SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
นางสาววิลิปดา วงษ์สกุล
รหัสประจาตัว 56030549
ตาแหน่งการเกิดเสียง
1. ริมฝีปาก Lips , Labial, bilabial, labio-dental
2. ฟัน Teeth dental
3. ปุ่มเหงือกTeeth Ridge, alveolar ridge
4. เพดานแข็ง Hard Palate palatal
5. เพดานอ่อน Soft Palate velar, dorsal
6. ลิ้นไก่ Uvula uvula, dorsal
7. ลิ้น Tongue,Tongue tip, apical, Blade (laminal), Front, Back
8. ช่องคอ Pharynx, Pharyngeal
9. ลิ้นปิดช่องคอ Epiglottis
10. กล่องเสียง Larynx (including vocal cords, laryngeal, glottal)
11. กระเดือก Adam's Apple
12. ช่องจมูก Nasal carvities, nasal , nasalised
13. ช่องปาก Oral Carvities
1. ริมฝีปาก Lips , Labial, bilabial, labio-dental เป็นอวัยวะส่วนที่สามารถเคลื่อนไหวได้มาก
และทาให้เสียงแตกต่างกันได้มาก เราอาจจะบังคับริมฝีปากให้อยู่ชิดกัน ห่างกัน ยื่นออกมาหรือห่อ
กลมทาเป็นรูปรี หรืออื่น ๆ ก็ได้ ลักษณะริมฝีปากต่าง ๆนี้ล้วนแต่มีอิทธิพลต่อการออกเสียงและการ
ทาให้เสียงแตกต่างกันไปทั้งสิ้น
2. ฟัน Teeth, dental เป็นอวัยวะที่เกิดของเสียงหลายชนิดเช่น เมื่อฟันบนกดลงบนริมฝีปาก
ล่างหรือกดกันฟันล่างลมที่ผ่านออกมาโดยแรงจะลอดช่องที่พอจะผ่านได้ออกมา ทาให้เกิดเป็นเสียง
ชนิดที่เรียกว่า เสียงเสียดแทรกที่เกิดที่ฟันบ้าง เกิดที่ระหว่างฟันบ้าง นอกจากนี้เนื่องจากปลายลิ้นอยู่
ใกล้กับฟัน ปลายลิ้นซึ่งมักจะทาอาการต่าง ๆบริเวณหลังฟันบ่อย ๆ ทาให้เกิดเสียงที่เรียกว่า เสียงเกิด
ที่ฟัน (Dental Sound)
3. ปุ่ มเหงือก Teeth Ridge, alveolar ridgeเป็นส่วนนูนออกมาอยู่หลังฟันด้านบน ถ้าเอาลิ้น
แตะดูจะรู้สึกว่ามีลักษณะเป็นคลื่น ปุ่ มเหงือกนั้นเป็นคลื่น ปุ่ มเหงือกเป็นบริเวณที่เกิดเสียงปุ่ ม
เหงือก (Alveolar Sound) ปุ่มเหงือกเป็นตาแหน่งสาคัญในการอธิบายเรื่องเสียงตาแหน่งหนึ่ง
4. เพดานแข็ง Hard Palate palatal หรือเพดานปาก หมายถึงเฉพาะเพดานที่โค้งเป็นกระดูก
แข็ง เป็นตาแหน่งสาคัญอีกตาแหน่งหนึ่งในการอธิบายที่เกิดเสียงตาแหน่งหนึ่ง
5. เพดานอ่อน Soft Palate velar, dorsal คือส่วนของเพดานที่อยู่ต่อจากเพดานแข็งไปข้างใน
มีลักษณะเป็นกระดูกอ่อนที่ขยับขึ้นลงได้ เวลาหายใจเพดานอ่อนและลิ้นไก่ซึ่งอยู่ปลายเพดานอ่อน
จะลดระดับลงมาเป็นช่องให้ลมออกไปทางจมูก ฉะนั้นเวลาที่เราไม่พูด ปลายเพดานอ่อนและลิ้นไก่
จะลดระดับลงมา เวลาพูดส่วนใหญ่ปลายเพดานอ่อนและลิ้นไก่จะถูกยกขึ้นไปจรดกับหลังคอ
นอกจากเวลาออกเสียงนาสิกเท่านั้นที่เพดานจะลดระดับลงมา
6. ลิ้นไก่ Uvula uvula, dorsal เป็นก้อนเนื้อเล็ก ๆอยู่ต่อปลายเพดานอ่อนตรงกลางปาก สั่นรัว
ได้
7. ลิ้น Tongue, apical, , Front, ลิ้นเป็นส่วนที่เคลื่อนไหวมากที่สุดในการออกเสียงพูด จึงต้อง
แบ่งออกเป็นสามส่วนด้วยกัน ตามหน้าที่ที่มีในการออกเสียง
ปลายลิ้น Tongue tip หมายเอาส่วนปลายซึ่งสามารถจะยกขึ้นไปแตะอวัยวะส่วนต่าง ๆใน
