SlideShare a Scribd company logo
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน การทางานของเครื่อง MRI
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นางสาว พิชญา แสงไพโรจน์ เลขที่ 16 ชั้น ม.6 ห้อง 2
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี)…………………………………………………
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
1………………………………….. เลขที่……… 2…………………………………เลขที่ ……….
3………………………………….. เลขที่………
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โครงงานเรื่อง การทางานของเครื่อง MRI
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Working of Magnetic Resonance Imaging
ประเภทโครงงาน โครงงานสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว พิชญา แสงไพโรจน์
ชื่อที่ปรึกษา ครู เขื่อนทอง มูลวรรณ
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
เนื่องจากปัจจุบันอัตราการเกิดโรคมะเร็ง โรคหัวใจ หรือโรคที่เกี่ยวกับสมองเพิ่มสูงขึ้นมากกว่าอดีต ซึ่งเกิด
จากหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเป็นการเกิดจากการรับประทานอาหาร พันธุกรรม หรือแม้กระทั่งการไม่ยอมตรวจร่างกาย
ตั้งแต่แรก ทาให้อาการเริ่มหนักและรักษาได้ยาก ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ในการตรวจหาความผิดปกติของร่างกายนั้นก็คือ
เครื่อง MRI ที่สามารถตรวจได้ทุกส่วนของร่างกายเพื่อตรวจหาความผิดปกติ ซึ่งถ้าเราตรวจตั้งแต่เนิ่นๆ ก็ยิ่งเป็นผลดี
ในการรักษาซึ่งมีโอกาสสูงที่จะรักษาให้หายขาดได้
ดังนั้นโครงงานจึงจัดทาขึ้นเพื่อศึกษาการทางานของเครื่อง MRI นี้ว่ามีการทางานอย่างไร มีข้อดี ข้อเสีย
อะไรบ้าง ถึงสามารถตรวจ วินิจฉัย ผู้ป่วยว่ามีความผิดปกติอย่างไร แล้วมีความแม่นยาสูงมาก ที่สาคัญสามารถตรวจ
ได้ทั่วร่างกายและผลที่ออกมาค่อนข้างละเอียด และช่วยทาให้ลดอัตราการเกิดโรคดังกล่าวได้เพราะ เรารู้ว่าเราเป็น
โรคนี้ตั้งแต่เนิ่นๆ จากการตรวจร่างกาย จึงสามารถช่วยลดสิ่งนี้ได้ ทาให้เรามีชีวิตที่ดีขึ้นกว่าเดิม
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อ ศึกษาการทางานของเครื่อง MRI
2. เพื่อ ศึกษาถึงข้อดี และ ข้อเสียของเครื่องว่ามีอะไรบ้าง
3. เพื่อ ให้ผู้ป่วยหันมาตรวจสุขภาพ หรือ ความผิดปกติของร่างกายให้เพิ่มมากขึ้น
4. เพื่อ ลดอัตราการเกิดโรคมะเร็ง โรคหัวใจ หรือโรคที่เกี่ยวกับสมอง ที่ถึงขึ้นรุนแรงได้
3
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1. การทางานของเครื่อง MRI
2. ข้อดี ข้อเสีย ของเครื่อง MRI
3. ส่วนของร่างกายที่เครื่องสามารถตรวจได้
4. การแปลผลตรวจของร่างกาย
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
เนื่องจาก ปัจจุบันผู้คนมักเป็นโรคมะเร็ง โรคหัวใจ หรือโรคที่เกี่ยวกับสมองกันเยอะ ซึ่งวิธีการตรวจเบื้องต้นคือการนา
ผู้ป่วยไปตรวจด้วยเครื่อง MRI ซึ่งต้องเข้าไปในเครื่องตัวนี้เพื่อตรวจอย่างละเอียด จึงเป็นที่มาของโครงงานว่า เครื่องนี้
มีการทางานอย่างไร?
→ ประวัติของเครื่อง MRI
ในปี 1971 บลอช (Bloch) และ พัลเซล (Purcell) ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ร่วมกันในการพัฒนาในเรื่อง
การ เรโซแนสของนิวเคลียสด้วยแม่เหล็ก NMR (Nuclear magnetic resonance) โดย NMR เป็นหลักการทาง
ฟิสิกส์ที่อยู่เบื้องหลัง MRI ซึ่งแมนส์ฟิล (Mansfield) และลัวเตอร์เบอร์ (Lauterbur) ได้พัฒนาเครื่อง NMR จน
สามารถสร้างภาพร่างกายมนุษย์จากสัญญาณที่ได้จาก NMR ได้ ทาให้ทั้ง ลัวเตอร์เบอร์ และ แมนส์ฟิลได้รับรางวัล
โนเบลสาขา การแพทย์ในปี 2003 MRI ชื่อเดิมคือ การสร้างภาพจากการเรโซแนสของนิวเคลียสด้วยแม่เหล็ก
(Nuclear Magnetic Resonance Imaging) แต่ต้องมาเปลี่ยนชื่อมาเป็น Magnetic Resonance Imaging (MRI)
เนื่องจากเกรงว่าคนทั่วไปจะเข้าใจผิดว่าใช้รังสี ซึ่งในความเป็นจริงมิได้เป็นเช่นนั้น เครื่อง MRI ถูกนามาใช้ในทาง
การแพทย์อย่างแพร่หลายและรวดเร็วมาก
4
→ MRI คือ อะไร?
เอ็มอาร์ไอ (MRI : Magnetic Resonance Imaging)
เป็นเครื่องมือที่ใช้ตรวจหาความผิดปกติของอวัยวะต่างๆในร่างกาย โดยใช้สนามแม่เหล็กความเข้มสูงและคลื่น
ความถี่ในย่านความถี่วิทยุ มาใช้ในการสร้างภาพตัดขวางและภาพในแนวระนาบต่างๆ ซึ่งทาให้แพทย์สามารถ
วินิจฉัยโรคได้อย่างละเอียด และแม่นยามากยิ่งขึ้น โดยไม่ก่อให้เกิดอันตราย หรือ ความเจ็บปวดใดๆแก่ผู้ป่วยและไม่มี
รังสีเอกซเรย์
→ข้อบ่งชี้ในการตรวจ MRI Scan
MRI Scan เป็นวิธีในการตรวจหาความผิดปกติของอวัยวะเกือบทั่วร่างกายที่ค่อนข้างแม่นยา และมักจะใช้ยืนยันผล
วินิจฉัยหลังจากการทดสอบอื่น ๆ ให้ข้อมูลได้ไม่เพียงพอ โดยการตรวจ MRI Scan ในแต่ละส่วนในร่างกายอาจมี
