ์ล ก
ู
เสือ ต่า งๆ
ลส. 19:
ใบเสร็จ รับ
เงิน ค่า บำา รุง
ลูก เสือ

More Related Content

What's hot

การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาการเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาtinnaphop jampafaed
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54Oui Nuchanart
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก Jeerapob Seangboonme
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำKu'kab Ratthakiat
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่Apirak Potpipit
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์Piyarerk Bunkoson
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนNok Yupa
 
สถาบันทางสังคม
สถาบันทางสังคมสถาบันทางสังคม
สถาบันทางสังคมthnaporn999
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยYanee Chaiwongsa
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 

What's hot (20)

การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาการเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
 
สถาบันทางสังคม
สถาบันทางสังคมสถาบันทางสังคม
สถาบันทางสังคม
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 

การบริหารลูกเสือ

  • 1. การบริห ารงานกองลูก เสือ กลุ่ม สุร ิโ ยไท กลุ่ม สุร ิโ ยไท ภาษาอัง กฤษ ภาษาอัง กฤษ กลุ่ม ๐๑ กลุ่ม ๐๑
  • 2. การอนุม ต ิต ั้ง กองและแต่ง ตั้ง ผู้ ั บัง คับ บัญ ชาลูก เสือ จากข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ ว่า ด้วยการปกครอง หลักสูตร และวิชาพิเศษ พ.ศ. 2509 ข้อ 64 การจัดตั้งกลุ่มหรือกองลูกเสือ ต้องได้รับอนุญาตจากเลขาธิการคณะ กรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติหรือผู้ อำานวยการลูกเสือจังหวัดแล้วแต่กรณี และผู้มีอำานาจแต่งตั้งผู้บงคับบัญชาลูกเสือ ั คือ เลขาธิการ คณะกรรมการบริหารลูก
  • 3. การดำา เนิน การก่อ นขออนุม ัต ิต ง ั้ กองและแต่ง ตัง ผู้บ ัง คับ บัญ ชาลูก ้ เสือ 1. ดำา เนิน การรับ สมัค รเด็ก ( ใช้แ บบ ลส. 3 ใบสมัค รเข้า เป็น ลูก เสือ ) มีด ัง นี้  กองลูก เสือ สำา รอง 1 กอง มีจำานวนลูกเสือ 8-36 คน อายุตั้งแต่ 8 ปี และไม่เกิน 11 ปี บริบรณ์ ( หรืออยู่ในระดับ ู ชันประถมศึกษาปีที่ 1 – 4 ) โดยแบ่งลูกเสือ ้ ออกเป็นหมู่ๆ อย่างน้อย 2 หมู่ และไม่เกิน 6 หมู่ หมู่หนึ่งมีลูกเสือ 4 – 6 คน รวมทั้งนายหมู่ และรองนายหมู่ลูกเสือด้วย ( ข้อบังคับ พ.ศ. 2509 ข้อ 72 )
  • 4. การดำา เนิน การก่อ นขออนุม ัต ิต ั้ง กองและแต่ง ตั้ง ผู้บ ัง คับ บัญ ชาลูก เสือ  กองลูก เสือ สามัญ 1 กอง มีจำานวนลูกเสือ 12-48 คน มีอายุตั้งแต่ 11 ปี และไม่เกิน 17 ปีบริบรณ์ (หรืออยู่ใน ู ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 – 6 ) โดยแบ่งเด็ก ออกเป็นหมูๆ ละ 2 – 6 หมู่ หมู่หนึ่งมีลูกเสือ 6 – ่ 8 คน รวมทั้งนายหมู่และรองนายหมู่ลูกเสือ ด้วย ( ข้อบังคับ ฯ ฉบับที่ 13 พ.ศ. 2525 ข้อ 84 )