ปากตอนบนได้โดยง่าย
หน้าลิ้น Blade (laminal) หมายเอาส่วนที่อยู่ตรงข้ามกันเพดานแข็ง ถ้าวางลิ้นราบกับปาก
อย่างในขณะที่ไม่ได้พูด
โคนลิ้น Back หมายเอาส่วนของลิ้นซึ่งถ้าวางลิ้นราบกันตามปกติจะอยู่ตรงข้ามกับเพดาน
อ่อน
8. ช่องคอ Pharynx, Pharyngeal
9. ลิ้นปิดช่องคอ Epiglottis
10. กล่องเสียง Larynx (including vocal cords, laryngeal, glottal) เส้นเสียง เป็นอวัยวะที่
สาคัญที่เกิดของเสียง เส้นเสียงมีลักษณะเป็นกล้ามเนื้อสองแผ่น ปิดขวางอยู่ปากช่องหลอดลมจาก
ด้านหลังมาด้านหน้า ระหว่างเส้นเสียงจะมีช่องว่างซึ่งเป็นทางให้ลมผ่านเช้าไปถึงปอดและออกจาก
ปอดได้ ช่องว่างนี้เรียกว่า ช่องว่างระหว่างเส้นเสียง เส้นเสียงทั้งสองสามารถจะดึงออกให้ห่างจาก
กันหรือดึงเข้ามาชิดกันก็ได้เส้นเสียงเป็นส่วนทาให้เกิดเสียงพูดขึ้น
11. กระเดือก Adam's Apple
12. ช่องจมูกหรือโพรงจมูก Nasal carvities, nasal , nasalised หมายถึงโพรงในช่องจมูกซึ่ง
อยู่เหนือลิ้นไก่ขึ้นไปเป็นช่องที่ลมซึ่งผ่านเส้นเสียงขึ้นมาจะผ่านออกไปทางจมูกได้เมื่อเวลาหายใจ
และเวลาออกเสียงนาสิก ในเวลาพูดเสียงอื่น ๆลิ้นไก่จะถูกยกขึ้นปิดช่องจมูกเพื่อให้ลมออกมาทาง
ปาก
13. ช่องปาก Oral Carvities หมายถึงบริเวณในปากทั้งหมด ซึ่งเป็นส่วนสาคัญในการทาให้
เกิดเสียงตามที่ต้องการได้
เสียงในตาแหน่งต่างๆ
การแบ่งตามตาแหน่งที่เกิดเสียง (Points of Articulation)
1. เสียงที่ เกิดจากริมฝีปากบนและล่าง (bilabial sounds) ได้แก่ เสียง /p/, /b/, /m/ และ /w/
2. เสียงที่ เกิดจากริมฝีปากและฟัน (labio-dental sounds) ได้แก่ เสียง /f/ และ /v/
3. เสียงที่เกิดระหว่างฟัน (interdental sounds) ได้แก่เสียง /θ/และ /ð/
4. เสียงที่ เกิดจากปุ่มเหงือก (alveolar sounds) ได้แก่ เสียง /t/, /d/, /s/, /z/, /l/, และ /n/
5. เสียงที่ เกิดหลังปุ่มเหงือก (post-alveolar sounds) ได้แก่ เสียง /š/, /ž/, /Č/, /Ĵ/ และ /r/
6. เสียงที่เกิดจากเพดานแข็ง (palatal sound) ได้แก่เสียง /y/
7. เสียงที่เกิดจากเพดานอ่อน (velar sounds) ได้แก่เสียง /k/, /g/ และ /ŋ/
8. เสียงที่เกิดจากช่องระหว่างเส้นเสียง (glottal sound) ได้แก่เสียง /h/
การแบ่งตามลักษณะของการออกเสียง (Manners of Articulation)
1. เสียงระเบิด (plosive sounds) ได้แก่เสียง /p/, /b/, /t/, /d/, /k/, /g/
2. เสียงกึ่งเสียดสี (affricate sounds) ได้แก่เสียง /č/, /ĵ/
3. เสียงเสียดสี (fricative sounds) ได้แก่เสียง /f/, /v/, /θ/, /ð/, /s/, /z/, /š/, /ž/, /h/
4. เสียงนาสิก (nasal sounds) ) ได้แก่เสียง /m/, /n/, /ŋ/
5. เสียงข้างลิ้น (lateral sound) ได้แก่เสียง /l/
6. เสียงกึ่งสระ (semi-vowel sounds) ได้แก่เสียง /w/, /r/, /y/
สัญลักษณ์แทนเสียงสากล (Phonetic Symbols)
เสียงสระ (Vowel Sound)
เสียงพยัญชนะ (Consonant Sound)
ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549