จุดประสงค์ที่แตกต่างกันออกไป เช่น
 ศีรษะ เป็นการตรวจหาความผิดปกติของสมองและเส้นประสาทในสมองที่เชื่อมกับอวัยวะที่เกี่ยวข้อง
เช่น เนื้องอกในสมอง เลือดออกในสมอง หลอดเลือดในสมองโป่งพอง การบาดเจ็บเส้นของประสาทเกี่ยวกับ
การมองเห็นและได้ยิน
 หน้าอก เป็นการตรวจดูความผิดปกติบริเวณหน้าอกและหัวใจ เช่น การเต้นของหัวใจ ลิ้นหัวใจ หลอดเลือด
หัวใจ ความเสียหายที่เกิดขึ้นกับปอด ตรวจหามะเร็งเต้านม
 หน้าท้องและกระดูกเชิงกราน เป็นการตรวจหาความผิดปกติของอวัยวะและโครงสร้างอื่น ๆ ภายในช่องท้อง
ไม่ว่าจะเป็น ตับ ถุงน้าดี ตับอ่อน ไต กระเพาะปัสสาวะ รวมไปถึงเนื้องอก ภาวะเลือดออก การติดเชื้อ และ
การอุดตันในอวัยวะเหล่านั้น ส่วนในผู้หญิงก็สามารถใช้ตรวจดูมดลูกและรังไข่ ในผู้ชายก็ใช้ในการตรวจดูต่อม
ลูกหมาก
 เส้นเลือด เป็นการตรวจดูเส้นเลือดและการไหลเวียนของเลือด (Magnetic Resonance Angiography:
MRA) เพื่อช่วยค้นหาความผิดปกติของหลอดเลือดแดงและหลอดเลือดดา เช่น หลอดเลือดโป่งพอง การตีบ
แคบและการอุดตันของหลอดเลือด ภาวะเลือดเซาะผนังหลอดเลือดแดงใหญ่
 ไขสันหลัง ตรวจเช็คหมอนกระดูกและเส้นประสาทไขสันหลังในบางสภาวะ เช่น โพรงกระดูกสันหลังตีบแคบ
หมอนรองกระดูกเคลื่อนตัว เนื้องอกของไขสันหลัง
5
 กระดูกและข้อต่อ ตรวจดูความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับกระดูกและข้อต่อ เช่น ข้ออักเสบ ความผิดปกติข้อต่อ
ขากรรไกร ไขกระดูกสันหลังมีปัญหา เนื้องอกกระดูก กระดูกอ่อน เส้นเอ็นฉีกขาดหรือเกิดการติดเชื้อ
→ หลักการทางานของเครื่อง เอ็มอาร์ไอ
MRI คือเครื่องตรวจร่างกายด้วยการสร้างภาพเหมือนจริงของส่วนต่างๆของร่างกาย โดยใช้สนามแม่เหล็กความเข้มสูง
เมื่อใส่สนามแม่เหล็กให้กับร่างกาย นิวเคลียสของอะตอมในร่างกายจะเข้าสู่สถานะถูกกระตุ้น และเมื่อหยุดให้
สนามแม่เหล็ก นิวเคลียสของอะตอมจะเกิดการปลดปล่อยพลังงานเพื่อกลับคืนสู่สถานะปกติ เมื่อรับคลื่นความถี่ที่
ปล่อยออกมา แล้วนาไปประมวลผลและสร้างเป็นภาพด้วยคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถให้รายละเอียดและความคมชัด
เหมือนการตัดร่างกายออกเป็นแผ่นๆทาให้แพทย์สามารถมองจุดที่ผิดปกติในร่างกายคนเราได้อย่างละเอียด โดยที่ไม่
ก่อให้เกิดอันตรายใดๆต่อผู้รับการตรวจ เครื่อง MRI มีส่วนประกอบที่สาคัญคือ แม่เหล็กที่มีกาลังสูงมากซึ่งใช้ในการ
เปลี่ยนการเอียงตัวของสปินของนิวเคลียสให้มีการเอียงตัวตามทิศของสนามแม่เหล็กที่ให้ แล้วหลังจากนั้นก็หยุดให้
สนามแม่เหล็กเพื่อให้นิวเคลียสเกิดการคายพลังงานเพื่อกลับสู่ตาแหน่งเดิม จับสัญญาณการคายพลังงานที่ได้ แล้ว
นามาสังเคราะห์ภาพก็จะได้ภาพต่างๆในบริเวณที่ทาการศึกษา ดังนั้นสนามแม่เหล็กที่ใช้จึงจะต้องมีความเข้มสูงมาก
และต้องใช้เวลาสั้นมากๆเพื่อให้มีผลกระทบต่อการวัดน้อยที่สุดในระยะแรกได้ใช้การสร้างแม่เหล็กไฟฟ้า โดยใช้
เส้นลวดทองแดงพันเป็นขดลวดมีน้าหนักประมาณ 5 ตัน ได้สนามแม่เหล็กที่มีความเข้มไม่มากนักคือ ประมาณ 0.2
ถึง 1.0 เทสลา ต่อมาจึงมีการพัฒนาแม่เหล็กเป็นแบบ แม่เหล็กความเข้มสูง (Super magnet) โดยใช้ขดลวดซึ่งทา
ด้วยตัวนายวดยิ่งแทน ให้แม่เหล็กที่มีความเข้มได้มากกว่า 2 เทสลา โดยมีขนาดขนาดแม่เหล็กไม่ใหญ่มากนัก โดยใน
ระยะแรกจะใช้ตัวนายวดยิ่งแบบดั้งเดิมในพวกสารประกอบคือโลหะผสมไนโอเบียมไททาเนียม(NbTi) ที่มีอุณหภูมิ
วิกฤติไม่สูงมากนักประมาณ 10 เคลวิน การทางานต้องใช้ฮีเลียมเหลว และไนโตรเจนเหลวในการควบคุมอุณหภูมิ
ปัจจุบันมีการนาเอาตัวนายวดยิ่งอุณหภูมิสูงมาใช้ทาแม่เหล็กความเข้มสูงแทนตัวนายวดยิ่งแบบดั้งเดิม ทาให้สามารถ
ใช้งานได้สะดวกมากยิ่งขึ้น เนื่องจากตัวนายวดยิ่งประเภทนี้มีอุณหภูมิวิกฤติประมาณ 90 เคลวิน สามารถใช้
ไนโตรเจนเหลวเป็นสารหล่อเย็นได้ สามารถให้สนามแม่เหล็กได้สูงมากตั้งแต่ 2 เทสลา จนถึตัวอักษรหัวเรื่อง 10เท
สลา ได้อย่างสบายๆ ทั้งนี้ขึ้นกับกระแสไฟฟ้าวิกฤตและสนามไฟฟ้าวิกฤตของตัวนายวดยิ่ง
→เกิดอะไรขึ้นระหว่างการทา MRI
ส่วนใหญ๋แล้วห้อง MRI มักจะหนาวเพื่อให้เครื่องกาเนิดแม่เหล็กไฟฟ้าสามารถทางานได้อย่างเหมาะสม
ระหว่างการทา MRI คุณจะต้องนอนนิ่งๆ อยู่บนโต๊ะแคบๆ ภายในอุโมงค์ขนาดใหญ่ คุณจะนอนอยู่คนเดียว ในขณะที่
เจ้าหน้าที่เทคนิคจะทาการเดินเครื่อง MRI จากห้องที่อยู่ใกล้เคียง แต่คุณสามารถพูดคุยกับพวกเขาได้ผ่านทาง
ไมโครโฟน คุณอาจจะได้รับที่อุดหูเพื่อช่วยลดเสียงการทางานของเครื่องที่ค่อนข้างดัง การตรวจนี้มักใช้เวลาระหว่าง
45-90 นาที
6
→ เอ็มอาร์ไอ ใช้ตรวจอวัยวะใดได้บ้าง...?
การตรวจอวัยวะด้วยเครื่อง เอ็มอาร์ไอ สามารถตรวจหาความผิดปกติได้เกือบทุกอวัยวะ ได้แก่
1. ความผิดปกติภายในกะโหลกศีรษะ เช่น สมอง ตา หูชั้นใน ต่อมใต้สมอง เป็นต้น
