SlideShare a Scribd company logo
1 of 149
Download to read offline
1

                                          สารบาญ

                                                                                    หนา
ชื่อหลักสูตร                                                                          2
ชื่อปริญญา                                                                            2
หนวยงานรับผิดชอบ                                                                     2
ปรัชญาและวัตถุประสงคของหลักสูตร                                                      2
กําหนดการเปดสอน                                                                      4
คุณสมบัติผูเขาศึกษา                                                                 4
การคัดเลือกผูเขาศึกษา                                                               4
ระบบการศึกษา                                                                          4
ระยะเวลาศึกษา                                                                         5
การลงทะเบียนเรียน                                                                     5
การวัดผลและการสําเร็จการศึกษา                                                         5
อาจารยผูสอน                                                                         6
จํานวนนักศึกษา                                                                        6
สถานที่และอุปกรณการศึกษา                                                             6
หองสมุด                                                                              6
งบประมาณ                                                                              7
หลักสูตร                                                                              7
      - จํานวนหนวยกิตลอดหลักสูตร                                                     7
      - โครงสรางหลักสูตร                                                             7
      - รายวิชา                                                                       7
      - แผนการศึกษา                                                                  23
      - คําอธิบายรายวิชา                                                             28
การประกันคุณภาพการศึกษา                                                             111
เหตุผลของการปรับปรุงหลักสูตร                                                        111
ปการศึกษาที่เริ่มใชหลักสูตรเดิมและปการศึกษาที่กําหนดใหใชหลักสูตรปรับปรุงใหม   111
การเปรียบเทียบหลักสูตรเดิมและหลักสูตรปรับปรุง                                       112
 ภาคผนวก
      - ภาคผนวก ก.                                                                  113
      - ภาคผนวก ข.                                                                  140
2

                              หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต
                           หลักสูตรปรับปรุง ฉบับป พ.ศ.2546
                          คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

1. ชื่อหลักสูตร
   ภาษาไทย            :       หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต
   ภาษาอังกฤษ         :       Bachelor of Pharmacy Program

2. ชื่อปริญญา
   ชื่อเต็มภาษาไทย :          เภสัชศาสตรบัณฑิต
   ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ :       Bachelor of Pharmacy
   ชื่อยอภาษาไทย :           ภ.บ.
   ชื่อยอภาษาอังกฤษ :        B.Pharm.

3. หนวยงานที่รับผิดชอบ
   คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

4. ปรัชญาและวัตถุประสงคของหลักสูตร
         การศึกษาเภสัชศาสตร มีจุดมุงหมายหลักในการใหการศึกษา เรียนรู และพัฒนากุลบุตร
กุลธิดา ใหเปนบัณฑิตที่พรอมดวย คุณธรรม สติปญญา ความคิด ความรู ความสามารถ และ
รับผิดชอบ เห็นการณไกลในการประกอบสัมมาชีวะแหงวิชาชีพเภสัชกรรม รวมทั้งเหมาะสมสอดคลอง
กับแผนพัฒนาสาธารณสุข แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา และสภาพปญหาสังคมไทย
         วิชาชีพทางเภสัชศาสตร เปนวิชาชีพที่เกี่ยวเนื่องดวยศิลปวิทยาการและวิทยาศาสตรของการ
เสาะแสวงหา การประดิษฐสารจากแหลงกําเนิดตามธรรมชาติหรือสารที่สังเคราะหขึ้นเปนยาสําเร็จรูป
ในรูปแบบตาง ๆ เพื่อใหมีความเหมาะสมและสะดวกในการแจกจายและใชเพื่อบําบัด บรรเทา ปองกัน
พิเคราะหโรค      และสรางเสริมสุขภาพ     วิชาชีพนี้ครอบคลุมเนื้อหาวิชาการของการกําหนดจดจํา
เอกลักษณและการตรวจพิสูจน การเลือกสรรฤทธิ์หรือสรรพคุณของยา การเก็บถนอมรักษายามิให
เสื่อมคุณภาพ การปรุง การผสม การวิเคราะห และทําใหไดมาตรฐานตามกําหนดของยาและ
เวชภัณฑ การวิจัยและพัฒนาสูตรตํารับและเทคโนโลยีการผลิตยา อีกทั้งยังครอบคลุมถึงการแจกจาย
การติดตามผล การประเมิน การทบทวน และการเลือกใชอยางถูกตองปลอดภัยโดยเหมาะสม ไมวา
จะเปนการจายตามใบสั่งใชยาของผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือผูประกอบโรคศิลปะอื่นใด รวมทั้ง
สัตวแพทย หรือจะเปนการจายใหโดยตรง หรือขาย หรือใหบริการ ดานความรูแกผูบริโภคภายใต
กรอบบัญญัติแหงกฎหมายและนิติธรรม อีกทั้งตองตามจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ
3

        ในปจจุบัน ภารกิจอันใหญหลวงของวิชาชีพเภสัชกรรมไมอาจที่จะกระทําใหสําเร็จไดโดยเภสัชกร
เพียงคนเดียว ภารกิจเหลานี้จะสําเร็จลงไดก็ดวยเภสัชกรจากหลาย ๆ ฝายรวมกันทําหนาที่ของตน
ดังนั้น วัตถุประสงคของการศึกษาจึงเนนหนักเนื้อหาวิทยาการของภารกิจและพันธกิจหลักทั้งสิ้นทั้ง
มวลของเภสัชกร ตลอดจนความสัมพันธของภารกิจหลักของเภสัชกรที่มีตอระบบบริการสาธารณสุข
และแนวนโยบายแหงชาติทางดานยา รวมทั้งเปนการศึกษาเพื่อเพิ่มพูนประสบการณตาง ๆ ใหมากขึ้น
        ดวยเหตุนี้ วัตถุประสงคและจุดมุงหมายของการศึกษาเภสัชศาสตรในมหาวิทยาลัยศิลปากรจึง
เสนอเปนลําดับไดดังนี้
1. วัตถุประสงคทั่วไป : นักศึกษาเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ควรมีลักษณะทั่วไปดังนี้
1.1 มีความรูและเขาใจ ปญหาสาธารณสุขของประเทศ ตลอดจนตระหนักถึงบทบาทของเภสัชกรที่
        ตองมีสวนรวมในการแกปญหานั้น ๆ และรวมไปกับบุคลากรสาขาอื่นที่เกี่ยวของ
1.2 มีความรอบรูในศิลปวิทยาตาง ๆ สมกับเปนเภสัชกรที่ดี ที่เพียบพรอมดวยคุณธรรม ยึดมั่นใน
        จรรยาบรรณแหงวิชาชีพ มีมนุษยสัมพันธอันดี รวมทั้งมีความรับผิดชอบตอหนวยงาน สังคม
        และประเทศชาติ และสามารถประยุกตความรู ทั้งในดานวิชาชีพและนอกวิชาชีพเพื่อบริการ
        ประชาชนดานสุขภาพอนามัยอยางมีประสิทธิภาพ เปยมประสิทธิผล
1.3 มีความเขาใจวา "วิชาชีพเภสัชกรรม" เปนวิชาชีพที่ตองเรียนรูใฝศึกษาติดตอกันไปตลอดชีวิต
        เยี่ยงวิชาชีพอื่น ๆ และมีความสามารถพอที่จะศึกษาคนควาดวยตนเองตอไปได
1.4 มีความสามารถวิเคราะหและปรับปรุงตนเองใหเหมาะสมกับสถานการณ เมื่อรวมทํางานกับ
        ผูอื่นทั้งในฐานะผูนําและผูรวมงาน
1.5 มีความตระหนักรูซึ้งถึงความจําเปนในการพัฒนาคุณภาพ ทั้งของตนเอง ของวิทยาการ และ
        ของวิชาชีพ ใหสามารถปฏิบัติกิจกรรมที่รองรับและกําหนดไวตามพันธกิจและภารกิจ เพื่อ
        บรรลุวัตถุประสงคและเจตนารมณที่กําหนดไวเปนหลักฐานแหงบุคลากรในสายวิชาชีพ และใน
        การคุมครองผูบริโภคทั้งในระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ หรือในระดับที่สูงขึ้นไปอีกตาม
        ทิศทางและแนวโนมการพัฒนาที่จักดําเนินตอไป
2. วัตถุประสงคเฉพาะ : นักศึกษาเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ควรเปนผูมีความรู
ความสามารถดานวิชาการดังนี้
2.1 การเสาะแสวงหา ปรุง ผสม และประดิษฐวัตถุใด ๆ ขึ้นเปนยาที่มีลักษณะดี เหมาะสม
2.2 การควบคุมมาตรฐานของยา ใหมีคุณภาพและปลอดภัยถูกตองตามหลักวิชาการและมาตรฐาน
2.3 การจําแนกประเภท หมวดหมูของยา เพื่อประโยชนในการใช การเก็บรักษา การผลิต และการ
        จําแนกตามฤทธิ์หรือสรรพคุณของยา
2.4 การใหบริการและคําแนะนําเกี่ยวกับยาใด ๆ อยางถูกตอง ตามหลักวิชาการ ประหยัด
        ปลอดภัย เปนที่ยอมรับแกผูรับบริการ อันไดแกผูประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ผูประกอบโรค
        ศิลปะอื่น ๆ รวมทั้งประชาชนทั่วไป
2.5 การไตรตรองวินิจฉัยผลของยาที่มีตอรางกาย ทั้งในดานเปนคุณและเปนพิษ รวมทั้งการติดตาม
        ประเมินผลการใชยาในลักษณะตาง ๆ
4

2.6  เขาใจอาการของโรคบางอยางที่ปรากฏมากในประเทศ                 และมีความสามารถที่จะดําเนิน
     การตามขั้นตอน เพื่อชวยเหลือเยียวยา หรือคัดเลือกผูปวยสงตอโรงพยาบาลได
2.7 การเลือกสรรยา เพื่อใชใหเหมาะสมกับเศรษฐภาวะและอาการของโรคได
2.8 การใหการศึกษา ฝกอบรม แพรกระจายขาวสารความรูเรื่องยาการสงเสริมสุขภาพ การ
     ปองกันโรค และการชวยเหลือตนเองแกประชาชนและเจาหนาที่อื่น ๆ เพื่อสนับสนุนการ
     สาธารณสุขมูลฐานและการคุมครองประโยชนผูบริโภค
2.9 การจัดการ บริหาร วางแผน ตลอดจนการกําหนดนโยบายตาง ๆ ทั้งที่เกี่ยวของกับงานเภสัช
     กรรมโดยตรง และงานอื่น ๆ ที่สัมพันธกัน
2.10 การวิจัยและพัฒนาเบื้องตนดานเทคโนโลยีเภสัชกรรม เพื่อการพึ่งพาตนเองไดมากที่สุด โดย
     ไดเภสัชภัณฑที่มีคุณคา คุณภาพและมาตรฐานตามเกณฑมาตรฐานสากล
5. กําหนดการเปดสอน
   เริ่มเปดสอนตั้งแตภาคการศึกษาตน ปการศึกษา 2546
6. คุณสมบัติผูเขาศึกษา
   6.1 เปนผูสําเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา และ/หรือ
   6.2 มีคุณสมบัติครบถวนตามขอบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากรวาดวยการศึกษาระดับปริญญา
       บัณฑิต พ.ศ.2537 หรือ
   6.3 ผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีดานตางๆใหสามารถ
       เขาศึกษาในหลักสูตรนี้ไดตามกระบวนการและขั้นตอนการคัดเลือกเขาศึกษา มีสิทธิ์ไดรับการ
       พิจารณาเทียบโอนและ/หรือยกเวนรายวิชาและหนวยกิต ทั้งนี้จํานวนรายวิชาและหนวยกิตที่
       ไดรับการเทียบโอนและ/หรือยกเวน จะเปนไปตามธรรมชาติของสาขาที่สําเร็จการศึกษามา
       กอน แตรวมแลวจะตองมีระยะเวลาศึกษาตามหลักสูตรไมนอยกวา 6 ภาคการศึกษาปกติ หรือ
       3 ปการศึกษาปกติ
7. การคัดเลือกผูเขาศึกษา
    เปนไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยศิลปากรและของทบวงมหาวิทยาลัยและตามลักษณะจําเพาะ
ของคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยผานการสอบคัดเลือกของทบวงมหาวิทยาลัย หรือ
ผานการสอบคัดเลือกตามโครงการรับสมัครโควตาพิเศษ โครงการพิเศษของกระทรวงมหาดไทย และ
หรือหนวยงานโครงการอื่นใดเปนกรณีพิเศษ
8. ระบบการศึกษา
    8.1 การจัดการศึกษาใชระบบหนวยกิตทวิภาค โดยหนึ่งปการศึกษาแบงออกเปน 2             ภาค
        การศึกษาปกติ หนึ่งภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไมนอยกวา 15 สัปดาห
    8.2 การคิดหนวยกิต
        8.2.1 รายวิชาบรรยาย 1 หนวยกิตเทากับ 1 ชั่วโมงตอสัปดาห
        8.2.2 รายวิชาปฏิบัติการ 1 หนวยกิตเทากับ 2-3 ชั่วโมงตอสัปดาห
5

          8.2.3 รายวิชาฝกงาน 1 หนวยกิต ไมนอยกวา 45 ชั่วโมง ตอภาคการศึกษาปกติ
          8.2.4 การทํางานโครงงาน 1 หนวยกิต ไมนอยกวา 45 ชั่วโมงตอภาคการศึกษาปกติ
      8.3 เกณฑในการกําหนดหนวยกิต
         ในแตละรายวิชากําหนดเกณฑในการกําหนดคาของหนวยกิตจากจํานวนชั่วโมงบรรยาย (บ)
ชั่วโมงปฏิบัติ (ป) และชั่วโมงที่นักศึกษาตองศึกษาดวยตนเองนอกเวลาเรียน (น) ตอ 1 สัปดาห แลว
หารดวย 3 ซึ่งมีวิธีคิดดังนี้
                 จํานวนหนวยกิต         =       บ+ป+น
                                                    3
                 การเขียนหนวยกิตในรายวิชาตางๆ ประกอบดวยตัวเลขสี่ตัวคือ ตัวแรกอยูนอกวงเล็บ
เปนจํานวนหนวยกิตของรายวิชานั้น ตัวที่สอง สาม และสี่ อยูในวงเล็บ บอกจํานวนชั่วโมงบรรยาย
ปฏิบัติ และศึกษาดวยตนเองนอกเวลาเรียน ตามลําดับ เชน 2(2-0-4) เลข 2 นอกวงเล็บ หมายถึง
จํานวนหนวยกิต ตัวเลขในวงเล็บ เลข 2 หมายถึง จํานวนชั่วโมงบรรยาย เลข 0 หมายถึง จํานวน
ชั่วโมงปฏิบัติและเลข 4 ตัวหลัง หมายถึง จํานวนชั่วโมงที่นักศึกษาตองศึกษาดวยตนเองนอกเวลาเรียน
9. ระยะเวลาการศึกษา
   ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร 5 ป ทั้งนี้ไมเกิน 10 ป
10. การลงทะเบียนเรียน
    การลงทะเบียนเรียนใหเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากร วาดวยการศึกษาระดับปริญญา
    บัณฑิต พ.ศ.2537 และ/หรือที่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงภายหลัง โดยนักศึกษาลงทะเบียนเรียน
    ไดไมนอยกวา 12 หนวยกิต และไมเกิน 22 หนวยกิต ในภาคการศึกษาปกติ สวนในภาคการศึกษา
    พิเศษฤดูรอนลงทะเบียนไดไมเกิน 9 หนวยกิต ยกเวนกรณีที่นักศึกษาเหลือจํานวนหนวยกิตตาม
    หลักสูตรนอยกวา 12 หนวยกิตใหลงทะเบียนเรียนไดตามจํานวนหนวยกิตที่เหลือ
11. การวัดผลและการสําเร็จการศึกษา
    11.1 การวัดผลการศึกษาใหเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากร         วาดวยการศึกษาระดับ
         ปริญญาบัณฑิต พ.ศ.2537 และ/หรือที่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงภายหลัง
    11.2 การสําเร็จการศึกษา
         ผูสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต ตองมีคุณสมบัติดังนี้
        11.2.1 สอบไดหนวยกิตสะสมครบตามหลักสูตรที่เขาศึกษาภายในระยะเวลาไมเกิน 2 เทาของ
                   เวลาการศึกษาตามหลักสูตร
        11.2.2 ไดคาระดับเฉลี่ยสะสมไมนอยกวา 2.00
        11.2.3 ไดคาระดับเฉลี่ยสะสมเฉพาะวิชาของคณะเภสัชศาสตร ไมนอยกวา 2.00
       “เฉพาะวิชาของคณะเภสัชศาสตร” หมายถึง “รายวิชาที่ใชรหัสของคณะเภสัชศาสตร
รวมถึงรายวิชาใด ๆ ซึ่งจัดสอนโดยคณะเภสัชศาสตร และภาควิชาในคณะเภสัชศาสตรสําหรับ
นักศึกษาเภสัชศาสตรโดยเฉพาะ”
6

