SlideShare a Scribd company logo
นางสาวตุลาลักษณ์ ขวัญข้าว
รหัส 56030500ครุเกษตรฯ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งกำรเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่ำงๆ
คำนี้ถ้ำจะเรียกให้สั้นและย่อมีชื่อเฉพำะว่ำฐำนกรณ์ ซึ่งหมำยถึงอวัยวะแปรเสียงหรือกล่อมเกลำเสียงโดยรวม
แต่ถ้ำจะแยกกลุ่มของอวัยวะแปรเสียงออกมำตำมลักษณะของกำรเคลื่อนไหวก็จะแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ
1. กลุ่มที่เคลื่อนที่ไม่ได้ (Passive Articulator หรือUpper Articulator) หรือมีชื่อเฉพำะสั้นๆ
ว่ำฐานซึ่งได้แก่ อวัยวะต่อไปนี้
- ริมฝีปำกบน (upper lip)
- ฟันบน(upper teeth)
- ปุ่มเหงือก (gum ridge หรือ alveolar ridge)
- เพดำนแข็ง (hard palate)
- เพดำนอ่อน (soft palate หรือ velum)
- ลิ้นไก่(uvula) อวัยวะชิ้นนี้แม้ว่ำจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มที่เรียกว่ำ upper
articulators หรืออวัยวะที่อยู่ส่วนบนของช่องปำกหรือเพดำนปำกก็ตำม แต่เป็นอวัยวะที่สำมำรถเคลื่อนที่ได้
2. กลุ่มที่เคลื่อนที่ได้ (Active Articulator หรือ Lower Articulator) หรือมีชื่อเฉพำะสั้นๆ
ว่ำกรณ์ ซึ่งได้แก่ อวัยวะต่อไปนี้ คือ
- ริมฝีปำกล่ำง (Lower lip)
- ลิ้น(tongue) ซิงเป็นอวัยวะที่มีควำมยืดหยุ่นตัวสูงที่สุดดังที่กล่ำวมำแล้วในตอนต้น
ในบทที่ว่ำด้วยเรื่องอวัยวะในกำรแกเสียง ในกำรทำให้เกิดเสียงพยัญชนะเสียงใดเสียงหนึ่งขึ้นมำนั้น
กระแสอำกำซที่เดินทำงผ่ำนเข้ำมำในช่องออกเสียง (vocal tract) จะต้องถูกกักกั้นในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง
กำรกักกั้นกระแสอำกำศก็จะกระทำได้โดยอวัยวะกลุ่มที่เคลื่อนที่ได้ (Active
Articulators) จะเคลื่อนที่เข้ำไปหำ, เข้ำไปใกล้, หรือเข้ำไปชิดอวัยวะกลุ่มที่เคลื่อนที่ไม่ได้(Passive
Articulator) เมื่อกระแสอำกำศเดินทำงผ่ำนจุดกักกั้นเหล่ำนั้นก็จะก่อให้เกิดเสยงพยัญชนะประเภทต่ำงๆ
ที่แตกต่ำงกันไปตำมรูปแบบของกำรกักกั้นกระแสอำกำศหรือที่เรียกว่ำลักษณะวิธีออกเสียง (Manner of
Articulation)ณ จุดเกิดเสียงต่ำงๆกัน
และคำที่ใช้สำหรับเรียกชื่อพยัญชนะส่วนหนึ่งก็มำจำกคำระบุตำแหน่งของกำรกักกั้นกระแสอำกำศดังกล่ำว
ซึ่งได้แก่
Bilabial (เสียงที่เกิดจำกริมฝีปำกทั้งคู่) เกิดจำกริมฝีปำกล่ำงเคลื่อนเข้ำไปหำริมฝี ปำกบน เช่น
เสียงแรกของคำว่ำ“my” ในภำษอังกฤษ เสียงแรกของคำว่ำ “ปู” ในภำษำไทย
Labiodental (เสียงที่เกิดจำกริมฝีปำกล่ำงและฟันบน)
เกิดจำกริมฝีปำกล่ำงเคลื่อนเข้ำไปหำฟันบนด้ำนหน้ำ เช่น เสียงแรกของคำว่ำ “เฝ้ ำ” ในภำษำไทย,
