SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
ประกอบด้วย
คณะกรรมการสถานศึกษา
ร.ร.ขนาดเล็ก นร.ไม่เกิน 300 คน ร.ร.ขนาดใหญ่ นร.เกิน 300 คน
1.ประธาน (มาจาก ก.ก.ผู้ทรงฯ) 1 1
2. ผู้แทนผู้ปกครอง 1 1
3. ผู้แทนครู 1 1
4. ผู้แทนองค์กรชุมชน 1 1
5. ผู้แทน อปท. 1 1
6. ผู้แทนศิษย์เก่า 1 1
7. ผู้แทนพระ / ศาสนาอื่นใน พท. 1 2
8. ผู้ทรงฯ 1 6
9. ผู้อานวยการสถานศึกษา
(กก./เลขานุการ)
1 1
รวม 9 15
ตาแหน่ง ประกอบด้วย จานวน (คน)
ประธาน 1. ผู้บริหารสถานศึกษา 1
กรรมการ 2. ครู ป.1 1
กรรมการ 3. ผู้แทน กก.สถานศึกษา 2
กรรมการ/เลขานุการ 4. รองผู้บริหารสถานศึกษา 1
รวม 5
รายการ ประเภทกฎหมาย
1.การแบ่งส่วนราชการใน สพฐ. กฎกระทรวง
2.กาหนดหลักเกณฑ์ ได้แก่
- การแบ่งส่วนราชการ ภายใน สานักงานเขตพื้นที่ กศษ.
- การแบ่งส่วนราชการ ภายใน สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
กฎกระทรวง
3. การแบ่งส่วนราชการ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประกาศกระทรวง
4. การแบ่งส่วนราชการ สถานศึกษา ระเบียบที่คณะกรรมการเขตพื้นที่กศษ.กาหนด
คณะกรรมการต่างๆ ที่ควรรู้
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
คณะกรรมการผ่อนผันเด็กเข้าเรียน ป.1
การตรากฎหมาย
ตาแหน่ง ประกอบด้วย (ใคร) จานวน ( คน )
1.ประธาน ร.ม.ต.พัฒนาสังคมฯ 1
2.รองประธาน ปลัดฯพัฒนาสังคมฯ 1
3.กรรมการ - ปลัด มหาดไทย - อธิบดีกรมการปกครอง
- ปลัด ยุติธรรม - อธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
- ปลัด ศธ. - อธิบดีกรมสุขภาพจิต
- อธิบดีผู้พิพากษาศาลเด็ก
- อัยการสูงสุด - ผบ.ตารวจแห่งชาติ
- ผอ.สานักงานส่งเสริมสวัสดิการและพิทักษ์เด็กเยาวชน
ผู้ด้อย/พิการ/สูงอายุ
10
4.กรรมการผู้ทรงฯ
( ร.ม.ต.พัฒนาฯแต่งตั้ง)
1.ผู้เชี่ยวชาญมี ปสก.ด้านต่างๆ 10 คน
- สังคม 2 - ครู 2 - จิตวิทยา 2
- กฎหมาย 2 - แพทย์ 2
2. ภาคเอกชน อย่างน้อยวิชาชีพละ 1 คน
3. ผู้มี ปสก.มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ 2 คน
10
ต้องเป็นสตรี
ไม่น้อยกว่า
1 ใน 3
5. กรรมการและเลขานุการ รองปลัด / ปลัดมอบหมาย 1
6. ผู้ช่วยเลขานุการ
ไม่เกิน 2
ข้าราชการในกระทรวงพัฒนาฯ หรือ คณะกรรมการแต่ง
ตั้งขึ้นกันเอง หรือตั้งก็ได้ ไม่ตั้งก็ได้ ** จานวนไม่แน่นอน
คณะกรรมการคุ้มครองเด็กแห่งชาติ
1.ให้เป็นความสมัครใจเพื่อไปทากิจกรรมการเรียนการ
สอนหรือทัศนศึกษา
2.ไม่ใช่พาไปเพื่อ ทดสอบสมรรถภาพ/ทากิจกรรมอื่นเพื่อ
เป็นการวัดผลให้คะแนน
3.ครูเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางได้
สถานที่
ไม่เกินกี่ครั้ง
ลาบ่อยครั้ง มาทางานสายเนืองๆ
โรงเรียน ไม่เกิน 6 ครั้ง ไม่เกิน 8 ครั้ง
สานักงาน ไม่เกิน 8 ครั้ง ไม่เกิน 9 ครั้ง
1. วันเปิดภาคเรียน – ชักธงขึ้น เวลาเข้าเรียน
- ชักธงลง เวลา 18.00 น.
2. ในวันปิดเรียน - ชักขึ้น เวลา 08.00 น.
- ชักลง เวลา 18.00 น.
** ถ้าเวลาอื่น ให้ผู้มีอานาจพิจารณาตามความเหมาะสม
3. ในโอกาสและวันพิธีสาคัญ ** ให้ชัก/ประดับธงชาติ
ณ สถานศึกษา กาหนด 13 วันสาคัญ
วันเทศกาล
/พิธี
วันทางศาสนา สถาบันking อื่นๆ
1.ขึ้นปีใหม่ 1.มาฆบูชา 1.วันจักรี 1.วันUN 24/10
2.สงกรานต์ 2.วิสาขบูชา 2.วันฉัตรมงคล 2.วันรัฐธรรมนูญ
3.พืชมงคล 3.อาสาฬหบูชา 3.วันแม่
4.เข้าพรรษา 4.วันพ่อ
3 4 4 2
* วันพ่อ ประดับธงนานที่สุด 3 วัน คือ 5 – 6 - 7
* วันอื่นๆ ประดับธง 1 วัน เหมือนกันหมด
1.ชักธงชาติขึ้นจนถึงยอดเสา
2.เมื่อถึงยอดแล้วจึงลดลง สูงระดับ 2 ใน 3 ส่วน
3.เมื่อจะชักธงลง ให้ชักธงขึ้นให้ถึงยอดเสาก่อนแล้วจึง
ชักธงลงตามปกติ
ผู้เข้าสอบต้องปฏิบัติดังนี้
1.นร./นศ.ต้องแต่งกายเครื่องแบบ นร./นศ.
2.ถ้าเป็นผู้สมัครสอบ ต้องแต่งให้สุภาพเรียบร้อยตาม
ประเพณีนิยม
3.ไปไม่ทันเวลาสอบวิชาใด ไม่มีสิทธิ์สอบวิชานั้น
* ยกเว้น การสอบวิชาแรกในตอนเช้าของแต่ละวัน ถ้าเข้า
สอบหลังลงมือสอบแล้ว 15 นาที จะไม่ได้รับอนุญาตให้สอบ
วิชานั้น (ยกเว้น แต่มีเหตุความจาเป็นให้อยู่ในดุลพินิจของ
ประธานดาเนินการสอบ พิจารณาอนุญาต
4.จะออกจากห้องสอบก่อนเวลา 20 นาที หลังจากเริ่มสอบ
วิชานั้นไม่ได้
1.ให้ผู้กากับสอบ ว่ากล่าวตักเตือน
* ถ้าเข้าลักษณธร้ายแรง มีอานาจสั่ง – ไม่ให้เข้าสอบ
- สั่งไม่ตรวจคาตอบ
* ถือว่าสอบไม่ผ่านเฉพาะวิชาก็ได้
2.ทุจริตในการสอบ ระหว่างผู้เข้าสอบด้วยกัน ให้สันนิษฐาน
ไว้ก่อนว่า ผู้สอบนั้นได้สบคบกันกระทาการทุจริต
เรื่องควรรู้เกี่ยวกับครู
การพา นร. /นศ.ไปนอกสถานศึกษา
กาหนดเวลาชักธงชาติ ขึ้นและลง
การลดธงชาติครึ่งเสา ขั้นตอน ดังนี้
การลา
การปฏิบัติของผู้เข้าสอบ
การกระทาฝ่าฝืน/ทุจริตในการสอบ
การลงโทษ
หมายถึง การลงโทษ นร.หรือ นศ.ที่กระทาความผิด โดยมีความ
มุ่งหมายเพื่อการอบรมสั่งสอน
โทษสาหรับ นร./นศ. มี 4 สถาน ครู มี 5 สถาน
1.ว่ากล่าวตักเตือนกรณีไม่ร้ายแรง
2.ทาทัณฑ์บนกรณีทาตัวไม่เหมาะสม
3.ตัดคะแนนความประพฤติ/บันทึกข้อมูล
4.ทากิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
1. ภาคทัณฑ์
2. ตัดเงินเดือน
3. ลดขั้นเงินเดือน
4. ปลดออก
5. ไล่ออก
ห้ามลงโทษ นร./นศ.ด้วย…
- วิธีรุนแรง
- แบบกลั่นแกล้ง
- ลงโทษด้วยความโกรธ
- ด้วยความพยาบาท
โดยให้คานึงถึง
1.อายุของ นร./นศ.
2.ความร้ายแรงของ
พฤติการณ์ประกอบการ
ลงโทษด้วย
โทษสาหรับ นร./นศ.
มี 4 สถาน
หมายเหตุ
1.ว่ากล่าวตักเตือน ทาผิดไม่ร้ายแรง
2.ทาทัณฑ์บน
- ทาเป็นหนังสือ
- เชิญผู้ปกครอง มา
บันทึกทราบความผิด
- รับรองการทัณฑ์บน
ไว้ด้วย
1.ประพฤติตนไม่เหมาะสมกับสภาพ นร./นศ.
2.ทาให้ ร.ร.เสียชื่อเสียง
3.ฝ่าฝืนระเบียบของสถานศึกษา
4.เคยโทษตัดเตือนแล้ว แต่ยังไม่เข็ หลาบ
3.ตัดคะแนนความ
ประพฤติ/บันทึกข้อมูล
เป็นไปตามระเบียบของสถานศึกษา
4.ทากิจกรรมเพื่อให้
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
เป็นไปตามแนวทางของกระทรวงกาหนด
เนื่องจาก
1. สถานศึกษาสั่งปิดด้วยเหตุพิเศษ หรือ
2. สถานศึกษาสั่งปิดด้วยกรณีพิเศษ
*** ให้ถือว่าเป็นวันทางานปกติ
ความหมาย
กรณีพิเศษ เหตุพิเศษ
กรณีจาเป็นต้องใช้สถานศึกษา เพื่อ….
- ประชุม สัมมนา
- ฝึกอบรม พักแรม
- จัดสอบ จัดกิจกรรม
- เหตุจาเป็นอื่นที่ไม่อาจเปิดภาคเรียนได้
ตามปกติ
เป็นเหตุที่เกิดจาก
ภัยพิบัติสาธารณะ
ผู้มีอานาจสั่งปิด กรณีพิเศษ เหตุพิเศษ
1.หัวหน้าสถานศึกษา ไม่เกิน 7 วัน ไม่เกิน 15 วัน
2.ผอ.สานักงานเขตฯ ไม่เกิน 15 วัน ไม่เกิน 30 วัน
ถ้ากรณี
1. สั่งปิดไปแล้วแต่เหตุการณ์เกิดขึ้นไม่สงบหรือมีเหตุจาเป็นต้องสั่ง
ปิดต่อไปอีก ให้อยู่ในดุลพินิจหัวหน้าสถานศึกษา
2. สั่งปิดชั่วคราว
- ครูมาทางานตามปกติ/ตามคาสั่ง
- ทาคาสั่งเป็นหนังสือ
- ถ้าสั่งในรูปแบบอื่นให้ทาเป็นหนังสือภายใน 30 วัน
* สถานศึกษา
- เริ่มทางานตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.
- สัปดาห์ละไม่น้อยกว่า 35 ชั่วโมง
* วันปิดภาคเรียน
- ให้ถือว่าเป็นวันพักผ่อนของนักเรียน
- สถานศึกษาอาจอนุญาตให้ครูพักผ่อนก็ได้ แต่ถ้ามีขรก.จาเป็น
ให้มาปฏิบัติราชการเหมือนการมาปฏิบัติราชการตามปกติ
1.ไปทากิจกรรมการเรียนการสอนนอกสถานที่ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป
2.ยกเว้น / ไม่รวมถึง – การเดินทางไกล/เข้าค่าย/พักแรม
- ไปนอกสถานที่ตามคาสั่งราชการ
ไปนอกสถานที่ มี 3 ประเภท ดังนี้ ** ผู้ควบคุม ครู:นร. = 1:30 คน
ประเภท ใครอนุญาต
1.ไม่ค้างคืน ผอ.สถานศึกษา
2.ค้างคืน ผอ.สานังานเขตฯ
3.นอกประเทศ / ต่าง ปท. เลขาฯกพฐ.
ระเบียบกระทรวงว่าด้วยการลงโทษ นร./นศ.2548
การลงโทษสาหรับ นร./นศ. มี 4 สถาน
เวลาทางานและวันหยุดราชการ
วันที่สถานศึกษามีการสอนชดเชยหรือทดแทน
การเปิดและปิดสถานศึกษา
ผู้มีอานาจสั่งปิดสถานศึกษา
การพา นร./นศ. ไปนอกสถานที่
การลา แบ่งออกเป็น 11 ประเภท คือ
1. การลาป่วย ป่วย
2. การลาคลอดบุตร คลอด
3. การลาไปช่วยเหลือภริยาที่คลอดบุตร ช่วย
4. การลากิจส่วนตัว กิจ
5. การลาพักผ่อน ผ่อน
6. การลาอุปสมบทหรือการลาไปประกอบพิธีฮัจย์ บวช
7. การลาเข้ารับการตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพล ตรวจ
8. การลาไปศึกษา ฝึกอบรม ปฏิบัติงานวิจัย หรือดูงาน ษา
9. การลาไปปฏิบัติงานในองค์กรระหว่างประเทศ ต่าง
10. การลาติดตามคู่สมรส ติด
11. การลาไปฟื้นฟูสมรรถภาพด้านอาชีพ ชีพ
- ข้าราชการปีหนึ่งลาพักผ่อนได้ 10 วันทาการ
- บรรจุไม่ถึง 6 เดือน ไม่มีสิทธิลาพักผ่อน
- สะสมวันลาได้ไม่เกิน 20 วันทาการ
รับราชการมาไม่น้อยกว่า 10 ปี สะสมวันลาได้ไม่เกิน 30 วัน
*** ข้าราชการครูไม่มีสิทธิลาพักผ่อน ***
- ลาป่วยตั้งแต่ 30 วันขึ้นไป *ต้องมีใบรับรองแพทย์
- ลาป่วยไม่ถึง 30 วันทาการ * ผู้มีอานาจสั่งให้มี
ใบรับรองหรือไม่มีก็ได้
- ส่งใบลาขออนุญาตต่อ ผู้อานวยการสานักงานเขต ก่อน
เดินทางไม่น้อยกว่า 60 วัน
- ได้รับอนุญาตแล้วต้องอุปสมบท/ออกเดินทางภายใน10 วัน
นับแต่เริ่มลา
- กลับมารายงานตัวภายใน 5 วัน นับแต่ ลาสิกขา/เดินทาง
- ลาได้ครั้งหนึ่งไม่เกิน 90 วัน โดยไม่ต้องมีใบรับรองแพทย์
- จะลาก่อนหรือลาหลังคลอดก็ได้
1. ลาตรวจเลือก รายงานต่อ ผบ.
- ไม่น้อยกว่า 48 ชม
- ก่อนเข้ารับการตรวจเลือก
2. ลาเข้าเตรียมพล รายงานต่อ ผบ.
- ภายใน 48 ชม.
- นับแต่ได้รับหมายเรียกโดยไม่ต้องรอคาสั่งอนุญาต
- เสนอใบลาก่อนหรือในวันที่ลา ภายใน ๙๐ วันนับแต่
วันที่คลอดบุตรลาครั้งหนึ่งติดต่อกันไม่เกิน ๑๕ วันทาการ
- ผู้มีอานาจอนุญาตอาจให้แสดงหลักฐานประกอบการ
พิจารณาได้
- ในประเทศ = อธิบดี(มอบอานาจให้ ผอ.รร.)
- ต่างประเทศ = เลขาธิการ ก.พฐ.
- เสนอใบลาแล้ว อนุญาตจึงลาหยุดได้ - แต่ถ้ามีเหตุจาเป็น หยุดก่อนก็ได้*แจ้งทันทีที่มาปฏิบัติฯ
- ลากิจส่วนตัวเพื่อเลี้ยงดูบุตรต่อเนื่องจากลาคลอดได้
1. ไม่เกิน 150 วันทาการ 2. โดยไม่ได้รับเงินเดือน 3. ผบ.ไม่สามารถเรียกตัวมาปฏิบัติราชการได้
การลา ประเภทต่างๆ
1.การลาป่วย
2.การลาคลอดบุตร
3.การลาไปช่วยเหลือภริยาที่คลอดบุตร
5.การลาพักผ่อน
6.ลาไปอุปสมบท/ประกอบพิธีฮัทย์
7. ลาตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพล
8. ลาศึกษาต่อ/ฝึกอบรม/ปฏิบัติงานวิจัย (ครู)
4.การลากิจส่วนตัว
- ลาต่อ รมต.โดยไม่ได้รับเงินเดือน มี 2 ประเภท
1. ไม่เกิน 4 ปี เงื่อนไข 1.ไทยเป็นสมาชิก
2. รัฐบาลผูกพันตามข้อตกลง
3. เพื่อรักษาผลประโยชน์ชาติ
2. ไม่เกิน 1 ปี เงื่อนไข นอกเหนือจากประเภท 1
คุณสมบัติ
1. รับราชการไม่น้อยกว่า 5 ปี (UNไม่น้อยกว่า 2 ปี)
2. อายุไม่เกิน 52 ปี /ไม่เคยถูกลงโทษทางวินัย
- ลาได้ไม่เกิน 2 ปี * ถ้าจาเป็นให้อีก 2 ปี(เป็น 4 ปี )
* ถ้าเกิน 4 ปี ให้ลาออก