  • 5. การดำา เนิน การก่อ นขออนุม ัต ิต ั้ง กองและแต่ง ตั้ง ผู้บ ัง คับ บัญ ชาลูก เสือ  กองลูก เสือ สามัญ รุ่น ใหญ่ 1 กอง มีจำานวนลูกเสือ 8 – 48 คน มีอายุ 14 – 18 ปีหรือกำาลังเรียนอยู่ในชันมัธยมศึกษา โดย ้ แบ่งเด็กออกเป็นหมูๆ อย่างน้อย 2 หมู่ และไม่ ่ เกิน 6 หมู่ หมู่หนึ่งมีลูกเสือ 4 – 8 คน รวมทั้ง นายหมู่และรองนายหมู่ด้วย ( ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการ ปกครอง หลักสูตร และวิชาพิเศษลูกเสือสามัญ รุ่นใหญ่ ฉบับที่ 14 พ.ศ. 2528 )
  • 6. การดำา เนิน การก่อ นขออนุม ัต ิต ั้ง กองและแต่ง ตั้ง ผู้บ ัง คับ บัญ ชาลูก เสือ  กองลูก เสือ วิส ามัญ รุ่น ใหญ่ 1 กอง มีจำานวนลูกเสืออย่างน้อย 10 คน และไม่ เกิน 40 คน อายุระหว่าง 16 – 25 ปี หรือ กำาลังเรียนอยู่ในชันมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือ ้ ระดับ อาชีวศึกษา หรือระดับอุดมศึกษา กองลุกเสือวิสามัญจะแบ่งออกเป็นชุดหรือหมู่ ตามความต้องการก็ได้ และควรมีลูกเสือวิสามัญ ชุดหรือหมู่ละ 4 – 6 คน รวมทั้งนายหมูและรอง ่ นายหมู่ด้วย เมื่อ รับ สมัค รเด็ก เป็น ที่เ รีย บร้อ ยแล้ว จะ
  • 7. 2. ผู้ก ำา กับ และรองผู้ก ำา กับ ลูก เสือ  เป็นผู้มีนสัยใจคอและความประพฤติเรียบร้อย ิ สมควรเป็นตัวอย่างที่ดีแก่เด็ก  เป็นผู้มีศาสนาและปฏิบติพิธีกรรมทางศาสนา ั  เป็นผู้ไม่มีโรคซึ่งเป็นที่รังเกียจแก่สังคม  เป็นผู้มีสญชาติไทยตามกฎหมาย แต่ถ้ามิได้มี ั สัญชาติไทย ต้องได้รับอนุมัติจาก คณะ กรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ  มีความเข้าใจในวัตถุประสงค์และวิธีการของลูก เสือ ฝักใฝ่ สนใจต่อการลูกเสือ และสมัครใจที่
  • 8.  มีอายุดังต่อไปนี้  ผูกำากับลูกเสือสำารองและสามัญ มีอายุไม่น้อย ้ กว่า 20 ปี รองผูกำากับลูกเสือสำารองและสามัญ ้ มีอายุไม่น้อยกว่า 18 ปี  ผูกำากับลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ มีอายุไม่ตำ่ากว่า ้ 23 ปี รองผูกำากับไม่ตำ่ากว่า 21 ปี ( ข้อบังคับ ฯ ้ ฉบับที่ 15 พ.ศ. 2528 )  ผูกำากับลูกเสือวิสามัญ มีอายุไม่ตำ่ากว่า 25 ปี ้ รองผู้กำากับมีอายุไม่ตำ่ากว่า 23 ปี ( ข้อบังคับ ฯ ฉบับที่ 15 พ.ศ. 2529 )
  • 9.
  • 10. วูด แบดจ์ มาจากไหน เครื่องหมายวูดแบดจ์ 2 ท่อน  ได้มาจากปฏิบติงานในกองลูกเสือตาม ั ประเภทที่ผ่านการฝึกอบรมขั้นความรู้ชนสูง  ไม่ ั้ น้อยกว่า 4 เดือน  ไม่เกิน 2 ปี  และผ่านการ ตรวจขั้นที่ 5 ขั้นปฏิบติการและประเมินผล  จาก ั กรรมการผูทรงคุณวุฒิ)ได้รับวุฒิบตรให้มีสิทธิ์ ้ ั ประดับเครื่องหมายวูดแบดจ์  2 ท่อน  มีสทธิ์ใช้ ิ ผ้าผูกคอกิลเวลล์  ใช้ตัวอักษรย่อ  W.B. 