        11.2.4 ตองผานการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดวยระดับการประเมินเปนที่พอใจ ไมนอยกวา 500
                  ชั่วโมงปฏิบัติการและจะตองทําจุลนิพนธตามแผนการเรียนการสอนแบบโครงการอีก
                  ไมนอยกวา 45 ชั่วโมงปฏิบัติการ
12. อาจารยผูสอน
    รายชื่อคณาจารยประจําหลักสูตร (ภาคผนวก ก)
13. จํานวนนักศึกษา
          ชั้นปที่                                 จํานวนนักศึกษา (คน)
                                    ป 2546   ป 2547      ป 2548      ป 2549     ป 2550
            ชั้นปที่ 1               180       180          180          180         180
            ชั้นปที่ 2                 -       180          180          180         180
            ชั้นปที่ 3                 -         -          180          180         180
            ชั้นปที่ 4                 -         -            -          180         180
            ชั้นปที่ 5                 -         -            -            -         180
               รวม                    180       360          540          720         900
 จํานวนที่คาดวาจะสําเร็จการศึกษา       -         -            -            -         180
14. สถานที่และอุปกรณการสอน
    14.1 สถานที่ คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะตาง ๆ ของมหาวิทยาลัยศิลปากร ที่มี
         รายวิชาบรรจุในหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต โรงพยาบาล สถานบริการสาธารณสุขระดับ
         ตาง ๆ โรงงานอุตสาหกรรม และหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของกับงานและวิชาชีพเภสัชกรรม ทั้ง
         ภาครัฐและภาคเอกชน ทั้งนี้การศึกษานอกสถานที่เพื่อเสริมทักษะและประสบการณการเรียนรู
         ของนักศึกษาใหสามารถทําไดโดยเสนอขออนุมัติคณะวิชาเปนกรณี ๆ ไป
    14.2 อุปกรณการสอน อุปกรณและครุภัณฑการศึกษาของคณะวิชาและหนวยงานตาง ๆ ดัง
         กลาวขางตน
15. หองสมุด
    หนังสือ ตํารา วารสาร และเอกสารวิชาการตาง ๆ ใชบริการจากสํานักหอสมุด มหาวิทยาลัย
ศิลปากร หองเอกสารอางอิงทางเภสัชศาสตร “ประโชติ เปลงวิทยา” และหนวยงานที่เกี่ยวของอื่น ๆ
รวมถึงระบบฐานขอมูล ระบบเครือขายสารสนเทศ ของคณะเภสัชศาสตร และของมหาวิทยาลัยอีกดวย
    ปจจุบันสํานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร มีหนังสือและ
วารสารที่ใชประกอบการสอนเภสัชศาสตร ดังนี้
    หนังสือ ภาษาไทย          ประมาณ        2,165 ชื่อ
                ภาษาอังกฤษ ประมาณ          2,870 ชื่อ
    วารสาร ภาษาไทย           ประมาณ        30     ชื่อ
                ภาษาอังกฤษ ประมาณ          60     ชื่อ
7

     ฐานขอมูล
        1. ฐานขอมูลที่หอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร บอกรับ จํานวน 2 ฐานขอมูล ไดแก
               1.1 ฐานขอมูล Sciences Direct
               1.2. ฐานขอมูล H.W. ไดแก
                      1.2.1 ฐานขอมูล Applied Science & Technology
                      1.2.2 ฐานขอมูล Fulltext General Science Abstracts Fulltext
                      1.2.3 ฐานขอมูล CAB Abstract
        2. ฐานขอมูลที่ทบวงมหาวิทยาลัย รวมกับ ThaiLIS (Thai Library Integrated System)
บอกรับ จํานวน 2 ฐานขอมูล ไดแก
               2.1 ฐานขอมูล MEDLINE
               2.2 ฐานขอมูล Dissertation Abstracts Online (DAO)
        นอกจากนี้ยังมีฐานขอมูลสารสนเทศทางเภสัชศาสตรและที่เกี่ยวของ ไมนอยกวา 1,482
พันลานตัวอักษร (1,482 Gigabytes) และกําลังพัฒนาเขาสูการสนับสนุนระดับ 10 พันพันลานตัวอักษร
(10 Terabytes) ภายในป พ.ศ.2550 (ของคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร และสถาบัน
เครือขายความรวมมือทางเภสัชศาสตร)
16. งบประมาณ
    16.1 งบประมาณสนับสนุนจากงบประมาณแผนดินที่ไดรับการจัดสรร และงบประมาณแผนดิน
ตามที่จะไดรับการจัดสรรประจําปตามแผนงาน
    16.2 งบประมาณของคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
    ทั้งนี้โดยใชหลักการของการจัดสรรและการใชสอยทรัพยากรรวมกัน
17. หลักสูตร
    17.1 จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา 188 หนวยกิต
    17.2 โครงสรางหลักสูตร
           17.2.1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไมนอยกวา          30 หนวยกิต
           17.2.2 หมวดวิชาเฉพาะ ไมนอยกวา               152 หนวยกิต
                   กลุมวิชาพื้นฐานวิชาชีพ                 30 หนวยกิต
                   กลุมวิชาเฉพาะดาน ไมนอยกวา         122 หนวยกิต
           17.2.3 หมวดวิชาเลือกเสรี           ไมนอยกวา   6 หนวยกิต
    17.3 รายวิชา
           รหัสวิชากําหนดใชเปนเลข 6 หลักโดยแบงเลขออกเปนสองกลุม กลุมละสามหลักโดยเวน
วรรคหนึ่งชวง ระหวางสามหลักแรก และสามหลักหลัง กําหนดใหสามหลักแรกเปนเลขประจํา
หนวยงานที่รับผิดชอบรายวิชานั้น เชน
                        080 มหาวิทยาลัยศิลปากร
                        511 ภาควิชาคณิตศาสตร คณะวิทยาศาสตร
8

                         512 ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร
                         513 ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร
                         514 ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร
                         515 สาขาวิชาสถิติ ภาควิชาคณิตศาสตร คณะวิทยาศาสตร
                         550, 554 คณะเภสัชศาสตร
                         561 ภาควิชาชีวเภสัชศาสตร
                         562 ภาควิชาเภสัชกรรม
                         563 ภาควิชาเภสัชกรรมชุมชน
                         564 ภาควิชาเภสัชเคมี
                         565 ภาควิชาเภสัชวิทยาและพิษวิทยา
                         566 ภาควิชาเภสัชเวท
                         567 ภาควิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม
       ตัวเลขสามหลักหลัง เปนตัวเลขบอกรหัสวิชา
       เลขตัวแรก หมายถึง ระดับ ชั้นป ของรายวิชา คือ
                 1 หมายถึง ระดับการศึกษาปริญญาบัณฑิตขั้นตน
                 2 หมายถึง ระดับการศึกษาปริญญาบัณฑิตขั้นปลาย
                 3 หมายถึง ระดับการศึกษาปริญญาบัณฑิตขั้นปลายและบัณฑิตศึกษาระดับตน
                 4-9 หมายถึง ระดับการศึกษาบัณฑิตศึกษาระดับปริญญาโท และระดับปริญญาเอก
           เลขตัวที่สองและสาม หมายถึง สาขายอยของวิชาเภสัชศาสตร เชน วิชาวิทยาศาสตร
การแพทยประยุกตดานเภสัชศาสตร วิชาที่เกี่ยวกับแหลงกําเนิด คุณสมบัติ และการเตรียมตัวยา วิชา
ที่เกี่ยวกับการผลิตและการประดิษฐยา วิชาที่เกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานของยา วิชาที่
เกี่ยวกับสรรพคุณ พิษ และการเลือกใชยา วิชาที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงานในวิชาชีพ เปนตน และหรือ
หมายถึงลําดับที่ของรายวิชา
       รายวิชาปรับพื้นฐาน 8 หนวยกิต
              556 101 วิทยาศาสตรชีวภาพสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร                 3(3-0-6)
                      (Biological Sciences for Pharmacy Students)
              556 102 วิทยาศาสตรกายภาพสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร                 3(3-0-6)
                      (Physical Sciences for Pharmacy Students)
              556 103 ปฏิบัติการวิทยาศาสตรชีวภาพสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร       1(0-3-0)
                      (Biological Sciences Laboratory for Pharmacy Students)
              556 104 ปฏิบัติการวิทยาศาสตรกายภาพสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร       1(0-3-0)
                      (Physical Sciences Laboratory for Pharmacy Students)
9

         1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป จํานวนรวมไมนอยกวา 30 หนวยกิต
              1.1 วิชาบังคับ             จํานวน              20 หนวยกิต
              - กลุมวิชาภาษา             จํานวน               9 หนวยกิต
                 080 176 ภาษากับการสื่อสาร                                   3(3-0-6)
                            (Language and Communication)
                 550 155 ภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 1              3(2-2-5)
                            (English for Pharmacy Students I)
                 550 158 ภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 2              3(2-2-5)
                            (English for Pharmacy Students II)
              - กลุมวิชามนุษยศาสตร จํานวน 4 หนวยกิต
                 080 122 จริยธรรมในการประกอบวิชาชีพ                          2(2-0-4)
                           (Professional Ethics)
                 550 153 หลักการออกแบบทางเภสัชศาสตร                         2(1-3-2)
                           (Introductory Pharmaceutical Design)
              - กลุมวิชาสังคมศาสตร จํานวน 2 หนวยกิต
                 080 144 หลักการวิจัยเบื้องตน                               2(2-0-4)
                            (Principles of Research)
              - กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร จํานวน 5 หนวยกิต
                 511 103 คณิตศาสตรสําหรับนักศึกษาวิทยาศาสตรชีวภาพ          3(3-0-6)
                            (Mathematics for Biological Sciences Students)
                 563 251 พื้นฐานสาธารณสุข                                    2(2-0-4)
                            (Basic Public Health)
              1.2 วิชาบังคับเลือก จํานวนไมนอยกวา 6 หนวยกิต
                 - กลุมวิชาภาษา จํานวนไมนอยกวา 6 หนวยกิต โดยเลือกภาษาใดภาษาหนึ่ง
ดังนี้
                 080 177 ภาษาอังกฤษ 1                                        3(2-2-5)
                          (English I)
                 080 178 ภาษาอังกฤษ 2                                        3(2-2-5)
                          (English II)
                 080 179 ภาษาฝรั่งเศสเบื้องตน 1                             3(2-2-5)
                           (Basic French I)
                  080 180 ภาษาฝรั่งเศสเบื้องตน 2                            3(2-2-5)
                           (Basic French II)
10

  080 183 ภาษาเยอรมันเบื้องตน 1                        3(2-2-5)
          (Basic German I)
  080 184 ภาษาเยอรมันเบื้องตน 2                        3(2-2-5)
          (Basic German II)
  080 187 ภาษาจีนเบื้องตน 1                            3(2-2-5)
          (Basic Chinese I)
  080 188 ภาษาจีนเบื้องตน 2                            3(2-2-5)
          (Basic Chinese II)
  080 189 ภาษาญีปุนเบื้องตน 1
                 ่                                      3(2-2-5)
          (Basic Japanese I)
  080 190 ภาษาญี่ปุนเบื้องตน 2                        3(2-2-5)
          (Basic Japanese II)

1.3 วิชาเลือก จํานวนไมนอยกวา 4 หนวยกิต
   ใหเลือกลงทะเบียนเรียนจากรายวิชาตาง ๆ ดังตอไปนี้
   080 101 มนุษยกับการสรางสรรค                       3(3-0-6)
             (Man and Creativity)
   080 107 ดนตรีวิจักษ                                 2(2-0-4)
             (Music Appreciation)
   080 114 ศิลปวิจักษ                                  2(2-0-4)
             (Art Appreciation)
   080 117 วรรณคดีวิจักษ                               2(2-0-4)
             (Literary Appreciation)
   080 119 อารยธรรมตะวันออก                             2(2-0-4)
             (Eastern Civilization)
   080 126 มนุษยกับสิ่งแวดลอม                         3(3-0-6)
             (Man and His Environment)
   080 127 จิตวิทยาเบื้องตน                            2(2-0-4)
             (Introduction to Psychology)
   080 133 เศรษฐศาสตรในชีวิตประจําวัน                  2(2-0-4)
             (Economics in Everyday Life)
   080 135 กฎหมายกับสังคม                               2(2-0-4)
             (Law and Society)
   080 151 มนุษยกับวิทยาศาสตร                         3(3-0-6)
             (Man and Sciences)
11

              415 151 โลกเอเชียตะวันออกเฉียงใต                                    2(2-0-4)
                        (Southeast Asian World)
              449 106 การอนุรักษทรัพยากรและสิ่งแวดลอม                            2(2-0-4)
                        (Conservation of Resources and Environment)
              550 101 การประยุกตคอมพิวเตอรขั้นพื้นฐานทางเภสัชศาสตร              2(1-3-2)
                        (Basic Computer Applications in Pharmaceutical Sciences)
              550 156 รูปแบบและเทคนิคของเภสัชภัณฑเบื้องตน                        2(2-0-4)
                        (Introduction to Pharmaceutical Dosage Forms and Technology)
         *    554 101 สมุนไพรพื้นฐาน                                               3(3-0-6)
                        (Herbal Medicine)
         *    554 102 ความรูเรื่องยา                                              3(3-0-6)
                        (Drug Education)
         *    554 103 มนุษยกับสารพิษ                                              3(3-0-6)
                        (Man and Toxic Substances)
         *    554 104 อาหารเพื่อสุขภาพ                                             3(3-0-6)
                        (Food for Health)
              565 151 ความรูเรื่องยาบําบัดโรค                                     3(3-0-6)
                        (Drug Knowledges)
              566 101 เภสัชพฤกษศาสตร                                              2(1-3-2)
                        (Pharmaceutical Botany)
* หมายเหตุ   เปนรายวิชาที่เปดบริการสําหรับนักศึกษานอกคณะวิชา ทั้งนี้นักศึกษาเภสัชศาสตรอาจ
              ขอลงทะเบียนไดภายใตเงื่อนไขและโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจําคณะ
              เภสัชศาสตร
   2. หมวดวิชาเฉพาะ จํานวน 152 หนวยกิต แบงเปน 2 กลุมวิชา ดังนี้
      2.1 กลุมวิชาพื้นฐานวิชาชีพ จํานวน 30 หนวยกิต ประกอบดวยวิชาดังนี้
            2.1.1. วิชาคณิตศาสตรและสถิติ         จํานวน 3 หนวยกิต
            515 203 สถิติสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร                       3(2-2-5)
                       (Statistics for Pharmacy Students)
             2.1.2 วิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน จํานวน 27 หนวยกิต
             512 101 ชีววิทยาทั่วไป 1                                            3(3-0-6)
                       (General Biology I)
             512 102 ชีววิทยาทั่วไป 2                                            3(3-0-6)
                       (General Biology II)
12

       512 103 ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป 1                           1(0-3-0)
               (General Biology Laboratory I)
       512 104 ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป 2                           1(0-3-0)
               (General Biology Laboratory II)
       513 101 เคมีทั่วไป 1                                         3(3-0-6)
               (General Chemistry I)
       513 102 เคมีทั่วไป 2                                         3(3-0-6)
               (General Chemistry II)
       513 220 เคมีฟสิคัล                                          3(3-0-6)
               (Physical Chemistry)
       513 250 เคมีอินทรีย                                         3(3-0-6)
               (Organic Chemistry)
       514 101 ฟสิกสทั่วไป 1                                      3(3-0-6)
               (General Physics I)
       514 102 ฟสิกสทั่วไป 2                                      3(3-0-6)
               (General Physics II)
       514 105 ปฏิบัติการฟสิกสสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร          1(0-3-0)
               (General Physics Laboratory for Pharmacy Students)