2. ความผิดปกติของระบบกระดูกสันหลังและไขสันหลัง โดยสามารถตรวจพบสาเหตุของการกดทับไขสันหลัง
หรือกดทับเส้นประสาทสันหลังได้อย่างแม่นยา
3. ความผิดปกติของเยื่อกล้ามเนื้อ กระดูกส่วนต่างๆ รวมทั้งการฉีกขาดของกล้ามเนื้อ เส้นเอ็นบริเวณข้อกระดูก
เช่น ข้อเข่า ข้อเท้า เป็นต้น
4. ความผิดปกติของอวัยวะในเชิงอุ้งเชิงกราน เช่น มดลูก ต่อมลูกหมาก และกระเพาะปัสสาวะ เป็นต้น
5. ความผิดปกติของอวัยวะบริเวณทรวงอก ช่องท้อง และเต้านม
→ ข้อดีของการตรวจด้วยเครื่อง เอ็มอาร์ไอ
1. สามารถจาแนกคุณสมบัติของเนื้อเยื่อที่แตกต่างกันได้ชัดเจน ทาให้แพทย์วินิจฉัยโรคได้ถูกต้องแม่นยามาก
ยิ่งขึ้น
2. ใช้ไดดีกับส่วนที่เป็นเนื้อเยื่อ เช่น เนื้อเยื่อสมอง เส้นประสาทไขสันหลัง กล้าม เอ็นยึดกระดูกและกล้ามเนื้อ
เส้นเลือด ไขกระดูก และข้อต่อกระดูกต่างๆ เป็นต้น
3. สามรถตรวจหาสิ่งผิดปกติในร่างกายได้ตั้งแต่ระยะแรกๆ
4. ตรวจได้ทุกระนาบโดยไม่ต้องเคลื่อนย้ายหรือเปลี่ยนท่า
5. ไม่มีรังสีเอกซเรย์ที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย
→ ข้อพึงระวัง...ก่อนเข้ารับการตรวจ เอ็มอาร์ไอ
เนื่องจากห้องตรวจเอ็มอาร์ไอ จะมีสนามแม่เหล็กไฟฟ้าความเข้มสูงตลอดเวลา ซึ่งมีผลต่อการการทางานของ
เครื่องมือที่ไวต่อแม่เหล็ก และดึงดูดวัตถุที่เป็นโลหะทุกชนิด จึงมีข้อพึงระวังก่อนเข้ารับการตรวจด้วยเครื่องเอ็มอาร์ไอ
ดังนี้
1. ห้ามตรวจในผู้ที่มีการฝังโลหะในร่างกาย เช่น ผู้ป่วยที่ผ่าตัดติดคลิปอุดหลอดเลือดในเส้นเลือดโป่งพอง ผู้ป่วย
ใส่ลิ้นหัวใจเทียม หรือข้อเทียม ผู้ป่วยที่ใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจ ผู้ป่วยที่ใส่ Stent หลอกเลือดหัวใจ หรือผู้ป่วยที่
ผ่าตัดใส่อวัยวะเทียมภายในหู เป็นต้น
2. ควรหลีกเลี่ยงการตรวจ เอ็มอาร์ไอ ในผู้ป่วยที่กลัวที่แคบ (Claustrophobic) เพราะเครื่อง เอ็มอาร์ไอ มี
ลักษณะเป็นโพรงให้เตียงผู้ป่วยเคลื่อนเข้าไปได้
3. ผู้ป่วยที่เข้ารับการตรวจ เอ็มอาร์ไอ จะต้องนาโลหะต่างๆออกจากตัว เช่น ที่หนีบผม ฟันปลอม ต่างหู
เครื่องประดับ บัตรเอทีเอ็ม หรือบัตรเครดิต กุญแจ หรือ นาฬิกา เป็นต้น
4. ผู้ป่วยต้องถอดเหล็กดัดฟัน ไม่ใช้อายแชโดว์ และ มาสคาร่า เพราะมีส่วยประของโลหะ ซึ่งจะทาให้เกิดสิ่ง
แปลกปลอมบนภาพได้
5. ถึงแม้ว่าจะไม่มีรายงานผลข้างเคียงต่อทารกในครรภ์ก็ตาม หากไม่มีความจาเป็นจริงๆ จะไม่แนะนาให้ตรวจ
ในผู้ที่ตั้งครรภ์ในระยะ 3 เดือนแรก
7
→ สารเพิ่มความแตกต่าง (Contrast Media) คืออะไร
สารเพิ่มความแตกต่าง (Contrast Media) คือสารที่ใช้ฉีดเพื่อช่วยในการแยกแยะเนื้อเยื่อที่ต้องการตรวจให้เห็น
เด่นชัดยิ่งขึ้น ใช้สาหรับดารตรวจร่างกายเฉพาะส่วน เช่น การตรวจหาความผิดปกติของเส้นเลือดในสมอง การ
ตรวจหามะเร็งบางชนิด เช่น มะเร็งลาไส้ใหญ่ เป็นต้น สารเพิ่มความแตกต่าง ที่ใช้ในการตรวจเอ็มอาร์ไอมีความ
ปลอดภัยสูงมาก เนื่องจากไม่มีสารไอโอดีน เป็นประกอบเหมือนที่ใช้ในการตรวจด้วยเครื่อง เอกซเรย์คอมพิวเตอร์
(CT) จึงมั่นใจได้ว่าจะไม่ทาให้เกิดอาการแพ้ในผู้ป่วยที่แพ้สารไอโอดีน
→ ขั้นตอนการตรวจด้วยเครื่อง เอ็มอาร์ไอ
1. ผู้ป่วยนอนบนเตียงตรวจ จะมีการติดเครื่องจับสัญญาณแม่เหล็ก (Magnetic Coil) ที่ส่วนต่างๆในร่างกายที่
ต้องการตรวจ
2. ผู้ป่วยตะค่อยๆ เคลื่อนไปยังศูนย์กลางของสนามแม่เหล็ก
3. ขณะที่ทาการตรวจจะมีเสียงดังเกิดขึ้นเป็นระยะซึ่งเกิดจากการทางานของเครื่องปกติ
4. สาหรับการตรวจบางอวัยวะอาจมีการฉีดสารดเพิ่มความแตกต่าง(Contrast Media) เพื่อช่วยให้เห็นภาพ
อวัยวะชัดเจนยิ่งขึ้น
5. ใช้ระยะเวลาการตรวจโดยการตรวจประมาณ 1-3 ชั่วโมง
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
- ปรึกษาเลือกหัวข้อ
- นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน
- ศึกษารวบรวมข้อมูล
- จัดทารายงาน
- นาเสนอครู
- ปรับปรุงและแก้ไข
8
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
- อินเตอร์เน็ต
- หนังสือที่เกี่ยวข้อง
- คอมพิวเตอร์
- โทรศัพท์
งบประมาณ
200 บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
ทาให้รู้ถึงการทางานของเครื่อง MRI ที่มีความพิเศษในการสามารถตรวจทุกส่วนของร่างกายได้หมด ทาให้เรา
รู้ถึงการทางานว่าทางานอย่างไร มีกลไกอะไรบ้างในการทางาน ข้อดี ข้อเสีย ของการตรวจ และทาให้เรารู้ผลตรวจที่
ละเอียดมากขึ้น และแพทย์สามารถวินิจฉัยได้ถูกต้องแม่นยา
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย โรงพยาบาล และ ที่บ้าน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา
9
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
https://goo.gl/ibyCYm
https://goo.gl/AyGesH
https://goo.gl/AyGesH
https://goo.gl/aix46L
https://goo.gl/JNxQQd
https://goo.gl/t59TiD

