SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
หน่วยที 2: การดําเนินการและผูมสวนเกียวข้องก ับศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน
                             ้ ี ่


   ั
ผลสมฤทธิจากการศึกษา

คําชีแจง

2.1 การดําเนินการของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน

2.2 ผู ้มีสวนเกียวข ้องกับศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน
           ่

บทสรุปย่อ

การประเมินผล

รายการอ้างอิง

   ั
ผลสมฤทธิจากการศึกษา


หล ังจากเรียนจบแล้ว ผูเรียนควรจะมีความสามารถด ังนี:
                      ้
        1. ขันตอนทีแตกต่างกันของการดําเนินการของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน

                           ่
         2. บทบาทของผู ้มีสวนเกียวข ้องของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน

 คําชีแจง


        หน่วย ที 1 จะเป็ นการอธิบายนิยามความหมาย ประเภท การขับเคลือนของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชนใน
ระดับโลกและของประเทศอินเดีย รวมทังอธิบายความเชือมโยงระหว่างภาครัฐกับศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน
        ใน หน่วยนี จะเป็ นการเรียนรู ้รายละเอียดเกียวกับขันตอนต่าง ๆ ของการดําเนินการของศูนย์การเรียนรู ้ ICT
                                         ่
ชุมชน รวมทังอธิบายบทบาทของผู ้ทีมีสวนเกียวข ้องกับศูนย์การเรียนรู ้ไอซีทในชุมชนของผู ้เรียน พร ้อมทังอธิบาย
                                                                         ี
กิจกรรมการพัฒนาชุมชนต่าง ๆ


2.1 การดําเนินการของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน


         ศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน ทีประสบความสําเร็ จ จะต ้องพิจารณาปั จจัยด ้านเทคโนโลยี เครืองมืออุปกรณ์
                                                   ่
และระบบต่าง ๆ นอกจากนี ปั จจัยอืน ๆ ทีมีสวนสําคัญต่อความสําเร็ จของศูนย์ฯ คือ พลังของชุมชน องค์ความรู ้
ทักษะด ้านต่าง ๆ การดํารงชีวตของคนในชุมชน และสถานภาพทางสังคม หากศูนย์ฯ ของผู ้เรียนปฎิบัตตาม
                                     ิ                                                                    ิ
ประเด็นต่าง ๆ ข ้างต ้น        ได ้อย่างมีประสิทธิภาพ ศูนย์ฯของผู ้เรียนก็จะเป็ นองค์กรทีประสบความสําเร็จ
         ศูน ย์ก ารเรีย นรู ้ ICT ชุมชนต ้นแบบ ควรจะมีเ ครืองมืออุปกรณ์ ดัง ต่อไปนี คอมพิวเตอร์ เครืองปริน ท์
อุปกรณ์เชือมต่ออินเตอร์เ น็ ต กล ้องถ่า ยรูปดิจตอล เว๊บไซต์ การสือสารทางวิท ยุกระจายเสียง ห ้องสมุด ชุมชน
                                                     ิ
วัสดุอปกรณ์เพือการเรียนรู ้ หรือเฟอร์นเจอร์ เป็ นต ้น
      ุ                                      ิ
         ในการดําเนินงานของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน มีขนตอนจํานวนมาก ทีผู ้เรียนจําเป็ นต ้องทําตาม เพือให ้
                                                                   ั
ศูนย์ฯของผู ้เรียนเป็ นศูนย์ฯ ทีมีประสิทธิภาพ โดยจะอธิบายในแต่ละขันตอน ดังต่อไปนี




                                                                                                       Page 1
ขนตอนที 1: การประเมินความต้องการของชุมชน
 ั

           ก่อนทีผู ้เรียนจะจัดตังศูนย์การเรียนรู ้ไอซีทในชุมชนของผู ้เรียน ผู ้เรียนต ้องทําการประชุมหรือปรึกษาหารือ
                                                        ี
กับประชาชนในท ้องถิน รวมทังประเมินความต ้องการของคนในชุมชนทังเพศหญิง เพศชาย เด็ก กลุ่มวัยรุ่น กลุ่ม
                            ่
ผู ้สูงอายุ และผู ้ทีไม่ม ีสวนได ้ส่ว นเสียของชุมชน โดยในหน่ ว ยที 3 ของบทที 1 จะอธิบายแนวคิดเกียวกับการ
ประเมินความต ้องการของชุมชน

 ั               ้                                         ่
ขนตอนที 2: ความรูความเข้าใจในชุมชนชนบทและการสน ับสนุนการมีสวนร่วม

               ่
        การมีสวนร่วมของชุมชน มีความสําคัญอย่างมากทีจะพิจารณาว่าศูนย์การเรียนรู ้ไอซีทของชุมชนผู ้เรียน
                                                                                                  ี
ประสบผลสําเร็ จหรือไม่ ดังนั นผู ้เรียนจําเป็ นต ้องเข ้าใจชุมชนชนบทของผู ้เรียนเอง ซึงผู ้เรียนจะได ้ทําความเข ้าใจ
บริบทนีอย่างละเอียดในบทที 2 และ 3 ต่อไป

ขนตอนที 3: การวางแผนเพือจ ัดตงศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน
 ั                           ั

        การวางแผนเพือจัดตังศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน จะเกียวข ้องกับประเด็นต่าง ๆ ดังนี ลักษณะของศูนย์ฯที
หลากหลาย, การตังชือศูนย์ฯ, การระบุพนที, การวางแผนเรืองวัสดุอปกรณ์และการวางแผนระบบ เป็ นต ้น ในบทที
                                     ื                            ุ
4 จะอธิบายประเด็นดังกล่าวอย่างละเอียด ต่อไป

ขนตอนที 4: การบริหารจ ัดการศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน
 ั

           หลังจากมีการวางแผนการจัดตังศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน อย่างละเอียดรอบคอบแล ้ว ผู ้จัดตังศูนย์ฯ
จําเป็ นต ้องออกแบบระบบการบริหารจัดการทีมีประสิทธิภาพ และมีการจัดทํากิจกรรมต่าง ๆ ทีเป็ นประโยชน์ต่อ
ชุมชนด ้วย โดยจะอธิบายประเด็นเรืองการบริหารจัดการศูนย์ฯ อย่างละเอียดในบทที 5

ขนตอนที 5: การเสริมสร้างท ักษะ
 ั

        ในฐานะทีผู ้เรียนเป็ นผู ้จัดการศูนย์ ผู ้เรียนจะถูกคาดหวังว่าผู ้เรียนจะต ้องสามารถทํางานได ้หลายรูปแบบ
และสามารถนํ าทักษะด ้านคอมพิวเตอร์มาช่วยในการขายและการตลาดของชุมชนได ้ โดยจะอธิบายรายละเอียดใน
ประเด็นดังกล่าวใน บทที 6 และ 7