เสียงแรกของคำว่ำ “van” ในภำษำอังกฤษ
Dental (เสียงที่เกิดจำกปลำยลิ้นหรือส่วนถัดจำกปลำยลิ้นกับฟันบน)
เกิดจำกปลำยลิ้นหรือส่วนถัดจำกปลำยลิ้นเคลื่อนเข้ำไปหำฟันบนด้ำนหน้ำ เช่น
เสียงแรกของคำว่ำ “thin” ในภำษำอังกฤษ
Alveolar (เสียงที่เกิดจำกปลำยลิ้นหรือส่วนถัดจำกปลำยลิ้นกับปุ่มเหงือก)
เกิดจำกปลำยลิ้นหรือส่วนถัดจำกปลำยลิ้นเคลื่อนเข้ำไปหำปุ่มเหงือก เช่น เสียงแรกของคำว่ำ “นก”
ในภำษำไทย, เสียงแรกของคำว่ำ “tip” ในภำษำอังกฤษ
Retroflex (เสียงที่เกิดจำกปลำยลิ้นหรือส่วนใต้ปลำยลิ้นกับส่วนปลำยสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดำ
นแข็ง) เกิดจำกปลำยลิ้นซึ่งอำจจะเป็นผิวบน (upper surface)
หรือส่วนใต้ปลำยลิ้นเคลื่อนเข้ำไปหำส่วนปลำยสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดำนแข็ง เช่น เสียงตัว “ร” หรือ “ส”
ในตำแหน่งพยัญชนะต้นของภำษำไทยถิ่นใต้บำงสำเนียง และเสียง “r”
ในภำษำอังกฤษสำเนียงอเมริกันบำงสำเนียง
Palato-Alveolar (เสียงที่เกิดจำกส่วนถัดจำกปลำยลิ้นกับส่วนปลำยสุดของปุ่มเหงือก)
เกิดจำกกำรใช้ส่วนถัดปลำยลิ้นเคลื่อนเข้ำไปหำส่วนปลำยสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดำนแข็ง เช่น
เสียงแรกของคำว่ำ “show” ในภำษำอังกฤษ
Palatal (เสียงที่เกิดจำกลิ้นส่วนต้นกับเพดำนแข็ง) เกิดจำกกำรใช้ลิ้นส่วนต้น (front of the tongue)
เคลื่อนเข้ำไปหำเพดำนแข็ง เช่น เสียงแรกของคำที่แปลว่ำ “ยำก”
ในภำษำไทยถิ่นอีสำน [ø]และเสียงแรกของคำว่ำ “nyamuk” ในภำษำมำเลเซีย ซึ่งแปลว่ำ ยุง
Velar (เสียงที่เกิดจำกลิ้นส่วนหลังกับเพดำนอ่อน)
เกิดจำกกำรใช้ลิ้นส่วนหลังเคลื่อนเข้ำไปหำเพดำนอ่อน เช่น เสียงแรกของคำว่ำ “คน” ในภำษำไทย
เสียงแรกของคำว่ำ “give” ในภำษำอังกฤษ
Uvular (เสียงที่เกิดจำกลิ้นส่วนหลังกับลิ้นไก่) เกิดจำกกำรยกลิ้นส่วนหลังเข้ำไปหำลิ้นไก่ เช่น
เสียงแรกของคำว่ำ “rouge” ในภำษำฝรั่งเศส
Pharyngeal (เสียงที่เกิดจำกโคนลิ้นกับผนังช่องคอด้ำนหลัง)
เกิดจำกกำรดึงโคนลิ้นไปทำงด้ำนหลังเข้ำหำผนังช่องคอด้ำนหลัง เช่น เสียงแรกในคำที่แปลว่ำ “ลุง”
ในภำษำอำหรับ ([?amm])
Glottal (เสียงที่เกิดจำกเส้นเสียง) เกิดจำกกำรเคลื่อนเข้ำหำกันของเส้นเสียงทั้งคู่
โดยอำจจะเคลื่อนเข้ำมำติดกัน เช่น เสียงแรกของคำว่ำ “home” ในภำษำอังกฤษ, เสียงแรกของคำว่ำ “อู่”
ในภำษำไทย
นางสาวตุลาลักษณ์ ขวัญข้าว
รหัส 56030500ครุเกษตรฯ
สัญลักษณ์แทนเสียงสำกล
สัญลักษณ์ (IPA) ตัวอย่ำง เทียบเสียงในภำษำไทย
i: see /si:/ อี
i any /'eni/ อิ
ɪ sit /sɪt/ อิ(ก้ากึ่งระหว่างอิและอี)
e ten /ten/ เอะ
æ hat /hæt/ แอะ