2.2 กลุมวิชาเฉพาะดาน จํานวน 122 หนวยกิต ประกอบดวยวิชาดังนี้
         2.2.1 วิชาวิทยาศาสตรสุขภาพและคลินิก จํานวน 29 หนวยกิต
         561 101 ชีวเภสัชศาสตร 1                                   2(2-0-4)
                    (Biopharmacy I)
         561 102 ชีวเภสัชศาสตร 2                                   2(2-0-4)
                    (Biopharmacy II)
         561 103 พื้นฐานชีววิทยาระดับโมเลกุลสําหรับเภสัชกร          1(1-0-2)
                    (Basic Molecular Biology for Pharmacists)
         561 131 ปฏิบัติการชีวเภสัชศาสตร 1                         1(0-3-0)
                    (Biopharmacy Laboratory I)
         561 201 ชีวเภสัชศาสตร 3                                   3(3-0-6)
                    (Biopharmacy III)
         561 202 ชีวเภสัชศาสตร 4                                   2(2-0-4)
                    (Biopharmacy IV)
         561 203 ชีวเภสัชศาสตร 5                                   4(4-0-8)
                    (Biopharmacy V)
13

     561 231 ปฏิบัติการชีวเภสัชศาสตร 3                        1(0-3-0)
             (Biopharmacy Laboratory III)
     561 232 ปฏิบัติการชีวเภสัชศาสตร 4                        1(0-3-0)
             (Biopharmacy Laboratory IV)
     561 233 ปฏิบัติการชีวเภสัชศาสตร 5                        1(0-3-0)
             (Biopharmacy Laboratory V)
     565 241 เภสัชวิทยา 1                                      3(3-0-6)
             (Pharmacology I)
     565 242 เภสัชวิทยา 2                                      4(4-0-8)
             (Pharmacology II)
     565 243 พิษวิทยา                                          2(2-0-4)
             (Toxicology)
     565 261 ปฏิบัติการเภสัชวิทยา 1                            1(0-3-0)
             (Pharmacology Laboratory I)
     565 263 ปฏิบัติการพิษวิทยา                                1(0-3-0)
             (Toxicology Laboratory)

2.2.2 วิชาแกนวิชาชีพ จํานวน 93 หนวยกิต ประกอบดวยวิชาดังนี้
      - วิชาบังคับวิชาชีพ จํานวน 82 หนวยกิต
      550 102 ปฏิบัติการพื้นฐานทางเภสัชศาสตร                  1(0-3-0)
                 (Basic Pharmaceutical Laboratory)
      550 151 เภสัชนิเทศ                                       1(1-0-2)
                 (Pharmacy Orientation)
      550 251 ประสบการณวิชาชีพ 1                              1(0-3-0)
                 (Professional Practice I)
      550 332 นิติเภสัช                                        1(1-0-2)
                 (Pharmacy Law)
      550 351 ประสบการณวิชาชีพ 2                              3(0-9-0)
                 (Professional Practice II)
      550 352 ประสบการณวิชาชีพ 3                              5(0-15-0)
                 (Professional Practice III)
      550 359 คอมพิวเตอรทางเภสัชกรรม                          3(2-3-4)
                 (Computer in Pharmacy)
      550 361 การสัมมนาทางเภสัชศาสตร                          1(0-3-0)
                 (Seminar in Pharmaceutical Sciences)
14

550 366 เภสัชบําบัด 2                                    4(3-3-6)
        (Pharmacotherapeutics II)
550 367 เภสัชบําบัด 3                                    4(3-3-6)
        (Pharmacotherapeutics III)
550 399 จุลนิพนธ                                        1(0-3-0)
        (Senior Project)
561 211 ชีววัตถุ                                         2(2-0-4)
        (Biological Products)
562 321 ชีวเภสัชกรรมและเภสัชจลนพลศาสตร                  3(3-0-6)
        (Biopharmaceutics and Pharmacokinetics)
562 361 เภสัชกรรมปฏิบัติ                                 4(3-3-6)
        (Pharmacy Practice)
563 254 การบริหารเภสัชกิจเบื้องตน 1                     2(2-0-4)
        (Basic Pharmacy Administrations I)
563 255 การบริหารเภสัชกิจเบื้องตน 2                     2(1-3-2)
        (Basic Pharmacy Administrations II)
564 111 เภสัชเคมี 1                                      1(1-0-2)
        (Pharmaceutical Chemistry I)
564 121 ปฏิบัติการเภสัชเคมี 1                            1(0-3-0)
        (Pharmaceutical Chemistry Laboratory I)
564 131 การควบคุมคุณภาพยา 1                              3(3-0-6)
        (Pharmaceutical Quality Control I)
564 132 ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพยา 1                    2(0-6-0)
        (Pharmaceutical Quality Control Laboratory I)
564 211 เภสัชเคมี 2                                      3(3-0-6)
        (Pharmaceutical Chemistry II)
564 212 เภสัชเคมี 3                                      4(4-0-8)
        (Pharmaceutical Chemistry III)
564 231 การควบคุมคุณภาพยา 2                              3(3-0-6)
        (Pharmaceutical Quality Control II)
564 233 ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพยา 2                    1(0-3-0)
        (Pharmaceutical Quality Control Laboratory II)
565 352 เภสัชบําบัด 1                                    3(3-0-6)
        (Pharmacotherapeutic I)
15

            566 111 เภสัชเวท 1                                              3(3-0-6)
                    (Pharmacognosy I)
            566 121 ปฏิบัติการเภสัชเวท 1                                    1(0-3-0)
                    (Pharmacognosy Laboratory I)
            566 211 เภสัชเวท 2                                              2(2-0-4)
                    (Pharmacognosy II)
            566 221 ปฏิบัติการเภสัชเวท 2                                    1(0-3-0)
                    (Pharmacognosy Laboratory II)
            567 221 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 1                                    2(2-0-4)
                    (Pharmaceutical Technology I)
            567 222 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 2                                    3(3-0-6)
                    (Pharmaceutical Technology II)
            567 223 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 3                                    3(3-0-6)
                    (Pharmaceutical Technology III)
            567 224 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 4                                    2(2-0-4)
                    (Pharmaceutical Technology IV)
            567 225 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 5                                    2(2-0-4)
                    (Pharmaceutical Technology V)
            567 261 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 1                          1(0-3-0)
                    (Pharmaceutical Technology Laboratory I)
            567 262 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 2                          1(0-3-0)
                    (Pharmaceutical Technology Laboratory II)
            567 263 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 3                          1(0-3-0)
                    (Pharmaceutical Technology Laboratory III)
            567 264 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 4                          1(0-3-0)
                    (Pharmaceutical Technology Laboratory IV)

         - วิชาเลือกวิชาชีพ จํานวนไมนอยกวา 11 หนวยกิต โดยใหเลือกรายวิชาในลักษณะ
ของกลุมสาขาใดสาขาหนึ่งใน 3 กลุมสาขาตอไปนี้

         กลุมสาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม
         (Pharmaceutical Care)

         กลุมสาขาวิทยาการทางเภสัชศาสตร
         (Pharmaceutical Sciences)
16


  กลุมสาขาเภสัชกรรมสารสนเทศ
  (Pharmaceutical Informatics)

วิชาเลือกวิชาชีพกลุมสาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม
550 202 โภชนาการและโภชนบําบัด                          2(2-0-4)
           (Nutrition and Nutritional Therapy)
550 207 ความสัมพันธระหวางโภชนาการและยา               2(2-0-4)
           (Nutrition and Drug Interactions)
550 208 การประเมินภาวะโภชนาการ                         2(1-3-2)
           (Nutritional Assessment)
550 209 โภชนาการของเกลือแรและวิตามิน                  2(1-3-2)
           (Minerals and Vitamins in Nutrition)
550 211 อุปกรณและวัสดุการแพทย                        2(1-3-2)
           (Medical Equipment and Accessories)
550 212 ยาฉีดผสมทางหลอดเลือดดํา                        2(1-3-2)
           (Intravenous Admixture)
550 213 รังสีเภสัชภัณฑ                                2(2-0-4)
           (Radiopharmaceuticals)
550 215 ระบาดวิทยาทางเภสัชศาสตร                       3(2-3-4)
           (Pharmacoepidemiology)
550 216 เศรษฐศาสตรดานยา                              2(2-0-4)
           (Pharmacoeconomics)
550 221 เภสัชเวทประยุกต                               2(2-0-4)
           (Applied Pharmacognosy)
550 311 เภสัชสนเทศทางการบริบาลทางเภสัชกรรม             3(2-3-4)
           (Drug Information in Pharmaceutical Care)
550 312 หัวขอปจจุบันของเภสัชกรรมปฏิบัติ              4(3-3-6)
           (Current Topics in Pharmacy Practice)
550 315 ชีวเภสัชกรรมขั้นสูง                            3(2-3-4)
           (Advanced Biopharmaceutics)
550 316 เภสัชจลนพลศาสตรคลินิก                         2(1-3-2)
           (Clinical Pharmacokinetics)
550 319 การประเมินผลทางยา                              2(1-3-2)
           (Drug Assessment)
17

550 320 การประเมินการใชยา 1                                 3(2-3-4)
         (Drug Use Evaluation I)
550 321 การประเมินการใชยา 2                                 3(2-3-4)
         (Drug Use Evaluation II)
550 324 การประเมินฤทธิ์ของยา                                 2(2-0-4)
         (Evaluation of Drug Action)
550 333 พฤกษบําบัดบนหลักฐานทางวิชาการ                        2(2-0-4)
         (Evidence Base Phytotherapy)
550 334 เภสัชบําบัดปจจุบันของการบริบาลทางเภสัชกรรม          4(3-3-6)
         (Current Therapy in Pharmaceutical Care)
550 365 เภสัชกรรมคลินิกขั้นสูง                               4(3-3-6)
         (Advanced Clinical Pharmacy)
550 369 ปญหาพิเศษของการบริบาลทางเภสัชกรรม                   2(1-3-2)
         (Special Problems in Pharmaceutical Care)
552 101 การบริบาลทางเภสัชกรรมบนพื้นฐานของหลักฐานทางวิชาการ   2(2-0-4)
         (Evidence Base in Pharmaceutical Care)
552 102 ปฏิบัติการการบริบาลทางเภสัชกรรมบนพื้นฐานของหลักฐาน
         ทางวิชาการ                                           1(0-3-0)
         (Evidence Base in Pharmaceutical Care Laboratory)
552 103 การประเมินผลลัพธในการใชเภสัชภัณฑ                    2(2-0-4)
         (Outcomes Drug Assessment)
552 104 ปฏิบัติการการประเมินผลลัพธในการใชเภสัชภัณฑ          1(0-3-0)
        (Outcomes Drug Assessment Laboratory)
552 105 เภสัชกรรมสถานพยาบาล                                    3(3-0-6)
        (Hospital Pharmacy)
552 106 ปฏิบติการเภสัชกรรมสถานพยาบาล
             ั                                                 1(0-3-0)
        (Hospital Pharmacy Laboratory)
552 113 เภสัชวิทยาคลินิก                                       2(2-0-4)
        (Clinical Pharmacology)
552 114 ปฏิบัติการเภสัชวิทยาคลินิก                             1(0-3-0)
        (Clinical Pharmacology laboratory)
552 115 พิษวิทยาคลินิกของสิ่งแวดลอม                          2 (2-0-2)
        (Environmental Clinical Toxicology)
552 116 ปฏิบัติการพิษวิทยาคลินิกของสิ่งแวดลอม                 1(0-3-0)
        (Environmental Clinical Toxicology Laboratory)
18


วิชาเลือกวิชาชีพกลุมสาขาวิทยาการทางเภสัชศาสตร
        550 201 ความปลอดภัยของอาหารและน้ําดื่ม                                 3(1-6-2)
                 (Safety of Foods and Drinking Water)
        550 203 การควบคุมคุณภาพยา 4                                            2(2-0-4)
                 (Pharmaceutical Quality Control IV)
        550 204 ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพยา 4                                  1(0-3-0)
                 (Pharmaceutical Quality Control Laboratory IV)
        550 205 การเปลี่ยนแปลงทางชีวภาพของยา 1                                 3(3-0-6)
                 (Drug Biotransformation I)
        550 206 การเปลี่ยนแปลงทางชีวภาพของยา 2                                 3(3-0-6)
                 (Drug Biotransformation II)
        550 210 พยาธิวิทยาทางภูมิคุมกัน                                       3(3-0-6)
                 (Immunopathology)
        550 220 ยาใหมและยาปจจุบัน                                            2(2-0-4)
                 (New Drugs and Current Drugs)
        550 222 เทคโนโลยีชีวภาพระดับโมเลกุลสําหรับเภสัชกร                      3(3-0-6)
                 (Molecular Biotechnology for Pharmacists)
        550 223 การควบคุมคุณภาพยา 3                                            4(2-6-4)
                 (Pharmaceutical Quality Control III)
        550 224 การควบคุมคุณภาพอาหารและเครื่องสําอาง                           4(3-3-6)
                 (Pharmaceutical Quality Control of Food and Cosmetics)
        550 225 การวิเคราะหยาในสารชีวภาพ                                      4(3-3-6)
                 (Biomedical Analysis)
        550 226 เภสัชเคมีวิเคราะหของสารโภชนบําบัด                             3(2-3-4)
                 (Pharmaceutical Chemistry Analysis of Dietotherapeutics)
        550 227 การตรวจสอบฤทธิ์กลายพันธุของยาและสารพิษในสิ่งแวดลอม           3(1-6-2)
                 (Mutation Evaluation of Drugs and Environmental Toxic Substances)
        550 228 เภสัชวิทยาระดับเซลลและโมเลกุลเบื้องตน                        3(3-0-6)
                 (Basic Cellular and Molecular Pharmacology)
        550 229 การทดลองทางเภสัชวิทยา                                          2(0-6-0)
                 (Experimental Pharmacology)
        550 230 เทคนิคการสกัดแยกสารทางเภสัชศาสตร                              3(2-3-4)
                 (Separation Technique in Pharmaceutical Sciences)
19

550 231 ยาสมุนไพรพื้นบาน                                 4(3-3-6)
        (Indigenous Medicines)
550 232 เกษตรเภสัชภัณฑ                                   4(3-3-6)
        (Agropharmaceutical Sciences)
550 233 เทคโนโลยีชีวภาพของพืชสมุนไพร                      3(2-3-4)
        (Biotechnology of Medicinal Plants)
550 234 ระบบนําสงยาแบบใหม                               2(2-0-4)
        (Novel Drug Delivery System)
550 235 วิทยาการเครื่องสําอาง                             4(2-6-4)
        (Cosmeticology)
550 236 การบริหารการผลิต                                  4(3-3-6)
        (Manufacturing Management)
550 237 ระบบควบคุมและประกันคุณภาพ                         4(3-3-6)
        (Quality Control and Quality Assurance Systems)
550 238 การเคลือบยาเม็ด                                   3(2-3-4)
        (Tablet Coating)
550 239 วิทยาการพอลิเมอรเบื้องตนทางเภสัชกรรม            2(2-0-4)
        (Introductory Polymer Sciences in Pharmacy)
550 240 อนามัยอุตสาหกรรม                                  4(3-3-6)
        (Industrial Hygiene)
550 301 ปญหาพิเศษของวิทยาการทางเภสัชศาสตร               3(2-3-4)
        (Special Problems in Pharmaceutical Sciences)
550 306 หัวขอปจจุบันของวิทยาการทางเภสัชศาสตร           2(2-0-4)
        (Current Topics in Pharmaceutical Sciences)
550 307 ชีวเภสัชศาสตรขั้นสูง                             3(3-0-6)
        (Advanced Biopharmacy)
550 322 การสังเคราะหยา                                   3(2-3-4)
        (Pharmaceutical Synthesis)
550 331 เภสัชบรรจุภัณฑ                                   2(2-0-4)
        (Pharmaceutical Packagings)
550 338 หลักการเคมีของยา                                  3(3-0-6)
        (Principle of Medicinal Chemistry)
550 340 การออกแบบโครงสรางยา                              4(3-3-6)
        (Drug Designs)
20