ขนตอนที 6: การส่งผ่านการบริการ
 ั

       การส่ง ผ่ า นการบริก ารเพือรองรั บ ความต ้องการทีแท ้จริง ของท ้องถิน เป็ นปั จ จั ย สํ า คั ญ ทีช่ว ยให ้ศูน ย์ฯ
ประสบความสําเร็จ ซึงบริการต่าง ๆ ประกอบด ้วย การศึกษา, สาธารณสุข, การแจกจ่ายสินค ้า, การบริการด ้านการ
ธนาคารและการประกันภัย, การเกษตรกรรม เป็ นต ้น โดยจะอธิบายรายละเอียดในประเด็นดังกล่าวในบทที 8 และ
9

ขนตอนที 7: การจ ัดการด้านข้อมูล
 ั

            ผู ้จัดการศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน จํ าเป็ นต ้องจัดการข ้อมูลจํ าวนวนมากทีเกียวข ้องกับชุมชน            โดย
ผู ้จั ด การศู น ย์ฯ มีห น า ทีจั ด การข ้อมู ล ให ส มบู ร ณ์ แ ละเผยแพร่ ข ้อมู ล โดยใช ้เครื องมือ หรื อ เทคนิ ค ทีแตกต่ า ง
                           ้                       ้
หลากหลาย ซึงสิงทีกล่าวมาข ้างต ้น เรียกว่า การจัดการด ้านข ้อมูล โดยจะอธิบายประเด็นดังกล่าวอย่างละเอียดใน
บทที 10

ขนตอนที 8: การตลาด
 ั

        ประเด็นเรืองการตลาดเกียวกับศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน เป็ นสิงทีมีความสําคัญต่อการประสบความสําเร็ จ
ของศูนย์ ฯ เช่นเดียวกับประเด็นอืน ๆ ทีกล่าวไปแล ้วข ้างต ้น . โดยจะอธิบายรายละเอียดในประเด็นดังกล่าวในบทที
11


ขนตอนที 9: การประเมินความก้าวหน้าของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน
 ั

       ศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน ทีประสบความสําเร็ จจําเป็ นจะต ้องมีการวางแผนและมีเครืองมือทีดี อย่างไรก็
ตามขันตอนนึงทีจะมองข ้ามไม่ได ้เลย คือ การประเมิน ซึงการประเมินเป็ นกระบวนการต่อเนืองของการรวบรวม,
วิเคราะห์ และ ค ้นหาหลักฐานต่าง ๆ ในการนํ ามาช่วยปรับปรุงศูนย์ฯ ของผู ้เรียน โดยจะอธิบายความแตกต่างของ
เครืองมือแบบต่าง ๆ      ในการประเมิน ในบทที12

        ขันตอนต่าง ๆ ทีกล่าวมาแล ้วข ้างต ้นเป็ นการให ้มุมมองในภาพรวมของขันตอน ทัง 9 ขันตอน ทีเกียวข ้อง
กับการจัดตังและการบริหารจัดการศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน ประกอบด ้วย การทําความเข ้าใจความต ้องการของ
ชุมชน การวางแผน การเสริมสร ้างทักษะ การวางแผนว่าจะให ้บริการอะไรแก่ชมชน และการบริหารจัดการศูนย์ฯ
                                                                        ุ

คําถาม 2.1

  1. ระบุขนตอน 9 ขันตอน ทีเกียวพันกับการก่อตังและการดําเนินการของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน
            ั
     i. ___________________
     ii. ___________________
     iii. ___________________
     iv. ___________________
     v. ___________________
     vi. ___________________
     vii. ___________________
     viii. ___________________
     ix. ___________________




      ้ ี ่
2.2 ผูมสวนเกียวข้องก ับศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน


              ่
       ผู ้มีสวนเกียวข ้องกับ ศูนย์ก ารเรีย นรู ้ ICT ชุม ชน คือ องค์กร หรือบุค คล ทีสามารถมีอทธิพลหรือส่งผล
                                                                                              ิ
                                                                   ่
กระทบต่อการปฎิบัตงานของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน ซึงผู ้มีสวนเกียวข ้องในชุมชนของผู ้เรียน จะประกอบไป
                    ิ
ด ้วย

    1.   ชุมชน
    2.   ผู ้ปฏิบตงานของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน
                  ั ิ
    3.   ตัวแทนฝ่ ายปกครองส่วนท ้องถิน
    4.   ผู ้ให ้การบริการและธุรกิจท ้องถิน
    5.   องค์กรพัฒนาเอกชน

                ่
         ผู ้มีสวนเกียวข ้องในแต่ละประเภทจะมีความพิเศษและความสําคัญเฉพาะอย่าง โดยแต่ละประเภทของผู ้มี
ส่วนเกียวข ้องของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน มีรายละเอียดดังต่อไปนี



2.2.1 ชุมชน

                  ่
           ผู ้มีสวนเกียวข ้องหลักของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน คือ ชุมชน ทีศูนย์ฯ ของผู ้เรียนตังอยู่ ซึงการประสบ
ความสําเร็จของศูนย์ฯ จะเกิดขึนก็ตอเมือศูนย์ฯ สนองตอบความต ้องการของชุมชนได ้อย่างเต็มที นอกจากนีชุมชน
                                     ่
                          ่
ยังจําเป็ นต ้องเข ้ามามีสวนร่วมกับกระบวนการประเมินความต ้องการของชุมชนด ้วย

2.2.2 ผูปฏิบ ัติงานหรืออาสาสม ัครของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน
        ้




                                                                                                           Page 3
ผู ้จัดการศูนย์ สามารถจ ้างผู ้ปฏิบัตงานหรือเจ ้าหน ้าที เพือมาดําเนินงานในแผนกต่าง ๆ ของศูนย์ฯ ได ้ตาม
                                               ิ
                               ิ                                     ื            ่
ความเหมาะสม ซึงผู ้ปฏิบัต งานหรือ อาสาสมัครของศูนย์ฯ ก็ ถอเป็ นผู ้ทีมีสวนเกียวข ้องทีมีความสําคัญ ต่อศูนย์ฯ
เช่นเดียวกับชุมชน
          เจ ้าหน ้าทีของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชนทีมีความขยันขันแข็งและรักงานบริการ สามารถช่วยเพิมจํานวนผู ้
ทีเข ้ามาใช ้บริการของศูนย์ฯ ได ้ นอกจากนีเจ ้าหน ้าทีศูนย์ฯ ยังเป็ นผู ้แจ ้งข่าวทีสําคัญและเป็ นผู ้สะท ้อนให ้เห็นความ
ต ้องการการเปลียนแปลงในด ้านต่าง ๆ ของคนในชุมชนด ้วย

2.2.3 ต ัวแทนฝายปกครองส่วนท้องถิน
              ่

        ประเทศส่วนใหญ่จะมีการจัดตังองค์กรปกครองส่วนท ้องถินขึน โดยตัวแทนส่วนท ้องถินอาจมาจากการ
เลือกตังหรือการแต่งตัง ก็ได ้