More Related Content

What's hot

Ayn zamiin temdeglel
Ayn zamiin temdeglelAyn zamiin temdeglel
Ayn zamiin temdeglelshand1_tuul
 
р.о өгүүлбэрийг салаалах-8
р.о  өгүүлбэрийг салаалах-8р.о  өгүүлбэрийг салаалах-8
р.о өгүүлбэрийг салаалах-8school14
 
дүрсийн талбай 2 р анги
дүрсийн талбай 2 р ангидүрсийн талбай 2 р анги
дүрсийн талбай 2 р ангиEnhmaa Purevsuren
 
15. toloonii ugiin-aimag
15. toloonii ugiin-aimag15. toloonii ugiin-aimag
15. toloonii ugiin-aimag
telmenten
 
өнцөг түүний төрөл
өнцөг түүний төрөлөнцөг түүний төрөл
өнцөг түүний төрөлBayarmaa Ukhna
 
ургамлын эсийн бүтэц
ургамлын эсийн бүтэцургамлын эсийн бүтэц
ургамлын эсийн бүтэцbyamba-1
 
Sheet6
Sheet6Sheet6
Sheet6oyuko
 
монгол хэлний найруулгын төрөл Altantuya
монгол хэлний найруулгын төрөл Altantuyaмонгол хэлний найруулгын төрөл Altantuya
монгол хэлний найруулгын төрөл AltantuyaBuyanjargal_b
 
"Солонгос хэлний орчуулгын онол" Хичээл-3
"Солонгос хэлний орчуулгын онол" Хичээл-3"Солонгос хэлний орчуулгын онол" Хичээл-3
"Солонгос хэлний орчуулгын онол" Хичээл-3
E-Gazarchin Online University
 
"Солонгос хэлний орчуулгын онол" Хичээл-8
"Солонгос хэлний орчуулгын онол" Хичээл-8"Солонгос хэлний орчуулгын онол" Хичээл-8
"Солонгос хэлний орчуулгын онол" Хичээл-8
E-Gazarchin Online University
 
Mongol hund zoriulsan solongos helnii tsogts surah bichig 1
Mongol hund zoriulsan solongos helnii tsogts surah bichig 1Mongol hund zoriulsan solongos helnii tsogts surah bichig 1
Mongol hund zoriulsan solongos helnii tsogts surah bichig 1
E-Gazarchin Online University
 
Zuunaa2.01.11
Zuunaa2.01.11Zuunaa2.01.11
Zuunaa2.01.11Zuunaa
 
хөдөлгөөний бодлого
хөдөлгөөний бодлогохөдөлгөөний бодлого
хөдөлгөөний бодлогоod_ulzii22
 
L 2 gazarzuin ih neelt
L 2 gazarzuin ih neeltL 2 gazarzuin ih neelt
L 2 gazarzuin ih neeltBMunguntuul
 
албан бичгийн орчуулга
албан бичгийн орчуулгаалбан бичгийн орчуулга
албан бичгийн орчуулгаEnkhbayar Bayarmaa
 
биологи 8, 7 р ангийн тест
биологи 8, 7 р ангийн тестбиологи 8, 7 р ангийн тест
биологи 8, 7 р ангийн тестChimeg Tsetseg
 

What's hot (20)

Ayn zamiin temdeglel
Ayn zamiin temdeglelAyn zamiin temdeglel
Ayn zamiin temdeglel
 
р.о өгүүлбэрийг салаалах-8
р.о  өгүүлбэрийг салаалах-8р.о  өгүүлбэрийг салаалах-8
р.о өгүүлбэрийг салаалах-8
 
Hich3
Hich3Hich3
Hich3
 
дүрэм
дүрэм дүрэм
дүрэм
 
дүрсийн талбай 2 р анги
дүрсийн талбай 2 р ангидүрсийн талбай 2 р анги
дүрсийн талбай 2 р анги
 
15. toloonii ugiin-aimag
15. toloonii ugiin-aimag15. toloonii ugiin-aimag
15. toloonii ugiin-aimag
 
тийн ялгал
тийн ялгалтийн ялгал
тийн ялгал
 
өнцөг түүний төрөл
өнцөг түүний төрөлөнцөг түүний төрөл
өнцөг түүний төрөл
 
ургамлын эсийн бүтэц
ургамлын эсийн бүтэцургамлын эсийн бүтэц
ургамлын эсийн бүтэц
 
Sheet6
Sheet6Sheet6
Sheet6
 
монгол хэлний найруулгын төрөл Altantuya
монгол хэлний найруулгын төрөл Altantuyaмонгол хэлний найруулгын төрөл Altantuya
монгол хэлний найруулгын төрөл Altantuya
 