  • 11. การขออนุม ัต ิต ั้ง กลุ่ม และแต่ง ตั้ง ผู้ก ำา กับ กลุ่ม รองผู้ก ำา กับ กลุ่ม ลูก เสือ การจัดตั้งกลุ่มหรือกองลูกเสือ ต้องได้รับ อนุญาตจากเลขาธิการคณะกรรมการบริหารลูก เสือแห่งชาติหรือผูอำานวยการลูกเสือจังหวัดแล้ว ้ แต่กรณี ( ข้อบังคับ พ.ศ. ๒๕๐๙ ข้อ ๖๔ )
  • 12. การขออนุม ัต ิต ั้ง กลุ่ม และแต่ง ตั้ง ผู้ก ำา กับ กลุ่ม รองผู้ก ำา กับ กลุ่ม ลูก เสือ การที่จะขอจัดตั้งกลุ่มลูกเสือได้จะต้องมีกอง ลูกเสือตั้งแต่ ๔ กองขึ้นไป กลุ่มลูกเสือแบ่งออก ได้เป็น ๒ ลักษณะ คือ ๑. กลุ่ม ลูก เสือ ที่ส มบูร ณ์ ประกอบด้วยกอง ลูกเสือสำารอง ๑ กอง สามัญ ๑ กอง สามัญรุ่นใหญ่ ๑ กอง วิสามัญ ๑
  • 13. การขออนุม ัต ิต ั้ง กลุ่ม และแต่ง ตั้ง ผู้ก ำา กับ กลุ่ม รองผู้ก ำา กับ กลุ่ม ลูก เสือ b. กลุ่ม ลูก เสือ ที่ไ ม่ส มบูร ณ์ ประกอบด้วย กองลูกเสือ ๒ - ๓ ประเภท ๆ ละ ๒ กอง ขึ้นไป หรือมีประเภทเดียว ๔ กองขึ้น ไป ( ข้อบังคับ ข้อ ๖๓ พ.ศ. ๒๕๐๙ ) เมื่อ รวบรวมกองลูกเสือ ๔ กอง เป็น ๑ กลุ่มแล้ว จะต้องมีผกำากับกลุ่ม ๑ คน และมีรองผูกำากับ ู้ ้ กลุ่มเป็นผู้ช่วย
  • 14. การขออนุม ัต ิต ั้ง กลุ่ม และแต่ง ตั้ง ผู้ก ำา กับ กลุ่ม รองผู้ก ำา กับ กลุ่ม ลูก เสือ  ผู้กำากับกลุ่มลูกเสือโดยปกติให้แต่งตั้งจากบุรุษ ควรมีอายุตั้งแต่ ๓๐ ปี ขึ้นไป แต่ถ้าจำาเป็น อาจแต่งตั้งจากบุคคลที่มีอายุไม่น้อยกว่า ๒๕ ปี ก็ได้  ถ้าแต่งตั้งครูสตรีเป็นผูกำากับกลุ่มลูกเสือ จะต้อง ้ ได้รับเครื่องหมายวิชาผู้กำากับลูกเสือ ขั้นวูด แบดจ์ก่อน  ส่วนรองผูกำากับกลุ่มนั้นแต่งตั้งจากบุรุษและ ้ สตรีได้ ควรมีอายุตั้งแต่ ๓๐ ปีขึ้นไป หรือไม่ น้อยกว่า ๒๕ ปีก็ได้
  • 15. การจัด หมู่ล ก เสือ ู การจัดหมู่ลูกเสือ ในเรื่องของอัตรากำาลัง ของหมู่ลูกเสือตามข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการปกครอง หลักสูตรวิชาพิเศษ • หมู่ล ูก เสือ สำา รอง 4-6คน • หมูล ูก เสือ สามัญ 6-8 คน ห ่ • หมูล ูก เสือ สามัญ รุ่น ใหญ่ 3-7 คน ่ • หมูล ูก เสือ วิส ามัญ 4-6 คน ่
  • 16. หน้า ทีร ับ ผิด ชอบในหมู่ล ก เสือ ่ ู 1. นายหมู่ 2. รองนายหมู่ 3. พลาธิก าร 4. คนครัว 5. ผู้ช ่ว ยคนครัว 6. คนหานำ้า 7. คนฟืน 8. ผู้ม ีห น้า ที่ช ่ว ยเหลือ ทั่ว ไป