        ตัวแทนส่วนท ้องถิน มักจะได ้รับความไว ้วางใจให ้มีบทบาทและมีหน ้าทีความรับผิดชอบในการดําเนินการ
ด ้าน   ต่า ง ๆ ในระดับ ชุม ชน ซึงตัว แทนฝ่ ายปกครองส่ว นท ้องถินจะมีห น า ทีพืนฐานหลายประการ โดยจะขอ
                                                                         ้
ยกตัวอย่างกรณี ของประเทศอินเดีย ดังต่อไปนี

    1.   หน ้าทีการพัฒนาภาคเกษตรกรรม โดยเฉพาะการขยายผลผลิต
    2.   หน ้าทีการพัฒนาปรับปรุงทีดินและการดูแลรักษาดิน
    3.   หน ้าทีด ้านการศึกษาผู ้ใหญ่
    4.   หน ้าทีเกียวกับครัวเรือนในชนบท
    5.   หน ้าทีเกียวกับนํ าดืม
    6.   หน ้าทีการแจกจ่ายกระแสไฟฟ้ าในชนบท
    7.   หน ้าทีด ้านสาธารณสุขและการสุขาภิบาล
    8.   หน ้าทีเกียวกับการพัฒนาของสตรีและเด็ก

        ตัวแทนภาคการปกครองส่วนท ้องถิน ถือได ้ว่าเป็ นผู ้มีบทบาทสําคัญในการพัฒนาชุมชน ไม่ว่าจะเป็ นการ
สนับสนุนการรู ้หนังสือของคนในชุมชน หรือการตระหนักเรืองสาธารณสุข เป็ นต ้น

2.2.4 ผูให้การบริการและธุรกิจท้องถิน
        ้

           ธุรกิจท ้องถิน คือ ธุรกิจจําพวกโรงงานอุตสาหกรรมทีมีหน่วยการผลิตขนาดเล็กหรือวิสาหกิจขนาดเล็กใน
ท ้องถิน ซึงธุรกิจ ท ้องถินถือ เป็ นหน่ วยทางสัง คมทีมีค วามสํา คัญ ต่อการจ ้างงานในระดับท ้องถิน อีก ทังยั ง เป็ น
ผู ้ผลิตสินค ้าและบริการให ้กับชุมชน ตัวอย่างเช่น สินค ้าทีคนในชุมชนใช ้ในชีวตประจําวัน เช่น สบู่ นํ ามันพืช ไม ้ขีด
                                                                              ิ
เมล็ดพืช เป็ นต ้น      ส่วนสินค ้าประเภทการบริการทีคนในชุมชนใช ้อยู่บอยครัง ได ้แก่ การธนาคาร การศึกษา การ
                                                                       ่
ประกันภัย เป็ นต ้น

        ศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน สามารถเป็ นหุ ้นส่วนกับธุรกิจท ้องถิน หรืออาจเป็ นตัวกลางในการกระจายสินค ้า
หรือ การบริก ารของท ้องถินสู่สัง คมภายนอกได ้ นอกจากนี ศูน ย์ก ารเรีย นรู ้ไอซีท ข องชุม ชนผู ้เรีย น อาจแสดง
                                                                                     ี
บทบาทเป็ นศูนย์กลางการจ ้างงานของชุมชนได ้

      การประสบผลสําเร็ จของการจัด ตังศูน ย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน ไม่ได ้จํ ากัด อยู่เ ฉพาะการบริห ารจั ดการ
ภายในองค์กร แต่ยังมีปัจจัยเกียวกับผู ้ให ้การบริการของท ้องถินด ้วย โดยผู ้ให ้บริการของท ้องถินประกอบด ้วย

    •    ผู ้ให ้บริการอินเตอร์เน็ ต
    •    ตัวแทนขายฮาร์ดแวร์
    •    ผู ้จําหน่ายสินค ้า
    •    ผู ้ให ้บริการโทรศัพท์เคลือนที
    •    ผู ้ให ้บริการด ้านสาธารณสุขท ้องถิน
    •    หน่วยงานด ้านการประกันภัยทางการเงิน
    •    ผู ้ให ้บริการด ้านการศึกษา

      อาจกล่าวได ้ หากผู ้ให ้บริการด ้านใดด ้านหนึงไม่สามารถดําเนินการได ้ ก็อาจส่งผลกระทบโดยตรงต่อศูนย์การ
เรีย นรู ้ ICT ชุมชนของผู ้เรีย นได ้ ดังนั นผู ้เรีย นจึงควรสร ้างความสัมพั นธ์อัน ดีกับตัวแทนผู ้ให ้บริการด ้านต่า ง ๆ
เหล่านี
2.2.5 องค์กรพ ัฒนาเอกชน (NGO)

        องค์ก รพั ฒ นาเอกชน คือ องค์ก รทีภาคประชาชนจั ด ตังขึนอย่า งถูก กฎหมาย โดยเป้ าหมายหลัก ของ
องค์กรเหล่านี คือ ให ้ความสําคัญกับความต ้องของคนในชุมชน รวมทังช่วยพั ฒนาชุมชนต่าง ๆ ซึงองค์กรพัฒนา
เอกชนเกิดขึน เพือสนองต่อผลประโยชน์ของประชาชนในชุมชนนันเอง

                              ่
        องค์กรพัฒนาเอกชน มีสวนสําคัญอย่างมากต่อชุมชน ซึงสามารถเป็ นผู ้สนั บสนุนสําคัญต่อศูนย์การเรียนรู ้
ไอซีทของชุมชนผู ้เรียนได ้ โดยส่วนใหญ่องค์กรพัฒนาเอกชนจะมีข ้อมูล สมาคม และเครือข่าย กับองค์กรอืน ๆ
      ี
ทังในระดับรัฐ และระดับชุมชน

           องค์กรพั ฒนาเอกชน สามารถช่วยสร ้างสมรรถภาพ การอบรม การเงิน และการประเมิน ให ้กับ ศูนย์ฯ
ของผู ้เรียนได ้ อาจกล่าวได ้ว่าการปฎิบตงานด ้านต่าง ๆ ขององค์กรพัฒนาเอกชน มีความสําคัญต่อชุมชนอย่างมาก
                                       ั ิ

         หากศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน มีการร่วมงานกับองค์กรพัฒนาเอกชน ย่อมจะช่วยให ้ผู ้เรียนมีความรู ้ความ
เข ้าใจในเรืองทีเกียวกับท ้องถินได ้ลึกซึงมากขึน อีกทังยังช่วยให ้ผู ้เรียนเข ้าใจความต ้องการของชุมชนของผู ้เรียน
ได ้มากยิงขึนด ้วย


  คําถาม 1.2

  1. ระบุหน ้าทีพืนฐาน 5 ประการ ของตัวแทนฝ่ ายท ้องถินของประเทศอินเดีย

       i.     ___________________
       ii.    ___________________
       iii.   ___________________
       iv.    ___________________
       v.     ___________________

  2. ระบุผู ้ให ้บริการของท ้องถิน 4 ประการ

       i.     ___________________
       ii.    ___________________
       iii.   ___________________
       iv.    ___________________

  3. อธิบายเป้ าหมายหลักขององค์กรพัฒนาเอกชน
    _______________________________________________________________
    _______________________________________________________________