"Солонгос хэлний орчуулгын онол" Хичээл-3
"Солонгос хэлний орчуулгын онол" Хичээл-3"Солонгос хэлний орчуулгын онол" Хичээл-3
"Солонгос хэлний орчуулгын онол" Хичээл-3
 
"Солонгос хэлний орчуулгын онол" Хичээл-8
"Солонгос хэлний орчуулгын онол" Хичээл-8"Солонгос хэлний орчуулгын онол" Хичээл-8
"Солонгос хэлний орчуулгын онол" Хичээл-8
 
Mongol hund zoriulsan solongos helnii tsogts surah bichig 1
Mongol hund zoriulsan solongos helnii tsogts surah bichig 1Mongol hund zoriulsan solongos helnii tsogts surah bichig 1
Mongol hund zoriulsan solongos helnii tsogts surah bichig 1
 
123
123123
123
 
Zuunaa2.01.11
Zuunaa2.01.11Zuunaa2.01.11
Zuunaa2.01.11
 
хөдөлгөөний бодлого
хөдөлгөөний бодлогохөдөлгөөний бодлого
хөдөлгөөний бодлого
 
L 2 gazarzuin ih neelt
L 2 gazarzuin ih neeltL 2 gazarzuin ih neelt
L 2 gazarzuin ih neelt
 
албан бичгийн орчуулга
албан бичгийн орчуулгаалбан бичгийн орчуулга
албан бичгийн орчуулга
 
биологи 8, 7 р ангийн тест
биологи 8, 7 р ангийн тестбиологи 8, 7 р ангийн тест
биологи 8, 7 р ангийн тест
 

Similar to 2561 project-16

Project com
Project comProject com
Project com
WuLizhu
 
2560 project1
2560 project1 2560 project1
2560 project1
midfill69
 
27 38 604
27 38 60427 38 604
27 38 604
Eye Radom
 
18
1818
โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์
NatpaphatYRC
 
101245
101245101245
101245
insecgo
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
DT_sim
 
101245
101245101245
101245
insecgo
 
Lower belly reduce disease
Lower belly reduce diseaseLower belly reduce disease
Lower belly reduce disease
Laksika Butkaeo
 
บอลลูนหัวใจ2560 project
บอลลูนหัวใจ2560 projectบอลลูนหัวใจ2560 project
บอลลูนหัวใจ2560 project
chayanit kaewjankamol
 
2560project
2560project2560project
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
insecgo
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
insecgo
 
หยก
หยกหยก
หยก
yokphatcharawat
 
2562 final-project 17
2562 final-project 172562 final-project 17
2562 final-project 17
KUMBELL
 
เรื่องสิว ชิวๆ
เรื่องสิว ชิวๆเรื่องสิว ชิวๆ
เรื่องสิว ชิวๆ
Kritayaporn Potisinanan
 
Nattun 605 06
Nattun 605 06Nattun 605 06
Nattun 605 06
NattunTawanvanechkul
 

Similar to 2561 project-16 (20)

Project com
Project comProject com
Project com
 
2560 project1
2560 project1 2560 project1
2560 project1
 
27 38 604
27 38 60427 38 604
27 38 604
 
18
1818
18
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์
 
101245
101245101245
101245
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
101245
101245101245
101245
 
Lower belly reduce disease
Lower belly reduce diseaseLower belly reduce disease
Lower belly reduce disease
 
บอลลูนหัวใจ2560 project
บอลลูนหัวใจ2560 projectบอลลูนหัวใจ2560 project
บอลลูนหัวใจ2560 project
 
2560project
2560project2560project
2560project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
หยก
หยกหยก
หยก
 
หยก
หยกหยก
หยก
 
2562 final-project 17
2562 final-project 172562 final-project 17
2562 final-project 17
 
เรื่องสิว ชิวๆ
เรื่องสิว ชิวๆเรื่องสิว ชิวๆ
เรื่องสิว ชิวๆ
 
Nattun 605 06
Nattun 605 06Nattun 605 06
Nattun 605 06
 

More from asirwa04

Tobacco and galangal is pesticides
Tobacco and galangal is pesticidesTobacco and galangal is pesticides
Tobacco and galangal is pesticides
asirwa04
 
Work 1 piyathida
Work 1 piyathidaWork 1 piyathida
Work 1 piyathida
asirwa04
 
Thanchanok20
Thanchanok20Thanchanok20
Thanchanok20
asirwa04
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
asirwa04
 
Work2
Work2Work2
Work2
asirwa04
 
Work 2
Work 2Work 2
Work 2
asirwa04
 

More from asirwa04 (6)

Tobacco and galangal is pesticides
Tobacco and galangal is pesticidesTobacco and galangal is pesticides
Tobacco and galangal is pesticides
 
Work 1 piyathida
Work 1 piyathidaWork 1 piyathida
Work 1 piyathida
 
Thanchanok20
Thanchanok20Thanchanok20
Thanchanok20
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
Work2
Work2Work2
Work2
 