- ได้รับอันตรายหรือเจ็บป่วยเหตุปฏิบัติหน้าที่ราชการจน
ทุพพลภาพหรือพิการ
- ลาไปเข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรเกี่ยวกับการฟื้นฟู
สมรรถภาพที่จาเป็นต่อการปฏิบัติหน้าที่ราชการหรือ
จาเป็นต่อการประกอบอาชีพ
- ลาได้ครั้งหนึ่งตามระยะเวลาที่กาหนดไว้ในหลักสูตรที่
ประสงค์จะลา แต่ไม่เกิน ๑๒เดือน
- ได้รับอันตรายเพราะเหตุอื่นจนทุพพลภาพหรือพิการ
ผู้มีอานาจสั่งบรรจุ (อธิบดี,ผวจ.) เห็นว่ายังรับราชการได้
สามารถลาไปอบรบหลักสูตรที่จาเป็นต่อการปฏิบัติ
หน้าที่ราชการได้ แต่ไม่เกิน ๑๒เดือน
- ต้องเป็นหลักสูตที่ส่วนราชการ หน่วยงานอื่นของรัฐ
องค์กรการกุศลอันเป็นสาธารณะ สถาบันที่ได้รับการ
รับรองจากหน่วยงานของทางราชการเป็นผู้จัดหรือร่วม
จัด
- เสนอใบลาพร้อมหลักฐานเกี่ยวกับหลักสูตรที่จะลา
เอกสารที่เกี่ยวข้อง ตามลาดับเมื่อได้รับอนุญาตแล้วจึงจะ
หยุดราชการเพื่อไปฟื้นฟูได้ (อธิบดี อนุญาตได้ไม่เกิน ๖
เดือน, ปลัดกระทรวง,รมต.ไม่เกิน ๑๒ เดือน)
1. ลาป่วย ครั้งหนึ่งไม่เกิน 60 วันทาการ
2. ลาคลอด ครั้งหนึ่งไม่เกิน 90 วันทาการ
3. ลากิจส่วนตัว ครั้งหนึ่งไม่เกิน 30 วันทาการ
4. ลาพักผ่อน
9. ลาไปปฏิบัติงานในองค์กรระหว่างประเทศ 10. ลาติดตามคู่สมรส (ไปทางาน/ปฏิบัติงานตปท.)
11.การลาไปฟื้นฟูสมรรถภาพด้านอาชีพ ผู้บริหารสถานศึกษามีอานาจอนุญาตการลา
ของผู้ใต้บังคับบัญชา 4 ประเภท ดังนี้
กฎหมาย / พรบ. ทีมาของกฎหมาย
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ 2542 รธน.2540 ( ฉบับที่ 16 ) มาตรา 81
พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา 2546 พรบ.การศึกษาแห่งชาติ 2542 หมวด7 มาตรา 53
( ม.53 ให้มีองค์กรวิชาชีพครู ผู้บริหารการศึกษา/สถานศึกษา)
พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ 2546 พรบ.การศึกษาแห่งชาติ 2542 หมวด 5
(หมวด 5 การบริหารและการจัดการศึกษา)
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 พรบ.การศึกษาแห่งชาติ 2542 หมวด7 มาตรา 54
( ม.54 ให้มีองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของข้าราชกรครู
พรบ. 3 ฉบับที่แก้ไข มาตราที่แก้ไข จานวนมาตรา ฉบับแก้ไข
1.พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ม.37 , 38 4 มาตรา
2.พรบ.ระเบียบบริหารราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ 2546
ม.33 , 36 6 มาตรา
3. พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา 2547
ม.7 , 21 8 มาตรา
ที่มาของกฎหมาย
การแก้ไข พรบ.
ผู้ประกอบวิชาชีพครู
ต้องมีมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ ต้องปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน
(ก) มตฐ.ความรู้ มีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่ำป.ตรี/เทียบเท่ำ/คุณวุฒิอืนทีคุรุสภำรับรอง โดยมีควำมรู้
ดังต่อไปนี้
(๑) ภำษำและเทคโนโลยีส่ำหรับครู
(๒) กำรพัฒนำหลักสูตร
(๓) กำรจัดกำรเรียนรู้
(๔) จิตวิทยำส่ำหรับครู
(๕) กำรวัดและประเมินผลกำรศึกษำ
(๖) กำรบริหำรจัดกำรในห้องเรียน
(๗) กำรวิจัยทำงกำรศึกษำ
(๘) นวัตกรรมและเทคโนโลยีสำรสนเทศทำงกำรศึกษำ
(๙) ควำมเป็นครู
(ข) มตฐ.ประสบการณ์วิชาชีพ ผ่ำนกำรปฏิบัติกำรสอนใน เป็นเวลำไม่น้อยกว่ำ 1 ปี และ
ผ่ำนหลักเกณฑ์ วิธีกำร และเงือนไขทีคณะกรรมกำรคุรุสภำก่ำหนด ดังต่อไปนี้
(๑) กำรฝึกปฏิบัติวิชำชีพระหว่ำงเรียน
(๒) กำรปฏิบัติกำรสอนในสถำนศึกษำในสำขำวิชำเฉพำะ
1. ปฏิบัติกิจกรรมทำงวิชำกำรเกียวกับกำรพัฒนำวิชำชีพครูอยู่เสมอ
2. ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมต่ำง ๆ โดยค่ำนึงถึงผลทีจะเกิดแก่ผู้เรียน
3. มุ่งมันพัฒนำผู้เรียนให้เต็มตำมศักยภำพ
4. พัฒนำแผนกำรสอนให้สำมำรถปฏิบัติได้เกิดผลจริง
5. พัฒนำสือกำรเรียนกำรสอนให้มีประสิทธิภำพอยู่เสมอ
6. จัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอน โดยเน้นผลถำวรทีเกิดแก่ผู้เรียน
7. รำยงำนผลกำรพัฒนำคุณภำพของผู้เรียนได้อย่ำงมีระบบ
8. ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่ำงทีดีแก่ผู้เรียน
9. ร่วมมือกับผู้อืนในสถำนศึกษำอย่ำงสร้ำงสรรค์
10. ร่วมมือกับผู้อืนในชุมชนอย่ำงสร้ำงสรรค์
12. แสวงหำและใช้ข้อมูลข่ำวสำรในกำรพัฒนำ
12. สร้ำงโอกำสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในทุกสถำนกำรณ์
มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ มาตรฐานการปฏิบัติงาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานของสพฐ. จานวน 5 ด้าน 15 มาตรฐาน
ประกอบด้วย
ด้านที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน 6 มตฐ. (ผู้เรียนมี.................)
มาตรฐานที่ 1
สุขภาวะที่ดี/มีสุนทรียภาพ
มาตรฐานที่ 2
คุณธรรม/จริย /ค่านิยมที่พึง
มาตรฐานที่ 3
ทักษะในการแสวงหาความรู้/
พัฒนาตนเอง
มาตรฐานที่ 4
คิดเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์
ตัดสินใจแก้ปัญหา/มีสติสม
เหตุผล
มาตรฐานที่ 5
ความรู้และทักษะพื้นฐานที่
จาเป็นตามหลักสูตร
มาตรฐานที่ 6
ทักษะการทางาน /ทางาน
ร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติ
ที่ดีต่ออาชีพสุจริต
1. มีสุขนิสัย/ดูแลสุขภาพและ
ออกกาลังกาย
2. หนัก/สูง ตามเกณฑ์มตฐ.
3. ป้องกันตนจากสิ่งเสพติด/
โรคภัย/ อุบัติเหตุ /ปัญหา
ทางเพศ
4. เห็นคุณค่าตนเอง /มั่นใจ
กล้าแสดงออก
5. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและให้
เกียรติผู้อื่น
6. ศิลปะ ดนตรี/นาฏศิลป์
กีฬา/นันทนาการ ตาม
จินตนาการ
1. คุณพึงตามหลักสูตร
2. เอื้ออาทร/กตัญญูกตเวที
3. ยอมรับความคิด/
วัฒนธรรมที่แตกต่าง
4. ตระหนัก /รู้คุณค่า /
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
1. มีนิสัยรักการอ่านและ
แสวงหาความรู้ด้วยตนเองจาก
ห้องสมุด แหล่งเรียนรู้
และสื่อต่างๆ รอบตัว
2. มีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู
พูด เขียน และตั้งคาถามเพื่อ
ค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม
3. เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อ
การเรียนรู้ระหว่างกัน
4. ใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้
และนาเสนอผลงาน
1. สรุปความคิดจากเรื่องที่
อ่าน ฟัง และดู และสื่อสาร
โดยการพูดหรือเขียนตาม
ความคิดของตนเอง
2. นาเสนอวิธีคิด วิธีแก้ปัญหา
ด้วยภาษาหรือวิธีการของ
ตนเอง
3. กาหนดเป้าหมาย
คาดการณ์ ตัดสินใจแก้ปัญหา
โดยมีเหตุผลประกอบ
4. มีความคิดริเริ่ม และ
สร้างสรรค์ผลงานด้วยความ
ภาคภูมิใจ
1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
เฉลี่ยแต่ละกลุ่มสาระเป็นไป
ตามเกณฑ์
2. ผลการประเมินสมรรถนะ
สาคัญตามหลักสูตรเป็นไป
ตามเกณฑ์
3. ผลการประเมินการอ่าน
คิดวิเคราะห์ และเขียน
เป็นไปตามเกณฑ์
4. ผลการทดสอบระดับชาติ
เป็นไปตามเกณฑ์
1. วางแผนการทางานและ
ดาเนินการจนสาเร็จ
2. ทางานอย่างมีความสุข
มุ่งมั่นพัฒนางาน และภูมิใจใน
ผลงานของตนเอง
3. ทางานร่วมกับผู้อื่นได้
4. มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพ
สุจริตและหาความรู้เกี่ยวกับ
อาชีพที่ตนเองสนใจ
ด้านที่ 2 มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา มี 6 มตฐ.
มาตรฐานที่ 7
ครู
ปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่
อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด
ประสิทธิผล
มาตรฐานที่ 8
ผู้บริหาร
ปฏิบัติงานตามบทบาท
หน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ
และเกิดประสิทธิผล
มาตรฐานที่ 9
คณะกรรมการ
สถานศึกษา และผู้ปกครอง
ชุมชนปฏิบัติงานตาม
บทบาทหน้าที่อย่างมี
ประสิทธิภาพและเกิด
ประสิทธิผล
มาตรฐานที่ 10
สถานศึกษา
มีการจัดหลักสูตร
กระบวนการเรียนรู้ และ
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ
ผู้เรียนอย่างรอบด้าน
มาตรฐานที่ 11
สถานศึกษา
มีการจัดสภาพแวดล้อมและ
การบริการที่ส่งเสริมให้
ผู้เรียนพัฒนาเต็มศักยภาพ
มาตรฐานที่ 12
สถานศึกษา
มีการประกันคุณภาพ
ภายใน
1.ครูมีการกาหนดเป้าหมาย
คุณภาพผู้เรียนทั้งด้านความรู้
ทักษะ/ สมรรถนะ /คุณพึง
2.ครูมีการวิเคราะห์ผู้เรียน
3.ครูออกแบบ/จัดการเรียนรู้
4.ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่
5.ครูมีการวัดและประเมินผล
6.ครูให้คาแนะนา คาปรึกษา
7.ครูมีการศึกษา วิจัย
8.ครูประพฤติปฏิบัติตนเป็น
แบบอย่างที่ดี
9.ครูจัดการเรียนการสอน
ตามวิชาที่ได้รับมอบหมาย
1.ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ภาวะ
ผู้นา และความคิดริเริ่ม
2.ผู้บริหารใช้หลักการบริหาร
แบบมีส่วนร่วม
3.ผู้บริหารสามารถบริหาร
จัดการการศึกษาให้บรรลุ
เป้าหมาย
4.ผู้บริหารส่งเสริมและ
พัฒนาศักยภาพบุคลากร
5.นักเรียน ผู้ปกครอง และ
ชุมชนพึงพอใจ
6.ผู้บริหารให้คาแนะนา
คาปรึกษา
1.คณะกรรมการสถานศึกษา
รู้และปฏิบัติหน้าที่ตามที่
ระเบียบกาหนด
2.คณะกรรมการสถานศึกษา
กากับติดตาม ดูแล และ
ขับเคลื่อนการดาเนินงานของ
สถานศึกษาให้บรรลุผลสาเร็จ
ตามเป้าหมาย
3.ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามา
มีส่วนร่วมในการพัฒนา
สถานศึกษา
1.หลักสูตรสถานศึกษา
เหมาะสม/สอดคล้องท้องถิ่น
2.จัดรายวิชาเพิ่มเติมที่
หลากหลายให้ผู้เรียนเลือก
3.จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่
ส่งเสริมและตอบสนอง
4.สนับสนุนครูจัดกระบวน
การเรียนรู้ให้ผู้เรียนลงมือทา
5.นิเทศภายใน กากับ
ติดตามตรวจสอบ
6.จัดระบบดูแลช่วยเหลือ
ผู้เรียนที่มีประสิทธิภาพและ
ครอบคลุมถึงผู้เรียนทุกคน
1.ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ
อาคารเรียนมั่นคง
2.จัดโครงการ กิจกรรมที่
ส่งเสริมสุขภาพอนามัยและ
ความปลอดภัยของผู้เรียน
3.จัดห้องสมุดที่ให้บริการสื่อ
และเทคโนโลยีสารสนเทศที่
1.กาหนดมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา
2.จัดทาและดาเนินการตาม
แผนพัฒนาการจัดการศึกษา
3.จัดระบบข้อมูลสารสนเทศ
ในการบริหารจัดการ
4.ติดตามตรวจสอบ และ
ประเมินคุณภาพภายใน
5.นาผลการประเมินคุณภาพ
ทั้งภายในและภายนอกไปใช้
6.จัดทารายงานประจาปีที่
เป็นรายงานการประเมิน
คุณภาพภายใน
ด้านที่ 3
มตฐ. การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
1 มตฐ.
ด้านที่ 4
มตฐ.อัตลักษณ์ของสถานศึกษา
1 มตฐ.
ด้านที่ 5
มตฐ.มาตรการส่งเสริม
1 มตฐ.
มาตรฐานที่ 13
สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษา
เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้
มาตรฐานที่ 14
การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์