บทสรุปย่อ




                                                                                                          Page 5
ใน หน่วย นี ผู ้เรียนได ้เรียนรู ้เกียวกับขันตอนต่าง ๆ ตังแต่เริมจัดตัง ไปจนถึงขันตอนการปฎิบัตงานของ ศูนย์
                                                                                                   ิ
                                                            ่
การเรียนรู ้ ICT ชุมชน รวมทังได ้เรียนรู ้บทบาทของผู ้มีสวนเกียวข ้องในการพัฒนาชุมชนด ้วย

      ประเด็นสําคัญของ หน่วย นี คือ:
      •   มีขนตอนจํานวนมากมาย ตังแต่เริมจัดตัง ไปจนถึงขันตอนการปฎิบตงานของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน
              ั                                                               ั ิ
      •   ขันตอนต่าง ๆ ประกอบด ้วย ความรู ้และเข ้าใจความต ้องการของชุมชน, การวางแผนเพือจัดตังศูนย์การ
          เรียนรู ้ ICT ชุมชน, การเสริมสร ้างทักษะ, การให ้บริการด ้านต่าง ๆ แก่ชมชน,การบริหารจัดการศูนย์การ
                                                                                     ุ
          เรียนรู ้ ICT ชุมชน เป็ นต ้น
                ่
      • ผู ้มีสวนเกียวข ้องกับศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน ได ้แก่ ชุมชน, ผู ้ปฏิบัตงานหรืออาสาสมัครของศูนย์การ
                                                                                   ิ
          เรียนรู ้ ICT ชุมชน, ตัวแทนฝ่ ายปกครองส่วนท ้องถิน, ผู ้ให ้ การบริการและธุรกิจท ้องถิน และองค์กร
          พัฒนาเอกชน




การประเมินผล


               ่
คัดเลือกผู ้มีสวนเกียวข ้องกับศูนย์การเรียนรู ้ไอซีทใ นชุมชนของผู ้เรียน ทังฝ่ ายปกครองท ้องถิน หรือภาคเอกชน
                                                    ี
และทําการนํ าเสนอว่ากลุมคนเหล่านีช่วยเหลือหรือสนับสนุนการพัฒนาชุมชนอย่างไร
                          ่

การนําเสนอ ประกอบไปด้วย :
1.   บันทึกเทปหรือซีด ี (5-7 นาที)
2.   วีดโอเทป (5 นาที)
        ี
3.   เขียนบทความ (2 หน ้า A4)
4.   การวาดภาพ
5.   คํากลอน
6.   บทความประกอบภาพ (ประกอบด ้วยภาพ 10 ภาพ และข ้อความ)




รายการอ้างอิง


Alsop J Ruth, et al (2006), “Inclusion and local elected governments: The Panchayati Raj System in
India”, World Bank, Washington: USA, URL:
http://siteresources.worldbank.org/INTRANETSOCIALDEVELOPMENT/873467-
1111741676294/20502178/SDP37.pdf

ASSOCHAM and KPMG (2008), “Corporate Social Responsibility: Towards a Sustainable Future”, KPMG,
New Delhi: India, URL: http://www.karmayog.org/redirect/strred.asp?docId=13376

Haufler, Virginia (2002), “Case Studies of Multistakehoder Partnership”, UN Global Compact, URL:
http://www.unglobalcompact.org/docs/issues_doc/Peace_and_Business/MultistakeholderInitiativeinZo
nesofConflict.pdf


ข้อมูลเพิมเติม ดูได้จากเว็บไซต์ ด ังนี:


Ministry of Panchayati Raj (www.panchayat.nic.in)

NGO Partnership System, Government of India (www.ngo.india.com)

Microfinance (www.microfinanceinsights.com/articles_new.asp)

Retailing (www.retail.about.com/od/glossary/g/retailing)

More Related Content

Viewers also liked

การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชนการพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชนsoftganz
 
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริKawow
 
แนวข้อสอบพัฒนาชุมชน
แนวข้อสอบพัฒนาชุมชนแนวข้อสอบพัฒนาชุมชน
แนวข้อสอบพัฒนาชุมชนหน่อย จ๋า
 
คณะกรรมการ เรื่องของครู - การลา 11 - จรรยาบรรณ 9 - ตารางกฎหมาย - ตัวย่อ - ร...
คณะกรรมการ   เรื่องของครู - การลา 11 - จรรยาบรรณ 9 - ตารางกฎหมาย - ตัวย่อ - ร...คณะกรรมการ   เรื่องของครู - การลา 11 - จรรยาบรรณ 9 - ตารางกฎหมาย - ตัวย่อ - ร...
คณะกรรมการ เรื่องของครู - การลา 11 - จรรยาบรรณ 9 - ตารางกฎหมาย - ตัวย่อ - ร...โทษฐาน ที่รู้จักกัน
 

Viewers also liked (20)

การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชนการพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
 
ย่อ กข.คจ.
ย่อ กข.คจ.ย่อ กข.คจ.
ย่อ กข.คจ.
 
ย่อกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต (1)
ย่อกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต (1)ย่อกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต (1)
ย่อกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต (1)
 
ย่อ Cdd-agenda-2017 (1)
ย่อ Cdd-agenda-2017 (1)ย่อ Cdd-agenda-2017 (1)
ย่อ Cdd-agenda-2017 (1)
 
หลักสูตร 51 ฉบับปรับปรุง ระบบ HD
หลักสูตร 51  ฉบับปรับปรุง ระบบ HDหลักสูตร 51  ฉบับปรับปรุง ระบบ HD
หลักสูตร 51 ฉบับปรับปรุง ระบบ HD
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
Communty diagnosis
Communty diagnosisCommunty diagnosis
Communty diagnosis
 
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
 
ย่อ สัมมาชีพชุมชน
ย่อ สัมมาชีพชุมชนย่อ สัมมาชีพชุมชน
ย่อ สัมมาชีพชุมชน
 
ความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณ
ความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณ
ความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณ
 
แนวข้อสอบพัฒนาชุมชน
แนวข้อสอบพัฒนาชุมชนแนวข้อสอบพัฒนาชุมชน
แนวข้อสอบพัฒนาชุมชน
 
สุรินทร์
สุรินทร์สุรินทร์
สุรินทร์
 
เพิ่มเติม รวมมิตร
เพิ่มเติม รวมมิตรเพิ่มเติม รวมมิตร
เพิ่มเติม รวมมิตร
 
ความรู้ทั่วไป +วิทยฐานะ + จรรยาบรรณ V1
ความรู้ทั่วไป +วิทยฐานะ + จรรยาบรรณ V1ความรู้ทั่วไป +วิทยฐานะ + จรรยาบรรณ V1
ความรู้ทั่วไป +วิทยฐานะ + จรรยาบรรณ V1
 
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
 
คุณธรรม วินัย
คุณธรรม  วินัยคุณธรรม  วินัย
คุณธรรม วินัย
 
หลักสูตร 51 ฉบับปรับปรุง ระบบ HD
หลักสูตร 51 ฉบับปรับปรุง ระบบ HDหลักสูตร 51 ฉบับปรับปรุง ระบบ HD
หลักสูตร 51 ฉบับปรับปรุง ระบบ HD
 
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
 
คณะกรรมการ เรื่องของครู - การลา 11 - จรรยาบรรณ 9 - ตารางกฎหมาย - ตัวย่อ - ร...
คณะกรรมการ   เรื่องของครู - การลา 11 - จรรยาบรรณ 9 - ตารางกฎหมาย - ตัวย่อ - ร...คณะกรรมการ   เรื่องของครู - การลา 11 - จรรยาบรรณ 9 - ตารางกฎหมาย - ตัวย่อ - ร...
คณะกรรมการ เรื่องของครู - การลา 11 - จรรยาบรรณ 9 - ตารางกฎหมาย - ตัวย่อ - ร...
 