Work 2
Work 2Work 2
Work 2
 

2561 project-16

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน การทางานของเครื่อง MRI ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นางสาว พิชญา แสงไพโรจน์ เลขที่ 16 ชั้น ม.6 ห้อง 2 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี)………………………………………………… ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… 1………………………………….. เลขที่……… 2…………………………………เลขที่ ………. 3………………………………….. เลขที่……… คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โครงงานเรื่อง การทางานของเครื่อง MRI ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Working of Magnetic Resonance Imaging ประเภทโครงงาน โครงงานสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว พิชญา แสงไพโรจน์ ชื่อที่ปรึกษา ครู เขื่อนทอง มูลวรรณ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เนื่องจากปัจจุบันอัตราการเกิดโรคมะเร็ง โรคหัวใจ หรือโรคที่เกี่ยวกับสมองเพิ่มสูงขึ้นมากกว่าอดีต ซึ่งเกิด จากหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเป็นการเกิดจากการรับประทานอาหาร พันธุกรรม หรือแม้กระทั่งการไม่ยอมตรวจร่างกาย ตั้งแต่แรก ทาให้อาการเริ่มหนักและรักษาได้ยาก ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ในการตรวจหาความผิดปกติของร่างกายนั้นก็คือ เครื่อง MRI ที่สามารถตรวจได้ทุกส่วนของร่างกายเพื่อตรวจหาความผิดปกติ ซึ่งถ้าเราตรวจตั้งแต่เนิ่นๆ ก็ยิ่งเป็นผลดี ในการรักษาซึ่งมีโอกาสสูงที่จะรักษาให้หายขาดได้ ดังนั้นโครงงานจึงจัดทาขึ้นเพื่อศึกษาการทางานของเครื่อง MRI นี้ว่ามีการทางานอย่างไร มีข้อดี ข้อเสีย อะไรบ้าง ถึงสามารถตรวจ วินิจฉัย ผู้ป่วยว่ามีความผิดปกติอย่างไร แล้วมีความแม่นยาสูงมาก ที่สาคัญสามารถตรวจ ได้ทั่วร่างกายและผลที่ออกมาค่อนข้างละเอียด และช่วยทาให้ลดอัตราการเกิดโรคดังกล่าวได้เพราะ เรารู้ว่าเราเป็น โรคนี้ตั้งแต่เนิ่นๆ จากการตรวจร่างกาย จึงสามารถช่วยลดสิ่งนี้ได้ ทาให้เรามีชีวิตที่ดีขึ้นกว่าเดิม วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อ ศึกษาการทางานของเครื่อง MRI 2. เพื่อ ศึกษาถึงข้อดี และ ข้อเสียของเครื่องว่ามีอะไรบ้าง 3. เพื่อ ให้ผู้ป่วยหันมาตรวจสุขภาพ หรือ ความผิดปกติของร่างกายให้เพิ่มมากขึ้น 4. เพื่อ ลดอัตราการเกิดโรคมะเร็ง โรคหัวใจ หรือโรคที่เกี่ยวกับสมอง ที่ถึงขึ้นรุนแรงได้
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1. การทางานของเครื่อง MRI 2. ข้อดี ข้อเสีย ของเครื่อง MRI 3. ส่วนของร่างกายที่เครื่องสามารถตรวจได้ 4. การแปลผลตรวจของร่างกาย หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) เนื่องจาก ปัจจุบันผู้คนมักเป็นโรคมะเร็ง โรคหัวใจ หรือโรคที่เกี่ยวกับสมองกันเยอะ ซึ่งวิธีการตรวจเบื้องต้นคือการนา ผู้ป่วยไปตรวจด้วยเครื่อง MRI ซึ่งต้องเข้าไปในเครื่องตัวนี้เพื่อตรวจอย่างละเอียด จึงเป็นที่มาของโครงงานว่า เครื่องนี้ มีการทางานอย่างไร? → ประวัติของเครื่อง MRI ในปี 1971 บลอช (Bloch) และ พัลเซล (Purcell) ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ร่วมกันในการพัฒนาในเรื่อง การ เรโซแนสของนิวเคลียสด้วยแม่เหล็ก NMR (Nuclear magnetic resonance) โดย NMR เป็นหลักการทาง ฟิสิกส์ที่อยู่เบื้องหลัง MRI ซึ่งแมนส์ฟิล (Mansfield) และลัวเตอร์เบอร์ (Lauterbur) ได้พัฒนาเครื่อง NMR จน สามารถสร้างภาพร่างกายมนุษย์จากสัญญาณที่ได้จาก NMR ได้ ทาให้ทั้ง ลัวเตอร์เบอร์ และ แมนส์ฟิลได้รับรางวัล โนเบลสาขา การแพทย์ในปี 2003 MRI ชื่อเดิมคือ การสร้างภาพจากการเรโซแนสของนิวเคลียสด้วยแม่เหล็ก (Nuclear Magnetic Resonance Imaging) แต่ต้องมาเปลี่ยนชื่อมาเป็น Magnetic Resonance Imaging (MRI) เนื่องจากเกรงว่าคนทั่วไปจะเข้าใจผิดว่าใช้รังสี ซึ่งในความเป็นจริงมิได้เป็นเช่นนั้น เครื่อง MRI ถูกนามาใช้ในทาง การแพทย์อย่างแพร่หลายและรวดเร็วมาก
  • 4. 4 → MRI คือ อะไร? เอ็มอาร์ไอ (MRI : Magnetic Resonance Imaging) เป็นเครื่องมือที่ใช้ตรวจหาความผิดปกติของอวัยวะต่างๆในร่างกาย โดยใช้สนามแม่เหล็กความเข้มสูงและคลื่น ความถี่ในย่านความถี่วิทยุ มาใช้ในการสร้างภาพตัดขวางและภาพในแนวระนาบต่างๆ ซึ่งทาให้แพทย์สามารถ วินิจฉัยโรคได้อย่างละเอียด และแม่นยามากยิ่งขึ้น โดยไม่ก่อให้เกิดอันตราย หรือ ความเจ็บปวดใดๆแก่ผู้ป่วยและไม่มี รังสีเอกซเรย์ →ข้อบ่งชี้ในการตรวจ MRI Scan MRI Scan เป็นวิธีในการตรวจหาความผิดปกติของอวัยวะเกือบทั่วร่างกายที่ค่อนข้างแม่นยา และมักจะใช้ยืนยันผล วินิจฉัยหลังจากการทดสอบอื่น ๆ ให้ข้อมูลได้ไม่เพียงพอ โดยการตรวจ MRI Scan ในแต่ละส่วนในร่างกายอาจมี จุดประสงค์ที่แตกต่างกันออกไป