ɑ: arm /ɑ:m/ อา
ɒ got /gɒt/ เอาะ
ɔ: saw /sɔ:/ ออ
ʊ put /pʊt/ อู
u: too /tu:/ อู
u usual /'ju:ʒuəl/ อุ
ʌ cup /kʌp/ อะ
ɜ: fur /fɜ:/ เออ
ə ago /ə'gəʊ/ เออะ
eɪ pay /peɪ/ เอ
əʊ home /həʊm/ โอ
aɪ five /faɪv/ ไอ
aʊ now /naʊ/ เอา, อาว
ɔɪ join /dʒɔɪn/ ออย
ɪə near /nɪə/ เอีย
eə hair /heə/ แอ
ʊə pure /pjʊə/ อิว
พยัญชนะ
สัญลักษณ์ (IPA) ตัวอย่ำง เทียบเสียงในภำษำไทย
p pen /pen/ พ
b bad /bæd/ บ
t tea /ti:/ ท
d did /dɪd/ ด
k cat /kæt/ ค
g got /gɒt/ ก
tʃ chin /tʃɪn/ ช
dʒ June /dʒu:n/ จ
f fall /fɔ:l/ ฟ
v van /væn/ ฟ
θ thin /θɪn/ ธ
ð then /ðen/ ธ
s so /səʊ/ ส
z zoo /zu:/ ส
ʃ she /ʃi:/ ช
ʒ vision /'vɪʒn/ ฉ
h how /haʊ/ ฮ
m man /mæn/ ม
n no /nəʊ/ น
ŋ sing /sɪŋ/ ง
l leg /leg/ ล
r red /red/ ร
j yes /jes/ ย
w wet /wet/ ว
นางสาวตุลาลักษณ์ ขวัญข้าว
รหัส 56030500ครุเกษตรฯ
Chart
Dia-
phoneme[1]
Phones Examples
IPA: English Consonants
p pʰ, p pen, spin, tip
b b but, web
t tʰ, t, ɾ, ʔ[2]
two, sting, bet
d d, ɾ[3]
do, odd
t͡ ʃ t͡ ʃʰ, t͡ ʃ chair, nature, teach
d͡ ʒ d͡ ʒ gin, joy, edge
k kʰ, k cat, kill, skin, queen, unique, thick
ɡ ɡ go, get, beg
f f fool, enough, leaf, off, photo
v v voice, have, of
θ θ, t̪[4]
thing, teeth
ð ð, d̪ [5]
this, breathe, father
s s see, city, pass
z z zoo, rose
ʃ ʃ she, sure, session, emotion, leash
ʒ ʒ pleasure, beige, equation, seizure
h h, ɦ,[6]
ç[7]
ham
m m, ɱ[8]
man, ham
n n no, tin
ŋ ŋ ringer, sing,[9]
finger, drink
l l, ɫ,[10]
ɤ[11]
w, o, ʊ[12]
left, bell
r ɹʷ, ɹ, ɾ,[13]
ɻ,ʋ[14]
run, very
w w we, queen
j j yes, nyala
hw ʍ, w[15]
what
IPA: Marginal consonants
ʔ ʔ uh-oh
x x loch (Scottish),[16]
ugh [17]
IPA: Reduced vowels[18]
ə Reduced /ʌ, æ, ɑː, ɒ/
ɪ̈ (ɪ, ə) Reduced /ɪ, iː, ɛ, eɪ, aɪ/
ʊ̈ (ʊ, ə) Reduced /ʊ, uː/
ɵ (ə) Reduced /oʊ/
ɚ (ə) Reduced /ɜr, ɑr, ɔr/
บรรณำนุกรม
ตาแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตาแหน่งต่างๆ.(2557). เข้าได้ถึงจาก
:http://www.human.nu.ac.th/206111/web-add/articulator.htm. ,
http://grgl500phonetics.blogspot.com/2010/11/3-place-and-
manner-of-articulation.html สืบค้นวันที่ 15กุมภาพันธ์ 2558
สัญลักษณ์แทนเสียงสากล ipa. (2009).เข้าได้ถึงจาก :
http://en.wikipedia.org/wiki/International_Phonetic_Alphabet_chart
_for_English_dialects สืบค้นวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2558