อักษรย่อ
อักษรย่ออักษรย่อ
อักษรย่อ
 

More from thanathip

Joomla O public version
Joomla O public versionJoomla O public version
Joomla O public versionthanathip
 
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 4: การบริหารเวลา
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 4: การบริหารเวลาหลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 4: การบริหารเวลา
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 4: การบริหารเวลาthanathip
 
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 2: กระบวนการและการปฏิบัติงานสำหรับศูนย์การเรียนรู้ ICT...
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 2: กระบวนการและการปฏิบัติงานสำหรับศูนย์การเรียนรู้ ICT...หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 2: กระบวนการและการปฏิบัติงานสำหรับศูนย์การเรียนรู้ ICT...
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 2: กระบวนการและการปฏิบัติงานสำหรับศูนย์การเรียนรู้ ICT...thanathip
 
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 2: กระบวนการและการปฏิบัติงานสำหรับศูนย์การเรียนรู้ ICT...
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 2: กระบวนการและการปฏิบัติงานสำหรับศูนย์การเรียนรู้ ICT...หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 2: กระบวนการและการปฏิบัติงานสำหรับศูนย์การเรียนรู้ ICT...
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 2: กระบวนการและการปฏิบัติงานสำหรับศูนย์การเรียนรู้ ICT...thanathip
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจthanathip
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบthanathip
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 2: การบริหารจัดการหรือการวางแผนทางกายภาพของศูนย์การเรี...
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 2: การบริหารจัดการหรือการวางแผนทางกายภาพของศูนย์การเรี...หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 2: การบริหารจัดการหรือการวางแผนทางกายภาพของศูนย์การเรี...
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 2: การบริหารจัดการหรือการวางแผนทางกายภาพของศูนย์การเรี...thanathip
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนthanathip
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนthanathip
 
FUNDAMENTALS OF COMPUTER
FUNDAMENTALS OF COMPUTERFUNDAMENTALS OF COMPUTER
FUNDAMENTALS OF COMPUTERthanathip
 

More from thanathip (10)

Joomla O public version
Joomla O public versionJoomla O public version
Joomla O public version
 
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 4: การบริหารเวลา
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 4: การบริหารเวลาหลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 4: การบริหารเวลา
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 4: การบริหารเวลา
 
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 2: กระบวนการและการปฏิบัติงานสำหรับศูนย์การเรียนรู้ ICT...
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 2: กระบวนการและการปฏิบัติงานสำหรับศูนย์การเรียนรู้ ICT...หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 2: กระบวนการและการปฏิบัติงานสำหรับศูนย์การเรียนรู้ ICT...
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 2: กระบวนการและการปฏิบัติงานสำหรับศูนย์การเรียนรู้ ICT...
 
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 2: กระบวนการและการปฏิบัติงานสำหรับศูนย์การเรียนรู้ ICT...
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 2: กระบวนการและการปฏิบัติงานสำหรับศูนย์การเรียนรู้ ICT...หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 2: กระบวนการและการปฏิบัติงานสำหรับศูนย์การเรียนรู้ ICT...
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 2: กระบวนการและการปฏิบัติงานสำหรับศูนย์การเรียนรู้ ICT...
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 2: การบริหารจัดการหรือการวางแผนทางกายภาพของศูนย์การเรี...
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 2: การบริหารจัดการหรือการวางแผนทางกายภาพของศูนย์การเรี...หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 2: การบริหารจัดการหรือการวางแผนทางกายภาพของศูนย์การเรี...
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 2: การบริหารจัดการหรือการวางแผนทางกายภาพของศูนย์การเรี...
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน
 