ปรัชญา และจุดเน้นที่กาหนดขึ้น
มาตรฐานที่ 15
การจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้น แนวทางการปฏิรูป
การศึกษาเพื่อพัฒนา และส่งเสริมสถานศึกษา
ให้ยกระดับคุณภาพสูงขึ้น
1. มีการสร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษาและ
ใช้ประโยชน์จาก
แหล่งเรียนรู้ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา เพื่อ
พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนและ
บุคลากรของสถานศึกษา รวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้อง
2. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคลากรภายใน
สถานศึกษา ระหว่าง สถานศึกษากับ
ครอบครัว ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง
1.จัดโครงการ กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบรรลุตาม
เป้าหมาย วิสัยทัศน์ ปรัชญา
ปณิธาน พันธกิจ วัตถุประสงค์และจุดเน้นของการจัดตั้ง
สถานศึกษา
2. ผลการดาเนินงานส่งเสริมให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมาย
วิสัยทัศน์ ปรัชญา
และจุดเน้นของสถานศึกษา
1. จัดโครงการ กิจกรรมพิเศษเพื่อตอบสนองนโยบาย จุดเน้น
ตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา
2. ผลการดาเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย
จรรยาบรรณวิชาชีพครูมี 5 ด้าน 9 ข้อ
จรรยาบรรณ 5 ด้าน ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้อง....... 9 ข้อ
1.จรรยาบรรณต่อตนเอง 1. ต้องมีวินัย/พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ /บุคลิกภาพ /วิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการ/ เศรษฐกิจ สังคม ฯ
2. จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ 2. ต้องรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพและเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ
3.จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ 3. ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริมให้กาลังใจแก่ศิษย์ และผู้รับบริการ ตามบทบาทหน้าที่โดยเสมอหน้า
4. ต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ /นิสัยที่ถูกต้องดีงามแก่ศิษย์ /อย่างเต็มความสามารถ ด้วยความบริสุทธิ์ใจ
5. ต้องประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ทั้งทางกาย/วาจา /ใจ
6. ต้องไม่กระทาตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกายสติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคมของศิษย์ และผู้รับบริการ
7. ต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาค โดยไม่เรียกรับหรือยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ตาแหน่งหน้าที่
โดยมิชอบ
4.จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ 8. พึงช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่างสร้างสรรค์โดยยึดมั่นในระบบคุณธรรม สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ
5.จรรยาบรรณต่อสังคม 9. พึงประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้นาในการอนุรักษ์และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา
สิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวม และยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นประมุข
กฎหมายการศึกษา ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ผู้รักษาการ ประกาศใน รกษ. บังคับใช้ ปีที่ / ลงพระปรมาภิไธย /
หมวด+มาตรา
1.พรบ.การศึกษาแห่งชาติ 2542 ฉบับที่ 1 = ชวน หลีกภัย ร.ม.ต.ศึกษาธิการ 19 สิงหาคม 2542 20 สิงหาคม 2542 ปีที่ 54
ลง = 14 สิงหาคม 2542
9 หมวด 78 มาตรา
ฉบับที่ 3 = 4 มาตรา
ฉบับที่ 2 = ทักษิณ ชินวัตร 19 ธันวาคม 2545 20 ธันวาคม 2545
ฉบับที่ 3 = อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 22 กรกฎาคม 2553 23 กรกฎาคม 2553
2.พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ 2546 ฉบับที่ 1 = ทักษิณ ชินวัตร ร.ม.ต.ศึกษาธิการ 6 กรกฎาคม 2546 7 กรกฎาคม 2546 5 หมวด 1 บท 82 มาตรา
* ฉบับที่ 2 = 6 มาตราฉบับที่ 2 = อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 22 กรกฎาคม 2553 23 กรกฎาคม 2553
3.พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ฉบับที่ 1 = วิษณุ เครืองาม ร.ม.ต.ศึกษาธิการ 23 ธันวาคม 2547 24 ธันวาคม 2547 9 หมวด 1 บท 140 มาตรา
ฉบับที่ 2 = พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ 20 กุมภาพันธ์ 2551 21 กุมภาพันธ์ 2551
ฉบับที่ 3 = อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 22 กรกฎาคม 2553 23 กรกฎาคม 2553 ฉบับที่ 3 = 8 มาตรา
4.พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา 2546 ทักษิณ ชินวัตร ร.ม.ต.ศึกษาธิการ 11 มิถุนายน 2546 12 มิถุนายน 2546 4 หมวด 1 บท 90 มาตรา
5.พรบ.คุ้มครองเด็ก 2546 ทักษิณ ชินวัตร 4 ร.ม.ต.
1.มหาดไทย
2.พัฒนาสังคมฯ
3.ศึกษาธิการ
4.ยุติธรรม
6.พรบ.คนพิการ 2551 พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ ร.ม.ต.ศึกษาธิการ 5 กุมภาพันธ์ 2551 6 กุมภาพันธ์ 2551 3 หมวด 1 บท 29 มาตรา
7.พรบ.เงินเดือน เงินวิทยฐานะและเงินประจาตาแหน่ง
ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา 2554
ฉบับที่ 2 = อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกฯ 30 มีนาคม 2554 31 มีนาคม 2554
ตารางสรุปย่อ กฎหมายการศึกษา
รวมฮิตตัวเลข จา พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก 2546
1 เด็ก อายุไม่เกิน 18ปี บริบูรณ์
2 สถานรับเลี้ยงเด็ก - ต้องมีเด็กตั้งแต่ 6 คนขึ้นไป
- รับเลี้ยงเด็กไม่เกิน 6 ปีบริบูรณ์
3 สถานสงเคราะห์ เด็กตั้งแต่ 6คนขึ้นไป
4 คณะกรรมการคุ้มครองเด็ก มี 3 คณะ
5 กักตัวเด็ก เกิน 12 ชั่วโมงไม่ได้
6 เด็กที่พึงได้รับการสงเคราะห์ มี 8 ประเภท
7 มอบเด็กที่อยู่ในความอุปการะของบุคคลที่เหมาะสมตามระยะเวลา
สมควร
แต่ไม่เกิน 1 เดือน
8 สงเคราะห์เด็กจนอายุ 18 ปี สงเคราะห์ต่อจนอายุ 20 ปี แต่ไม่เกิน 24 ปี
9 กรณีที่ผู้ปกครองไม่ยินยอม มีสิทธิฟ้องศาลในระยะเวลา 120 วันนับแต่วันรับทราบคาสั่ง
10 เรียกผู้ปกครองทาทัณฑ์บน วางเงินประกัน(ตามสมควรแก่
ฐานานุรูป)
ไม่เกินระยะเวลา 2 ปี
11 เด็กที่พึงได้รับการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กมี 3 ประเภท
12 การส่งตัวเด็กไปสถานแรกรับ/สถานพัฒนาฯ(ระหว่างสืบฯ)ให้
กระทาในระยะเวลา
ไม่เกิน 7 วัน
ขยายเวลาไม่เกิน 30 วัน
13 แต่งตั้งผู้คุ้มครองเด็กให้มีระยะเวลาคราวละ ไม่เกิน 2 ปี
14 คณะกรรมการติดตามและประเมินผลการดาเนินการของกองทุนฯ มี 5 คน
15 ถ้ามีเหตุจาเป็นเร่งด่วน ศาลสั่งให้ตารวจจับกุมผู้ทารุณกรรมเด็ด
กักขังครั้งละ
ไม่เกิน 30 วัน
16 คณะกรรมการบริหารกองทุนฯจัดทาบัญชีส่งผู้สอบฯตรวจภายใน 120 วัน
17 ให้ สตง.เป้นผู้สอบบัญชี ทารายงานเสนอต่อ คกก.กองทุนภายใน 150 วัน
ตัวย่อ ชื่อเต็ม
ศธ. กระทรวงศึกษาธิการ
สป.ศธ. สานักงานปลัดกระทรวงกระทรวงศึกษาธิการ
กกอ. คณะกรรมการการอุดมศึกษา
กอศ. คณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กพฐ. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สพท. สานักงานคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
สพฐ. สานักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สกอ. สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
สกศ. สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
สช. สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
ก.ค.ศ. สานักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
สกสค. สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางศึกษา
สทศ. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
สมศ. สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน)
สกว. สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
สสวท. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สวทช. สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
สคบส. สถาบันพัฒนาครูคณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
สพร. สถาบันส่งเสริมและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้
ก.พ.ร. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
คพร. คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ
สพท. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
กพ. สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
สานักงาน กศน. สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
สานักงาน กศน.จังหวัด....... สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด........
กศน.อาเภอ...... ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ.........
ศรช. ศูนย์การเรียนชุมชน
ศฝช. ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน
ตัวย่อ
ตำแหน่งที่มีวิทยฐำนะ สูตรเกี๋ยวเตี๋ยว ชำ + เชี่ยว (ธรรมดำ/พิเศษ)
4
1.ตำแหน่ง ครู
(๑) ครูชานาญการ
(๒) ครูชานาญการพิเศษ
(๓) ครูเชี่ยวชาญ
(๔) ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
2
2
7
2.ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา
1. รองผู้อานวยการชานาญการ
2. รองผู้อานวยการชานาญพิเศษ
3. รองผู้อานวยการเชี่ยวชาญ
4. ผู้อานวยการชานาญการ
5. ผู้อานวยการชานาญการพิเศษ
6. ผู้อานวยการเชี่ยวชาญ
7. ผู้อานวยการเชี่ยวชาญพิเศษ
3
4
4
3. ตำแหน่งผู้บริหำรกำรศึกษำ
1. รองผอ.สนง.เขตพื้นที่กศษ.ชานาญการพิเศษ
2. รองผอ.สนง.เขตพื้นที่กศษ.เชี่ยวชาญ
3. ผอ.สนง.เขตพื้นที่กศษ.เชี่ยวชาญ
4. ผอ.สนง.เขตพื้นที่กศษ.เชี่ยวชาญพิเศษ
2
2
4
4.ตำแหน่งศึกษำนิเทศก์
1. ศึกษานิเทศก์ชานาญการ
2. ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ
3. ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ
4. ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญพิเศษ
2
2
5.ตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่ำงอื่นตำมที่ ก.ค.ศ. กำหนดให้มี
ชำ ธ
ชำ พิเศษ
เชี่ยว ธ
ชำ ธ
ชำ พิเศษ
ครู ชำ 2
เชี่ยว ธ
เชี่ยว พิเศษ
ชำ ธ
ชำ พิเศษ
ครู ชำ 2
เชี่ยว ธ
เชี่ยว พิเศษ
รอง ผอ. 3
ผอ. 4
ชำ พิเศษ
เชี่ยว ธ
รอง ผอ.สนง. 2
ผอ.สนง. 2
ชำ ธ
ชำ พิเศษ
เชี่ยว ธ
เชี่ยว พิเศษ
ครู เชี่ยว 2
ครู เชี่ยว 2
เชี่ยว ธ
เชี่ยว พิเศษ