  • 17. การเรีย กชื่อ หมูก ลุ่ม ลูก เสือ ่ • หมูลกเสือสำารอง เรีย กตามสีข องหมู่ ่ ู • หมูลกเสือสามัญ เรีย กตามชื่อ สัต ว์ ่ ู ตามทีกล่าวไว้ในหนังสือการลูกเสือ ่ สำาหรับเด็กชาย • หมูลกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เรีย นตาม ่ ู ชื่อ ของบุค คลสำา คัญ ของชาติไ ทย (ตามที่บญญัตไว้ในกระทรวงว่าด้วย ั ิ เครื่องแบบลูกเสือ)
  • 18. การขอแต่ง ตั้ง กรรมการกลุม ลูก เสือ ่ ผูมีอำานาจแต่งตั้งกรรมการกลุ่มลูกเสือ ้ โรงเรียน คือ เลขาธิก ารคณะกรรมการ บริห ารลูก เสือ แห่ง ชาติ หรือ ผูอ ำา นวยการ ้ ลูก เสือ จัง หวัด แล้วแต่กรณี ( ข้อบังคับ พ.ศ. ๒๕๐๙ ข้อ ๕๓ และ ๕๔ ) โรงเรียนที่มีกลุ่มลูกเสือ จึงจะสามารถขอ แต่งตั้งกรรมการกลุ่มลูกเสือได้ ( วิธปฏิบติของ ี ั สำานักงานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ กลุ่มลูกเสือ ๑ กลุ่ม มีกรรมการกลุ่มลูกเสือไม่ เกิน ๔๐ คน
  • 19. หลัก เกณฑ์ก ารตั้ง กองลูก เสือ เหล่า สมุท รและเหล่า อากาศ ด้วยในการประชุมคณะกรรมการ บริหารลูกเสือแห่งชาติ ครั้งที่ ๑๐ / ๒๕๒๔ เมื่อวันที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๒๔ ที่ ประชุมมีมติให้แก้ไขปรับปรุงหลักเกณฑ์ เกี่ยวกับการตั้งกองลูกเสือเหล่าสมุทร และ เหล่าอากาศ ดังนี้
  • 20. ลูก เสือ เหล่า สมุท ร ลูก เสือ เหล่า อากาศ
  • 21. หลัก เกณฑ์ก ารตั้ง กองลูก เสือ เหล่า สมุท ร 1. เป็นกองลูกเสือที่จัดตั้งขึ้นโดยถูกต้องตามข้อ บังคับ ฯ และสมัครที่จะเป็นลูกเสือเหล่าสมุทร 2. เป็น กองลูก เสือ ที่ต ั้ง อยู่ท ี่จ ัง หวัด ชายทะเล หรือ ริม แม่น ำ้า ใหญ่ หรือ ใกล้แ หล่ง นำ้า ซึ่ง สะดวกต่อ การฝึก อบรม 3. เป็นกองลูกเสือที่กองทัพเรือยินดีให้ความ สนับสนุน และให้ความช่วยเหลือในการฝึก อบรม 4. เป็นกองลูกเสือที่มีผบังคับบัญชาลูกเสือซึ่งผ่าน ู้ การฝึกอบรมวิชาผูกำากับลูกเสือเหล่าสมุทร ้
  • 22. หลัก เกณฑ์ก ารตั้ง กองลูก เสือ เหล่า อากาศ 1. เป็นกองลูกเสือที่จัดตั้งขึ้นโดยถูกต้องตามข้อ บังคับ ฯ และสมัครที่จะเป็นลูกเสือเหล่าอากาศ 2. เป็น กองลูก เสือ ที่ต ั้ง อยู่ท ี่จ ัง หวัด ซึ่ง มี หน่ว ยของกองทัพ อากาศตั้ง อยู่ 3. เป็นกองลูกเสือที่กองทัพอากาศยินดีให้ความ สนับสนุน และให้ความช่วยเหลือในการฝึก อบรม 4. เป็นกองลูกเสือที่มีผู้บงคับบัญชาลูกเสือซึ่งได้ ั ผ่านการฝึกอบรมวิชาผู้กำากับลูกเสือเหล่า อากาศ