More Related Content

What's hot

สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆGesso Hog'bk
 
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 56030566
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน  รหัส 56030566นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน  รหัส 56030566
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 560305660884947335
 
ใบความรู้ ลิ้น
ใบความรู้ ลิ้นใบความรู้ ลิ้น
ใบความรู้ ลิ้นNattha Namm
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง Art Pb
 
บทที่ 5 ระบบเสียง
บทที่ 5 ระบบเสียงบทที่ 5 ระบบเสียง
บทที่ 5 ระบบเสียงWilawun Wisanuvekin
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงSunthon Aged
 

What's hot (7)

สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
 
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 56030566
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน  รหัส 56030566นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน  รหัส 56030566
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 56030566
 
ใบความรู้ ลิ้น
ใบความรู้ ลิ้นใบความรู้ ลิ้น
ใบความรู้ ลิ้น
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
 
บทที่ 5 ระบบเสียง
บทที่ 5 ระบบเสียงบทที่ 5 ระบบเสียง
บทที่ 5 ระบบเสียง
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
 
ไซนัส
ไซนัส ไซนัส
ไซนัส
 

Viewers also liked

Viewers also liked (16)

final pdf of Wired Wizards
final pdf of Wired Wizardsfinal pdf of Wired Wizards
final pdf of Wired Wizards
 
Blogproject revised
Blogproject revisedBlogproject revised
Blogproject revised
 
Studio proposal
Studio proposalStudio proposal
Studio proposal
 
NEW BIODATA AUG'16
NEW BIODATA AUG'16NEW BIODATA AUG'16
NEW BIODATA AUG'16
 
DS certifications
DS certificationsDS certifications
DS certifications
 
tutorial insert video from youtube
tutorial insert video from youtube tutorial insert video from youtube
tutorial insert video from youtube
 
Ajit Kumar
Ajit KumarAjit Kumar
Ajit Kumar
 
Background
BackgroundBackground
Background
 
Negotiable instruments 5
Negotiable instruments 5Negotiable instruments 5
Negotiable instruments 5
 
Tahitian Noni Indonesia
Tahitian Noni IndonesiaTahitian Noni Indonesia
Tahitian Noni Indonesia
 
W cmoc05
W cmoc05W cmoc05
W cmoc05
 
05.02 13.10 надежда жуковская_акмр
05.02 13.10 надежда жуковская_акмр05.02 13.10 надежда жуковская_акмр
05.02 13.10 надежда жуковская_акмр
 