More Related Content

Viewers also liked

การบรรจุและแต่งตั้ง ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทาง กศษ
การบรรจุและแต่งตั้ง ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทาง กศษการบรรจุและแต่งตั้ง ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทาง กศษ
การบรรจุและแต่งตั้ง ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทาง กศษโทษฐาน ที่รู้จักกัน
 
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อ
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อพรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อ
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อโทษฐาน ที่รู้จักกัน
 

Viewers also liked (20)

หลักสูตร 51 ฉบับปรับปรุง ระบบ HD
หลักสูตร 51  ฉบับปรับปรุง ระบบ HDหลักสูตร 51  ฉบับปรับปรุง ระบบ HD
หลักสูตร 51 ฉบับปรับปรุง ระบบ HD
 
หลักสูตร 51 ฉบับปรับปรุง ระบบ HD
หลักสูตร 51 ฉบับปรับปรุง ระบบ HDหลักสูตร 51 ฉบับปรับปรุง ระบบ HD
หลักสูตร 51 ฉบับปรับปรุง ระบบ HD
 
ยุทธศาสตร์ พช 60 64
ยุทธศาสตร์ พช 60 64ยุทธศาสตร์ พช 60 64
ยุทธศาสตร์ พช 60 64
 
หลักสูตร 51
หลักสูตร 51หลักสูตร 51
หลักสูตร 51
 
ย่อ บริษัทประชารัฐ
ย่อ บริษัทประชารัฐย่อ บริษัทประชารัฐ
ย่อ บริษัทประชารัฐ
 
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษรวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ
 
ตารางกฎหมายการศึกษา
ตารางกฎหมายการศึกษาตารางกฎหมายการศึกษา
ตารางกฎหมายการศึกษา
 
ย่อ Cdd-agenda-2017 (1)
ย่อ Cdd-agenda-2017 (1)ย่อ Cdd-agenda-2017 (1)
ย่อ Cdd-agenda-2017 (1)
 