  • 24. การเงิน วัต ถุป ระสงค์ก ารเก็บ เงิน ค่า บำา รุง ลูก เสือ มีดังต่อไปนี้ 1.เพื่อให้ได้เงินมาใช้จ่ายในกิจการลูกเสือ 2.เพื่อให้ลูกเสือ ผูบังคับบัญชาลูกเสือ ผู้ตรวจการ ้ ลูกเสือ กรรมการลูกเสือ และเจ้าหน้าที่ ลูก เสือ ทะนุบำารุงองค์การของตนด้วยความเสียสละ 3.เพื่อฝึกอบรมลูกเสือให้รู้จักทำางานเพื่อให้ได้เงิน มาด้วยนำ้าพักนำ้าแรงของตนเองโดยสุจริต
  • 25. การเงิน เงิน ค่า บำา รุง ลูก เสือ ได้แก่ เงินค่าบำารุงประจำาปี ที่เก็บจากลูกเสือ ผูบังคับ ้ บัญชาลูกเสือ ผู้ตรวจการลูกเสือ กรรมการ ลูกเสือ และเจ้าหน้าที่ลูกเสือ อัต ราเงิน ค่า บำา รุง ลูก เสือ เงินค่าบำารุงลูกเสือ เก็บคนหนึ่งไม่เกินปีละ ๕ บาท จะเก็บในอัตราเท่าใด ให้ผอำานวยการลูกเสือ ู้ จังหวัด เป็นผู้กำาหนด สำา หรับ กองลูก เสือ ทีส ัง กัด สำา นัก งาน คณะ ่
  • 26. การเงิน ระยะเวลาชำา ระให้ล ูก เสือ ผูบังคับบัญชาลูก ้ เสือ ผูตรวจการลูกเสือ กรรมการ ้ ลูกเสือ และเจ้าหน้าที่ลูกเสือ ชำาระเงินค่า บำารุง ตามอัตราที่กำาหนดไว้ให้ เสร็จภายในเดือน สิงหาคม ของทุกปี การเก็บ เงิน ค่า บำา รุง ลูก เสือ กลุ่มหรือกองลูก เสือที่ตั้งอยู่ในโรงเรียน หรือ นอกโรงเรียนให้อาจารย์ใหญ่ ครูใหญ่ หรือ ผูจัดการโรงเรียนเป็นผู้เก็บ ้
  • 27. การแบ่ง เงิน ค่า บำา รุง ลูก เสือ ตามข้อบังคับของสมาคมลูกเสือโลก คณะลูกเสือแห่งชาติจะต้องเสียเงินค่า บำารุงให้แก่สำานักงานลูกเสือโลกตาม จำานวนลูกเสือและเจ้าหน้าที่ลกเสือ ใน ู อัตราคนหนึ่งปีละประมาณ ๕๐ สตางค์
  • 28. การแบ่ง เงิน ค่า บำา รุง ลูก เสือ ค่า บำา รุง กองลูก เสือ กองลูก เสือ ที่ ขึน ตรงต่อ ้ อำา เภอ กองลูก เสือ ที่ ขึ้น ตรง เทศบาล กองลูก เสือ ที่ ขึ้น ตรง จัง หวัด กองลูกเสือ ร้อยละ ๗๐ ร้อยละ ๗๐ ร้อยละ ๗๘ ร้อยละ ๗๘ ค่าใช้จ่ายใน สำานักงานคณะ กรรมการบริหาร ลูกเสือแห่งชาติ ร้อยละ ๓๐ ร้อยละ ๖ ร้อยละ ๖ ร้อยละ ๖ สำานักงานคณะ กรรมการลูกเสือ อำาเภอ - ร้อยละ ๘ - - คณะกรรมการ บริห ารลูก เสือ แห่ง ชาติ สำานักงานคณะ กรรมการลูกเสือ จังหวัด ร้อยละ ๘ ร้อยละ ๘ สำานักงานภาค ร้อยละ ๘ ร้อยละ ๘