550 343 เภสัชวิทยาและพิษวิทยาขั้นสูง                                   3(3-0-6)
          (Advanced Pharmacology and Toxicology)
550 347 การวิจัยและพัฒนาพืชสมุนไพร                                     3(2-3-4)
          (Research and Development in Medicinal Plants)
550 349 การออกแบบและพัฒนาสูตรตํารับเภสัชภัณฑ                          4(2-6-4)
          (Pharmaceutical Formulation and Development)
550 355 เทคโนโลยีชีวภาพทางเภสัชศาสตร                                  3(2-3-4)
         (Pharmaceutical Biotechnology)
550 356 เภสัชวิทยาจีโนม                                                2(2-0-4)
        (Pharmacogenomics)
550 360 การประยุกตคอมพิวเตอรทางเภสัชศาสตร                           3(1-6-2)
        (Computerized Applications in Pharmaceutical Sciences)
550 370 การวิจัยและพัฒนาเภสัชภัณฑ                                     2(2-0-4)
          (Research and Development of Pharmaceutical Products)
550 371 การจัดการทางเภสัชศาสตร                                        2(2-0-4)
          (Management in Pharmaceutical Sciences)
550 372 การประกันคุณภาพทางเภสัชศาสตร                                  3(3-0-6)
          (Quality Assurance in Pharmaceutical Sciences)
552 107 เภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ตอจิตประสาท                         3(3-0-6)
         (Pharmacology of Neuropsychoactive Drugs)
552 108 ปฏิบัติการเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ตอจิตประสาท               1(0-3-0)
         (Pharmacology of Neuropsychoactive Drugs Laboratory)
552 109 เภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ตอระบบหัวใจและหลอดเลือด             2(2-0-4)
         (Pharmacology of Cardiovascular Drugs)
552 110 ปฏิบัติการเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ตอระบบหัวใจและหลอดเลือด    1(0-3-0)
         (Pharmacology of Cardiovascular Drugs laboratory)
552 111 เภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ตอระบบทางเดินอาหาร                    2(2-0-4)
         (Pharmacology of Gastrointestinal Drugs)
552 112 ปฏิบัติการเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ตอระบบทางเดินอาหาร          1(0-3-0)
         (Pharmacology of Gastrointestinal Drugs laboratory)
552 117 สัตวเภสัชภัณฑ                                                  2(2-0-4)
         (Veterinary Pharmaceutical Products)
552 118 ปฏิบัติการสัตวเภสัชภัณฑ                                        1(0-3-0)
         (Veterinary Pharmaceutical Products Laboratory)
21

   552 119 พิษวิทยาของภาวะแวดลอม                                      3(3-0-6)
             (Environmental Toxicology)
   552 220 ปฏิบัติการพิษวิทยาของภาวะแวดลอม                           1(0-3-0)
             (Environmental Toxicology Laboratory)
วิชาเลือกวิชาชีพกลุมสาขาเภสัชกรรมสารสนเทศ
   550 215 ระบาดวิทยาทางเภสัชศาสตร                                    3(2-3-4)
              (Pharmacoepidemiology)
   550 216 เศรษฐศาสตรดานยา                                           2(2-0-4)
              (Pharmacoeconomics)
   550 241 เภสัชศาสตรชุมชน                                            3(2-3-4)
              (Community Pharmacy)
   550 242 เภสัชศาสตรสาธารณสุข                                        3(2-3-4)
              (Public Health Pharmacy)
   550 243 เภสัชกรและสุขอนามัยชนบท                                     4(2-6-4)
              (Pharmacists and Rural Health Care)
   550 244 การตลาดและการเสนอแนะยา                                     3(2-3-4)
              (Drug Marketing and Detailing)
   550 360 การประยุกตคอมพิวเตอรทางเภสัชศาสตร                       3(1-6-2)
             (Computerized Applications in Pharmaceutical Sciences)
   550 362 บริการเภสัชสนเทศ                                           3(2-3-4)
              (Drug Information Services)
   550 363 การคุมครองผูบริโภคดานอาหารและยา                         3(2-3-4)
              (Consumer Protection in Foods and Drugs)
   550 364 ปญหาพิเศษทางเภสัชกรรมชุมชน                                3(2-3-4)
              (Special Problems in Community Pharmacy)
   550 368 การบริหารสาธารณสุข                                         3(2-3-4)
              (Public Health Administration)
   550 373 การสื่อสารกับสุขภาพ                                        3(1-6-2)
              (Communication and Health)
   550 374 การบริหารเภสัชกิจเชิงกลยุทธ                               3(2-3-4)
              (Strategy in Pharmacy Administration)
   550 375 การจัดการขอมูลทางเภสัชกรรม                                3(2-3-4)
              (Pharmaceutical Information Management)
22

 551 201 ระบบคอมพิวเตอรและการเขียนโปรแกรมเบื้องตนสําหรับ              3(2-2-5)
          สารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ
          (Introduction to Computers and Programming for Health Informatics)
 551 202 ระบบการจัดการฐานขอมูลสําหรับสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ            3(2-2-5)
         (Database Management System for Health Informatics)
 551 203 สถิติสําหรับสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ                            3(2-3-4)
         (Statistics for Health Informatics)
 551 204 การใชคอมพิวเตอรชวยในการคนหาและพัฒนายา                      2(2-0-4)
         (Computer-Aided Drug Discovery and Development)
 551 205 โครงสรางขอมูลและอัลกอริทึม                                   2(2-0-4)
          (Data Structure and Algorithms)
 551 206 เทคนิคการจําลอง                                                3(3-0-9)
          (Simulation Techniques)
 551 207 สารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ                                        2(2-0-4)
         (Health Informatics)
 551 208 การโปรแกรมคอมพิวเตอรสําหรับสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ            3(2-2-5)
          (Computer Programming for Health Informatics)
 551 209 การพัฒนาอินเตอรเน็ตเว็บไซต                                   3(2-2-5)
            (Internet Web Site Development)
 551 210 การพัฒนาอินเตอรเน็ตเว็บไซตขั้นสูง                            3(2-2-5)
            (Advanced Internet Web Site Development)
551 211 ซอฟทแวรแบบเปดเผยการโปรแกรมสําหรับสารสนเทศศาสตร
          ทางสุขภาพ                                                     3(2-2-5)
            (Open Source Software for Health Informatics)
551 212 ปญหาพิเศษทางสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ 1                          1(0-3-0)
            (Special problem in health informatics 1)
551 213 ปญหาพิเศษทางสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ 2                          3(2-2-5)
           (Special problem in health informatics 2)
551 214 การประยุกตคอมพิวเตอรทางสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ                3(2-2-5)
          (Computer Application in Health Informatics)
23

     นักศึกษาเภสัชศาสตรอาจเลือกวิชาเลือกวิชาชีพในกลุมสาขาอื่น ๆ ที่เอื้อตอการปฏิบัติงานวิชาชีพ
เภสัชกรรมไดโดยไดรับความเห็นชอบจากคณะวิชา

      3. หมวดวิชาเลือกเสรี จํานวนไมนอยกวา 6 หนวยกิต
         ใหเลือกรายวิชาใดวิชาหนึ่งที่มีการเปดสอนโดยคณะวิชาตาง ๆ ทุกคณะวิชาในมหาวิทยาลัย
ศิลปากร และหรือนอกมหาวิทยาลัย หรือนอกประเทศตามกําหนด หากนักศึกษาเลือกศึกษารายวิชา
ของคณะวิชาในกลุมวิชาเลือกของหมวดวิชาเฉพาะดาน จะตองนําไปคิดคาระดับเฉลี่ยรวมกับกลุมวิชา
วิทยาศาสตรสุขภาพ กลุมวิชาแกนวิชาชีพ และกลุมสาขา เพื่อตรวจสอบเงื่อนไขการสําเร็จการศึกษา
                         
ดังกําหนดไวในเงื่อนไขสําเร็จการศึกษาเภสัชศาสตร
24

17.4 แผนการศึกษา
             ทั้งนี้อาจมีการปรับเปลี่ยนไดตามความเหมาะสมตามสถานภาพและแนวโนมการ
เปลี่ยนแปลงของสาขาวิชาชีพ เปนดังนี้

                 แผนการศึกษาหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต
                        ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

 รหัสวิชา                       ชื่อรายวิชา                 จํานวนหนวยกิต
 080 176    ภาษากับการสื่อสาร                                   3(3-0-6)
 080 …      ภาษาตางประเทศ 1                                    3(2-2-5)
 511 103    คณิตศาสตรสําหรับนักศึกษาวิทยาศาสตรชีวภาพ          3(3-0-6)
 512 101    ชีววิทยาทั่วไป 1                                    3(3-0-6)
 512 103    ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป 1                          1(0-3-0)
 513 101    เคมีทั่วไป 1                                        3(3-0-6)
 514 101    ฟสิกสทั่วไป 1                                     3(3-0-6)
 550 151    เภสัชนิเทศ                                          1(1-0-2)
                               รวมหนวยกิต                         20

                           ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

 รหัสวิชา                       ชื่อรายวิชา                 จํานวนหนวยกิต
 080 …      ภาษาตางประเทศ 2                                    3(2-2-5)
 512 102    ชีววิทยาทั่วไป 2                                    3(3-0-6)
 512 102    ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป 2                          1(0-3-0)
 513 102    เคมีทั่วไป 2                                        3(3-0-6)
 514 102    ฟสิกสทั่วไป 2                                     3(3-0-6)
 514 105    ปฏิบัติการฟสิกสสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร         1(0-3-0)
 515 203    สถิติสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร                     3(2-2-5)
 550 102    ปฏิบัติการพื้นฐานทางเภสัชศาสตร                     1(0-3-0)
 563 251    พื้นฐานสาธารณสุข                                    2(2-0-4)
                                รวมหนวยกิต                        20
25


                         ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา                   ชื่อรายวิชา              จํานวนหนวยกิต
513 220    เคมีฟสิกัล                                  3(3-0-6)
513 250    เคมีอินทรีย                                 3(3-0-6)
550 153    หลักการออกแบบทางเภสัชศาสตร                  2(1-3-2)
550 155    ภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 1       3(2-2-5)
561 101    ชีวเภสัชศาสตร 1                             2(2-0-4)
561 131    ปฏิบัติการชีวเภสัชศาสตร 1                   1(0-3-0)
564 111    เภสัชเคมี 1                                  1(1-0-2)
564 121    ปฏิบัติการเภสัชเคมี 1                        1(0-3-0)
 … …       วิชาเลือกในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป                  2
                               รวมหนวยกิต                 18

                         ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา                     ชื่อรายวิชา            จํานวนหนวยกิต
550 158    ภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 2       3(2-2-5)
561 102    ชีวเภสัชศาสตร 2                             2(2-0-4)
561 201    ชีวเภสัชศาสตร 3                             3(3-0-6)
561 231    ปฏิบัติการชีวเภสัชศาสตร 3                   1(0-3-0)
563 254    การบริหารเภสัชกิจเบื้องตน 1                 2(2-0-4)
564 131    การควบคุมคุณภาพยา 1                          3(3-0-6)
564 132    ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพยา 1                2(0-6-0)
567 221    เทคโนโลยีเภสัชกรรม 1                         2(2-0-4)
567 261    ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 1               1(0-3-0)
 … …       วิชาเลือกในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป                  2
                              รวมหนวยกิต                  21
26


                          ปที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา                    ชื่อรายวิชา                จํานวนหนวยกิต
561 202    ชีวเภสัชศาสตร 4                                2(2-0-4)
561 204    พื้นฐานชีววิทยาระดับโมเลกุลสําหรับเภสัชกร       1(1-0-2)
561 232    ปฏิบัติการชีวเภสัชศาสตร 4                      1(0-3-0)
564 231    การควบคุมคุณภาพยา 2                             3(3-0-6)
564 233    ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพยา 2                   1(0-3-0)
565 241    เภสัชวิทยา 1                                    3(3-0-6)
565 261    ปฏิบัติการเภสัชวิทยา 1                          1(0-3-0)
566 111    เภสัชเวท 1                                      3(3-0-6)
566 121    ปฏิบัติการเภสัชเวท 1                            1(0-3-0)
567 222    เทคโนโลยีเภสัชกรรม 2                            3(3-0-6)
567 262    ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 2                  1(0-3-0)
                              รวมหนวยกิต                     20

                          ปที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา                    ชื่อรายวิชา                จํานวนหนวยกิต
561 203    ชีวเภสัชศาสตร 5                                4(4-0-8)
561 233    ปฏิบัติการชีวเภสัชศาสตร 5                      1(0-3-0)
562 321    ชีวเภสัชกรรมและเภสัชจลนพลศาสตร                 3(3-0-6)
565 242    เภสัชวิทยา 2                                    4(4-0-8)
566 211    เภสัชเวท 2                                      2(2-0-4)
566 221    ปฏิบัติการเภสัชเวท 2                            1(0-3-0)
567 223    เทคโนโลยีเภสัชกรรม 3                            3(3-0-6)
567 263    ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 3                  1(0-3-0)
                              รวมหนวยกิต                     19
27


                          ปที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา                      ชื่อรายวิชา            จํานวนหนวยกิต
080 122    จริยธรรมในการประกอบวิชาชีพ                    2(2-0-4)
080 144    หลักการวิจัยเบื้องตน                         2(2-0-4)
550 251    ประสบการณวิชาชีพ 1                           1(0-3-0)
550 332    นิติเภสัช                                     1(1-0-2)
561 211    ชีววัตถุ                                      2(2-0-4)
562 361    เภสัชกรรมปฏิบัติ                              4(3-3-6)
564 211    เภสัชเคมี 2                                   3(3-0-6)
565 352    เภสัชบําบัด 1                                 3(3-0-6)
567 224    เทคโนโลยีเภสัชกรรม 4                          2(2-0-4)
567 264    ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 4                1(0-3-0)
                                รวมหนวยกิต                 21

                          ปที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา                     ชื่อรายวิชา             จํานวนหนวยกิต
550 359    คอมพิวเตอรทางเภสัชกรรม                       3(2-3-4)
550 366    เภสัชบําบัด 2                                 4(3-3-6)
563 255    การบริหารเภสัชกิจเบื้องตน 2                  2(1-3-2)
564 212    เภสัชเคมี 3                                   4(4-0-8)
565 243    พิษวิทยา                                      2(2-0-4)
565 263    ปฏิบัติการพิษวิทยา                            1(0-3-0)
567 225    เทคโนโลยีเภสัชกรรม 5                          2(2-0-4)
           วิชาเลือกวิชาชีพ                                 4
                              รวมหนวยกิต                   22
28

                              ปที่ 5 ภาคการศึกษาที่ 1

 รหัสวิชา                      ชื่อรายวิชา                           จํานวนหนวยกิต
 550 351      ประสบการณวิชาชีพ 2                                        3(0-9-0)
 550 361      การสัมมนาทางเภสัชศาสตร                                    1(0-3-0)
 550 367      เภสัชบําบัด 3                                              4(3-3-6)
 550 399      จุลนิพนธ                                                  1(0-3-0)
              วิชาเลือกวิชาชีพ                                              7
              วิชาเลือกเสรี                                                 6
                                                                            22

                              ปที่ 5 ภาคการศึกษาที่ 2

 รหัสวิชา                     ชื่อรายวิชา                            จํานวนหนวยกิต
 550 352      ประสบการณวิชาชีพ 3                                       5(0-15-0)

                                  รวมหนวยกิต                               5

การเทียบฐานะชั้นปของนักศึกษา
ใหเทียบฐานะชั้นปโดยหลักการของนักศึกษาเภสัชศาสตร จากจํานวนหนวยกิตที่สอบไดตาม
อัตราสวนของหนวยกิตรวมของหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต ดังนี้
 - นักศึกษาที่มีจํานวนหนวยกิตสอบไดต่ํากวา 32 หนวยกิต ใหเทียบฐานะเปนนักศึกษาเภสัชศาสตร
   ชั้นปที่ 1
 - นักศึกษาที่มีจํานวนหนวยกิตสอบไดตั้งแต 32 หนวยกิตขึ้นไป แตต่ํากวา 64 หนวยกิตใหเทียบ
   ฐานะเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรชั้นปที่ 2
 - นักศึกษาที่มีจํานวนหนวยกิตสอบไดตั้งแต 64 หนวยกิตขึ้นไป แตต่ํากวา 96 หนวยกิต ใหเทียบ
   ฐานะเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรชั้นปที่ 3
 - นักศึกษาที่มีจํานวนหนวยกิตสอบไดตั้งแต 96 หนวยกิตขึ้นไป แตต่ํากวา 128 หนวยกิต ใหเทียบ
   ฐานะเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรชั้นปที่ 4
 - นักศึกษาที่มีจํานวนหนวยกิตสอบไดตั้งแต 128 หนวยกิตขึ้นไป ใหเทียบฐานะเปน
   นักศึกษาเภสัชศาสตรชั้นปที่ 5
อนึ่ง การกําหนดเทียบสถานะของชั้นปของนักศึกษาเภสัชศาสตรมิไดหมายความครอบคลุม
ถึงเงื่อนไขการลงทะเบียนเรียนรายวิชาดังกําหนดไวในแผนการศึกษาและหลักสูตร
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