FUNDAMENTALS OF COMPUTER
FUNDAMENTALS OF COMPUTERFUNDAMENTALS OF COMPUTER
FUNDAMENTALS OF COMPUTER
 

หน่วยที่ 2: การดำเนินการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน

  • 1. หน่วยที 2: การดําเนินการและผูมสวนเกียวข้องก ับศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน ้ ี ่ ั ผลสมฤทธิจากการศึกษา คําชีแจง 2.1 การดําเนินการของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน 2.2 ผู ้มีสวนเกียวข ้องกับศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน ่ บทสรุปย่อ การประเมินผล รายการอ้างอิง ั ผลสมฤทธิจากการศึกษา หล ังจากเรียนจบแล้ว ผูเรียนควรจะมีความสามารถด ังนี: ้ 1. ขันตอนทีแตกต่างกันของการดําเนินการของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน ่ 2. บทบาทของผู ้มีสวนเกียวข ้องของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน คําชีแจง หน่วย ที 1 จะเป็ นการอธิบายนิยามความหมาย ประเภท การขับเคลือนของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชนใน ระดับโลกและของประเทศอินเดีย รวมทังอธิบายความเชือมโยงระหว่างภาครัฐกับศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน ใน หน่วยนี จะเป็ นการเรียนรู ้รายละเอียดเกียวกับขันตอนต่าง ๆ ของการดําเนินการของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ่ ชุมชน รวมทังอธิบายบทบาทของผู ้ทีมีสวนเกียวข ้องกับศูนย์การเรียนรู ้ไอซีทในชุมชนของผู ้เรียน พร ้อมทังอธิบาย ี กิจกรรมการพัฒนาชุมชนต่าง ๆ 2.1 การดําเนินการของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน ศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน ทีประสบความสําเร็ จ จะต ้องพิจารณาปั จจัยด ้านเทคโนโลยี เครืองมืออุปกรณ์ ่ และระบบต่าง ๆ นอกจากนี ปั จจัยอืน ๆ ทีมีสวนสําคัญต่อความสําเร็ จของศูนย์ฯ คือ พลังของชุมชน องค์ความรู ้ ทักษะด ้านต่าง ๆ การดํารงชีวตของคนในชุมชน และสถานภาพทางสังคม หากศูนย์ฯ ของผู ้เรียนปฎิบัตตาม ิ ิ ประเด็นต่าง ๆ ข ้างต ้น ได ้อย่างมีประสิทธิภาพ ศูนย์ฯของผู ้เรียนก็จะเป็ นองค์กรทีประสบความสําเร็จ ศูน ย์ก ารเรีย นรู ้ ICT ชุมชนต ้นแบบ ควรจะมีเ ครืองมืออุปกรณ์ ดัง ต่อไปนี คอมพิวเตอร์ เครืองปริน ท์ อุปกรณ์เชือมต่ออินเตอร์เ น็ ต กล ้องถ่า ยรูปดิจตอล เว๊บไซต์ การสือสารทางวิท ยุกระจายเสียง ห ้องสมุด ชุมชน ิ วัสดุอปกรณ์เพือการเรียนรู ้ หรือเฟอร์นเจอร์ เป็ นต ้น ุ ิ ในการดําเนินงานของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน มีขนตอนจํานวนมาก ทีผู ้เรียนจําเป็ นต ้องทําตาม เพือให ้ ั ศูนย์ฯของผู ้เรียนเป็ นศูนย์ฯ ทีมีประสิทธิภาพ โดยจะอธิบายในแต่ละขันตอน ดังต่อไปนี Page 1
  • 2. ขนตอนที 1: การประเมินความต้องการของชุมชน ั ก่อนทีผู ้เรียนจะจัดตังศูนย์การเรียนรู ้ไอซีทในชุมชนของผู ้เรียน ผู ้เรียนต ้องทําการประชุมหรือปรึกษาหารือ ี กับประชาชนในท ้องถิน รวมทังประเมินความต ้องการของคนในชุมชนทังเพศหญิง เพศชาย เด็ก กลุ่มวัยรุ่น กลุ่ม ่ ผู ้สูงอายุ และผู ้ทีไม่ม ีสวนได ้ส่ว นเสียของชุมชน โดยในหน่ ว ยที 3 ของบทที 1 จะอธิบายแนวคิดเกียวกับการ ประเมินความต ้องการของชุมชน ั ้ ่ ขนตอนที 2: ความรูความเข้าใจในชุมชนชนบทและการสน ับสนุนการมีสวนร่วม ่ การมีสวนร่วมของชุมชน มีความสําคัญอย่างมากทีจะพิจารณาว่าศูนย์การเรียนรู ้ไอซีทของชุมชนผู ้เรียน ี ประสบผลสําเร็ จหรือไม่ ดังนั นผู ้เรียนจําเป็ นต ้องเข ้าใจชุมชนชนบทของผู ้เรียนเอง ซึงผู ้เรียนจะได ้ทําความเข ้าใจ บริบทนีอย่างละเอียดในบทที 2 และ 3 ต่อไป ขนตอนที 3: การวางแผนเพือจ ัดตงศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน ั ั การวางแผนเพือจัดตังศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน จะเกียวข ้องกับประเด็นต่าง ๆ ดังนี ลักษณะของศูนย์ฯที หลากหลาย, การตังชือศูนย์ฯ, การระบุพนที, การวางแผนเรืองวัสดุอปกรณ์และการวางแผนระบบ เป็ นต ้น ในบทที ื ุ 4 จะอธิบายประเด็นดังกล่าวอย่างละเอียด ต่อไป ขนตอนที 4: การบริหารจ ัดการศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน ั หลังจากมีการวางแผนการจัดตังศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน อย่างละเอียดรอบคอบแล ้ว ผู ้จัดตังศูนย์ฯ จําเป็ นต ้องออกแบบระบบการบริหารจัดการทีมีประสิทธิภาพ และมีการจัดทํากิจกรรมต่าง ๆ ทีเป็ นประโยชน์ต่อ ชุมชนด ้วย โดยจะอธิบายประเด็นเรืองการบริหารจัดการศูนย์ฯ อย่างละเอียดในบทที 5 ขนตอนที 5: การเสริมสร้างท ักษะ ั ในฐานะทีผู ้เรียนเป็ นผู ้จัดการศูนย์ ผู ้เรียนจะถูกคาดหวังว่าผู ้เรียนจะต ้องสามารถทํางานได ้หลายรูปแบบ และสามารถนํ าทักษะด ้านคอมพิวเตอร์มาช่วยในการขายและการตลาดของชุมชนได ้ โดยจะอธิบายรายละเอียดใน ประเด็นดังกล่าวใน บทที 6 และ 7 ขนตอนที 6: การส่งผ่านการบริการ ั การส่ง ผ่ า นการบริก ารเพือรองรั บ ความต ้องการทีแท ้จริง ของท ้องถิน เป็ นปั จ จั ย สํ า คั ญ ทีช่ว ยให ้ศูน ย์ฯ ประสบความสําเร็จ ซึงบริการต่าง ๆ ประกอบด ้วย การศึกษา, สาธารณสุข, การแจกจ่ายสินค ้า, การบริการด ้านการ ธนาคารและการประกันภัย, การเกษตรกรรม เป็ นต ้น โดยจะอธิบายรายละเอียดในประเด็นดังกล่าวในบทที 8 และ 9 ขนตอนที 7: การจ ัดการด้านข้อมูล ั ผู ้จัดการศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน จํ าเป็ นต ้องจัดการข ้อมูลจํ าวนวนมากทีเกียวข ้องกับชุมชน โดย ผู ้จั ด การศู น ย์ฯ มีห น า ทีจั ด การข ้อมู ล ให ส มบู ร ณ์ แ ละเผยแพร่ ข ้อมู ล โดยใช ้เครื องมือ หรื อ เทคนิ ค ทีแตกต่ า ง ้ ้ หลากหลาย ซึงสิงทีกล่าวมาข ้างต ้น เรียกว่า การจัดการด ้านข ้อมูล โดยจะอธิบายประเด็นดังกล่าวอย่างละเอียดใน บทที 10 ขนตอนที 8: การตลาด ั ประเด็นเรืองการตลาดเกียวกับศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน เป็ นสิงทีมีความสําคัญต่อการประสบความสําเร็ จ ของศูนย์ ฯ เช่นเดียวกับประเด็นอืน ๆ ทีกล่าวไปแล ้วข ้างต ้น . โดยจะอธิบายรายละเอียดในประเด็นดังกล่าวในบทที 11 ขนตอนที 9: การประเมินความก้าวหน้าของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน ั ศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน ทีประสบความสําเร็ จจําเป็ นจะต ้องมีการวางแผนและมีเครืองมือทีดี อย่างไรก็ ตามขันตอนนึงทีจะมองข ้ามไม่ได ้เลย คือ การประเมิน ซึงการประเมินเป็ นกระบวนการต่อเนืองของการรวบรวม,
  • 3. วิเคราะห์ และ ค ้นหาหลักฐานต่าง ๆ ในการนํ ามาช่วยปรับปรุงศูนย์ฯ ของผู ้เรียน โดยจะอธิบายความแตกต่างของ เครืองมือแบบต่าง ๆ ในการประเมิน ในบทที12 ขันตอนต่าง ๆ ทีกล่าวมาแล ้วข ้างต ้นเป็ นการให ้มุมมองในภาพรวมของขันตอน ทัง 9 ขันตอน ทีเกียวข ้อง กับการจัดตังและการบริหารจัดการศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน ประกอบด ้วย การทําความเข ้าใจความต ้องการของ ชุมชน การวางแผน การเสริมสร ้างทักษะ การวางแผนว่าจะให ้บริการอะไรแก่ชมชน และการบริหารจัดการศูนย์ฯ ุ คําถาม 2.1 1. ระบุขนตอน 9 ขันตอน ทีเกียวพันกับการก่อตังและการดําเนินการของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน ั i. ___________________ ii. ___________________ iii. ___________________ iv. ___________________ v. ___________________ vi. ___________________ vii. ___________________ viii. ___________________ ix. ___________________ ้ ี ่ 2.2 ผูมสวนเกียวข้องก ับศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน ่ ผู ้มีสวนเกียวข ้องกับ ศูนย์ก ารเรีย นรู ้ ICT ชุม ชน คือ องค์กร หรือบุค คล ทีสามารถมีอทธิพลหรือส่งผล ิ ่ กระทบต่อการปฎิบัตงานของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน ซึงผู ้มีสวนเกียวข ้องในชุมชนของผู ้เรียน จะประกอบไป ิ ด ้วย 1. ชุมชน 2. ผู ้ปฏิบตงานของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน ั ิ 3. ตัวแทนฝ่ ายปกครองส่วนท ้องถิน 4. ผู ้ให ้การบริการและธุรกิจท ้องถิน 5. องค์กรพัฒนาเอกชน ่ ผู ้มีสวนเกียวข ้องในแต่ละประเภทจะมีความพิเศษและความสําคัญเฉพาะอย่าง โดยแต่ละประเภทของผู ้มี ส่วนเกียวข ้องของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน มีรายละเอียดดังต่อไปนี 2.2.1 ชุมชน ่ ผู ้มีสวนเกียวข ้องหลักของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน คือ ชุมชน ทีศูนย์ฯ ของผู ้เรียนตังอยู่ ซึงการประสบ ความสําเร็จของศูนย์ฯ จะเกิดขึนก็ตอเมือศูนย์ฯ สนองตอบความต ้องการของชุมชนได ้อย่างเต็มที นอกจากนีชุมชน ่ ่ ยังจําเป็ นต ้องเข ้ามามีสวนร่วมกับกระบวนการประเมินความต ้องการของชุมชนด ้วย 2.2.2 ผูปฏิบ ัติงานหรืออาสาสม ัครของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน ้ Page 3
  • 4. ผู ้จัดการศูนย์ สามารถจ ้างผู ้ปฏิบัตงานหรือเจ ้าหน ้าที เพือมาดําเนินงานในแผนกต่าง ๆ ของศูนย์ฯ ได ้ตาม ิ ิ ื ่ ความเหมาะสม ซึงผู ้ปฏิบัต งานหรือ อาสาสมัครของศูนย์ฯ ก็ ถอเป็ นผู ้ทีมีสวนเกียวข ้องทีมีความสําคัญ ต่อศูนย์ฯ เช่นเดียวกับชุมชน เจ ้าหน ้าทีของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชนทีมีความขยันขันแข็งและรักงานบริการ สามารถช่วยเพิมจํานวนผู ้ ทีเข ้ามาใช ้บริการของศูนย์ฯ ได ้ นอกจากนีเจ ้าหน ้าทีศูนย์ฯ ยังเป็ นผู ้แจ ้งข่าวทีสําคัญและเป็ นผู ้สะท ้อนให ้เห็นความ ต ้องการการเปลียนแปลงในด ้านต่าง ๆ ของคนในชุมชนด ้วย 2.2.3 ต ัวแทนฝายปกครองส่วนท้องถิน ่ ประเทศส่วนใหญ่จะมีการจัดตังองค์กรปกครองส่วนท ้องถินขึน โดยตัวแทนส่วนท ้องถินอาจมาจากการ เลือกตังหรือการแต่งตัง ก็ได ้ ตัวแทนส่วนท ้องถิน มักจะได ้รับความไว ้วางใจให ้มีบทบาทและมีหน ้าทีความรับผิดชอบในการดําเนินการ ด ้าน ต่า ง ๆ ในระดับ ชุม ชน ซึงตัว แทนฝ่ ายปกครองส่ว นท ้องถินจะมีห น า ทีพืนฐานหลายประการ โดยจะขอ ้ ยกตัวอย่างกรณี ของประเทศอินเดีย ดังต่อไปนี 1. หน ้าทีการพัฒนาภาคเกษตรกรรม โดยเฉพาะการขยายผลผลิต 2. หน ้าทีการพัฒนาปรับปรุงทีดินและการดูแลรักษาดิน 3. หน ้าทีด ้านการศึกษาผู ้ใหญ่ 4. หน ้าทีเกียวกับครัวเรือนในชนบท 5. หน ้าทีเกียวกับนํ าดืม 6. หน ้าทีการแจกจ่ายกระแสไฟฟ้ าในชนบท 7. หน ้าทีด ้านสาธารณสุขและการสุขาภิบาล 8. หน ้าทีเกียวกับการพัฒนาของสตรีและเด็ก ตัวแทนภาคการปกครองส่วนท ้องถิน ถือได ้ว่าเป็ นผู ้มีบทบาทสําคัญในการพัฒนาชุมชน ไม่ว่าจะเป็ นการ สนับสนุนการรู ้หนังสือของคนในชุมชน หรือการตระหนักเรืองสาธารณสุข เป็ นต ้น 2.2.4 ผูให้การบริการและธุรกิจท้องถิน ้ ธุรกิจท ้องถิน คือ ธุรกิจจําพวกโรงงานอุตสาหกรรมทีมีหน่วยการผลิตขนาดเล็กหรือวิสาหกิจขนาดเล็กใน ท ้องถิน ซึงธุรกิจ ท ้องถินถือ เป็ นหน่ วยทางสัง คมทีมีค วามสํา คัญ ต่อการจ ้างงานในระดับท ้องถิน อีก ทังยั ง เป็ น ผู ้ผลิตสินค ้าและบริการให ้กับชุมชน ตัวอย่างเช่น สินค ้าทีคนในชุมชนใช ้ในชีวตประจําวัน เช่น สบู่ นํ ามันพืช ไม ้ขีด ิ เมล็ดพืช เป็ นต ้น ส่วนสินค ้าประเภทการบริการทีคนในชุมชนใช ้อยู่บอยครัง ได ้แก่ การธนาคาร การศึกษา การ ่ ประกันภัย เป็ นต ้น ศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน สามารถเป็ นหุ ้นส่วนกับธุรกิจท ้องถิน หรืออาจเป็ นตัวกลางในการกระจายสินค ้า หรือ การบริก ารของท ้องถินสู่สัง คมภายนอกได ้ นอกจากนี ศูน ย์ก ารเรีย นรู ้ไอซีท ข องชุม ชนผู ้เรีย น อาจแสดง ี บทบาทเป็ นศูนย์กลางการจ ้างงานของชุมชนได ้ การประสบผลสําเร็ จของการจัด ตังศูน ย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน ไม่ได ้จํ ากัด อยู่เ ฉพาะการบริห ารจั ดการ ภายในองค์กร แต่ยังมีปัจจัยเกียวกับผู ้ให ้การบริการของท ้องถินด ้วย โดยผู ้ให ้บริการของท ้องถินประกอบด ้วย • ผู ้ให ้บริการอินเตอร์เน็ ต • ตัวแทนขายฮาร์ดแวร์ • ผู ้จําหน่ายสินค ้า • ผู ้ให ้บริการโทรศัพท์เคลือนที • ผู ้ให ้บริการด ้านสาธารณสุขท ้องถิน • หน่วยงานด ้านการประกันภัยทางการเงิน • ผู ้ให ้บริการด ้านการศึกษา อาจกล่าวได ้ หากผู ้ให ้บริการด ้านใดด ้านหนึงไม่สามารถดําเนินการได ้ ก็อาจส่งผลกระทบโดยตรงต่อศูนย์การ เรีย นรู ้ ICT ชุมชนของผู ้เรีย นได ้ ดังนั นผู ้เรีย นจึงควรสร ้างความสัมพั นธ์อัน ดีกับตัวแทนผู ้ให ้บริการด ้านต่า ง ๆ เหล่านี
  • 5. 2.2.5 องค์กรพ ัฒนาเอกชน (NGO) องค์ก รพั ฒ นาเอกชน คือ องค์ก รทีภาคประชาชนจั ด ตังขึนอย่า งถูก กฎหมาย โดยเป้ าหมายหลัก ของ องค์กรเหล่านี คือ ให ้ความสําคัญกับความต ้องของคนในชุมชน รวมทังช่วยพั ฒนาชุมชนต่าง ๆ ซึงองค์กรพัฒนา เอกชนเกิดขึน เพือสนองต่อผลประโยชน์ของประชาชนในชุมชนนันเอง ่ องค์กรพัฒนาเอกชน มีสวนสําคัญอย่างมากต่อชุมชน ซึงสามารถเป็ นผู ้สนั บสนุนสําคัญต่อศูนย์การเรียนรู ้ ไอซีทของชุมชนผู ้เรียนได ้ โดยส่วนใหญ่องค์กรพัฒนาเอกชนจะมีข ้อมูล สมาคม และเครือข่าย กับองค์กรอืน ๆ ี ทังในระดับรัฐ และระดับชุมชน องค์กรพั ฒนาเอกชน สามารถช่วยสร ้างสมรรถภาพ การอบรม การเงิน และการประเมิน ให ้กับ ศูนย์ฯ ของผู ้เรียนได ้ อาจกล่าวได ้ว่าการปฎิบตงานด ้านต่าง ๆ ขององค์กรพัฒนาเอกชน มีความสําคัญต่อชุมชนอย่างมาก ั ิ หากศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน มีการร่วมงานกับองค์กรพัฒนาเอกชน ย่อมจะช่วยให ้ผู ้เรียนมีความรู ้ความ เข ้าใจในเรืองทีเกียวกับท ้องถินได ้ลึกซึงมากขึน อีกทังยังช่วยให ้ผู ้เรียนเข ้าใจความต ้องการของชุมชนของผู ้เรียน ได ้มากยิงขึนด ้วย คําถาม 1.2 1. ระบุหน ้าทีพืนฐาน 5 ประการ ของตัวแทนฝ่ ายท ้องถินของประเทศอินเดีย i. ___________________ ii. ___________________ iii. ___________________ iv. ___________________ v. ___________________ 2. ระบุผู ้ให ้บริการของท ้องถิน 4 ประการ i. ___________________ ii. ___________________ iii. ___________________ iv. ___________________ 3. อธิบายเป้ าหมายหลักขององค์กรพัฒนาเอกชน _______________________________________________________________ _______________________________________________________________ บทสรุปย่อ Page 5
  • 6. ใน หน่วย นี ผู ้เรียนได ้เรียนรู ้เกียวกับขันตอนต่าง ๆ ตังแต่เริมจัดตัง ไปจนถึงขันตอนการปฎิบัตงานของ ศูนย์ ิ ่ การเรียนรู ้ ICT ชุมชน รวมทังได ้เรียนรู ้บทบาทของผู ้มีสวนเกียวข ้องในการพัฒนาชุมชนด ้วย ประเด็นสําคัญของ หน่วย นี คือ: • มีขนตอนจํานวนมากมาย ตังแต่เริมจัดตัง ไปจนถึงขันตอนการปฎิบตงานของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน ั ั ิ • ขันตอนต่าง ๆ ประกอบด ้วย ความรู ้และเข ้าใจความต ้องการของชุมชน, การวางแผนเพือจัดตังศูนย์การ เรียนรู ้ ICT ชุมชน, การเสริมสร ้างทักษะ, การให ้บริการด ้านต่าง ๆ แก่ชมชน,การบริหารจัดการศูนย์การ ุ เรียนรู ้ ICT ชุมชน เป็ นต ้น ่ • ผู ้มีสวนเกียวข ้องกับศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน ได ้แก่ ชุมชน, ผู ้ปฏิบัตงานหรืออาสาสมัครของศูนย์การ ิ เรียนรู ้ ICT ชุมชน, ตัวแทนฝ่ ายปกครองส่วนท ้องถิน, ผู ้ให ้ การบริการและธุรกิจท ้องถิน และองค์กร พัฒนาเอกชน การประเมินผล ่ คัดเลือกผู ้มีสวนเกียวข ้องกับศูนย์การเรียนรู ้ไอซีทใ นชุมชนของผู ้เรียน ทังฝ่ ายปกครองท ้องถิน หรือภาคเอกชน ี และทําการนํ าเสนอว่ากลุมคนเหล่านีช่วยเหลือหรือสนับสนุนการพัฒนาชุมชนอย่างไร ่ การนําเสนอ ประกอบไปด้วย : 1. บันทึกเทปหรือซีด ี (5-7 นาที) 2. วีดโอเทป (5 นาที) ี 3. เขียนบทความ (2 หน ้า A4) 4. การวาดภาพ 5. คํากลอน 6. บทความประกอบภาพ (ประกอบด ้วยภาพ 10 ภาพ และข ้อความ) รายการอ้างอิง Alsop J Ruth, et al (2006), “Inclusion and local elected governments: The Panchayati Raj System in India”, World Bank, Washington: USA, URL: http://siteresources.worldbank.org/INTRANETSOCIALDEVELOPMENT/873467- 1111741676294/20502178/SDP37.pdf ASSOCHAM and KPMG (2008), “Corporate Social Responsibility: Towards a Sustainable Future”, KPMG, New Delhi: India, URL: http://www.karmayog.org/redirect/strred.asp?docId=13376 Haufler, Virginia (2002), “Case Studies of Multistakehoder Partnership”, UN Global Compact, URL: http://www.unglobalcompact.org/docs/issues_doc/Peace_and_Business/MultistakeholderInitiativeinZo nesofConflict.pdf ข้อมูลเพิมเติม ดูได้จากเว็บไซต์ ด ังนี: Ministry of Panchayati Raj (www.panchayat.nic.in) NGO Partnership System, Government of India (www.ngo.india.com) Microfinance (www.microfinanceinsights.com/articles_new.asp) Retailing (www.retail.about.com/od/glossary/g/retailing)