  • 29. การแบ่ง เงิน ค่า บำา รุง ลูก เสือ • ผูบังคับบัญชาลูกเสือและลูกเสือต้องไม่เรี่ยไร ้ เงินและไม่เข้าร่วมเร่ขายสิงของใดๆ ตามท้อง ่ ถนนหรือเก็บบัตรผ่านประตู หรือปฏิบัติงานใดๆ ที่ไม่สมเกียรติของลูกเสือ • สมาชิกของคณะลูกเสือแห่งชาติทุกคนต้องไม่ สนับสนุนหรือเกี่ยวข้องกับวิธีการหาเงินใดๆ ที่ ขัดต่อกฎหมายของบ้านเมือง หรือเป็นไปใน ทำานองส่งเสริมให้ลูกเสือเล่นการพนัน
  • 30. หลักการจ่ายเงินรายได้ล ูก เสือ หลัก การจ่า ยเงิน รายได้ ลูกเสือ จ่ายเงินรายได้ลูกเสือ ต้องจ่ายตามวัตถุประสงค์ดัง ต่อไปนี้ 1.เพื่อจัดหาอุปกรณ์การฝึกอบรมลูกเสือ 2.เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการฝึกอบรมผู้ บังคับบัญชาลูกเสือและลูกเสือ 3.เพื่อจัดพิมพ์ตำารา คูมือ และเอกสารเกี่ยวกับ ่ การลูกเสือ 4.เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายอื่นๆ เกี่ยวกับกิจการลูกเสือ
  • 31. อำำ นำจกำรสัง จ่ำ ยเงิน ลูก เสือ ทุก ่ ประเภท อำำนำจกำรสั่งจ่ำยเงินลูกเสือทุกประเภท ให้ กำำหนด ดังนี้ • ผูกำำกับลูกเสือ ้ ผูกำำกับลูกเสือ ้ - สัง จ่ำ ยได้ค รั้ง ละ ่ ไม่เ กิน 2,500 บำท • รองผู้อำำนวยกำรลูกเสือโรงเรียน รองผู้อำำนวยกำรลูกเสืออำำเภอ - สัง จ่ำ ย ่ ได้ค รั้ง ละไม่เ กิน 5,000 บำท
  • 32. อำำ นำจกำรสัง จ่ำ ยเงิน ลูก เสือ ทุก ่ ประเภท • ผูอำำนวยกำรลูกเสือโรงเรียน ้ ผูอำำนวยกำรลูกเสืออำำเภอ ้ รองผู้อำำนวยกำรลูกเสือจังหวัด - สัง จ่ำ ยได้ ่ ครั้ง ละไม่เ กิน 15,000 บำท  
  • 33. อำำ นำจกำรสัง จ่ำ ยเงิน ลูก เสือ ทุก ่ ประเภท • ผูอำำนวยกำรลูกเสือโรงเรียน ้ ( มีกลุ่มลูกเสือที่ สมบูรณ์ ) รองผู้ตรวจกำรลูกเสือประจำำ สำำนักคณะ กรรมกำรบริหำรลูกเสือแห่งชำติ ( ผู้ตรวจกำร ศึกษำภำคศึกษำ ) ผูอำำนวยกำรลูกเสือจังหวัด ้ - สัง จ่ำ ยได้ค รั้ง ละไม่เ กิน 25,000 บำท ่
  • 34. อำำ นำจกำรสัง จ่ำ ยเงิน ลูก เสือ ทุก ่ ประเภท • เลขำธิกำรคณะกรรมกำรบริหำรลูกเสือแห่งชำติ - สัง จ่ำ ยได้ค รั้ง ละไม่เ กิน 10,000 บำท ่ • รองประธำนคณะกรรมกำรบริหำรลูกเสือแห่ง ชำติ - สัง จ่ำ ยได้ค รั้ง ละไม่เ กิน 50,000 บำท ่ • ประธำนคณะกรรมกำรบริหำรลูกเสือแห่งชำติ - สัง จ่ำ ยได้ค รั้ง ละไม่เ กิน 50,000 บำท ่