เพิ่มเติม รวมมิตร
เพิ่มเติม รวมมิตรเพิ่มเติม รวมมิตร
เพิ่มเติม รวมมิตร
 
คณะกรรมการต่างๆ
คณะกรรมการต่างๆคณะกรรมการต่างๆ
คณะกรรมการต่างๆ
 
ความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณ
ความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณ
ความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณ
 
สุรินทร์
สุรินทร์สุรินทร์
สุรินทร์
 
การบรรจุและแต่งตั้ง ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทาง กศษ
การบรรจุและแต่งตั้ง ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทาง กศษการบรรจุและแต่งตั้ง ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทาง กศษ
การบรรจุและแต่งตั้ง ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทาง กศษ
 
ย่อ สัมมาชีพชุมชน
ย่อ สัมมาชีพชุมชนย่อ สัมมาชีพชุมชน
ย่อ สัมมาชีพชุมชน
 
รวมฮิตตัวเลข จำ พรบ คุ้มครองเด็ก 2546
รวมฮิตตัวเลข จำ  พรบ คุ้มครองเด็ก 2546รวมฮิตตัวเลข จำ  พรบ คุ้มครองเด็ก 2546
รวมฮิตตัวเลข จำ พรบ คุ้มครองเด็ก 2546
 
ความรู้ทั่วไป +วิทยฐานะ + จรรยาบรรณ V1
ความรู้ทั่วไป +วิทยฐานะ + จรรยาบรรณ V1ความรู้ทั่วไป +วิทยฐานะ + จรรยาบรรณ V1
ความรู้ทั่วไป +วิทยฐานะ + จรรยาบรรณ V1
 
พรบ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539
พรบ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539พรบ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539
พรบ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539
 
คุณธรรม วินัย
คุณธรรม  วินัยคุณธรรม  วินัย
คุณธรรม วินัย
 
ลำยอง 2
ลำยอง 2 ลำยอง 2
ลำยอง 2
 
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อ
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อพรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อ
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อ
 

More from โทษฐาน ที่รู้จักกัน (8)

ย่อกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต (1)
ย่อกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต (1)ย่อกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต (1)
ย่อกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต (1)
 
จปฐ 2560-2564 ฉบับ นาคี
จปฐ 2560-2564 ฉบับ นาคีจปฐ 2560-2564 ฉบับ นาคี
จปฐ 2560-2564 ฉบับ นาคี
 
แนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 ok
แนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 okแนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 ok
แนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 ok
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
ชื่อคณะกรรมการต่างๆ
ชื่อคณะกรรมการต่างๆชื่อคณะกรรมการต่างๆ
ชื่อคณะกรรมการต่างๆ
 
อักษรย่อ
อักษรย่ออักษรย่อ
อักษรย่อ
 
สมรรถนะหลัก และ ประจำสายงาน
สมรรถนะหลัก และ ประจำสายงานสมรรถนะหลัก และ ประจำสายงาน
สมรรถนะหลัก และ ประจำสายงาน
 
สูตรคณิต เสร็จแล้ว
สูตรคณิต เสร็จแล้วสูตรคณิต เสร็จแล้ว
สูตรคณิต เสร็จแล้ว
 

คณะกรรมการ เรื่องของครู - การลา 11 - จรรยาบรรณ 9 - ตารางกฎหมาย - ตัวย่อ - รวมตัวเลขเด็ก-มตฐ.ขั้นพื้