More Related Content

Viewers also liked

Gpa online secreatary of department
Gpa online secreatary of departmentGpa online secreatary of department
Gpa online secreatary of departmenttanong2516
 
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015Utai Sukviwatsirikul
 
Site Visit Presentation on Hospital Information Systems
Site Visit Presentation on Hospital Information SystemsSite Visit Presentation on Hospital Information Systems
Site Visit Presentation on Hospital Information SystemsNawanan Theera-Ampornpunt
 
Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334Aimmary
 
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05Utai Sukviwatsirikul
 
Survivor NT step2 SIRIRAJ book 2
Survivor NT step2 SIRIRAJ book 2Survivor NT step2 SIRIRAJ book 2
Survivor NT step2 SIRIRAJ book 2vora kun
 
Survivor NT step2 SIRIRAJ book 1
Survivor NT step2 SIRIRAJ book 1Survivor NT step2 SIRIRAJ book 1
Survivor NT step2 SIRIRAJ book 1vora kun
 
Survival for all draft 1 - 3
Survival for all draft 1  - 3Survival for all draft 1  - 3
Survival for all draft 1 - 3Domo Kwan
 

Viewers also liked (8)

Gpa online secreatary of department
Gpa online secreatary of departmentGpa online secreatary of department
Gpa online secreatary of department
 
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015
 
Site Visit Presentation on Hospital Information Systems
Site Visit Presentation on Hospital Information SystemsSite Visit Presentation on Hospital Information Systems
Site Visit Presentation on Hospital Information Systems
 
Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334
 
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
 
Survivor NT step2 SIRIRAJ book 2
Survivor NT step2 SIRIRAJ book 2Survivor NT step2 SIRIRAJ book 2
Survivor NT step2 SIRIRAJ book 2
 
Survivor NT step2 SIRIRAJ book 1
Survivor NT step2 SIRIRAJ book 1Survivor NT step2 SIRIRAJ book 1
Survivor NT step2 SIRIRAJ book 1
 
Survival for all draft 1 - 3
Survival for all draft 1  - 3Survival for all draft 1  - 3
Survival for all draft 1 - 3
 

Similar to หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน
หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านหลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน
หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านWuttipong Karun
 
ปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตรปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตรkrutep
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐานtassanee chaicharoen
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51krupornpana55
 
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552tanong2516
 
ส่วนหน้าแผนสื่อประสม
ส่วนหน้าแผนสื่อประสมส่วนหน้าแผนสื่อประสม
ส่วนหน้าแผนสื่อประสมkrupornpana55
 
8 กระบวนพัฒน์
8 กระบวนพัฒน์8 กระบวนพัฒน์
8 กระบวนพัฒน์krutukSlide
 
Mko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาMko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาNanzzy Sutthanont
 
โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56krupornpana55
 
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาเนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาNattaka_Su
 
Khon Kaen University TQF Process 2011
Khon Kaen University TQF Process 2011Khon Kaen University TQF Process 2011
Khon Kaen University TQF Process 2011Denpong Soodphakdee
 
ระเบียบ1
ระเบียบ1ระเบียบ1
ระเบียบ1chuvub
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์Jutatip Ni
 

Similar to หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม (20)

หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน
หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านหลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน
หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน
 
ปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตรปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตร
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
 
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
 
ส่วนหน้าแผนสื่อประสม
ส่วนหน้าแผนสื่อประสมส่วนหน้าแผนสื่อประสม
ส่วนหน้าแผนสื่อประสม
 
8 กระบวนพัฒน์
8 กระบวนพัฒน์8 กระบวนพัฒน์
8 กระบวนพัฒน์
 
Qa 3
Qa 3Qa 3
Qa 3
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
Mko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาMko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยา
 
Standard54
Standard54Standard54
Standard54
 
โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56
 
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาเนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
 
Khon Kaen University TQF Process 2011
Khon Kaen University TQF Process 2011Khon Kaen University TQF Process 2011
Khon Kaen University TQF Process 2011
 
ระเบียบ1
ระเบียบ1ระเบียบ1
ระเบียบ1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8a
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8aแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8a
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8a
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์
 
ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55
 

หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

  • 1.
  • 2. 1 สารบาญ หนา ชื่อหลักสูตร 2 ชื่อปริญญา 2 หนวยงานรับผิดชอบ 2 ปรัชญาและวัตถุประสงคของหลักสูตร 2 กําหนดการเปดสอน 4 คุณสมบัติผูเขาศึกษา 4 การคัดเลือกผูเขาศึกษา 4 ระบบการศึกษา 4 ระยะเวลาศึกษา 5 การลงทะเบียนเรียน 5 การวัดผลและการสําเร็จการศึกษา 5 อาจารยผูสอน 6 จํานวนนักศึกษา 6 สถานที่และอุปกรณการศึกษา 6 หองสมุด 6 งบประมาณ 7 หลักสูตร 7 - จํานวนหนวยกิตลอดหลักสูตร 7 - โครงสรางหลักสูตร 7 - รายวิชา 7 - แผนการศึกษา 23 - คําอธิบายรายวิชา 28 การประกันคุณภาพการศึกษา 111 เหตุผลของการปรับปรุงหลักสูตร 111 ปการศึกษาที่เริ่มใชหลักสูตรเดิมและปการศึกษาที่กําหนดใหใชหลักสูตรปรับปรุงใหม 111 การเปรียบเทียบหลักสูตรเดิมและหลักสูตรปรับปรุง 112 ภาคผนวก - ภาคผนวก ก. 113 - ภาคผนวก ข. 140
  • 3. 2 หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง ฉบับป พ.ศ.2546 คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร 1. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Pharmacy Program 2. ชื่อปริญญา ชื่อเต็มภาษาไทย : เภสัชศาสตรบัณฑิต ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Bachelor of Pharmacy ชื่อยอภาษาไทย : ภ.บ. ชื่อยอภาษาอังกฤษ : B.Pharm. 3. หนวยงานที่รับผิดชอบ คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร 4. ปรัชญาและวัตถุประสงคของหลักสูตร การศึกษาเภสัชศาสตร มีจุดมุงหมายหลักในการใหการศึกษา เรียนรู และพัฒนากุลบุตร กุลธิดา ใหเปนบัณฑิตที่พรอมดวย คุณธรรม สติปญญา ความคิด ความรู ความสามารถ และ รับผิดชอบ เห็นการณไกลในการประกอบสัมมาชีวะแหงวิชาชีพเภสัชกรรม รวมทั้งเหมาะสมสอดคลอง กับแผนพัฒนาสาธารณสุข แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา และสภาพปญหาสังคมไทย วิชาชีพทางเภสัชศาสตร เปนวิชาชีพที่เกี่ยวเนื่องดวยศิลปวิทยาการและวิทยาศาสตรของการ เสาะแสวงหา การประดิษฐสารจากแหลงกําเนิดตามธรรมชาติหรือสารที่สังเคราะหขึ้นเปนยาสําเร็จรูป ในรูปแบบตาง ๆ เพื่อใหมีความเหมาะสมและสะดวกในการแจกจายและใชเพื่อบําบัด บรรเทา ปองกัน พิเคราะหโรค และสรางเสริมสุขภาพ วิชาชีพนี้ครอบคลุมเนื้อหาวิชาการของการกําหนดจดจํา เอกลักษณและการตรวจพิสูจน การเลือกสรรฤทธิ์หรือสรรพคุณของยา การเก็บถนอมรักษายามิให เสื่อมคุณภาพ การปรุง การผสม การวิเคราะห และทําใหไดมาตรฐานตามกําหนดของยาและ เวชภัณฑ การวิจัยและพัฒนาสูตรตํารับและเทคโนโลยีการผลิตยา อีกทั้งยังครอบคลุมถึงการแจกจาย การติดตามผล การประเมิน การทบทวน และการเลือกใชอยางถูกตองปลอดภัยโดยเหมาะสม ไมวา จะเปนการจายตามใบสั่งใชยาของผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือผูประกอบโรคศิลปะอื่นใด รวมทั้ง สัตวแพทย หรือจะเปนการจายใหโดยตรง หรือขาย หรือใหบริการ ดานความรูแกผูบริโภคภายใต กรอบบัญญัติแหงกฎหมายและนิติธรรม อีกทั้งตองตามจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ
  • 4. 3 ในปจจุบัน ภารกิจอันใหญหลวงของวิชาชีพเภสัชกรรมไมอาจที่จะกระทําใหสําเร็จไดโดยเภสัชกร เพียงคนเดียว ภารกิจเหลานี้จะสําเร็จลงไดก็ดวยเภสัชกรจากหลาย ๆ ฝายรวมกันทําหนาที่ของตน ดังนั้น วัตถุประสงคของการศึกษาจึงเนนหนักเนื้อหาวิทยาการของภารกิจและพันธกิจหลักทั้งสิ้นทั้ง มวลของเภสัชกร ตลอดจนความสัมพันธของภารกิจหลักของเภสัชกรที่มีตอระบบบริการสาธารณสุข และแนวนโยบายแหงชาติทางดานยา รวมทั้งเปนการศึกษาเพื่อเพิ่มพูนประสบการณตาง ๆ ใหมากขึ้น ดวยเหตุนี้ วัตถุประสงคและจุดมุงหมายของการศึกษาเภสัชศาสตรในมหาวิทยาลัยศิลปากรจึง เสนอเปนลําดับไดดังนี้ 1. วัตถุประสงคทั่วไป : นักศึกษาเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ควรมีลักษณะทั่วไปดังนี้ 1.1 มีความรูและเขาใจ ปญหาสาธารณสุขของประเทศ ตลอดจนตระหนักถึงบทบาทของเภสัชกรที่ ตองมีสวนรวมในการแกปญหานั้น ๆ และรวมไปกับบุคลากรสาขาอื่นที่เกี่ยวของ 1.2 มีความรอบรูในศิลปวิทยาตาง ๆ สมกับเปนเภสัชกรที่ดี ที่เพียบพรอมดวยคุณธรรม ยึดมั่นใน จรรยาบรรณแหงวิชาชีพ มีมนุษยสัมพันธอันดี รวมทั้งมีความรับผิดชอบตอหนวยงาน สังคม และประเทศชาติ และสามารถประยุกตความรู ทั้งในดานวิชาชีพและนอกวิชาชีพเพื่อบริการ ประชาชนดานสุขภาพอนามัยอยางมีประสิทธิภาพ เปยมประสิทธิผล 1.3 มีความเขาใจวา "วิชาชีพเภสัชกรรม" เปนวิชาชีพที่ตองเรียนรูใฝศึกษาติดตอกันไปตลอดชีวิต เยี่ยงวิชาชีพอื่น ๆ และมีความสามารถพอที่จะศึกษาคนควาดวยตนเองตอไปได 1.4 มีความสามารถวิเคราะหและปรับปรุงตนเองใหเหมาะสมกับสถานการณ เมื่อรวมทํางานกับ ผูอื่นทั้งในฐานะผูนําและผูรวมงาน 1.5 มีความตระหนักรูซึ้งถึงความจําเปนในการพัฒนาคุณภาพ ทั้งของตนเอง ของวิทยาการ และ ของวิชาชีพ ใหสามารถปฏิบัติกิจกรรมที่รองรับและกําหนดไวตามพันธกิจและภารกิจ เพื่อ บรรลุวัตถุประสงคและเจตนารมณที่กําหนดไวเปนหลักฐานแหงบุคลากรในสายวิชาชีพ และใน การคุมครองผูบริโภคทั้งในระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ หรือในระดับที่สูงขึ้นไปอีกตาม ทิศทางและแนวโนมการพัฒนาที่จักดําเนินตอไป 2. วัตถุประสงคเฉพาะ : นักศึกษาเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ควรเปนผูมีความรู ความสามารถดานวิชาการดังนี้ 2.1 การเสาะแสวงหา ปรุง ผสม และประดิษฐวัตถุใด ๆ ขึ้นเปนยาที่มีลักษณะดี เหมาะสม 2.2 การควบคุมมาตรฐานของยา ใหมีคุณภาพและปลอดภัยถูกตองตามหลักวิชาการและมาตรฐาน 2.3 การจําแนกประเภท หมวดหมูของยา เพื่อประโยชนในการใช การเก็บรักษา การผลิต และการ จําแนกตามฤทธิ์หรือสรรพคุณของยา 2.4 การใหบริการและคําแนะนําเกี่ยวกับยาใด ๆ อยางถูกตอง ตามหลักวิชาการ ประหยัด ปลอดภัย เปนที่ยอมรับแกผูรับบริการ อันไดแกผูประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ผูประกอบโรค ศิลปะอื่น ๆ รวมทั้งประชาชนทั่วไป 2.5 การไตรตรองวินิจฉัยผลของยาที่มีตอรางกาย ทั้งในดานเปนคุณและเปนพิษ รวมทั้งการติดตาม ประเมินผลการใชยาในลักษณะตาง ๆ
  • 5. 4 2.6 เขาใจอาการของโรคบางอยางที่ปรากฏมากในประเทศ และมีความสามารถที่จะดําเนิน การตามขั้นตอน เพื่อชวยเหลือเยียวยา หรือคัดเลือกผูปวยสงตอโรงพยาบาลได 2.7 การเลือกสรรยา เพื่อใชใหเหมาะสมกับเศรษฐภาวะและอาการของโรคได 2.8 การใหการศึกษา ฝกอบรม แพรกระจายขาวสารความรูเรื่องยาการสงเสริมสุขภาพ การ ปองกันโรค และการชวยเหลือตนเองแกประชาชนและเจาหนาที่อื่น ๆ เพื่อสนับสนุนการ สาธารณสุขมูลฐานและการคุมครองประโยชนผูบริโภค 2.9 การจัดการ บริหาร วางแผน ตลอดจนการกําหนดนโยบายตาง ๆ ทั้งที่เกี่ยวของกับงานเภสัช กรรมโดยตรง และงานอื่น ๆ ที่สัมพันธกัน 2.10 การวิจัยและพัฒนาเบื้องตนดานเทคโนโลยีเภสัชกรรม เพื่อการพึ่งพาตนเองไดมากที่สุด โดย ไดเภสัชภัณฑที่มีคุณคา คุณภาพและมาตรฐานตามเกณฑมาตรฐานสากล 5. กําหนดการเปดสอน เริ่มเปดสอนตั้งแตภาคการศึกษาตน ปการศึกษา 2546 6. คุณสมบัติผูเขาศึกษา 6.1 เปนผูสําเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา และ/หรือ 6.2 มีคุณสมบัติครบถวนตามขอบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากรวาดวยการศึกษาระดับปริญญา บัณฑิต พ.ศ.2537 หรือ 6.3 ผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีดานตางๆใหสามารถ เขาศึกษาในหลักสูตรนี้ไดตามกระบวนการและขั้นตอนการคัดเลือกเขาศึกษา มีสิทธิ์ไดรับการ พิจารณาเทียบโอนและ/หรือยกเวนรายวิชาและหนวยกิต ทั้งนี้จํานวนรายวิชาและหนวยกิตที่ ไดรับการเทียบโอนและ/หรือยกเวน จะเปนไปตามธรรมชาติของสาขาที่สําเร็จการศึกษามา กอน แตรวมแลวจะตองมีระยะเวลาศึกษาตามหลักสูตรไมนอยกวา 6 ภาคการศึกษาปกติ หรือ 3 ปการศึกษาปกติ 7. การคัดเลือกผูเขาศึกษา เปนไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยศิลปากรและของทบวงมหาวิทยาลัยและตามลักษณะจําเพาะ ของคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยผานการสอบคัดเลือกของทบวงมหาวิทยาลัย หรือ ผานการสอบคัดเลือกตามโครงการรับสมัครโควตาพิเศษ โครงการพิเศษของกระทรวงมหาดไทย และ หรือหนวยงานโครงการอื่นใดเปนกรณีพิเศษ 8. ระบบการศึกษา 8.1 การจัดการศึกษาใชระบบหนวยกิตทวิภาค โดยหนึ่งปการศึกษาแบงออกเปน 2 ภาค การศึกษาปกติ หนึ่งภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไมนอยกวา 15 สัปดาห 8.2 การคิดหนวยกิต 8.2.1 รายวิชาบรรยาย 1 หนวยกิตเทากับ 1 ชั่วโมงตอสัปดาห 8.2.2 รายวิชาปฏิบัติการ 1 หนวยกิตเทากับ 2-3 ชั่วโมงตอสัปดาห
  • 6. 5 8.2.3 รายวิชาฝกงาน 1 หนวยกิต ไมนอยกวา 45 ชั่วโมง ตอภาคการศึกษาปกติ 8.2.4 การทํางานโครงงาน 1 หนวยกิต ไมนอยกวา 45 ชั่วโมงตอภาคการศึกษาปกติ 8.3 เกณฑในการกําหนดหนวยกิต ในแตละรายวิชากําหนดเกณฑในการกําหนดคาของหนวยกิตจากจํานวนชั่วโมงบรรยาย (บ) ชั่วโมงปฏิบัติ (ป) และชั่วโมงที่นักศึกษาตองศึกษาดวยตนเองนอกเวลาเรียน (น) ตอ 1 สัปดาห แลว หารดวย 3 ซึ่งมีวิธีคิดดังนี้ จํานวนหนวยกิต = บ+ป+น 3 การเขียนหนวยกิตในรายวิชาตางๆ ประกอบดวยตัวเลขสี่ตัวคือ ตัวแรกอยูนอกวงเล็บ เปนจํานวนหนวยกิตของรายวิชานั้น ตัวที่สอง สาม และสี่ อยูในวงเล็บ บอกจํานวนชั่วโมงบรรยาย ปฏิบัติ และศึกษาดวยตนเองนอกเวลาเรียน ตามลําดับ เชน 2(2-0-4) เลข 2 นอกวงเล็บ หมายถึง จํานวนหนวยกิต ตัวเลขในวงเล็บ เลข 2 หมายถึง จํานวนชั่วโมงบรรยาย เลข 0 หมายถึง จํานวน ชั่วโมงปฏิบัติและเลข 4 ตัวหลัง หมายถึง จํานวนชั่วโมงที่นักศึกษาตองศึกษาดวยตนเองนอกเวลาเรียน 9. ระยะเวลาการศึกษา ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร 5 ป ทั้งนี้ไมเกิน 10 ป 10. การลงทะเบียนเรียน การลงทะเบียนเรียนใหเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากร วาดวยการศึกษาระดับปริญญา บัณฑิต พ.ศ.2537 และ/หรือที่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงภายหลัง โดยนักศึกษาลงทะเบียนเรียน ไดไมนอยกวา 12 หนวยกิต และไมเกิน 22 หนวยกิต ในภาคการศึกษาปกติ สวนในภาคการศึกษา พิเศษฤดูรอนลงทะเบียนไดไมเกิน 9 หนวยกิต ยกเวนกรณีที่นักศึกษาเหลือจํานวนหนวยกิตตาม หลักสูตรนอยกวา 12 หนวยกิตใหลงทะเบียนเรียนไดตามจํานวนหนวยกิตที่เหลือ 11. การวัดผลและการสําเร็จการศึกษา 11.1 การวัดผลการศึกษาใหเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากร วาดวยการศึกษาระดับ ปริญญาบัณฑิต พ.ศ.2537 และ/หรือที่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงภายหลัง 11.2 การสําเร็จการศึกษา ผูสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต ตองมีคุณสมบัติดังนี้ 11.2.1 สอบไดหนวยกิตสะสมครบตามหลักสูตรที่เขาศึกษาภายในระยะเวลาไมเกิน 2 เทาของ เวลาการศึกษาตามหลักสูตร 11.2.2 ไดคาระดับเฉลี่ยสะสมไมนอยกวา 2.00 11.2.3 ไดคาระดับเฉลี่ยสะสมเฉพาะวิชาของคณะเภสัชศาสตร ไมนอยกวา 2.00 “เฉพาะวิชาของคณะเภสัชศาสตร” หมายถึง “รายวิชาที่ใชรหัสของคณะเภสัชศาสตร รวมถึงรายวิชาใด ๆ ซึ่งจัดสอนโดยคณะเภสัชศาสตร และภาควิชาในคณะเภสัชศาสตรสําหรับ นักศึกษาเภสัชศาสตรโดยเฉพาะ”
  • 7. 6 11.2.4 ตองผานการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดวยระดับการประเมินเปนที่พอใจ ไมนอยกวา 500 ชั่วโมงปฏิบัติการและจะตองทําจุลนิพนธตามแผนการเรียนการสอนแบบโครงการอีก ไมนอยกวา 45 ชั่วโมงปฏิบัติการ 12. อาจารยผูสอน รายชื่อคณาจารยประจําหลักสูตร (ภาคผนวก ก) 13. จํานวนนักศึกษา ชั้นปที่ จํานวนนักศึกษา (คน) ป 2546 ป 2547 ป 2548 ป 2549 ป 2550 ชั้นปที่ 1 180 180 180 180 180 ชั้นปที่ 2 - 180 180 180 180 ชั้นปที่ 3 - - 180 180 180 ชั้นปที่ 4 - - - 180 180 ชั้นปที่ 5 - - - - 180 รวม 180 360 540 720 900 จํานวนที่คาดวาจะสําเร็จการศึกษา - - - - 180 14. สถานที่และอุปกรณการสอน 14.1 สถานที่ คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะตาง ๆ ของมหาวิทยาลัยศิลปากร ที่มี รายวิชาบรรจุในหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต โรงพยาบาล สถานบริการสาธารณสุขระดับ ตาง ๆ โรงงานอุตสาหกรรม และหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของกับงานและวิชาชีพเภสัชกรรม ทั้ง ภาครัฐและภาคเอกชน ทั้งนี้การศึกษานอกสถานที่เพื่อเสริมทักษะและประสบการณการเรียนรู ของนักศึกษาใหสามารถทําไดโดยเสนอขออนุมัติคณะวิชาเปนกรณี ๆ ไป 14.2 อุปกรณการสอน อุปกรณและครุภัณฑการศึกษาของคณะวิชาและหนวยงานตาง ๆ ดัง กลาวขางตน 15. หองสมุด หนังสือ ตํารา วารสาร และเอกสารวิชาการตาง ๆ ใชบริการจากสํานักหอสมุด มหาวิทยาลัย ศิลปากร หองเอกสารอางอิงทางเภสัชศาสตร “ประโชติ เปลงวิทยา” และหนวยงานที่เกี่ยวของอื่น ๆ รวมถึงระบบฐานขอมูล ระบบเครือขายสารสนเทศ ของคณะเภสัชศาสตร และของมหาวิทยาลัยอีกดวย ปจจุบันสํานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร มีหนังสือและ วารสารที่ใชประกอบการสอนเภสัชศาสตร ดังนี้ หนังสือ ภาษาไทย ประมาณ 2,165 ชื่อ ภาษาอังกฤษ ประมาณ 2,870 ชื่อ วารสาร ภาษาไทย ประมาณ 30 ชื่อ ภาษาอังกฤษ ประมาณ 60 ชื่อ
  • 8. 7 ฐานขอมูล 1. ฐานขอมูลที่หอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร บอกรับ จํานวน 2 ฐานขอมูล ไดแก 1.1 ฐานขอมูล Sciences Direct 1.2. ฐานขอมูล H.W. ไดแก 1.2.1 ฐานขอมูล Applied Science & Technology 1.2.2 ฐานขอมูล Fulltext General Science Abstracts Fulltext 1.2.3 ฐานขอมูล CAB Abstract 2. ฐานขอมูลที่ทบวงมหาวิทยาลัย รวมกับ ThaiLIS (Thai Library Integrated System) บอกรับ จํานวน 2 ฐานขอมูล ไดแก 2.1 ฐานขอมูล MEDLINE 2.2 ฐานขอมูล Dissertation Abstracts Online (DAO) นอกจากนี้ยังมีฐานขอมูลสารสนเทศทางเภสัชศาสตรและที่เกี่ยวของ ไมนอยกวา 1,482 พันลานตัวอักษร (1,482 Gigabytes) และกําลังพัฒนาเขาสูการสนับสนุนระดับ 10 พันพันลานตัวอักษร (10 Terabytes) ภายในป พ.ศ.2550 (ของคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร และสถาบัน เครือขายความรวมมือทางเภสัชศาสตร) 16. งบประมาณ 16.1 งบประมาณสนับสนุนจากงบประมาณแผนดินที่ไดรับการจัดสรร และงบประมาณแผนดิน ตามที่จะไดรับการจัดสรรประจําปตามแผนงาน 16.2 งบประมาณของคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ทั้งนี้โดยใชหลักการของการจัดสรรและการใชสอยทรัพยากรรวมกัน 17. หลักสูตร 17.1 จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา 188 หนวยกิต 17.2 โครงสรางหลักสูตร 17.2.1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไมนอยกวา 30 หนวยกิต 17.2.2 หมวดวิชาเฉพาะ ไมนอยกวา 152 หนวยกิต กลุมวิชาพื้นฐานวิชาชีพ 30 หนวยกิต กลุมวิชาเฉพาะดาน ไมนอยกวา 122 หนวยกิต 17.2.3 หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา 6 หนวยกิต 17.3 รายวิชา รหัสวิชากําหนดใชเปนเลข 6 หลักโดยแบงเลขออกเปนสองกลุม กลุมละสามหลักโดยเวน วรรคหนึ่งชวง ระหวางสามหลักแรก และสามหลักหลัง กําหนดใหสามหลักแรกเปนเลขประจํา หนวยงานที่รับผิดชอบรายวิชานั้น เชน 080 มหาวิทยาลัยศิลปากร 511 ภาควิชาคณิตศาสตร คณะวิทยาศาสตร