เช่น  ศีรษะ เป็นการตรวจหาความผิดปกติของสมองและเส้นประสาทในสมองที่เชื่อมกับอวัยวะที่เกี่ยวข้อง เช่น เนื้องอกในสมอง เลือดออกในสมอง หลอดเลือดในสมองโป่งพอง การบาดเจ็บเส้นของประสาทเกี่ยวกับ การมองเห็นและได้ยิน  หน้าอก เป็นการตรวจดูความผิดปกติบริเวณหน้าอกและหัวใจ เช่น การเต้นของหัวใจ ลิ้นหัวใจ หลอดเลือด หัวใจ ความเสียหายที่เกิดขึ้นกับปอด ตรวจหามะเร็งเต้านม  หน้าท้องและกระดูกเชิงกราน เป็นการตรวจหาความผิดปกติของอวัยวะและโครงสร้างอื่น ๆ ภายในช่องท้อง ไม่ว่าจะเป็น ตับ ถุงน้าดี ตับอ่อน ไต กระเพาะปัสสาวะ รวมไปถึงเนื้องอก ภาวะเลือดออก การติดเชื้อ และ การอุดตันในอวัยวะเหล่านั้น ส่วนในผู้หญิงก็สามารถใช้ตรวจดูมดลูกและรังไข่ ในผู้ชายก็ใช้ในการตรวจดูต่อม ลูกหมาก  เส้นเลือด เป็นการตรวจดูเส้นเลือดและการไหลเวียนของเลือด (Magnetic Resonance Angiography: MRA) เพื่อช่วยค้นหาความผิดปกติของหลอดเลือดแดงและหลอดเลือดดา เช่น หลอดเลือดโป่งพอง การตีบ แคบและการอุดตันของหลอดเลือด ภาวะเลือดเซาะผนังหลอดเลือดแดงใหญ่  ไขสันหลัง ตรวจเช็คหมอนกระดูกและเส้นประสาทไขสันหลังในบางสภาวะ เช่น โพรงกระดูกสันหลังตีบแคบ หมอนรองกระดูกเคลื่อนตัว เนื้องอกของไขสันหลัง
  • 5. 5  กระดูกและข้อต่อ ตรวจดูความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับกระดูกและข้อต่อ เช่น ข้ออักเสบ ความผิดปกติข้อต่อ ขากรรไกร ไขกระดูกสันหลังมีปัญหา เนื้องอกกระดูก กระดูกอ่อน เส้นเอ็นฉีกขาดหรือเกิดการติดเชื้อ → หลักการทางานของเครื่อง เอ็มอาร์ไอ MRI คือเครื่องตรวจร่างกายด้วยการสร้างภาพเหมือนจริงของส่วนต่างๆของร่างกาย โดยใช้สนามแม่เหล็กความเข้มสูง เมื่อใส่สนามแม่เหล็กให้กับร่างกาย นิวเคลียสของอะตอมในร่างกายจะเข้าสู่สถานะถูกกระตุ้น และเมื่อหยุดให้ สนามแม่เหล็ก นิวเคลียสของอะตอมจะเกิดการปลดปล่อยพลังงานเพื่อกลับคืนสู่สถานะปกติ เมื่อรับคลื่นความถี่ที่ ปล่อยออกมา แล้วนาไปประมวลผลและสร้างเป็นภาพด้วยคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถให้รายละเอียดและความคมชัด เหมือนการตัดร่างกายออกเป็นแผ่นๆทาให้แพทย์สามารถมองจุดที่ผิดปกติในร่างกายคนเราได้อย่างละเอียด โดยที่ไม่ ก่อให้เกิดอันตรายใดๆต่อผู้รับการตรวจ เครื่อง MRI มีส่วนประกอบที่สาคัญคือ แม่เหล็กที่มีกาลังสูงมากซึ่งใช้ในการ เปลี่ยนการเอียงตัวของสปินของนิวเคลียสให้มีการเอียงตัวตามทิศของสนามแม่เหล็กที่ให้ แล้วหลังจากนั้นก็หยุดให้ สนามแม่เหล็กเพื่อให้นิวเคลียสเกิดการคายพลังงานเพื่อกลับสู่ตาแหน่งเดิม จับสัญญาณการคายพลังงานที่ได้ แล้ว นามาสังเคราะห์ภาพก็จะได้ภาพต่างๆในบริเวณที่ทาการศึกษา ดังนั้นสนามแม่เหล็กที่ใช้จึงจะต้องมีความเข้มสูงมาก และต้องใช้เวลาสั้นมากๆเพื่อให้มีผลกระทบต่อการวัดน้อยที่สุดในระยะแรกได้ใช้การสร้างแม่เหล็กไฟฟ้า โดยใช้ เส้นลวดทองแดงพันเป็นขดลวดมีน้าหนักประมาณ 5 ตัน ได้สนามแม่เหล็กที่มีความเข้มไม่มากนักคือ ประมาณ 0.2 ถึง 1.0 เทสลา ต่อมาจึงมีการพัฒนาแม่เหล็กเป็นแบบ แม่เหล็กความเข้มสูง (Super magnet) โดยใช้ขดลวดซึ่งทา ด้วยตัวนายวดยิ่งแทน ให้แม่เหล็กที่มีความเข้มได้มากกว่า 2 เทสลา โดยมีขนาดขนาดแม่เหล็กไม่ใหญ่มากนัก โดยใน ระยะแรกจะใช้ตัวนายวดยิ่งแบบดั้งเดิมในพวกสารประกอบคือโลหะผสมไนโอเบียมไททาเนียม(NbTi) ที่มีอุณหภูมิ วิกฤติไม่สูงมากนักประมาณ 10 เคลวิน การทางานต้องใช้ฮีเลียมเหลว และไนโตรเจนเหลวในการควบคุมอุณหภูมิ ปัจจุบันมีการนาเอาตัวนายวดยิ่งอุณหภูมิสูงมาใช้ทาแม่เหล็กความเข้มสูงแทนตัวนายวดยิ่งแบบดั้งเดิม ทาให้สามารถ ใช้งานได้สะดวกมากยิ่งขึ้น เนื่องจากตัวนายวดยิ่งประเภทนี้มีอุณหภูมิวิกฤติประมาณ 90 เคลวิน สามารถใช้ ไนโตรเจนเหลวเป็นสารหล่อเย็นได้ สามารถให้สนามแม่เหล็กได้สูงมากตั้งแต่ 2 เทสลา จนถึตัวอักษรหัวเรื่อง 10เท สลา ได้อย่างสบายๆ ทั้งนี้ขึ้นกับกระแสไฟฟ้าวิกฤตและสนามไฟฟ้าวิกฤตของตัวนายวดยิ่ง →เกิดอะไรขึ้นระหว่างการทา MRI ส่วนใหญ๋แล้วห้อง MRI มักจะหนาวเพื่อให้เครื่องกาเนิดแม่เหล็กไฟฟ้าสามารถทางานได้อย่างเหมาะสม ระหว่างการทา MRI คุณจะต้องนอนนิ่งๆ อยู่บนโต๊ะแคบๆ ภายในอุโมงค์ขนาดใหญ่ คุณจะนอนอยู่คนเดียว ในขณะที่ เจ้าหน้าที่เทคนิคจะทาการเดินเครื่อง MRI จากห้องที่อยู่ใกล้เคียง แต่คุณสามารถพูดคุยกับพวกเขาได้ผ่านทาง ไมโครโฟน คุณอาจจะได้รับที่อุดหูเพื่อช่วยลดเสียงการทางานของเครื่องที่ค่อนข้างดัง การตรวจนี้มักใช้เวลาระหว่าง 45-90 นาที