  • 35. กำรควบคุม • เลขำธิกำรและเหรัญญิกคณะกรรมกำรบริหำร ลูกเสือแห่งชำติ มีห น้ำ ที่ค วบคุม และตรวจสอบกำรเงิน ของลูก เสือ ทั่ว ไป • รองผู้อำำนวยกำรลูกเสือจังหวัดและรองผู้อำำนวย กำรลูกเสืออำำเภอ มีห น้ำ ที่ค วบคุม และ ตรวจสอบกำรเงิน ของลูก เสือ ในสัง กัด • กองลูกเสือที่สังกัดสำำนักงำนคณะกรรมกำร บริหำรลูกเสือแห่งชำติ และลูกเสือจังหวัด รำยงำนฐำนะกำรเงิน ตำมแบบคณะ
  • 36. ทรัพ ย์ส ิน เมื่อ ยุบ กองลูก เสือ ในกรณีที่กองลูกเสือยุบหรือเลิกกิจกำร ให้ บรรดำทรัพย์สินของกองลูกเสือนั้นตกเป็น กรรมสิท ธิข องคณะลูก เสือ แห่ง ชำติ ์
  • 37. กำรขออนุม ัต ิก ำรแต่ง ตัง กรรมกำร ้ ลูก เสือ จัง หวัด และกรรมกำรลูก เสือ อำำ เภอ ผู้มอำำนำจแต่งตั้งกรรมกำรลูกเสือจังหวัด ี และกรรมกำรลูกเสืออำำเภอคือ ประธำนคณะ กรรมกำรบริห ำรลูก เสือ แห่ง ชำติ คุณ สมบัต ิท ั่ว ไปของกรรมกำรลูก เสือ ( ข้อ บังคับ พ.ศ. ๒๕๐๙ ข้อ ๕๑ ) ๑. เป็นผู้มีนิสัยใจคอและควำมประพฤติเรียบร้อย สมควรเป็นตัวอย่ำงที่ดีแก่เด็ก ๒.เป็นผูมีศำสนำและปฏิบติพิธกรรมทำงศำสนำ ้ ั ี ๓. เป็นผู้ไม่มีโรคซึ่งเป็นที่รังเกียจแก่สังคม
  • 38. กำรขออนุม ัต ิก ำรแต่ง ตัง กรรมกำร ้ ลูก เสือ จัง หวัด และกรรมกำรลูก เสือ อำำ เภอ ๔. เป็นผู้มีสญชำติไทยตำมกฎหมำย แต่ถ้ำมิได้มี ั สัญชำติไทย ต้องได้รับอนุมัติจำกคณะกรรมกำร บริหำรลูกเสือแห่งชำติ ๕. มีควำมเข้ำใจในวัตถุประสงค์และวิธีกำรของ ลูกเสือ ฝักใฝ่สนใจต่อกำรลูกเสือ และสมัครใจที่ จะดำำรงตำำแหน่งลูกเสือ ๖. มีอำยุดังต่อไปนี้ ฯลฯ ( ค ) ผูบังคับบัญชำหรือ ผู้ตรวจกำรลูกเสือ ้ กรรมกำรลูกเสือ และเจ้ำหน้ำที่ลูกเสือมีอำยุไม่ น้อยกว่ำ ๑๘ ปี
  • 39. กำรโอน 1. เมื่อลูกเสือผู้ใดจะย้ำยจำกกองหนึ่งไปเข้ำอีก กองหนึ่ง ให้กองลูกเสือเดิม ลงรำยกำรในใบโอน ทะเบียน ( ล.ส. 4 ) แล้วมอบให้แก่ลูกเสือผู้นน ั้ นำำไปยังกองใหม่พร้อมกับบัตรประจำำตัวลูกเสือ 2. กำรจำำหน่ำยลูกเสือออกจำกทะเบียนย่อม ทำำได้ด้วยเหตุใดเหตุหนึงต่อไปนี้ ่ 1.ลำออก 2.ตำย 3.โอนทะเบียน
  • 40. กำรยุบ หน่ว ยลูก เสือ กำรสังยุบกลุ่มลูกเสือ หรือกองลูกเสือเป็น ่ อำำนำจของเลขำธิกำร คณะกรรมกำรกำรบริหำรลูก เสือแห่งชำติ หรือผู้อำำนวยกำรลูกเสือจังหวัด แล้ว แต่กรณี ด้วยสำเหตุดังต่อไปนี้ -  สถำนที่ซึ่งเป็นที่ตั้งกลุ่มหรือกองลูกเสือเลิกล้ม หรือปรำกฏภำยหลังว่ำเป็นสถำนที่อันไม่ควร - ทำำกำรฝึกและอบรมลูกเสือในทำงที่ไม่ตรงหรือ ขัดกับหลักกำรและวัตถุประสงค์ของคณะลูกเสือแห่ง ชำติ