More Related Content

Viewers also liked

ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549
ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549
ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549
Wilipda Wongsakul
 
Qcl 14-v3 problem solving-banasthalividyapith_geetika
Qcl 14-v3 problem solving-banasthalividyapith_geetikaQcl 14-v3 problem solving-banasthalividyapith_geetika
Qcl 14-v3 problem solving-banasthalividyapith_geetika
geetugeeti
 
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
irinth
 
Mitosis
MitosisMitosis
Mitosis
White Tiger
 
Qcl 14-v3 introduction to flow charting-banasthali vidyapith_geetika gautam(1)
Qcl 14-v3 introduction to flow charting-banasthali vidyapith_geetika gautam(1)Qcl 14-v3 introduction to flow charting-banasthali vidyapith_geetika gautam(1)
Qcl 14-v3 introduction to flow charting-banasthali vidyapith_geetika gautam(1)
geetugeeti
 
Congruence Of Triangle
Congruence Of TriangleCongruence Of Triangle
Congruence Of Triangle
White Tiger
 
Qcl 14-v3 cause effect diagram-banasthali vidyapith_geetika gautam
Qcl 14-v3 cause effect diagram-banasthali vidyapith_geetika gautamQcl 14-v3 cause effect diagram-banasthali vidyapith_geetika gautam
Qcl 14-v3 cause effect diagram-banasthali vidyapith_geetika gautam
geetugeeti
 
Qcl 14-v3-5s practices-banasthali vidyapeeth-geetika gautam(1)
Qcl 14-v3-5s practices-banasthali vidyapeeth-geetika gautam(1)Qcl 14-v3-5s practices-banasthali vidyapeeth-geetika gautam(1)
Qcl 14-v3-5s practices-banasthali vidyapeeth-geetika gautam(1)
geetugeeti
 
O'Neill Swimming Pool Manuel 2013
O'Neill Swimming Pool Manuel 2013O'Neill Swimming Pool Manuel 2013
O'Neill Swimming Pool Manuel 2013Laura Lueninghoener
 

Viewers also liked (11)

ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549
ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549
ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549
 
SMOHMadina_15020909260
SMOHMadina_15020909260SMOHMadina_15020909260
SMOHMadina_15020909260
 
Qcl 14-v3 problem solving-banasthalividyapith_geetika
Qcl 14-v3 problem solving-banasthalividyapith_geetikaQcl 14-v3 problem solving-banasthalividyapith_geetika
Qcl 14-v3 problem solving-banasthalividyapith_geetika
 