  • 6. 6 → เอ็มอาร์ไอ ใช้ตรวจอวัยวะใดได้บ้าง...? การตรวจอวัยวะด้วยเครื่อง เอ็มอาร์ไอ สามารถตรวจหาความผิดปกติได้เกือบทุกอวัยวะ ได้แก่ 1. ความผิดปกติภายในกะโหลกศีรษะ เช่น สมอง ตา หูชั้นใน ต่อมใต้สมอง เป็นต้น 2. ความผิดปกติของระบบกระดูกสันหลังและไขสันหลัง โดยสามารถตรวจพบสาเหตุของการกดทับไขสันหลัง หรือกดทับเส้นประสาทสันหลังได้อย่างแม่นยา 3. ความผิดปกติของเยื่อกล้ามเนื้อ กระดูกส่วนต่างๆ รวมทั้งการฉีกขาดของกล้ามเนื้อ เส้นเอ็นบริเวณข้อกระดูก เช่น ข้อเข่า ข้อเท้า เป็นต้น 4. ความผิดปกติของอวัยวะในเชิงอุ้งเชิงกราน เช่น มดลูก ต่อมลูกหมาก และกระเพาะปัสสาวะ เป็นต้น 5. ความผิดปกติของอวัยวะบริเวณทรวงอก ช่องท้อง และเต้านม → ข้อดีของการตรวจด้วยเครื่อง เอ็มอาร์ไอ 1. สามารถจาแนกคุณสมบัติของเนื้อเยื่อที่แตกต่างกันได้ชัดเจน ทาให้แพทย์วินิจฉัยโรคได้ถูกต้องแม่นยามาก ยิ่งขึ้น 2. ใช้ไดดีกับส่วนที่เป็นเนื้อเยื่อ เช่น เนื้อเยื่อสมอง เส้นประสาทไขสันหลัง กล้าม เอ็นยึดกระดูกและกล้ามเนื้อ เส้นเลือด ไขกระดูก และข้อต่อกระดูกต่างๆ เป็นต้น 3. สามรถตรวจหาสิ่งผิดปกติในร่างกายได้ตั้งแต่ระยะแรกๆ 4. ตรวจได้ทุกระนาบโดยไม่ต้องเคลื่อนย้ายหรือเปลี่ยนท่า 5. ไม่มีรังสีเอกซเรย์ที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย → ข้อพึงระวัง...ก่อนเข้ารับการตรวจ เอ็มอาร์ไอ เนื่องจากห้องตรวจเอ็มอาร์ไอ จะมีสนามแม่เหล็กไฟฟ้าความเข้มสูงตลอดเวลา ซึ่งมีผลต่อการการทางานของ เครื่องมือที่ไวต่อแม่เหล็ก และดึงดูดวัตถุที่เป็นโลหะทุกชนิด จึงมีข้อพึงระวังก่อนเข้ารับการตรวจด้วยเครื่องเอ็มอาร์ไอ ดังนี้ 1. ห้ามตรวจในผู้ที่มีการฝังโลหะในร่างกาย เช่น ผู้ป่วยที่ผ่าตัดติดคลิปอุดหลอดเลือดในเส้นเลือดโป่งพอง ผู้ป่วย ใส่ลิ้นหัวใจเทียม หรือข้อเทียม ผู้ป่วยที่ใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจ ผู้ป่วยที่ใส่ Stent หลอกเลือดหัวใจ หรือผู้ป่วยที่ ผ่าตัดใส่อวัยวะเทียมภายในหู เป็นต้น 2. ควรหลีกเลี่ยงการตรวจ เอ็มอาร์ไอ ในผู้ป่วยที่กลัวที่แคบ (Claustrophobic) เพราะเครื่อง เอ็มอาร์ไอ มี ลักษณะเป็นโพรงให้เตียงผู้ป่วยเคลื่อนเข้าไปได้ 3. ผู้ป่วยที่เข้ารับการตรวจ เอ็มอาร์ไอ จะต้องนาโลหะต่างๆออกจากตัว เช่น ที่หนีบผม ฟันปลอม ต่างหู เครื่องประดับ บัตรเอทีเอ็ม หรือบัตรเครดิต กุญแจ หรือ นาฬิกา เป็นต้น 4. ผู้ป่วยต้องถอดเหล็กดัดฟัน ไม่ใช้อายแชโดว์ และ มาสคาร่า เพราะมีส่วยประของโลหะ ซึ่งจะทาให้เกิดสิ่ง แปลกปลอมบนภาพได้ 5. ถึงแม้ว่าจะไม่มีรายงานผลข้างเคียงต่อทารกในครรภ์ก็ตาม หากไม่มีความจาเป็นจริงๆ จะไม่แนะนาให้ตรวจ ในผู้ที่ตั้งครรภ์ในระยะ 3 เดือนแรก
  • 7. 7 → สารเพิ่มความแตกต่าง (Contrast Media) คืออะไร สารเพิ่มความแตกต่าง (Contrast Media) คือสารที่ใช้ฉีดเพื่อช่วยในการแยกแยะเนื้อเยื่อที่ต้องการตรวจให้เห็น เด่นชัดยิ่งขึ้น ใช้สาหรับดารตรวจร่างกายเฉพาะส่วน เช่น การตรวจหาความผิดปกติของเส้นเลือดในสมอง การ ตรวจหามะเร็งบางชนิด เช่น มะเร็งลาไส้ใหญ่ เป็นต้น สารเพิ่มความแตกต่าง ที่ใช้ในการตรวจเอ็มอาร์ไอมีความ ปลอดภัยสูงมาก เนื่องจากไม่มีสารไอโอดีน เป็นประกอบเหมือนที่ใช้ในการตรวจด้วยเครื่อง เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT) จึงมั่นใจได้ว่าจะไม่ทาให้เกิดอาการแพ้ในผู้ป่วยที่แพ้สารไอโอดีน → ขั้นตอนการตรวจด้วยเครื่อง เอ็มอาร์ไอ 1. ผู้ป่วยนอนบนเตียงตรวจ จะมีการติดเครื่องจับสัญญาณแม่เหล็ก (Magnetic Coil) ที่ส่วนต่างๆในร่างกายที่ ต้องการตรวจ 2. ผู้ป่วยตะค่อยๆ เคลื่อนไปยังศูนย์กลางของสนามแม่เหล็ก 3. ขณะที่ทาการตรวจจะมีเสียงดังเกิดขึ้นเป็นระยะซึ่งเกิดจากการทางานของเครื่องปกติ 4. สาหรับการตรวจบางอวัยวะอาจมีการฉีดสารดเพิ่มความแตกต่าง(Contrast Media) เพื่อช่วยให้เห็นภาพ อวัยวะชัดเจนยิ่งขึ้น 5. ใช้ระยะเวลาการตรวจโดยการตรวจประมาณ 1-3 ชั่วโมง วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน - ปรึกษาเลือกหัวข้อ - นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน - ศึกษารวบรวมข้อมูล - จัดทารายงาน - นาเสนอครู - ปรับปรุงและแก้ไข
  • 8. 8 เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ - อินเตอร์เน็ต - หนังสือที่เกี่ยวข้อง - คอมพิวเตอร์ - โทรศัพท์ งบประมาณ 200 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) ทาให้รู้ถึงการทางานของเครื่อง MRI ที่มีความพิเศษในการสามารถตรวจทุกส่วนของร่างกายได้หมด ทาให้เรา รู้ถึงการทางานว่าทางานอย่างไร มีกลไกอะไรบ้างในการทางาน ข้อดี ข้อเสีย ของการตรวจ และทาให้เรารู้ผลตรวจที่ ละเอียดมากขึ้น และแพทย์สามารถวินิจฉัยได้ถูกต้องแม่นยา สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย โรงพยาบาล และ ที่บ้าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา
  • 9. 9 แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) https://goo.gl/ibyCYm https://goo.gl/AyGesH https://goo.gl/AyGesH https://goo.gl/aix46L https://goo.gl/JNxQQd https://goo.gl/t59TiD