Greenlight presentation
Greenlight presentationGreenlight presentation
Greenlight presentation
 
Iphone 5 transfer for mac
Iphone 5 transfer for macIphone 5 transfer for mac
Iphone 5 transfer for mac
 
Gary's cv 2016
Gary's  cv 2016Gary's  cv 2016
Gary's cv 2016
 
Resume - Klaudia Wolf
Resume - Klaudia WolfResume - Klaudia Wolf
Resume - Klaudia Wolf
 

Similar to ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549

ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงMmeaw Tamtinna
 
9789740332572
97897403325729789740332572
9789740332572CUPress
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากลตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากลOil Panadda'Chw
 
Place of articulation and Phonetics
Place of articulation and PhoneticsPlace of articulation and Phonetics
Place of articulation and Phoneticschepeach
 
Place of articulation&phonetics
Place of articulation&phoneticsPlace of articulation&phonetics
Place of articulation&phoneticschepeach
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงPalm Prachya
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงMmeaw Tamtinna
 
ตำแหน่งของการออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียงตำแหน่งของการออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียงyoiisina
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงSunthon Aged
 
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากลสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากลSunthon Aged
 
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514irinth
 
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆและ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆและ สัญลักษณ์แทนเสียงสากลสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆและ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆและ สัญลักษณ์แทนเสียงสากลSunthon Aged
 

Similar to ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549 (20)

หู
หูหู
หู
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
สรุป
สรุปสรุป
สรุป
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
 
9789740332572
97897403325729789740332572
9789740332572
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากลตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
 
Place of articulation and Phonetics
Place of articulation and PhoneticsPlace of articulation and Phonetics
Place of articulation and Phonetics
 
Place of articulation&phonetics
Place of articulation&phoneticsPlace of articulation&phonetics
Place of articulation&phonetics
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
 
ตำแหน่งของการออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียงตำแหน่งของการออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียง
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
 
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากลสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
 
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
 
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆและ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆและ สัญลักษณ์แทนเสียงสากลสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆและ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆและ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
 
การขับร้ิองประสานเสียง ชุดที่ 1
การขับร้ิองประสานเสียง ชุดที่ 1การขับร้ิองประสานเสียง ชุดที่ 1
การขับร้ิองประสานเสียง ชุดที่ 1
 