  • 9. 8 512 ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร 513 ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร 514 ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร 515 สาขาวิชาสถิติ ภาควิชาคณิตศาสตร คณะวิทยาศาสตร 550, 554 คณะเภสัชศาสตร 561 ภาควิชาชีวเภสัชศาสตร 562 ภาควิชาเภสัชกรรม 563 ภาควิชาเภสัชกรรมชุมชน 564 ภาควิชาเภสัชเคมี 565 ภาควิชาเภสัชวิทยาและพิษวิทยา 566 ภาควิชาเภสัชเวท 567 ภาควิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม ตัวเลขสามหลักหลัง เปนตัวเลขบอกรหัสวิชา เลขตัวแรก หมายถึง ระดับ ชั้นป ของรายวิชา คือ 1 หมายถึง ระดับการศึกษาปริญญาบัณฑิตขั้นตน 2 หมายถึง ระดับการศึกษาปริญญาบัณฑิตขั้นปลาย 3 หมายถึง ระดับการศึกษาปริญญาบัณฑิตขั้นปลายและบัณฑิตศึกษาระดับตน 4-9 หมายถึง ระดับการศึกษาบัณฑิตศึกษาระดับปริญญาโท และระดับปริญญาเอก เลขตัวที่สองและสาม หมายถึง สาขายอยของวิชาเภสัชศาสตร เชน วิชาวิทยาศาสตร การแพทยประยุกตดานเภสัชศาสตร วิชาที่เกี่ยวกับแหลงกําเนิด คุณสมบัติ และการเตรียมตัวยา วิชา ที่เกี่ยวกับการผลิตและการประดิษฐยา วิชาที่เกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานของยา วิชาที่ เกี่ยวกับสรรพคุณ พิษ และการเลือกใชยา วิชาที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงานในวิชาชีพ เปนตน และหรือ หมายถึงลําดับที่ของรายวิชา รายวิชาปรับพื้นฐาน 8 หนวยกิต 556 101 วิทยาศาสตรชีวภาพสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 3(3-0-6) (Biological Sciences for Pharmacy Students) 556 102 วิทยาศาสตรกายภาพสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 3(3-0-6) (Physical Sciences for Pharmacy Students) 556 103 ปฏิบัติการวิทยาศาสตรชีวภาพสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 1(0-3-0) (Biological Sciences Laboratory for Pharmacy Students) 556 104 ปฏิบัติการวิทยาศาสตรกายภาพสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 1(0-3-0) (Physical Sciences Laboratory for Pharmacy Students)
  • 10. 9 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป จํานวนรวมไมนอยกวา 30 หนวยกิต 1.1 วิชาบังคับ จํานวน 20 หนวยกิต - กลุมวิชาภาษา จํานวน 9 หนวยกิต 080 176 ภาษากับการสื่อสาร 3(3-0-6) (Language and Communication) 550 155 ภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 1 3(2-2-5) (English for Pharmacy Students I) 550 158 ภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 2 3(2-2-5) (English for Pharmacy Students II) - กลุมวิชามนุษยศาสตร จํานวน 4 หนวยกิต 080 122 จริยธรรมในการประกอบวิชาชีพ 2(2-0-4) (Professional Ethics) 550 153 หลักการออกแบบทางเภสัชศาสตร 2(1-3-2) (Introductory Pharmaceutical Design) - กลุมวิชาสังคมศาสตร จํานวน 2 หนวยกิต 080 144 หลักการวิจัยเบื้องตน 2(2-0-4) (Principles of Research) - กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร จํานวน 5 หนวยกิต 511 103 คณิตศาสตรสําหรับนักศึกษาวิทยาศาสตรชีวภาพ 3(3-0-6) (Mathematics for Biological Sciences Students) 563 251 พื้นฐานสาธารณสุข 2(2-0-4) (Basic Public Health) 1.2 วิชาบังคับเลือก จํานวนไมนอยกวา 6 หนวยกิต - กลุมวิชาภาษา จํานวนไมนอยกวา 6 หนวยกิต โดยเลือกภาษาใดภาษาหนึ่ง ดังนี้ 080 177 ภาษาอังกฤษ 1 3(2-2-5) (English I) 080 178 ภาษาอังกฤษ 2 3(2-2-5) (English II) 080 179 ภาษาฝรั่งเศสเบื้องตน 1 3(2-2-5) (Basic French I) 080 180 ภาษาฝรั่งเศสเบื้องตน 2 3(2-2-5) (Basic French II)
  • 11. 10 080 183 ภาษาเยอรมันเบื้องตน 1 3(2-2-5) (Basic German I) 080 184 ภาษาเยอรมันเบื้องตน 2 3(2-2-5) (Basic German II) 080 187 ภาษาจีนเบื้องตน 1 3(2-2-5) (Basic Chinese I) 080 188 ภาษาจีนเบื้องตน 2 3(2-2-5) (Basic Chinese II) 080 189 ภาษาญีปุนเบื้องตน 1 ่ 3(2-2-5) (Basic Japanese I) 080 190 ภาษาญี่ปุนเบื้องตน 2 3(2-2-5) (Basic Japanese II) 1.3 วิชาเลือก จํานวนไมนอยกวา 4 หนวยกิต ใหเลือกลงทะเบียนเรียนจากรายวิชาตาง ๆ ดังตอไปนี้ 080 101 มนุษยกับการสรางสรรค 3(3-0-6) (Man and Creativity) 080 107 ดนตรีวิจักษ 2(2-0-4) (Music Appreciation) 080 114 ศิลปวิจักษ 2(2-0-4) (Art Appreciation) 080 117 วรรณคดีวิจักษ 2(2-0-4) (Literary Appreciation) 080 119 อารยธรรมตะวันออก 2(2-0-4) (Eastern Civilization) 080 126 มนุษยกับสิ่งแวดลอม 3(3-0-6) (Man and His Environment) 080 127 จิตวิทยาเบื้องตน 2(2-0-4) (Introduction to Psychology) 080 133 เศรษฐศาสตรในชีวิตประจําวัน 2(2-0-4) (Economics in Everyday Life) 080 135 กฎหมายกับสังคม 2(2-0-4) (Law and Society) 080 151 มนุษยกับวิทยาศาสตร 3(3-0-6) (Man and Sciences)
  • 12. 11 415 151 โลกเอเชียตะวันออกเฉียงใต 2(2-0-4) (Southeast Asian World) 449 106 การอนุรักษทรัพยากรและสิ่งแวดลอม 2(2-0-4) (Conservation of Resources and Environment) 550 101 การประยุกตคอมพิวเตอรขั้นพื้นฐานทางเภสัชศาสตร 2(1-3-2) (Basic Computer Applications in Pharmaceutical Sciences) 550 156 รูปแบบและเทคนิคของเภสัชภัณฑเบื้องตน 2(2-0-4) (Introduction to Pharmaceutical Dosage Forms and Technology) * 554 101 สมุนไพรพื้นฐาน 3(3-0-6) (Herbal Medicine) * 554 102 ความรูเรื่องยา 3(3-0-6) (Drug Education) * 554 103 มนุษยกับสารพิษ 3(3-0-6) (Man and Toxic Substances) * 554 104 อาหารเพื่อสุขภาพ 3(3-0-6) (Food for Health) 565 151 ความรูเรื่องยาบําบัดโรค 3(3-0-6) (Drug Knowledges) 566 101 เภสัชพฤกษศาสตร 2(1-3-2) (Pharmaceutical Botany) * หมายเหตุ เปนรายวิชาที่เปดบริการสําหรับนักศึกษานอกคณะวิชา ทั้งนี้นักศึกษาเภสัชศาสตรอาจ ขอลงทะเบียนไดภายใตเงื่อนไขและโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจําคณะ เภสัชศาสตร 2. หมวดวิชาเฉพาะ จํานวน 152 หนวยกิต แบงเปน 2 กลุมวิชา ดังนี้ 2.1 กลุมวิชาพื้นฐานวิชาชีพ จํานวน 30 หนวยกิต ประกอบดวยวิชาดังนี้ 2.1.1. วิชาคณิตศาสตรและสถิติ จํานวน 3 หนวยกิต 515 203 สถิติสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 3(2-2-5) (Statistics for Pharmacy Students) 2.1.2 วิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน จํานวน 27 หนวยกิต 512 101 ชีววิทยาทั่วไป 1 3(3-0-6) (General Biology I) 512 102 ชีววิทยาทั่วไป 2 3(3-0-6) (General Biology II)
  • 13. 12 512 103 ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป 1 1(0-3-0) (General Biology Laboratory I) 512 104 ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป 2 1(0-3-0) (General Biology Laboratory II) 513 101 เคมีทั่วไป 1 3(3-0-6) (General Chemistry I) 513 102 เคมีทั่วไป 2 3(3-0-6) (General Chemistry II) 513 220 เคมีฟสิคัล 3(3-0-6) (Physical Chemistry) 513 250 เคมีอินทรีย 3(3-0-6) (Organic Chemistry) 514 101 ฟสิกสทั่วไป 1 3(3-0-6) (General Physics I) 514 102 ฟสิกสทั่วไป 2 3(3-0-6) (General Physics II) 514 105 ปฏิบัติการฟสิกสสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 1(0-3-0) (General Physics Laboratory for Pharmacy Students) 2.2 กลุมวิชาเฉพาะดาน จํานวน 122 หนวยกิต ประกอบดวยวิชาดังนี้ 2.2.1 วิชาวิทยาศาสตรสุขภาพและคลินิก จํานวน 29 หนวยกิต 561 101 ชีวเภสัชศาสตร 1 2(2-0-4) (Biopharmacy I) 561 102 ชีวเภสัชศาสตร 2 2(2-0-4) (Biopharmacy II) 561 103 พื้นฐานชีววิทยาระดับโมเลกุลสําหรับเภสัชกร 1(1-0-2) (Basic Molecular Biology for Pharmacists) 561 131 ปฏิบัติการชีวเภสัชศาสตร 1 1(0-3-0) (Biopharmacy Laboratory I) 561 201 ชีวเภสัชศาสตร 3 3(3-0-6) (Biopharmacy III) 561 202 ชีวเภสัชศาสตร 4 2(2-0-4) (Biopharmacy IV) 561 203 ชีวเภสัชศาสตร 5 4(4-0-8) (Biopharmacy V)
  • 14. 13 561 231 ปฏิบัติการชีวเภสัชศาสตร 3 1(0-3-0) (Biopharmacy Laboratory III) 561 232 ปฏิบัติการชีวเภสัชศาสตร 4 1(0-3-0) (Biopharmacy Laboratory IV) 561 233 ปฏิบัติการชีวเภสัชศาสตร 5 1(0-3-0) (Biopharmacy Laboratory V) 565 241 เภสัชวิทยา 1 3(3-0-6) (Pharmacology I) 565 242 เภสัชวิทยา 2 4(4-0-8) (Pharmacology II) 565 243 พิษวิทยา 2(2-0-4) (Toxicology) 565 261 ปฏิบัติการเภสัชวิทยา 1 1(0-3-0) (Pharmacology Laboratory I) 565 263 ปฏิบัติการพิษวิทยา 1(0-3-0) (Toxicology Laboratory) 2.2.2 วิชาแกนวิชาชีพ จํานวน 93 หนวยกิต ประกอบดวยวิชาดังนี้ - วิชาบังคับวิชาชีพ จํานวน 82 หนวยกิต 550 102 ปฏิบัติการพื้นฐานทางเภสัชศาสตร 1(0-3-0) (Basic Pharmaceutical Laboratory) 550 151 เภสัชนิเทศ 1(1-0-2) (Pharmacy Orientation) 550 251 ประสบการณวิชาชีพ 1 1(0-3-0) (Professional Practice I) 550 332 นิติเภสัช 1(1-0-2) (Pharmacy Law) 550 351 ประสบการณวิชาชีพ 2 3(0-9-0) (Professional Practice II) 550 352 ประสบการณวิชาชีพ 3 5(0-15-0) (Professional Practice III) 550 359 คอมพิวเตอรทางเภสัชกรรม 3(2-3-4) (Computer in Pharmacy) 550 361 การสัมมนาทางเภสัชศาสตร 1(0-3-0) (Seminar in Pharmaceutical Sciences)
  • 15. 14 550 366 เภสัชบําบัด 2 4(3-3-6) (Pharmacotherapeutics II) 550 367 เภสัชบําบัด 3 4(3-3-6) (Pharmacotherapeutics III) 550 399 จุลนิพนธ 1(0-3-0) (Senior Project) 561 211 ชีววัตถุ 2(2-0-4) (Biological Products) 562 321 ชีวเภสัชกรรมและเภสัชจลนพลศาสตร 3(3-0-6) (Biopharmaceutics and Pharmacokinetics) 562 361 เภสัชกรรมปฏิบัติ 4(3-3-6) (Pharmacy Practice) 563 254 การบริหารเภสัชกิจเบื้องตน 1 2(2-0-4) (Basic Pharmacy Administrations I) 563 255 การบริหารเภสัชกิจเบื้องตน 2 2(1-3-2) (Basic Pharmacy Administrations II) 564 111 เภสัชเคมี 1 1(1-0-2) (Pharmaceutical Chemistry I) 564 121 ปฏิบัติการเภสัชเคมี 1 1(0-3-0) (Pharmaceutical Chemistry Laboratory I) 564 131 การควบคุมคุณภาพยา 1 3(3-0-6) (Pharmaceutical Quality Control I) 564 132 ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพยา 1 2(0-6-0) (Pharmaceutical Quality Control Laboratory I) 564 211 เภสัชเคมี 2 3(3-0-6) (Pharmaceutical Chemistry II) 564 212 เภสัชเคมี 3 4(4-0-8) (Pharmaceutical Chemistry III) 564 231 การควบคุมคุณภาพยา 2 3(3-0-6) (Pharmaceutical Quality Control II) 564 233 ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพยา 2 1(0-3-0) (Pharmaceutical Quality Control Laboratory II) 565 352 เภสัชบําบัด 1 3(3-0-6) (Pharmacotherapeutic I)
  • 16. 15 566 111 เภสัชเวท 1 3(3-0-6) (Pharmacognosy I) 566 121 ปฏิบัติการเภสัชเวท 1 1(0-3-0) (Pharmacognosy Laboratory I) 566 211 เภสัชเวท 2 2(2-0-4) (Pharmacognosy II) 566 221 ปฏิบัติการเภสัชเวท 2 1(0-3-0) (Pharmacognosy Laboratory II) 567 221 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 1 2(2-0-4) (Pharmaceutical Technology I) 567 222 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 2 3(3-0-6) (Pharmaceutical Technology II) 567 223 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 3 3(3-0-6) (Pharmaceutical Technology III) 567 224 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 4 2(2-0-4) (Pharmaceutical Technology IV) 567 225 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 5 2(2-0-4) (Pharmaceutical Technology V) 567 261 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 1 1(0-3-0) (Pharmaceutical Technology Laboratory I) 567 262 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 2 1(0-3-0) (Pharmaceutical Technology Laboratory II) 567 263 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 3 1(0-3-0) (Pharmaceutical Technology Laboratory III) 567 264 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 4 1(0-3-0) (Pharmaceutical Technology Laboratory IV) - วิชาเลือกวิชาชีพ จํานวนไมนอยกวา 11 หนวยกิต โดยใหเลือกรายวิชาในลักษณะ ของกลุมสาขาใดสาขาหนึ่งใน 3 กลุมสาขาตอไปนี้ กลุมสาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม (Pharmaceutical Care) กลุมสาขาวิทยาการทางเภสัชศาสตร (Pharmaceutical Sciences)
  • 17. 16 กลุมสาขาเภสัชกรรมสารสนเทศ (Pharmaceutical Informatics) วิชาเลือกวิชาชีพกลุมสาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม 550 202 โภชนาการและโภชนบําบัด 2(2-0-4) (Nutrition and Nutritional Therapy) 550 207 ความสัมพันธระหวางโภชนาการและยา 2(2-0-4) (Nutrition and Drug Interactions) 550 208 การประเมินภาวะโภชนาการ 2(1-3-2) (Nutritional Assessment) 550 209 โภชนาการของเกลือแรและวิตามิน 2(1-3-2) (Minerals and Vitamins in Nutrition) 550 211 อุปกรณและวัสดุการแพทย 2(1-3-2) (Medical Equipment and Accessories) 550 212 ยาฉีดผสมทางหลอดเลือดดํา 2(1-3-2) (Intravenous Admixture) 550 213 รังสีเภสัชภัณฑ 2(2-0-4) (Radiopharmaceuticals) 550 215 ระบาดวิทยาทางเภสัชศาสตร 3(2-3-4) (Pharmacoepidemiology) 550 216 เศรษฐศาสตรดานยา 2(2-0-4) (Pharmacoeconomics) 550 221 เภสัชเวทประยุกต 2(2-0-4) (Applied Pharmacognosy) 550 311 เภสัชสนเทศทางการบริบาลทางเภสัชกรรม 3(2-3-4) (Drug Information in Pharmaceutical Care) 550 312 หัวขอปจจุบันของเภสัชกรรมปฏิบัติ 4(3-3-6) (Current Topics in Pharmacy Practice) 550 315 ชีวเภสัชกรรมขั้นสูง 3(2-3-4) (Advanced Biopharmaceutics) 550 316 เภสัชจลนพลศาสตรคลินิก 2(1-3-2) (Clinical Pharmacokinetics) 550 319 การประเมินผลทางยา 2(1-3-2) (Drug Assessment)
  • 18. 17 550 320 การประเมินการใชยา 1 3(2-3-4) (Drug Use Evaluation I) 550 321 การประเมินการใชยา 2 3(2-3-4) (Drug Use Evaluation II) 550 324 การประเมินฤทธิ์ของยา 2(2-0-4) (Evaluation of Drug Action) 550 333 พฤกษบําบัดบนหลักฐานทางวิชาการ 2(2-0-4) (Evidence Base Phytotherapy) 550 334 เภสัชบําบัดปจจุบันของการบริบาลทางเภสัชกรรม 4(3-3-6) (Current Therapy in Pharmaceutical Care) 550 365 เภสัชกรรมคลินิกขั้นสูง 4(3-3-6) (Advanced Clinical Pharmacy) 550 369 ปญหาพิเศษของการบริบาลทางเภสัชกรรม 2(1-3-2) (Special Problems in Pharmaceutical Care) 552 101 การบริบาลทางเภสัชกรรมบนพื้นฐานของหลักฐานทางวิชาการ 2(2-0-4) (Evidence Base in Pharmaceutical Care) 552 102 ปฏิบัติการการบริบาลทางเภสัชกรรมบนพื้นฐานของหลักฐาน ทางวิชาการ 1(0-3-0) (Evidence Base in Pharmaceutical Care Laboratory) 552 103 การประเมินผลลัพธในการใชเภสัชภัณฑ 2(2-0-4) (Outcomes Drug Assessment) 552 104 ปฏิบัติการการประเมินผลลัพธในการใชเภสัชภัณฑ 1(0-3-0) (Outcomes Drug Assessment Laboratory) 552 105 เภสัชกรรมสถานพยาบาล 3(3-0-6) (Hospital Pharmacy) 552 106 ปฏิบติการเภสัชกรรมสถานพยาบาล ั 1(0-3-0) (Hospital Pharmacy Laboratory) 552 113 เภสัชวิทยาคลินิก 2(2-0-4) (Clinical Pharmacology) 552 114 ปฏิบัติการเภสัชวิทยาคลินิก 1(0-3-0) (Clinical Pharmacology laboratory) 552 115 พิษวิทยาคลินิกของสิ่งแวดลอม 2 (2-0-2) (Environmental Clinical Toxicology) 552 116 ปฏิบัติการพิษวิทยาคลินิกของสิ่งแวดลอม 1(0-3-0) (Environmental Clinical Toxicology Laboratory)