  • 41. กำรยุบ หน่ว ยลูก เสือ -  ลูกเสือในกลุ่มหรือในกองลูกเสือพำกันประพฤติ ชัว เป็นเหตุนำำมำซึ่งควำมเสือมเสียชือเสียง ่ ่ ่ เกียรติคณของคณะลูกเสือแห่งชำติ ุ มีจำำนวนลูกเสือ ผู้บงคับบัญชำลูกเสือไม่ ั พอที่จะดำำรงเป็นกลุ่มหรือกองลูกเสือต่อไปได้ ทั้งนี้ ภำยในเวลำที่กำำหนดให้ตำมสมควร
  • 42. แบบพิม พ์ล ก ู เสือ ต่ำ งๆ ลส. 1 : คำำ ร้อ งขอจัด ตั้ง กลุม ลูก ่ เสือ หรือ กอง ลูก เสือ
  • 43. แบบพิม พ์ล ก ู เสือ ต่ำ งๆ ลส. 2 : ใบสมัค รขอ เป็น ผู้บ ัง คับ บัญ ชำลูก เสือ ผู้ต รวจกำรลูก เสือ และเจ้ำ หน้ำ ที่ล ก เสือ ู
  • 44. แบบพิม พ์ล ก ู เสือ ต่ำ งๆ ลส. 3 : ใบสมัค รเข้ำ เป็น ลูก เสือ
  • 45. แบบพิม พ์ล ก ู เสือ ต่ำ งๆ ลส. 4 : ใบโอนกองลูก เสือ
  • 46. แบบพิม พ์ล ก ู เสือ ต่า งๆ ลส. 5 : รายงานการลูก เสือ ประจำา ปี
  • 47. แบบพิม พ์ล ก ู เสือ ต่า งๆ ลส. 6 : ทะเบีย นกองลูก เสือ สำา รอง
  • 48. แบบพิม พ์ล ก ู เสือ ต่า งๆ ลส. 7 : ทะเบีย นกอง ลูก เสือ สามัญ
  • 49. แบบพิม พ์ล ก ู เสือ ต่า งๆ ลส. 8 : ทะเบีย นกอง ลูก เสือ สามัญ รุ่น ใหญ่
  • 50. แบบพิม พ์ล ก ู เสือ ต่า งๆ ลส. 9: ทะเบีย น กองลูก เสือ วิส ามัญ
  • 51. แบบพิม พ์ล ก ู เสือ ต่า งๆ ลส. 10: รายงานการ เงิน ลูก เสือ
  • 52. แบบพิม พ์ล ก ู เสือ ต่า งๆ ลส. 11: ใบตั้ง กลุม ่ ลูก เสือ
  • 53. แบบพิม พ์ล ก ู เสือ ต่า งๆ ลส. 12: ใบตั้ง กองลูก เสือ
  • 54. แบบพิม พ์ล ก ู เสือ ต่า งๆ ลส. 13: ใบตั้ง ผู้ บัง คับ บัญ ชา ผู้ต รวจการ กรรมการลูก เสือ
  • 55. แบบพิม พ์ล ก ู เสือ ต่า งๆ ลส. 14: ใบสำา คัญ คู่ กับ เข็ม สมนาคุณ
  • 56. แบบพิม พ์ล ก ู เสือ ต่า งๆ ลส. 15: บัต รประจำา ตัว ลูก เสือ สำา รอง
  • 57. แบบพิม พ์ล ก ู เสือ ต่า งๆ ลส. 16: บัต รประจำา ตัว ลูก เสือ สามัญ
  • 58. แบบพิม พ์ล ก ู เสือ ต่า งๆ ลส. 17: บัต รประจำา ตัว ลูก เสือ สามัญ รุ่น ใหญ่
  • 59. แบบพิม พ์ล ก ู เสือ ต่า งๆ ลส. 18: บัต รประจำา ตัว ลูก เสือ วิส ามัญ
  • 60. แบบพิม พ์ล ก ู เสือ ต่า งๆ ลส. 19: ใบเสร็จ รับ เงิน ค่า บำา รุง ลูก เสือ