พะยูน
พะยูนพะยูน
พะยูน
 

ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549

  • 1. นางสาววิลิปดา วงษ์สกุล รหัสประจาตัว 56030549 ตาแหน่งการเกิดเสียง 1. ริมฝีปาก Lips , Labial, bilabial, labio-dental 2. ฟัน Teeth dental 3. ปุ่มเหงือกTeeth Ridge, alveolar ridge 4. เพดานแข็ง Hard Palate palatal 5. เพดานอ่อน Soft Palate velar, dorsal 6. ลิ้นไก่ Uvula uvula, dorsal 7. ลิ้น Tongue,Tongue tip, apical, Blade (laminal), Front, Back 8. ช่องคอ Pharynx, Pharyngeal 9. ลิ้นปิดช่องคอ Epiglottis 10. กล่องเสียง Larynx (including vocal cords, laryngeal, glottal) 11. กระเดือก Adam's Apple 12. ช่องจมูก Nasal carvities, nasal , nasalised 13. ช่องปาก Oral Carvities
  • 2. 1. ริมฝีปาก Lips , Labial, bilabial, labio-dental เป็นอวัยวะส่วนที่สามารถเคลื่อนไหวได้มาก และทาให้เสียงแตกต่างกันได้มาก เราอาจจะบังคับริมฝีปากให้อยู่ชิดกัน ห่างกัน ยื่นออกมาหรือห่อ กลมทาเป็นรูปรี หรืออื่น ๆ ก็ได้ ลักษณะริมฝีปากต่าง ๆนี้ล้วนแต่มีอิทธิพลต่อการออกเสียงและการ ทาให้เสียงแตกต่างกันไปทั้งสิ้น 2. ฟัน Teeth, dental เป็นอวัยวะที่เกิดของเสียงหลายชนิดเช่น เมื่อฟันบนกดลงบนริมฝีปาก ล่างหรือกดกันฟันล่างลมที่ผ่านออกมาโดยแรงจะลอดช่องที่พอจะผ่านได้ออกมา ทาให้เกิดเป็นเสียง ชนิดที่เรียกว่า เสียงเสียดแทรกที่เกิดที่ฟันบ้าง เกิดที่ระหว่างฟันบ้าง นอกจากนี้เนื่องจากปลายลิ้นอยู่ ใกล้กับฟัน ปลายลิ้นซึ่งมักจะทาอาการต่าง ๆบริเวณหลังฟันบ่อย ๆ ทาให้เกิดเสียงที่เรียกว่า เสียงเกิด ที่ฟัน (Dental Sound) 3. ปุ่ มเหงือก Teeth Ridge, alveolar ridgeเป็นส่วนนูนออกมาอยู่หลังฟันด้านบน ถ้าเอาลิ้น แตะดูจะรู้สึกว่ามีลักษณะเป็นคลื่น ปุ่ มเหงือกนั้นเป็นคลื่น ปุ่ มเหงือกเป็นบริเวณที่เกิดเสียงปุ่ ม เหงือก (Alveolar Sound) ปุ่มเหงือกเป็นตาแหน่งสาคัญในการอธิบายเรื่องเสียงตาแหน่งหนึ่ง 4. เพดานแข็ง Hard Palate palatal หรือเพดานปาก หมายถึงเฉพาะเพดานที่โค้งเป็นกระดูก แข็ง เป็นตาแหน่งสาคัญอีกตาแหน่งหนึ่งในการอธิบายที่เกิดเสียงตาแหน่งหนึ่ง 5. เพดานอ่อน Soft Palate velar, dorsal คือส่วนของเพดานที่อยู่ต่อจากเพดานแข็งไปข้างใน มีลักษณะเป็นกระดูกอ่อนที่ขยับขึ้นลงได้ เวลาหายใจเพดานอ่อนและลิ้นไก่ซึ่งอยู่ปลายเพดานอ่อน จะลดระดับลงมาเป็นช่องให้ลมออกไปทางจมูก ฉะนั้นเวลาที่เราไม่พูด ปลายเพดานอ่อนและลิ้นไก่ จะลดระดับลงมา เวลาพูดส่วนใหญ่ปลายเพดานอ่อนและลิ้นไก่จะถูกยกขึ้นไปจรดกับหลังคอ นอกจากเวลาออกเสียงนาสิกเท่านั้นที่เพดานจะลดระดับลงมา 6. ลิ้นไก่ Uvula uvula, dorsal เป็นก้อนเนื้อเล็ก ๆอยู่ต่อปลายเพดานอ่อนตรงกลางปาก สั่นรัว ได้ 7. ลิ้น Tongue, apical, , Front, ลิ้นเป็นส่วนที่เคลื่อนไหวมากที่สุดในการออกเสียงพูด จึงต้อง แบ่งออกเป็นสามส่วนด้วยกัน ตามหน้าที่ที่มีในการออกเสียง