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
 
Mitosis
MitosisMitosis
Mitosis
 
Qcl 14-v3 introduction to flow charting-banasthali vidyapith_geetika gautam(1)
Qcl 14-v3 introduction to flow charting-banasthali vidyapith_geetika gautam(1)Qcl 14-v3 introduction to flow charting-banasthali vidyapith_geetika gautam(1)
Qcl 14-v3 introduction to flow charting-banasthali vidyapith_geetika gautam(1)
 
Congruence Of Triangle
Congruence Of TriangleCongruence Of Triangle
Congruence Of Triangle
 
SAMUEL cv
SAMUEL cvSAMUEL cv
SAMUEL cv
 
Qcl 14-v3 cause effect diagram-banasthali vidyapith_geetika gautam
Qcl 14-v3 cause effect diagram-banasthali vidyapith_geetika gautamQcl 14-v3 cause effect diagram-banasthali vidyapith_geetika gautam
Qcl 14-v3 cause effect diagram-banasthali vidyapith_geetika gautam
 
Qcl 14-v3-5s practices-banasthali vidyapeeth-geetika gautam(1)
Qcl 14-v3-5s practices-banasthali vidyapeeth-geetika gautam(1)Qcl 14-v3-5s practices-banasthali vidyapeeth-geetika gautam(1)
Qcl 14-v3-5s practices-banasthali vidyapeeth-geetika gautam(1)
 
O'Neill Swimming Pool Manuel 2013
O'Neill Swimming Pool Manuel 2013O'Neill Swimming Pool Manuel 2013
O'Neill Swimming Pool Manuel 2013
 

Similar to นางสาวตุลาลักษณ์ ขวัญข้าว

Place of articulation and Phonetics
Place of articulation and PhoneticsPlace of articulation and Phonetics
Place of articulation and Phoneticschepeach
 
Place of articulation&phonetics
Place of articulation&phoneticsPlace of articulation&phonetics
Place of articulation&phoneticschepeach
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
Palm Prachya
 
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557Sunthon Aged
 
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 56030566
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน  รหัส 56030566นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน  รหัส 56030566
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 560305660884947335
 
56030479
5603047956030479
56030479
So Nic
 
56030479
5603047956030479
56030479
So Nic
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงSunthon Aged
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงSunthon Aged
 

Similar to นางสาวตุลาลักษณ์ ขวัญข้าว (10)

Place of articulation and Phonetics
Place of articulation and PhoneticsPlace of articulation and Phonetics
Place of articulation and Phonetics
 
Place of articulation&phonetics
Place of articulation&phoneticsPlace of articulation&phonetics
Place of articulation&phonetics
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
 
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
 
สรุป
สรุปสรุป
สรุป
 
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 56030566
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน  รหัส 56030566นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน  รหัส 56030566
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 56030566
 
56030479
5603047956030479
56030479
 
56030479
5603047956030479
56030479
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
 

Recently uploaded

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (11)