  • 1. ประกอบด้วย คณะกรรมการสถานศึกษา ร.ร.ขนาดเล็ก นร.ไม่เกิน 300 คน ร.ร.ขนาดใหญ่ นร.เกิน 300 คน 1.ประธาน (มาจาก ก.ก.ผู้ทรงฯ) 1 1 2. ผู้แทนผู้ปกครอง 1 1 3. ผู้แทนครู 1 1 4. ผู้แทนองค์กรชุมชน 1 1 5. ผู้แทน อปท. 1 1 6. ผู้แทนศิษย์เก่า 1 1 7. ผู้แทนพระ / ศาสนาอื่นใน พท. 1 2 8. ผู้ทรงฯ 1 6 9. ผู้อานวยการสถานศึกษา (กก./เลขานุการ) 1 1 รวม 9 15 ตาแหน่ง ประกอบด้วย จานวน (คน) ประธาน 1. ผู้บริหารสถานศึกษา 1 กรรมการ 2. ครู ป.1 1 กรรมการ 3. ผู้แทน กก.สถานศึกษา 2 กรรมการ/เลขานุการ 4. รองผู้บริหารสถานศึกษา 1 รวม 5 รายการ ประเภทกฎหมาย 1.การแบ่งส่วนราชการใน สพฐ. กฎกระทรวง 2.กาหนดหลักเกณฑ์ ได้แก่ - การแบ่งส่วนราชการ ภายใน สานักงานเขตพื้นที่ กศษ. - การแบ่งส่วนราชการ ภายใน สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน กฎกระทรวง 3. การแบ่งส่วนราชการ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประกาศกระทรวง 4. การแบ่งส่วนราชการ สถานศึกษา ระเบียบที่คณะกรรมการเขตพื้นที่กศษ.กาหนด คณะกรรมการต่างๆ ที่ควรรู้ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการผ่อนผันเด็กเข้าเรียน ป.1 การตรากฎหมาย
  • 2. ตาแหน่ง ประกอบด้วย (ใคร) จานวน ( คน ) 1.ประธาน ร.ม.ต.พัฒนาสังคมฯ 1 2.รองประธาน ปลัดฯพัฒนาสังคมฯ 1 3.กรรมการ - ปลัด มหาดไทย - อธิบดีกรมการปกครอง - ปลัด ยุติธรรม - อธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ - ปลัด ศธ. - อธิบดีกรมสุขภาพจิต - อธิบดีผู้พิพากษาศาลเด็ก - อัยการสูงสุด - ผบ.ตารวจแห่งชาติ - ผอ.สานักงานส่งเสริมสวัสดิการและพิทักษ์เด็กเยาวชน ผู้ด้อย/พิการ/สูงอายุ 10 4.กรรมการผู้ทรงฯ ( ร.ม.ต.พัฒนาฯแต่งตั้ง) 1.ผู้เชี่ยวชาญมี ปสก.ด้านต่างๆ 10 คน - สังคม 2 - ครู 2 - จิตวิทยา 2 - กฎหมาย 2 - แพทย์ 2 2. ภาคเอกชน อย่างน้อยวิชาชีพละ 1 คน 3. ผู้มี ปสก.มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ 2 คน 10 ต้องเป็นสตรี ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 5. กรรมการและเลขานุการ รองปลัด / ปลัดมอบหมาย 1 6. ผู้ช่วยเลขานุการ ไม่เกิน 2 ข้าราชการในกระทรวงพัฒนาฯ หรือ คณะกรรมการแต่ง ตั้งขึ้นกันเอง หรือตั้งก็ได้ ไม่ตั้งก็ได้ ** จานวนไม่แน่นอน คณะกรรมการคุ้มครองเด็กแห่งชาติ
  • 3. 1.ให้เป็นความสมัครใจเพื่อไปทากิจกรรมการเรียนการ สอนหรือทัศนศึกษา 2.ไม่ใช่พาไปเพื่อ ทดสอบสมรรถภาพ/ทากิจกรรมอื่นเพื่อ เป็นการวัดผลให้คะแนน 3.ครูเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางได้ สถานที่ ไม่เกินกี่ครั้ง ลาบ่อยครั้ง มาทางานสายเนืองๆ โรงเรียน ไม่เกิน 6 ครั้ง ไม่เกิน 8 ครั้ง สานักงาน ไม่เกิน 8 ครั้ง ไม่เกิน 9 ครั้ง 1. วันเปิดภาคเรียน – ชักธงขึ้น เวลาเข้าเรียน - ชักธงลง เวลา 18.00 น. 2. ในวันปิดเรียน - ชักขึ้น เวลา 08.00 น. - ชักลง เวลา 18.00 น. ** ถ้าเวลาอื่น ให้ผู้มีอานาจพิจารณาตามความเหมาะสม 3. ในโอกาสและวันพิธีสาคัญ ** ให้ชัก/ประดับธงชาติ ณ สถานศึกษา กาหนด 13 วันสาคัญ วันเทศกาล /พิธี วันทางศาสนา สถาบันking อื่นๆ 1.ขึ้นปีใหม่ 1.มาฆบูชา 1.วันจักรี 1.วันUN 24/10 2.สงกรานต์ 2.วิสาขบูชา 2.วันฉัตรมงคล 2.วันรัฐธรรมนูญ 3.พืชมงคล 3.อาสาฬหบูชา 3.วันแม่ 4.เข้าพรรษา 4.วันพ่อ 3 4 4 2 * วันพ่อ ประดับธงนานที่สุด 3 วัน คือ 5 – 6 - 7 * วันอื่นๆ ประดับธง 1 วัน เหมือนกันหมด 1.ชักธงชาติขึ้นจนถึงยอดเสา 2.เมื่อถึงยอดแล้วจึงลดลง สูงระดับ 2 ใน 3 ส่วน 3.เมื่อจะชักธงลง ให้ชักธงขึ้นให้ถึงยอดเสาก่อนแล้วจึง ชักธงลงตามปกติ ผู้เข้าสอบต้องปฏิบัติดังนี้ 1.นร./นศ.ต้องแต่งกายเครื่องแบบ นร./นศ. 2.ถ้าเป็นผู้สมัครสอบ ต้องแต่งให้สุภาพเรียบร้อยตาม ประเพณีนิยม 3.ไปไม่ทันเวลาสอบวิชาใด ไม่มีสิทธิ์สอบวิชานั้น * ยกเว้น การสอบวิชาแรกในตอนเช้าของแต่ละวัน ถ้าเข้า สอบหลังลงมือสอบแล้ว 15 นาที จะไม่ได้รับอนุญาตให้สอบ วิชานั้น (ยกเว้น แต่มีเหตุความจาเป็นให้อยู่ในดุลพินิจของ ประธานดาเนินการสอบ พิจารณาอนุญาต 4.จะออกจากห้องสอบก่อนเวลา 20 นาที หลังจากเริ่มสอบ วิชานั้นไม่ได้ 1.ให้ผู้กากับสอบ ว่ากล่าวตักเตือน * ถ้าเข้าลักษณธร้ายแรง มีอานาจสั่ง – ไม่ให้เข้าสอบ - สั่งไม่ตรวจคาตอบ * ถือว่าสอบไม่ผ่านเฉพาะวิชาก็ได้ 2.ทุจริตในการสอบ ระหว่างผู้เข้าสอบด้วยกัน ให้สันนิษฐาน ไว้ก่อนว่า ผู้สอบนั้นได้สบคบกันกระทาการทุจริต เรื่องควรรู้เกี่ยวกับครู การพา นร. /นศ.ไปนอกสถานศึกษา กาหนดเวลาชักธงชาติ ขึ้นและลง การลดธงชาติครึ่งเสา ขั้นตอน ดังนี้ การลา การปฏิบัติของผู้เข้าสอบ การกระทาฝ่าฝืน/ทุจริตในการสอบ
  • 4. การลงโทษ หมายถึง การลงโทษ นร.หรือ นศ.ที่กระทาความผิด โดยมีความ มุ่งหมายเพื่อการอบรมสั่งสอน โทษสาหรับ นร./นศ. มี 4 สถาน ครู มี 5 สถาน 1.ว่ากล่าวตักเตือนกรณีไม่ร้ายแรง 2.ทาทัณฑ์บนกรณีทาตัวไม่เหมาะสม 3.ตัดคะแนนความประพฤติ/บันทึกข้อมูล 4.ทากิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 1. ภาคทัณฑ์ 2. ตัดเงินเดือน 3. ลดขั้นเงินเดือน 4. ปลดออก 5. ไล่ออก ห้ามลงโทษ นร./นศ.ด้วย… - วิธีรุนแรง - แบบกลั่นแกล้ง - ลงโทษด้วยความโกรธ - ด้วยความพยาบาท โดยให้คานึงถึง 1.อายุของ นร./นศ. 2.ความร้ายแรงของ พฤติการณ์ประกอบการ ลงโทษด้วย โทษสาหรับ นร./นศ. มี 4 สถาน หมายเหตุ 1.ว่ากล่าวตักเตือน ทาผิดไม่ร้ายแรง 2.ทาทัณฑ์บน - ทาเป็นหนังสือ - เชิญผู้ปกครอง มา บันทึกทราบความผิด - รับรองการทัณฑ์บน ไว้ด้วย 1.ประพฤติตนไม่เหมาะสมกับสภาพ นร./นศ. 2.ทาให้ ร.ร.เสียชื่อเสียง 3.ฝ่าฝืนระเบียบของสถานศึกษา 4.เคยโทษตัดเตือนแล้ว แต่ยังไม่เข็ หลาบ 3.ตัดคะแนนความ ประพฤติ/บันทึกข้อมูล เป็นไปตามระเบียบของสถานศึกษา 4.ทากิจกรรมเพื่อให้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เป็นไปตามแนวทางของกระทรวงกาหนด เนื่องจาก 1. สถานศึกษาสั่งปิดด้วยเหตุพิเศษ หรือ 2. สถานศึกษาสั่งปิดด้วยกรณีพิเศษ *** ให้ถือว่าเป็นวันทางานปกติ ความหมาย กรณีพิเศษ เหตุพิเศษ กรณีจาเป็นต้องใช้สถานศึกษา เพื่อ…. - ประชุม สัมมนา - ฝึกอบรม พักแรม - จัดสอบ จัดกิจกรรม - เหตุจาเป็นอื่นที่ไม่อาจเปิดภาคเรียนได้ ตามปกติ เป็นเหตุที่เกิดจาก ภัยพิบัติสาธารณะ ผู้มีอานาจสั่งปิด กรณีพิเศษ เหตุพิเศษ 1.หัวหน้าสถานศึกษา ไม่เกิน 7 วัน ไม่เกิน 15 วัน 2.ผอ.สานักงานเขตฯ ไม่เกิน 15 วัน ไม่เกิน 30 วัน ถ้ากรณี 1. สั่งปิดไปแล้วแต่เหตุการณ์เกิดขึ้นไม่สงบหรือมีเหตุจาเป็นต้องสั่ง ปิดต่อไปอีก ให้อยู่ในดุลพินิจหัวหน้าสถานศึกษา 2. สั่งปิดชั่วคราว - ครูมาทางานตามปกติ/ตามคาสั่ง - ทาคาสั่งเป็นหนังสือ - ถ้าสั่งในรูปแบบอื่นให้ทาเป็นหนังสือภายใน 30 วัน * สถานศึกษา - เริ่มทางานตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น. - สัปดาห์ละไม่น้อยกว่า 35 ชั่วโมง * วันปิดภาคเรียน - ให้ถือว่าเป็นวันพักผ่อนของนักเรียน - สถานศึกษาอาจอนุญาตให้ครูพักผ่อนก็ได้ แต่ถ้ามีขรก.จาเป็น ให้มาปฏิบัติราชการเหมือนการมาปฏิบัติราชการตามปกติ 1.ไปทากิจกรรมการเรียนการสอนนอกสถานที่ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป 2.ยกเว้น / ไม่รวมถึง – การเดินทางไกล/เข้าค่าย/พักแรม - ไปนอกสถานที่ตามคาสั่งราชการ ไปนอกสถานที่ มี 3 ประเภท ดังนี้ ** ผู้ควบคุม ครู:นร. = 1:30 คน ประเภท ใครอนุญาต 1.ไม่ค้างคืน ผอ.สถานศึกษา 2.ค้างคืน ผอ.สานังานเขตฯ 3.นอกประเทศ / ต่าง ปท. เลขาฯกพฐ. ระเบียบกระทรวงว่าด้วยการลงโทษ นร./นศ.2548 การลงโทษสาหรับ นร./นศ. มี 4 สถาน เวลาทางานและวันหยุดราชการ วันที่สถานศึกษามีการสอนชดเชยหรือทดแทน การเปิดและปิดสถานศึกษา ผู้มีอานาจสั่งปิดสถานศึกษา การพา นร./นศ. ไปนอกสถานที่
  • 5. การลา แบ่งออกเป็น 11 ประเภท คือ 1. การลาป่วย ป่วย 2. การลาคลอดบุตร คลอด 3. การลาไปช่วยเหลือภริยาที่คลอดบุตร ช่วย 4. การลากิจส่วนตัว กิจ 5. การลาพักผ่อน ผ่อน 6. การลาอุปสมบทหรือการลาไปประกอบพิธีฮัจย์ บวช 7. การลาเข้ารับการตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพล ตรวจ 8. การลาไปศึกษา ฝึกอบรม ปฏิบัติงานวิจัย หรือดูงาน ษา 9. การลาไปปฏิบัติงานในองค์กรระหว่างประเทศ ต่าง 10. การลาติดตามคู่สมรส ติด 11. การลาไปฟื้นฟูสมรรถภาพด้านอาชีพ ชีพ - ข้าราชการปีหนึ่งลาพักผ่อนได้ 10 วันทาการ - บรรจุไม่ถึง 6 เดือน ไม่มีสิทธิลาพักผ่อน - สะสมวันลาได้ไม่เกิน 20 วันทาการ รับราชการมาไม่น้อยกว่า 10 ปี สะสมวันลาได้ไม่เกิน 30 วัน *** ข้าราชการครูไม่มีสิทธิลาพักผ่อน *** - ลาป่วยตั้งแต่ 30 วันขึ้นไป *ต้องมีใบรับรองแพทย์ - ลาป่วยไม่ถึง 30 วันทาการ * ผู้มีอานาจสั่งให้มี ใบรับรองหรือไม่มีก็ได้ - ส่งใบลาขออนุญาตต่อ ผู้อานวยการสานักงานเขต ก่อน เดินทางไม่น้อยกว่า 60 วัน - ได้รับอนุญาตแล้วต้องอุปสมบท/ออกเดินทางภายใน10 วัน นับแต่เริ่มลา - กลับมารายงานตัวภายใน 5 วัน นับแต่ ลาสิกขา/เดินทาง - ลาได้ครั้งหนึ่งไม่เกิน 90 วัน โดยไม่ต้องมีใบรับรองแพทย์ - จะลาก่อนหรือลาหลังคลอดก็ได้ 1. ลาตรวจเลือก รายงานต่อ ผบ. - ไม่น้อยกว่า 48 ชม - ก่อนเข้ารับการตรวจเลือก 2. ลาเข้าเตรียมพล รายงานต่อ ผบ. - ภายใน 48 ชม. - นับแต่ได้รับหมายเรียกโดยไม่ต้องรอคาสั่งอนุญาต - เสนอใบลาก่อนหรือในวันที่ลา ภายใน ๙๐ วันนับแต่ วันที่คลอดบุตรลาครั้งหนึ่งติดต่อกันไม่เกิน ๑๕ วันทาการ - ผู้มีอานาจอนุญาตอาจให้แสดงหลักฐานประกอบการ พิจารณาได้ - ในประเทศ = อธิบดี(มอบอานาจให้ ผอ.รร.) - ต่างประเทศ = เลขาธิการ ก.พฐ. - เสนอใบลาแล้ว อนุญาตจึงลาหยุดได้ - แต่ถ้ามีเหตุจาเป็น หยุดก่อนก็ได้*แจ้งทันทีที่มาปฏิบัติฯ - ลากิจส่วนตัวเพื่อเลี้ยงดูบุตรต่อเนื่องจากลาคลอดได้ 1. ไม่เกิน 150 วันทาการ 2. โดยไม่ได้รับเงินเดือน 3. ผบ.ไม่สามารถเรียกตัวมาปฏิบัติราชการได้ การลา ประเภทต่างๆ 1.การลาป่วย 2.การลาคลอดบุตร 3.การลาไปช่วยเหลือภริยาที่คลอดบุตร 5.การลาพักผ่อน 6.ลาไปอุปสมบท/ประกอบพิธีฮัทย์ 7. ลาตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพล 8. ลาศึกษาต่อ/ฝึกอบรม/ปฏิบัติงานวิจัย (ครู) 4.การลากิจส่วนตัว