  • 3. ปลายลิ้น Tongue tip หมายเอาส่วนปลายซึ่งสามารถจะยกขึ้นไปแตะอวัยวะส่วนต่าง ๆใน ปากตอนบนได้โดยง่าย หน้าลิ้น Blade (laminal) หมายเอาส่วนที่อยู่ตรงข้ามกันเพดานแข็ง ถ้าวางลิ้นราบกับปาก อย่างในขณะที่ไม่ได้พูด โคนลิ้น Back หมายเอาส่วนของลิ้นซึ่งถ้าวางลิ้นราบกันตามปกติจะอยู่ตรงข้ามกับเพดาน อ่อน 8. ช่องคอ Pharynx, Pharyngeal 9. ลิ้นปิดช่องคอ Epiglottis 10. กล่องเสียง Larynx (including vocal cords, laryngeal, glottal) เส้นเสียง เป็นอวัยวะที่ สาคัญที่เกิดของเสียง เส้นเสียงมีลักษณะเป็นกล้ามเนื้อสองแผ่น ปิดขวางอยู่ปากช่องหลอดลมจาก ด้านหลังมาด้านหน้า ระหว่างเส้นเสียงจะมีช่องว่างซึ่งเป็นทางให้ลมผ่านเช้าไปถึงปอดและออกจาก ปอดได้ ช่องว่างนี้เรียกว่า ช่องว่างระหว่างเส้นเสียง เส้นเสียงทั้งสองสามารถจะดึงออกให้ห่างจาก กันหรือดึงเข้ามาชิดกันก็ได้เส้นเสียงเป็นส่วนทาให้เกิดเสียงพูดขึ้น 11. กระเดือก Adam's Apple 12. ช่องจมูกหรือโพรงจมูก Nasal carvities, nasal , nasalised หมายถึงโพรงในช่องจมูกซึ่ง อยู่เหนือลิ้นไก่ขึ้นไปเป็นช่องที่ลมซึ่งผ่านเส้นเสียงขึ้นมาจะผ่านออกไปทางจมูกได้เมื่อเวลาหายใจ และเวลาออกเสียงนาสิก ในเวลาพูดเสียงอื่น ๆลิ้นไก่จะถูกยกขึ้นปิดช่องจมูกเพื่อให้ลมออกมาทาง ปาก 13. ช่องปาก Oral Carvities หมายถึงบริเวณในปากทั้งหมด ซึ่งเป็นส่วนสาคัญในการทาให้ เกิดเสียงตามที่ต้องการได้
  • 4. เสียงในตาแหน่งต่างๆ การแบ่งตามตาแหน่งที่เกิดเสียง (Points of Articulation) 1. เสียงที่ เกิดจากริมฝีปากบนและล่าง (bilabial sounds) ได้แก่ เสียง /p/, /b/, /m/ และ /w/ 2. เสียงที่ เกิดจากริมฝีปากและฟัน (labio-dental sounds) ได้แก่ เสียง /f/ และ /v/ 3. เสียงที่เกิดระหว่างฟัน (interdental sounds) ได้แก่เสียง /θ/และ /ð/ 4. เสียงที่ เกิดจากปุ่มเหงือก (alveolar sounds) ได้แก่ เสียง /t/, /d/, /s/, /z/, /l/, และ /n/ 5. เสียงที่ เกิดหลังปุ่มเหงือก (post-alveolar sounds) ได้แก่ เสียง /š/, /ž/, /Č/, /Ĵ/ และ /r/ 6. เสียงที่เกิดจากเพดานแข็ง (palatal sound) ได้แก่เสียง /y/ 7. เสียงที่เกิดจากเพดานอ่อน (velar sounds) ได้แก่เสียง /k/, /g/ และ /ŋ/ 8. เสียงที่เกิดจากช่องระหว่างเส้นเสียง (glottal sound) ได้แก่เสียง /h/ การแบ่งตามลักษณะของการออกเสียง (Manners of Articulation) 1. เสียงระเบิด (plosive sounds) ได้แก่เสียง /p/, /b/, /t/, /d/, /k/, /g/ 2. เสียงกึ่งเสียดสี (affricate sounds) ได้แก่เสียง /č/, /ĵ/ 3. เสียงเสียดสี (fricative sounds) ได้แก่เสียง /f/, /v/, /θ/, /ð/, /s/, /z/, /š/, /ž/, /h/ 4. เสียงนาสิก (nasal sounds) ) ได้แก่เสียง /m/, /n/, /ŋ/ 5. เสียงข้างลิ้น (lateral sound) ได้แก่เสียง /l/ 6. เสียงกึ่งสระ (semi-vowel sounds) ได้แก่เสียง /w/, /r/, /y/