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

นางสาวตุลาลักษณ์ ขวัญข้าว

  • 1. นางสาวตุลาลักษณ์ ขวัญข้าว รหัส 56030500ครุเกษตรฯ สรุปเรื่อง ตำแหน่งกำรเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่ำงๆ คำนี้ถ้ำจะเรียกให้สั้นและย่อมีชื่อเฉพำะว่ำฐำนกรณ์ ซึ่งหมำยถึงอวัยวะแปรเสียงหรือกล่อมเกลำเสียงโดยรวม แต่ถ้ำจะแยกกลุ่มของอวัยวะแปรเสียงออกมำตำมลักษณะของกำรเคลื่อนไหวก็จะแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มที่เคลื่อนที่ไม่ได้ (Passive Articulator หรือUpper Articulator) หรือมีชื่อเฉพำะสั้นๆ ว่ำฐานซึ่งได้แก่ อวัยวะต่อไปนี้ - ริมฝีปำกบน (upper lip) - ฟันบน(upper teeth) - ปุ่มเหงือก (gum ridge หรือ alveolar ridge) - เพดำนแข็ง (hard palate) - เพดำนอ่อน (soft palate หรือ velum) - ลิ้นไก่(uvula) อวัยวะชิ้นนี้แม้ว่ำจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มที่เรียกว่ำ upper articulators หรืออวัยวะที่อยู่ส่วนบนของช่องปำกหรือเพดำนปำกก็ตำม แต่เป็นอวัยวะที่สำมำรถเคลื่อนที่ได้
  • 2. 2. กลุ่มที่เคลื่อนที่ได้ (Active Articulator หรือ Lower Articulator) หรือมีชื่อเฉพำะสั้นๆ ว่ำกรณ์ ซึ่งได้แก่ อวัยวะต่อไปนี้ คือ - ริมฝีปำกล่ำง (Lower lip) - ลิ้น(tongue) ซิงเป็นอวัยวะที่มีควำมยืดหยุ่นตัวสูงที่สุดดังที่กล่ำวมำแล้วในตอนต้น ในบทที่ว่ำด้วยเรื่องอวัยวะในกำรแกเสียง ในกำรทำให้เกิดเสียงพยัญชนะเสียงใดเสียงหนึ่งขึ้นมำนั้น กระแสอำกำซที่เดินทำงผ่ำนเข้ำมำในช่องออกเสียง (vocal tract) จะต้องถูกกักกั้นในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง กำรกักกั้นกระแสอำกำศก็จะกระทำได้โดยอวัยวะกลุ่มที่เคลื่อนที่ได้ (Active Articulators) จะเคลื่อนที่เข้ำไปหำ, เข้ำไปใกล้, หรือเข้ำไปชิดอวัยวะกลุ่มที่เคลื่อนที่ไม่ได้(Passive Articulator) เมื่อกระแสอำกำศเดินทำงผ่ำนจุดกักกั้นเหล่ำนั้นก็จะก่อให้เกิดเสยงพยัญชนะประเภทต่ำงๆ ที่แตกต่ำงกันไปตำมรูปแบบของกำรกักกั้นกระแสอำกำศหรือที่เรียกว่ำลักษณะวิธีออกเสียง (Manner of Articulation)ณ จุดเกิดเสียงต่ำงๆกัน และคำที่ใช้สำหรับเรียกชื่อพยัญชนะส่วนหนึ่งก็มำจำกคำระบุตำแหน่งของกำรกักกั้นกระแสอำกำศดังกล่ำว ซึ่งได้แก่ Bilabial (เสียงที่เกิดจำกริมฝีปำกทั้งคู่) เกิดจำกริมฝีปำกล่ำงเคลื่อนเข้ำไปหำริมฝี ปำกบน เช่น เสียงแรกของคำว่ำ“my” ในภำษอังกฤษ เสียงแรกของคำว่ำ “ปู” ในภำษำไทย Labiodental (เสียงที่เกิดจำกริมฝีปำกล่ำงและฟันบน) เกิดจำกริมฝีปำกล่ำงเคลื่อนเข้ำไปหำฟันบนด้ำนหน้ำ เช่น เสียงแรกของคำว่ำ “เฝ้ ำ” ในภำษำไทย, เสียงแรกของคำว่ำ “van” ในภำษำอังกฤษ Dental (เสียงที่เกิดจำกปลำยลิ้นหรือส่วนถัดจำกปลำยลิ้นกับฟันบน) เกิดจำกปลำยลิ้นหรือส่วนถัดจำกปลำยลิ้นเคลื่อนเข้ำไปหำฟันบนด้ำนหน้ำ เช่น เสียงแรกของคำว่ำ “thin” ในภำษำอังกฤษ Alveolar (เสียงที่เกิดจำกปลำยลิ้นหรือส่วนถัดจำกปลำยลิ้นกับปุ่มเหงือก) เกิดจำกปลำยลิ้นหรือส่วนถัดจำกปลำยลิ้นเคลื่อนเข้ำไปหำปุ่มเหงือก เช่น เสียงแรกของคำว่ำ “นก” ในภำษำไทย, เสียงแรกของคำว่ำ “tip” ในภำษำอังกฤษ Retroflex (เสียงที่เกิดจำกปลำยลิ้นหรือส่วนใต้ปลำยลิ้นกับส่วนปลำยสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดำ นแข็ง) เกิดจำกปลำยลิ้นซึ่งอำจจะเป็นผิวบน (upper surface)
  • 3. หรือส่วนใต้ปลำยลิ้นเคลื่อนเข้ำไปหำส่วนปลำยสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดำนแข็ง เช่น เสียงตัว “ร” หรือ “ส” ในตำแหน่งพยัญชนะต้นของภำษำไทยถิ่นใต้บำงสำเนียง และเสียง “r” ในภำษำอังกฤษสำเนียงอเมริกันบำงสำเนียง Palato-Alveolar (เสียงที่เกิดจำกส่วนถัดจำกปลำยลิ้นกับส่วนปลำยสุดของปุ่มเหงือก) เกิดจำกกำรใช้ส่วนถัดปลำยลิ้นเคลื่อนเข้ำไปหำส่วนปลำยสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดำนแข็ง เช่น เสียงแรกของคำว่ำ “show” ในภำษำอังกฤษ Palatal (เสียงที่เกิดจำกลิ้นส่วนต้นกับเพดำนแข็ง) เกิดจำกกำรใช้ลิ้นส่วนต้น (front of the tongue) เคลื่อนเข้ำไปหำเพดำนแข็ง เช่น เสียงแรกของคำที่แปลว่ำ “ยำก” ในภำษำไทยถิ่นอีสำน [ø]และเสียงแรกของคำว่ำ “nyamuk” ในภำษำมำเลเซีย ซึ่งแปลว่ำ ยุง Velar (เสียงที่เกิดจำกลิ้นส่วนหลังกับเพดำนอ่อน) เกิดจำกกำรใช้ลิ้นส่วนหลังเคลื่อนเข้ำไปหำเพดำนอ่อน เช่น เสียงแรกของคำว่ำ “คน” ในภำษำไทย เสียงแรกของคำว่ำ “give” ในภำษำอังกฤษ Uvular (เสียงที่เกิดจำกลิ้นส่วนหลังกับลิ้นไก่) เกิดจำกกำรยกลิ้นส่วนหลังเข้ำไปหำลิ้นไก่ เช่น เสียงแรกของคำว่ำ “rouge” ในภำษำฝรั่งเศส Pharyngeal (เสียงที่เกิดจำกโคนลิ้นกับผนังช่องคอด้ำนหลัง) เกิดจำกกำรดึงโคนลิ้นไปทำงด้ำนหลังเข้ำหำผนังช่องคอด้ำนหลัง เช่น เสียงแรกในคำที่แปลว่ำ “ลุง” ในภำษำอำหรับ ([?amm]) Glottal (เสียงที่เกิดจำกเส้นเสียง) เกิดจำกกำรเคลื่อนเข้ำหำกันของเส้นเสียงทั้งคู่ โดยอำจจะเคลื่อนเข้ำมำติดกัน เช่น เสียงแรกของคำว่ำ “home” ในภำษำอังกฤษ, เสียงแรกของคำว่ำ “อู่” ในภำษำไทย
  • 4. นางสาวตุลาลักษณ์ ขวัญข้าว รหัส 56030500ครุเกษตรฯ สัญลักษณ์แทนเสียงสำกล สัญลักษณ์ (IPA) ตัวอย่ำง เทียบเสียงในภำษำไทย i: see /si:/ อี i any /'eni/ อิ ɪ sit /sɪt/ อิ(ก้ากึ่งระหว่างอิและอี) e ten /ten/ เอะ æ hat /hæt/ แอะ ɑ: arm /ɑ:m/ อา ɒ got /gɒt/ เอาะ