  • 6. - ลาต่อ รมต.โดยไม่ได้รับเงินเดือน มี 2 ประเภท 1. ไม่เกิน 4 ปี เงื่อนไข 1.ไทยเป็นสมาชิก 2. รัฐบาลผูกพันตามข้อตกลง 3. เพื่อรักษาผลประโยชน์ชาติ 2. ไม่เกิน 1 ปี เงื่อนไข นอกเหนือจากประเภท 1 คุณสมบัติ 1. รับราชการไม่น้อยกว่า 5 ปี (UNไม่น้อยกว่า 2 ปี) 2. อายุไม่เกิน 52 ปี /ไม่เคยถูกลงโทษทางวินัย - ลาได้ไม่เกิน 2 ปี * ถ้าจาเป็นให้อีก 2 ปี(เป็น 4 ปี ) * ถ้าเกิน 4 ปี ให้ลาออก - ได้รับอันตรายหรือเจ็บป่วยเหตุปฏิบัติหน้าที่ราชการจน ทุพพลภาพหรือพิการ - ลาไปเข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรเกี่ยวกับการฟื้นฟู สมรรถภาพที่จาเป็นต่อการปฏิบัติหน้าที่ราชการหรือ จาเป็นต่อการประกอบอาชีพ - ลาได้ครั้งหนึ่งตามระยะเวลาที่กาหนดไว้ในหลักสูตรที่ ประสงค์จะลา แต่ไม่เกิน ๑๒เดือน - ได้รับอันตรายเพราะเหตุอื่นจนทุพพลภาพหรือพิการ ผู้มีอานาจสั่งบรรจุ (อธิบดี,ผวจ.) เห็นว่ายังรับราชการได้ สามารถลาไปอบรบหลักสูตรที่จาเป็นต่อการปฏิบัติ หน้าที่ราชการได้ แต่ไม่เกิน ๑๒เดือน - ต้องเป็นหลักสูตที่ส่วนราชการ หน่วยงานอื่นของรัฐ องค์กรการกุศลอันเป็นสาธารณะ สถาบันที่ได้รับการ รับรองจากหน่วยงานของทางราชการเป็นผู้จัดหรือร่วม จัด - เสนอใบลาพร้อมหลักฐานเกี่ยวกับหลักสูตรที่จะลา เอกสารที่เกี่ยวข้อง ตามลาดับเมื่อได้รับอนุญาตแล้วจึงจะ หยุดราชการเพื่อไปฟื้นฟูได้ (อธิบดี อนุญาตได้ไม่เกิน ๖ เดือน, ปลัดกระทรวง,รมต.ไม่เกิน ๑๒ เดือน) 1. ลาป่วย ครั้งหนึ่งไม่เกิน 60 วันทาการ 2. ลาคลอด ครั้งหนึ่งไม่เกิน 90 วันทาการ 3. ลากิจส่วนตัว ครั้งหนึ่งไม่เกิน 30 วันทาการ 4. ลาพักผ่อน 9. ลาไปปฏิบัติงานในองค์กรระหว่างประเทศ 10. ลาติดตามคู่สมรส (ไปทางาน/ปฏิบัติงานตปท.) 11.การลาไปฟื้นฟูสมรรถภาพด้านอาชีพ ผู้บริหารสถานศึกษามีอานาจอนุญาตการลา ของผู้ใต้บังคับบัญชา 4 ประเภท ดังนี้
  • 7. กฎหมาย / พรบ. ทีมาของกฎหมาย พรบ.การศึกษาแห่งชาติ 2542 รธน.2540 ( ฉบับที่ 16 ) มาตรา 81 พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา 2546 พรบ.การศึกษาแห่งชาติ 2542 หมวด7 มาตรา 53 ( ม.53 ให้มีองค์กรวิชาชีพครู ผู้บริหารการศึกษา/สถานศึกษา) พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ 2546 พรบ.การศึกษาแห่งชาติ 2542 หมวด 5 (หมวด 5 การบริหารและการจัดการศึกษา) พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 พรบ.การศึกษาแห่งชาติ 2542 หมวด7 มาตรา 54 ( ม.54 ให้มีองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของข้าราชกรครู พรบ. 3 ฉบับที่แก้ไข มาตราที่แก้ไข จานวนมาตรา ฉบับแก้ไข 1.พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ม.37 , 38 4 มาตรา 2.พรบ.ระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ 2546 ม.33 , 36 6 มาตรา 3. พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา 2547 ม.7 , 21 8 มาตรา ที่มาของกฎหมาย การแก้ไข พรบ.
  • 8. ผู้ประกอบวิชาชีพครู ต้องมีมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ ต้องปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน (ก) มตฐ.ความรู้ มีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่ำป.ตรี/เทียบเท่ำ/คุณวุฒิอืนทีคุรุสภำรับรอง โดยมีควำมรู้ ดังต่อไปนี้ (๑) ภำษำและเทคโนโลยีส่ำหรับครู (๒) กำรพัฒนำหลักสูตร (๓) กำรจัดกำรเรียนรู้ (๔) จิตวิทยำส่ำหรับครู (๕) กำรวัดและประเมินผลกำรศึกษำ (๖) กำรบริหำรจัดกำรในห้องเรียน (๗) กำรวิจัยทำงกำรศึกษำ (๘) นวัตกรรมและเทคโนโลยีสำรสนเทศทำงกำรศึกษำ (๙) ควำมเป็นครู (ข) มตฐ.ประสบการณ์วิชาชีพ ผ่ำนกำรปฏิบัติกำรสอนใน เป็นเวลำไม่น้อยกว่ำ 1 ปี และ ผ่ำนหลักเกณฑ์ วิธีกำร และเงือนไขทีคณะกรรมกำรคุรุสภำก่ำหนด ดังต่อไปนี้ (๑) กำรฝึกปฏิบัติวิชำชีพระหว่ำงเรียน (๒) กำรปฏิบัติกำรสอนในสถำนศึกษำในสำขำวิชำเฉพำะ 1. ปฏิบัติกิจกรรมทำงวิชำกำรเกียวกับกำรพัฒนำวิชำชีพครูอยู่เสมอ 2. ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมต่ำง ๆ โดยค่ำนึงถึงผลทีจะเกิดแก่ผู้เรียน 3. มุ่งมันพัฒนำผู้เรียนให้เต็มตำมศักยภำพ 4. พัฒนำแผนกำรสอนให้สำมำรถปฏิบัติได้เกิดผลจริง 5. พัฒนำสือกำรเรียนกำรสอนให้มีประสิทธิภำพอยู่เสมอ 6. จัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอน โดยเน้นผลถำวรทีเกิดแก่ผู้เรียน 7. รำยงำนผลกำรพัฒนำคุณภำพของผู้เรียนได้อย่ำงมีระบบ 8. ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่ำงทีดีแก่ผู้เรียน 9. ร่วมมือกับผู้อืนในสถำนศึกษำอย่ำงสร้ำงสรรค์ 10. ร่วมมือกับผู้อืนในชุมชนอย่ำงสร้ำงสรรค์ 12. แสวงหำและใช้ข้อมูลข่ำวสำรในกำรพัฒนำ 12. สร้ำงโอกำสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในทุกสถำนกำรณ์ มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ มาตรฐานการปฏิบัติงาน
  • 9. มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานของสพฐ. จานวน 5 ด้าน 15 มาตรฐาน ประกอบด้วย ด้านที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน 6 มตฐ. (ผู้เรียนมี.................) มาตรฐานที่ 1 สุขภาวะที่ดี/มีสุนทรียภาพ มาตรฐานที่ 2 คุณธรรม/จริย /ค่านิยมที่พึง มาตรฐานที่ 3 ทักษะในการแสวงหาความรู้/ พัฒนาตนเอง มาตรฐานที่ 4 คิดเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหา/มีสติสม เหตุผล มาตรฐานที่ 5 ความรู้และทักษะพื้นฐานที่ จาเป็นตามหลักสูตร มาตรฐานที่ 6 ทักษะการทางาน /ทางาน ร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติ ที่ดีต่ออาชีพสุจริต 1. มีสุขนิสัย/ดูแลสุขภาพและ ออกกาลังกาย 2. หนัก/สูง ตามเกณฑ์มตฐ. 3. ป้องกันตนจากสิ่งเสพติด/ โรคภัย/ อุบัติเหตุ /ปัญหา ทางเพศ 4. เห็นคุณค่าตนเอง /มั่นใจ กล้าแสดงออก 5. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและให้ เกียรติผู้อื่น 6. ศิลปะ ดนตรี/นาฏศิลป์ กีฬา/นันทนาการ ตาม จินตนาการ 1. คุณพึงตามหลักสูตร 2. เอื้ออาทร/กตัญญูกตเวที 3. ยอมรับความคิด/ วัฒนธรรมที่แตกต่าง 4. ตระหนัก /รู้คุณค่า / อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 1. มีนิสัยรักการอ่านและ แสวงหาความรู้ด้วยตนเองจาก ห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ และสื่อต่างๆ รอบตัว 2. มีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน และตั้งคาถามเพื่อ ค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม 3. เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อ การเรียนรู้ระหว่างกัน 4. ใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ และนาเสนอผลงาน 1. สรุปความคิดจากเรื่องที่ อ่าน ฟัง และดู และสื่อสาร โดยการพูดหรือเขียนตาม ความคิดของตนเอง 2. นาเสนอวิธีคิด วิธีแก้ปัญหา ด้วยภาษาหรือวิธีการของ ตนเอง 3. กาหนดเป้าหมาย คาดการณ์ ตัดสินใจแก้ปัญหา โดยมีเหตุผลประกอบ 4. มีความคิดริเริ่ม และ สร้างสรรค์ผลงานด้วยความ ภาคภูมิใจ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เฉลี่ยแต่ละกลุ่มสาระเป็นไป ตามเกณฑ์ 2. ผลการประเมินสมรรถนะ สาคัญตามหลักสูตรเป็นไป ตามเกณฑ์ 3. ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน เป็นไปตามเกณฑ์ 4. ผลการทดสอบระดับชาติ เป็นไปตามเกณฑ์ 1. วางแผนการทางานและ ดาเนินการจนสาเร็จ 2. ทางานอย่างมีความสุข มุ่งมั่นพัฒนางาน และภูมิใจใน ผลงานของตนเอง 3. ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ 4. มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพ สุจริตและหาความรู้เกี่ยวกับ อาชีพที่ตนเองสนใจ
  • 10. ด้านที่ 2 มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา มี 6 มตฐ. มาตรฐานที่ 7 ครู ปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผล มาตรฐานที่ 8 ผู้บริหาร ปฏิบัติงานตามบทบาท หน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล มาตรฐานที่ 9 คณะกรรมการ สถานศึกษา และผู้ปกครอง ชุมชนปฏิบัติงานตาม บทบาทหน้าที่อย่างมี ประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผล มาตรฐานที่ 10 สถานศึกษา มีการจัดหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนอย่างรอบด้าน มาตรฐานที่ 11 สถานศึกษา มีการจัดสภาพแวดล้อมและ การบริการที่ส่งเสริมให้ ผู้เรียนพัฒนาเต็มศักยภาพ มาตรฐานที่ 12 สถานศึกษา มีการประกันคุณภาพ ภายใน 1.ครูมีการกาหนดเป้าหมาย คุณภาพผู้เรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะ/ สมรรถนะ /คุณพึง 2.ครูมีการวิเคราะห์ผู้เรียน 3.ครูออกแบบ/จัดการเรียนรู้ 4.ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่ 5.ครูมีการวัดและประเมินผล 6.ครูให้คาแนะนา คาปรึกษา 7.ครูมีการศึกษา วิจัย 8.ครูประพฤติปฏิบัติตนเป็น แบบอย่างที่ดี 9.ครูจัดการเรียนการสอน ตามวิชาที่ได้รับมอบหมาย 1.ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ภาวะ ผู้นา และความคิดริเริ่ม 2.ผู้บริหารใช้หลักการบริหาร แบบมีส่วนร่วม 3.ผู้บริหารสามารถบริหาร จัดการการศึกษาให้บรรลุ เป้าหมาย 4.ผู้บริหารส่งเสริมและ พัฒนาศักยภาพบุคลากร 5.นักเรียน ผู้ปกครอง และ ชุมชนพึงพอใจ 6.ผู้บริหารให้คาแนะนา คาปรึกษา 1.คณะกรรมการสถานศึกษา รู้และปฏิบัติหน้าที่ตามที่ ระเบียบกาหนด 2.คณะกรรมการสถานศึกษา กากับติดตาม ดูแล และ ขับเคลื่อนการดาเนินงานของ สถานศึกษาให้บรรลุผลสาเร็จ ตามเป้าหมาย 3.ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามา มีส่วนร่วมในการพัฒนา สถานศึกษา 1.หลักสูตรสถานศึกษา เหมาะสม/สอดคล้องท้องถิ่น 2.จัดรายวิชาเพิ่มเติมที่ หลากหลายให้ผู้เรียนเลือก 3.จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่ ส่งเสริมและตอบสนอง 4.สนับสนุนครูจัดกระบวน การเรียนรู้ให้ผู้เรียนลงมือทา 5.นิเทศภายใน กากับ ติดตามตรวจสอบ 6.จัดระบบดูแลช่วยเหลือ ผู้เรียนที่มีประสิทธิภาพและ ครอบคลุมถึงผู้เรียนทุกคน 1.ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อาคารเรียนมั่นคง 2.จัดโครงการ กิจกรรมที่ ส่งเสริมสุขภาพอนามัยและ ความปลอดภัยของผู้เรียน 3.จัดห้องสมุดที่ให้บริการสื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศที่ 1.กาหนดมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา 2.จัดทาและดาเนินการตาม แผนพัฒนาการจัดการศึกษา 3.จัดระบบข้อมูลสารสนเทศ ในการบริหารจัดการ 4.ติดตามตรวจสอบ และ ประเมินคุณภาพภายใน 5.นาผลการประเมินคุณภาพ ทั้งภายในและภายนอกไปใช้ 6.จัดทารายงานประจาปีที่ เป็นรายงานการประเมิน คุณภาพภายใน
  • 11. ด้านที่ 3 มตฐ. การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 1 มตฐ. ด้านที่ 4 มตฐ.อัตลักษณ์ของสถานศึกษา 1 มตฐ. ด้านที่ 5 มตฐ.มาตรการส่งเสริม 1 มตฐ. มาตรฐานที่ 13 สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษา เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานที่ 14 การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้นที่กาหนดขึ้น มาตรฐานที่ 15 การจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้น แนวทางการปฏิรูป การศึกษาเพื่อพัฒนา และส่งเสริมสถานศึกษา ให้ยกระดับคุณภาพสูงขึ้น 1. มีการสร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษาและ ใช้ประโยชน์จาก แหล่งเรียนรู้ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา เพื่อ พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนและ บุคลากรของสถานศึกษา รวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้อง 2. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคลากรภายใน สถานศึกษา ระหว่าง สถานศึกษากับ ครอบครัว ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง 1.จัดโครงการ กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบรรลุตาม เป้าหมาย วิสัยทัศน์ ปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ วัตถุประสงค์และจุดเน้นของการจัดตั้ง สถานศึกษา 2. ผลการดาเนินงานส่งเสริมให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมาย วิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้นของสถานศึกษา 1. จัดโครงการ กิจกรรมพิเศษเพื่อตอบสนองนโยบาย จุดเน้น ตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา 2. ผลการดาเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย
  • 12.
  • 13. จรรยาบรรณวิชาชีพครูมี 5 ด้าน 9 ข้อ จรรยาบรรณ 5 ด้าน ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้อง....... 9 ข้อ 1.จรรยาบรรณต่อตนเอง 1. ต้องมีวินัย/พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ /บุคลิกภาพ /วิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการ/ เศรษฐกิจ สังคม ฯ 2. จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ 2. ต้องรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพและเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ 3.จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ 3. ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริมให้กาลังใจแก่ศิษย์ และผู้รับบริการ ตามบทบาทหน้าที่โดยเสมอหน้า 4. ต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ /นิสัยที่ถูกต้องดีงามแก่ศิษย์ /อย่างเต็มความสามารถ ด้วยความบริสุทธิ์ใจ 5. ต้องประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ทั้งทางกาย/วาจา /ใจ 6. ต้องไม่กระทาตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกายสติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคมของศิษย์ และผู้รับบริการ 7. ต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาค โดยไม่เรียกรับหรือยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ตาแหน่งหน้าที่ โดยมิชอบ 4.จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ 8. พึงช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่างสร้างสรรค์โดยยึดมั่นในระบบคุณธรรม สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ 5.จรรยาบรรณต่อสังคม 9. พึงประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้นาในการอนุรักษ์และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา สิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวม และยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข
  • 14. กฎหมายการศึกษา ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ผู้รักษาการ ประกาศใน รกษ. บังคับใช้ ปีที่ / ลงพระปรมาภิไธย / หมวด+มาตรา 1.พรบ.การศึกษาแห่งชาติ 2542 ฉบับที่ 1 = ชวน หลีกภัย ร.ม.ต.ศึกษาธิการ 19 สิงหาคม 2542 20 สิงหาคม 2542 ปีที่ 54 ลง = 14 สิงหาคม 2542 9 หมวด 78 มาตรา ฉบับที่ 3 = 4 มาตรา ฉบับที่ 2 = ทักษิณ ชินวัตร 19 ธันวาคม 2545 20 ธันวาคม 2545 ฉบับที่ 3 = อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 22 กรกฎาคม 2553 23 กรกฎาคม 2553 2.พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ 2546 ฉบับที่ 1 = ทักษิณ ชินวัตร ร.ม.ต.ศึกษาธิการ 6 กรกฎาคม 2546 7 กรกฎาคม 2546 5 หมวด 1 บท 82 มาตรา * ฉบับที่ 2 = 6 มาตราฉบับที่ 2 = อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 22 กรกฎาคม 2553 23 กรกฎาคม 2553 3.พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ฉบับที่ 1 = วิษณุ เครืองาม ร.ม.ต.ศึกษาธิการ 23 ธันวาคม 2547 24 ธันวาคม 2547 9 หมวด 1 บท 140 มาตรา ฉบับที่ 2 = พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ 20 กุมภาพันธ์ 2551 21 กุมภาพันธ์ 2551 ฉบับที่ 3 = อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 22 กรกฎาคม 2553 23 กรกฎาคม 2553 ฉบับที่ 3 = 8 มาตรา 4.พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา 2546 ทักษิณ ชินวัตร ร.ม.ต.ศึกษาธิการ 11 มิถุนายน 2546 12 มิถุนายน 2546 4 หมวด 1 บท 90 มาตรา 5.พรบ.คุ้มครองเด็ก 2546 ทักษิณ ชินวัตร 4 ร.ม.ต. 1.มหาดไทย 2.พัฒนาสังคมฯ 3.ศึกษาธิการ 4.ยุติธรรม 6.พรบ.คนพิการ 2551 พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ ร.ม.ต.ศึกษาธิการ 5 กุมภาพันธ์ 2551 6 กุมภาพันธ์ 2551 3 หมวด 1 บท 29 มาตรา 7.พรบ.เงินเดือน เงินวิทยฐานะและเงินประจาตาแหน่ง ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา 2554 ฉบับที่ 2 = อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกฯ 30 มีนาคม 2554 31 มีนาคม 2554 ตารางสรุปย่อ กฎหมายการศึกษา
  • 15. รวมฮิตตัวเลข จา พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก 2546 1 เด็ก อายุไม่เกิน 18ปี บริบูรณ์ 2 สถานรับเลี้ยงเด็ก - ต้องมีเด็กตั้งแต่ 6 คนขึ้นไป - รับเลี้ยงเด็กไม่เกิน 6 ปีบริบูรณ์ 3 สถานสงเคราะห์ เด็กตั้งแต่ 6คนขึ้นไป 4 คณะกรรมการคุ้มครองเด็ก มี 3 คณะ 5 กักตัวเด็ก เกิน 12 ชั่วโมงไม่ได้ 6 เด็กที่พึงได้รับการสงเคราะห์ มี 8 ประเภท 7 มอบเด็กที่อยู่ในความอุปการะของบุคคลที่เหมาะสมตามระยะเวลา สมควร แต่ไม่เกิน 1 เดือน 8 สงเคราะห์เด็กจนอายุ 18 ปี สงเคราะห์ต่อจนอายุ 20 ปี แต่ไม่เกิน 24 ปี 9 กรณีที่ผู้ปกครองไม่ยินยอม มีสิทธิฟ้องศาลในระยะเวลา 120 วันนับแต่วันรับทราบคาสั่ง 10 เรียกผู้ปกครองทาทัณฑ์บน วางเงินประกัน(ตามสมควรแก่ ฐานานุรูป) ไม่เกินระยะเวลา 2 ปี 11 เด็กที่พึงได้รับการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กมี 3 ประเภท 12 การส่งตัวเด็กไปสถานแรกรับ/สถานพัฒนาฯ(ระหว่างสืบฯ)ให้ กระทาในระยะเวลา ไม่เกิน 7 วัน ขยายเวลาไม่เกิน 30 วัน 13 แต่งตั้งผู้คุ้มครองเด็กให้มีระยะเวลาคราวละ ไม่เกิน 2 ปี 14 คณะกรรมการติดตามและประเมินผลการดาเนินการของกองทุนฯ มี 5 คน 15 ถ้ามีเหตุจาเป็นเร่งด่วน ศาลสั่งให้ตารวจจับกุมผู้ทารุณกรรมเด็ด กักขังครั้งละ ไม่เกิน 30 วัน 16 คณะกรรมการบริหารกองทุนฯจัดทาบัญชีส่งผู้สอบฯตรวจภายใน 120 วัน 17 ให้ สตง.เป้นผู้สอบบัญชี ทารายงานเสนอต่อ คกก.กองทุนภายใน 150 วัน
  • 16. ตัวย่อ ชื่อเต็ม ศธ. กระทรวงศึกษาธิการ สป.ศธ. สานักงานปลัดกระทรวงกระทรวงศึกษาธิการ กกอ. คณะกรรมการการอุดมศึกษา กอศ. คณะกรรมการการอาชีวศึกษา กพฐ. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพท. สานักงานคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา สพฐ. สานักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน สกอ. สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สกศ. สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สช. สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ก.ค.ศ. สานักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สกสค. สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางศึกษา สทศ. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) สมศ. สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน) สกว. สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย สสวท. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สวทช. สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ สคบส. สถาบันพัฒนาครูคณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา สพร. สถาบันส่งเสริมและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ ก.พ.ร. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ คพร. คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ สพท. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา กพ. สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน สานักงาน กศน. สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานักงาน กศน.จังหวัด....... สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด........ กศน.อาเภอ...... ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ......... ศรช. ศูนย์การเรียนชุมชน ศฝช. ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน ตัวย่อ
  • 17. ตำแหน่งที่มีวิทยฐำนะ สูตรเกี๋ยวเตี๋ยว ชำ + เชี่ยว (ธรรมดำ/พิเศษ) 4 1.ตำแหน่ง ครู (๑) ครูชานาญการ (๒) ครูชานาญการพิเศษ (๓) ครูเชี่ยวชาญ (๔) ครูเชี่ยวชาญพิเศษ 2 2 7 2.ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา 1. รองผู้อานวยการชานาญการ 2. รองผู้อานวยการชานาญพิเศษ 3. รองผู้อานวยการเชี่ยวชาญ 4. ผู้อานวยการชานาญการ 5. ผู้อานวยการชานาญการพิเศษ 6. ผู้อานวยการเชี่ยวชาญ 7. ผู้อานวยการเชี่ยวชาญพิเศษ 3 4 4 3. ตำแหน่งผู้บริหำรกำรศึกษำ 1. รองผอ.สนง.เขตพื้นที่กศษ.ชานาญการพิเศษ 2. รองผอ.สนง.เขตพื้นที่กศษ.เชี่ยวชาญ 3. ผอ.สนง.เขตพื้นที่กศษ.เชี่ยวชาญ 4. ผอ.สนง.เขตพื้นที่กศษ.เชี่ยวชาญพิเศษ 2 2 4 4.ตำแหน่งศึกษำนิเทศก์ 1. ศึกษานิเทศก์ชานาญการ 2. ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ 3. ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ 4. ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญพิเศษ 2 2 5.ตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่ำงอื่นตำมที่ ก.ค.ศ. กำหนดให้มี ชำ ธ ชำ พิเศษ เชี่ยว ธ ชำ ธ ชำ พิเศษ ครู ชำ 2 เชี่ยว ธ เชี่ยว พิเศษ ชำ ธ ชำ พิเศษ ครู ชำ 2 เชี่ยว ธ เชี่ยว พิเศษ รอง ผอ. 3 ผอ. 4 ชำ พิเศษ เชี่ยว ธ รอง ผอ.สนง. 2 ผอ.สนง. 2 ชำ ธ ชำ พิเศษ เชี่ยว ธ เชี่ยว พิเศษ ครู เชี่ยว 2 ครู เชี่ยว 2 เชี่ยว ธ เชี่ยว พิเศษ