  • 5. ɔ: saw /sɔ:/ ออ ʊ put /pʊt/ อู u: too /tu:/ อู u usual /'ju:ʒuəl/ อุ ʌ cup /kʌp/ อะ ɜ: fur /fɜ:/ เออ ə ago /ə'gəʊ/ เออะ eɪ pay /peɪ/ เอ əʊ home /həʊm/ โอ aɪ five /faɪv/ ไอ aʊ now /naʊ/ เอา, อาว ɔɪ join /dʒɔɪn/ ออย ɪə near /nɪə/ เอีย
  • 6. eə hair /heə/ แอ ʊə pure /pjʊə/ อิว พยัญชนะ สัญลักษณ์ (IPA) ตัวอย่ำง เทียบเสียงในภำษำไทย p pen /pen/ พ b bad /bæd/ บ t tea /ti:/ ท d did /dɪd/ ด k cat /kæt/ ค g got /gɒt/ ก tʃ chin /tʃɪn/ ช dʒ June /dʒu:n/ จ
  • 7. f fall /fɔ:l/ ฟ v van /væn/ ฟ θ thin /θɪn/ ธ ð then /ðen/ ธ s so /səʊ/ ส z zoo /zu:/ ส ʃ she /ʃi:/ ช ʒ vision /'vɪʒn/ ฉ h how /haʊ/ ฮ m man /mæn/ ม n no /nəʊ/ น ŋ sing /sɪŋ/ ง l leg /leg/ ล
  • 8. r red /red/ ร j yes /jes/ ย w wet /wet/ ว นางสาวตุลาลักษณ์ ขวัญข้าว รหัส 56030500ครุเกษตรฯ Chart Dia- phoneme[1] Phones Examples IPA: English Consonants p pʰ, p pen, spin, tip b b but, web t tʰ, t, ɾ, ʔ[2] two, sting, bet d d, ɾ[3] do, odd
  • 9. t͡ ʃ t͡ ʃʰ, t͡ ʃ chair, nature, teach d͡ ʒ d͡ ʒ gin, joy, edge k kʰ, k cat, kill, skin, queen, unique, thick ɡ ɡ go, get, beg f f fool, enough, leaf, off, photo v v voice, have, of θ θ, t̪[4] thing, teeth ð ð, d̪ [5] this, breathe, father s s see, city, pass z z zoo, rose ʃ ʃ she, sure, session, emotion, leash ʒ ʒ pleasure, beige, equation, seizure h h, ɦ,[6] ç[7] ham
  • 10. m m, ɱ[8] man, ham n n no, tin ŋ ŋ ringer, sing,[9] finger, drink l l, ɫ,[10] ɤ[11] w, o, ʊ[12] left, bell r ɹʷ, ɹ, ɾ,[13] ɻ,ʋ[14] run, very w w we, queen j j yes, nyala hw ʍ, w[15] what IPA: Marginal consonants ʔ ʔ uh-oh x x loch (Scottish),[16] ugh [17]
  • 11. IPA: Reduced vowels[18] ə Reduced /ʌ, æ, ɑː, ɒ/ ɪ̈ (ɪ, ə) Reduced /ɪ, iː, ɛ, eɪ, aɪ/ ʊ̈ (ʊ, ə) Reduced /ʊ, uː/ ɵ (ə) Reduced /oʊ/ ɚ (ə) Reduced /ɜr, ɑr, ɔr/
  • 12. บรรณำนุกรม ตาแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตาแหน่งต่างๆ.(2557). เข้าได้ถึงจาก :http://www.human.nu.ac.th/206111/web-add/articulator.htm. , http://grgl500phonetics.blogspot.com/2010/11/3-place-and- manner-of-articulation.html สืบค้นวันที่ 15กุมภาพันธ์ 2558 สัญลักษณ์แทนเสียงสากล ipa. (2009).เข้าได้ถึงจาก : http://en.wikipedia.org/wiki/International_Phonetic_Alphabet_chart _for_English_dialects สืบค้นวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2558