  • 19. 18 วิชาเลือกวิชาชีพกลุมสาขาวิทยาการทางเภสัชศาสตร 550 201 ความปลอดภัยของอาหารและน้ําดื่ม 3(1-6-2) (Safety of Foods and Drinking Water) 550 203 การควบคุมคุณภาพยา 4 2(2-0-4) (Pharmaceutical Quality Control IV) 550 204 ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพยา 4 1(0-3-0) (Pharmaceutical Quality Control Laboratory IV) 550 205 การเปลี่ยนแปลงทางชีวภาพของยา 1 3(3-0-6) (Drug Biotransformation I) 550 206 การเปลี่ยนแปลงทางชีวภาพของยา 2 3(3-0-6) (Drug Biotransformation II) 550 210 พยาธิวิทยาทางภูมิคุมกัน 3(3-0-6) (Immunopathology) 550 220 ยาใหมและยาปจจุบัน 2(2-0-4) (New Drugs and Current Drugs) 550 222 เทคโนโลยีชีวภาพระดับโมเลกุลสําหรับเภสัชกร 3(3-0-6) (Molecular Biotechnology for Pharmacists) 550 223 การควบคุมคุณภาพยา 3 4(2-6-4) (Pharmaceutical Quality Control III) 550 224 การควบคุมคุณภาพอาหารและเครื่องสําอาง 4(3-3-6) (Pharmaceutical Quality Control of Food and Cosmetics) 550 225 การวิเคราะหยาในสารชีวภาพ 4(3-3-6) (Biomedical Analysis) 550 226 เภสัชเคมีวิเคราะหของสารโภชนบําบัด 3(2-3-4) (Pharmaceutical Chemistry Analysis of Dietotherapeutics) 550 227 การตรวจสอบฤทธิ์กลายพันธุของยาและสารพิษในสิ่งแวดลอม 3(1-6-2) (Mutation Evaluation of Drugs and Environmental Toxic Substances) 550 228 เภสัชวิทยาระดับเซลลและโมเลกุลเบื้องตน 3(3-0-6) (Basic Cellular and Molecular Pharmacology) 550 229 การทดลองทางเภสัชวิทยา 2(0-6-0) (Experimental Pharmacology) 550 230 เทคนิคการสกัดแยกสารทางเภสัชศาสตร 3(2-3-4) (Separation Technique in Pharmaceutical Sciences)
  • 20. 19 550 231 ยาสมุนไพรพื้นบาน 4(3-3-6) (Indigenous Medicines) 550 232 เกษตรเภสัชภัณฑ 4(3-3-6) (Agropharmaceutical Sciences) 550 233 เทคโนโลยีชีวภาพของพืชสมุนไพร 3(2-3-4) (Biotechnology of Medicinal Plants) 550 234 ระบบนําสงยาแบบใหม 2(2-0-4) (Novel Drug Delivery System) 550 235 วิทยาการเครื่องสําอาง 4(2-6-4) (Cosmeticology) 550 236 การบริหารการผลิต 4(3-3-6) (Manufacturing Management) 550 237 ระบบควบคุมและประกันคุณภาพ 4(3-3-6) (Quality Control and Quality Assurance Systems) 550 238 การเคลือบยาเม็ด 3(2-3-4) (Tablet Coating) 550 239 วิทยาการพอลิเมอรเบื้องตนทางเภสัชกรรม 2(2-0-4) (Introductory Polymer Sciences in Pharmacy) 550 240 อนามัยอุตสาหกรรม 4(3-3-6) (Industrial Hygiene) 550 301 ปญหาพิเศษของวิทยาการทางเภสัชศาสตร 3(2-3-4) (Special Problems in Pharmaceutical Sciences) 550 306 หัวขอปจจุบันของวิทยาการทางเภสัชศาสตร 2(2-0-4) (Current Topics in Pharmaceutical Sciences) 550 307 ชีวเภสัชศาสตรขั้นสูง 3(3-0-6) (Advanced Biopharmacy) 550 322 การสังเคราะหยา 3(2-3-4) (Pharmaceutical Synthesis) 550 331 เภสัชบรรจุภัณฑ 2(2-0-4) (Pharmaceutical Packagings) 550 338 หลักการเคมีของยา 3(3-0-6) (Principle of Medicinal Chemistry) 550 340 การออกแบบโครงสรางยา 4(3-3-6) (Drug Designs)
  • 21. 20 550 343 เภสัชวิทยาและพิษวิทยาขั้นสูง 3(3-0-6) (Advanced Pharmacology and Toxicology) 550 347 การวิจัยและพัฒนาพืชสมุนไพร 3(2-3-4) (Research and Development in Medicinal Plants) 550 349 การออกแบบและพัฒนาสูตรตํารับเภสัชภัณฑ 4(2-6-4) (Pharmaceutical Formulation and Development) 550 355 เทคโนโลยีชีวภาพทางเภสัชศาสตร 3(2-3-4) (Pharmaceutical Biotechnology) 550 356 เภสัชวิทยาจีโนม 2(2-0-4) (Pharmacogenomics) 550 360 การประยุกตคอมพิวเตอรทางเภสัชศาสตร 3(1-6-2) (Computerized Applications in Pharmaceutical Sciences) 550 370 การวิจัยและพัฒนาเภสัชภัณฑ 2(2-0-4) (Research and Development of Pharmaceutical Products) 550 371 การจัดการทางเภสัชศาสตร 2(2-0-4) (Management in Pharmaceutical Sciences) 550 372 การประกันคุณภาพทางเภสัชศาสตร 3(3-0-6) (Quality Assurance in Pharmaceutical Sciences) 552 107 เภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ตอจิตประสาท 3(3-0-6) (Pharmacology of Neuropsychoactive Drugs) 552 108 ปฏิบัติการเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ตอจิตประสาท 1(0-3-0) (Pharmacology of Neuropsychoactive Drugs Laboratory) 552 109 เภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ตอระบบหัวใจและหลอดเลือด 2(2-0-4) (Pharmacology of Cardiovascular Drugs) 552 110 ปฏิบัติการเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ตอระบบหัวใจและหลอดเลือด 1(0-3-0) (Pharmacology of Cardiovascular Drugs laboratory) 552 111 เภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ตอระบบทางเดินอาหาร 2(2-0-4) (Pharmacology of Gastrointestinal Drugs) 552 112 ปฏิบัติการเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ตอระบบทางเดินอาหาร 1(0-3-0) (Pharmacology of Gastrointestinal Drugs laboratory) 552 117 สัตวเภสัชภัณฑ 2(2-0-4) (Veterinary Pharmaceutical Products) 552 118 ปฏิบัติการสัตวเภสัชภัณฑ 1(0-3-0) (Veterinary Pharmaceutical Products Laboratory)
  • 22. 21 552 119 พิษวิทยาของภาวะแวดลอม 3(3-0-6) (Environmental Toxicology) 552 220 ปฏิบัติการพิษวิทยาของภาวะแวดลอม 1(0-3-0) (Environmental Toxicology Laboratory) วิชาเลือกวิชาชีพกลุมสาขาเภสัชกรรมสารสนเทศ 550 215 ระบาดวิทยาทางเภสัชศาสตร 3(2-3-4) (Pharmacoepidemiology) 550 216 เศรษฐศาสตรดานยา 2(2-0-4) (Pharmacoeconomics) 550 241 เภสัชศาสตรชุมชน 3(2-3-4) (Community Pharmacy) 550 242 เภสัชศาสตรสาธารณสุข 3(2-3-4) (Public Health Pharmacy) 550 243 เภสัชกรและสุขอนามัยชนบท 4(2-6-4) (Pharmacists and Rural Health Care) 550 244 การตลาดและการเสนอแนะยา 3(2-3-4) (Drug Marketing and Detailing) 550 360 การประยุกตคอมพิวเตอรทางเภสัชศาสตร 3(1-6-2) (Computerized Applications in Pharmaceutical Sciences) 550 362 บริการเภสัชสนเทศ 3(2-3-4) (Drug Information Services) 550 363 การคุมครองผูบริโภคดานอาหารและยา 3(2-3-4) (Consumer Protection in Foods and Drugs) 550 364 ปญหาพิเศษทางเภสัชกรรมชุมชน 3(2-3-4) (Special Problems in Community Pharmacy) 550 368 การบริหารสาธารณสุข 3(2-3-4) (Public Health Administration) 550 373 การสื่อสารกับสุขภาพ 3(1-6-2) (Communication and Health) 550 374 การบริหารเภสัชกิจเชิงกลยุทธ 3(2-3-4) (Strategy in Pharmacy Administration) 550 375 การจัดการขอมูลทางเภสัชกรรม 3(2-3-4) (Pharmaceutical Information Management)
  • 23. 22 551 201 ระบบคอมพิวเตอรและการเขียนโปรแกรมเบื้องตนสําหรับ 3(2-2-5) สารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ (Introduction to Computers and Programming for Health Informatics) 551 202 ระบบการจัดการฐานขอมูลสําหรับสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ 3(2-2-5) (Database Management System for Health Informatics) 551 203 สถิติสําหรับสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ 3(2-3-4) (Statistics for Health Informatics) 551 204 การใชคอมพิวเตอรชวยในการคนหาและพัฒนายา 2(2-0-4) (Computer-Aided Drug Discovery and Development) 551 205 โครงสรางขอมูลและอัลกอริทึม 2(2-0-4) (Data Structure and Algorithms) 551 206 เทคนิคการจําลอง 3(3-0-9) (Simulation Techniques) 551 207 สารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ 2(2-0-4) (Health Informatics) 551 208 การโปรแกรมคอมพิวเตอรสําหรับสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ 3(2-2-5) (Computer Programming for Health Informatics) 551 209 การพัฒนาอินเตอรเน็ตเว็บไซต 3(2-2-5) (Internet Web Site Development) 551 210 การพัฒนาอินเตอรเน็ตเว็บไซตขั้นสูง 3(2-2-5) (Advanced Internet Web Site Development) 551 211 ซอฟทแวรแบบเปดเผยการโปรแกรมสําหรับสารสนเทศศาสตร ทางสุขภาพ 3(2-2-5) (Open Source Software for Health Informatics) 551 212 ปญหาพิเศษทางสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ 1 1(0-3-0) (Special problem in health informatics 1) 551 213 ปญหาพิเศษทางสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ 2 3(2-2-5) (Special problem in health informatics 2) 551 214 การประยุกตคอมพิวเตอรทางสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ 3(2-2-5) (Computer Application in Health Informatics)
  • 24. 23 นักศึกษาเภสัชศาสตรอาจเลือกวิชาเลือกวิชาชีพในกลุมสาขาอื่น ๆ ที่เอื้อตอการปฏิบัติงานวิชาชีพ เภสัชกรรมไดโดยไดรับความเห็นชอบจากคณะวิชา 3. หมวดวิชาเลือกเสรี จํานวนไมนอยกวา 6 หนวยกิต ใหเลือกรายวิชาใดวิชาหนึ่งที่มีการเปดสอนโดยคณะวิชาตาง ๆ ทุกคณะวิชาในมหาวิทยาลัย ศิลปากร และหรือนอกมหาวิทยาลัย หรือนอกประเทศตามกําหนด หากนักศึกษาเลือกศึกษารายวิชา ของคณะวิชาในกลุมวิชาเลือกของหมวดวิชาเฉพาะดาน จะตองนําไปคิดคาระดับเฉลี่ยรวมกับกลุมวิชา วิทยาศาสตรสุขภาพ กลุมวิชาแกนวิชาชีพ และกลุมสาขา เพื่อตรวจสอบเงื่อนไขการสําเร็จการศึกษา  ดังกําหนดไวในเงื่อนไขสําเร็จการศึกษาเภสัชศาสตร
  • 25. 24 17.4 แผนการศึกษา ทั้งนี้อาจมีการปรับเปลี่ยนไดตามความเหมาะสมตามสถานภาพและแนวโนมการ เปลี่ยนแปลงของสาขาวิชาชีพ เปนดังนี้ แผนการศึกษาหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหนวยกิต 080 176 ภาษากับการสื่อสาร 3(3-0-6) 080 … ภาษาตางประเทศ 1 3(2-2-5) 511 103 คณิตศาสตรสําหรับนักศึกษาวิทยาศาสตรชีวภาพ 3(3-0-6) 512 101 ชีววิทยาทั่วไป 1 3(3-0-6) 512 103 ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป 1 1(0-3-0) 513 101 เคมีทั่วไป 1 3(3-0-6) 514 101 ฟสิกสทั่วไป 1 3(3-0-6) 550 151 เภสัชนิเทศ 1(1-0-2) รวมหนวยกิต 20 ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหนวยกิต 080 … ภาษาตางประเทศ 2 3(2-2-5) 512 102 ชีววิทยาทั่วไป 2 3(3-0-6) 512 102 ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป 2 1(0-3-0) 513 102 เคมีทั่วไป 2 3(3-0-6) 514 102 ฟสิกสทั่วไป 2 3(3-0-6) 514 105 ปฏิบัติการฟสิกสสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 1(0-3-0) 515 203 สถิติสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 3(2-2-5) 550 102 ปฏิบัติการพื้นฐานทางเภสัชศาสตร 1(0-3-0) 563 251 พื้นฐานสาธารณสุข 2(2-0-4) รวมหนวยกิต 20
  • 26. 25 ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหนวยกิต 513 220 เคมีฟสิกัล 3(3-0-6) 513 250 เคมีอินทรีย 3(3-0-6) 550 153 หลักการออกแบบทางเภสัชศาสตร 2(1-3-2) 550 155 ภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 1 3(2-2-5) 561 101 ชีวเภสัชศาสตร 1 2(2-0-4) 561 131 ปฏิบัติการชีวเภสัชศาสตร 1 1(0-3-0) 564 111 เภสัชเคมี 1 1(1-0-2) 564 121 ปฏิบัติการเภสัชเคมี 1 1(0-3-0) … … วิชาเลือกในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป 2 รวมหนวยกิต 18 ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหนวยกิต 550 158 ภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 2 3(2-2-5) 561 102 ชีวเภสัชศาสตร 2 2(2-0-4) 561 201 ชีวเภสัชศาสตร 3 3(3-0-6) 561 231 ปฏิบัติการชีวเภสัชศาสตร 3 1(0-3-0) 563 254 การบริหารเภสัชกิจเบื้องตน 1 2(2-0-4) 564 131 การควบคุมคุณภาพยา 1 3(3-0-6) 564 132 ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพยา 1 2(0-6-0) 567 221 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 1 2(2-0-4) 567 261 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 1 1(0-3-0) … … วิชาเลือกในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป 2 รวมหนวยกิต 21
  • 27. 26 ปที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหนวยกิต 561 202 ชีวเภสัชศาสตร 4 2(2-0-4) 561 204 พื้นฐานชีววิทยาระดับโมเลกุลสําหรับเภสัชกร 1(1-0-2) 561 232 ปฏิบัติการชีวเภสัชศาสตร 4 1(0-3-0) 564 231 การควบคุมคุณภาพยา 2 3(3-0-6) 564 233 ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพยา 2 1(0-3-0) 565 241 เภสัชวิทยา 1 3(3-0-6) 565 261 ปฏิบัติการเภสัชวิทยา 1 1(0-3-0) 566 111 เภสัชเวท 1 3(3-0-6) 566 121 ปฏิบัติการเภสัชเวท 1 1(0-3-0) 567 222 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 2 3(3-0-6) 567 262 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 2 1(0-3-0) รวมหนวยกิต 20 ปที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหนวยกิต 561 203 ชีวเภสัชศาสตร 5 4(4-0-8) 561 233 ปฏิบัติการชีวเภสัชศาสตร 5 1(0-3-0) 562 321 ชีวเภสัชกรรมและเภสัชจลนพลศาสตร 3(3-0-6) 565 242 เภสัชวิทยา 2 4(4-0-8) 566 211 เภสัชเวท 2 2(2-0-4) 566 221 ปฏิบัติการเภสัชเวท 2 1(0-3-0) 567 223 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 3 3(3-0-6) 567 263 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 3 1(0-3-0) รวมหนวยกิต 19
  • 28. 27 ปที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหนวยกิต 080 122 จริยธรรมในการประกอบวิชาชีพ 2(2-0-4) 080 144 หลักการวิจัยเบื้องตน 2(2-0-4) 550 251 ประสบการณวิชาชีพ 1 1(0-3-0) 550 332 นิติเภสัช 1(1-0-2) 561 211 ชีววัตถุ 2(2-0-4) 562 361 เภสัชกรรมปฏิบัติ 4(3-3-6) 564 211 เภสัชเคมี 2 3(3-0-6) 565 352 เภสัชบําบัด 1 3(3-0-6) 567 224 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 4 2(2-0-4) 567 264 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 4 1(0-3-0) รวมหนวยกิต 21 ปที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหนวยกิต 550 359 คอมพิวเตอรทางเภสัชกรรม 3(2-3-4) 550 366 เภสัชบําบัด 2 4(3-3-6) 563 255 การบริหารเภสัชกิจเบื้องตน 2 2(1-3-2) 564 212 เภสัชเคมี 3 4(4-0-8) 565 243 พิษวิทยา 2(2-0-4) 565 263 ปฏิบัติการพิษวิทยา 1(0-3-0) 567 225 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 5 2(2-0-4) วิชาเลือกวิชาชีพ 4 รวมหนวยกิต 22
  • 29. 28 ปที่ 5 ภาคการศึกษาที่ 1 รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหนวยกิต 550 351 ประสบการณวิชาชีพ 2 3(0-9-0) 550 361 การสัมมนาทางเภสัชศาสตร 1(0-3-0) 550 367 เภสัชบําบัด 3 4(3-3-6) 550 399 จุลนิพนธ 1(0-3-0) วิชาเลือกวิชาชีพ 7 วิชาเลือกเสรี 6 22 ปที่ 5 ภาคการศึกษาที่ 2 รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหนวยกิต 550 352 ประสบการณวิชาชีพ 3 5(0-15-0) รวมหนวยกิต 5 การเทียบฐานะชั้นปของนักศึกษา ใหเทียบฐานะชั้นปโดยหลักการของนักศึกษาเภสัชศาสตร จากจํานวนหนวยกิตที่สอบไดตาม อัตราสวนของหนวยกิตรวมของหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต ดังนี้ - นักศึกษาที่มีจํานวนหนวยกิตสอบไดต่ํากวา 32 หนวยกิต ใหเทียบฐานะเปนนักศึกษาเภสัชศาสตร ชั้นปที่ 1 - นักศึกษาที่มีจํานวนหนวยกิตสอบไดตั้งแต 32 หนวยกิตขึ้นไป แตต่ํากวา 64 หนวยกิตใหเทียบ ฐานะเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรชั้นปที่ 2 - นักศึกษาที่มีจํานวนหนวยกิตสอบไดตั้งแต 64 หนวยกิตขึ้นไป แตต่ํากวา 96 หนวยกิต ใหเทียบ ฐานะเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรชั้นปที่ 3 - นักศึกษาที่มีจํานวนหนวยกิตสอบไดตั้งแต 96 หนวยกิตขึ้นไป แตต่ํากวา 128 หนวยกิต ใหเทียบ ฐานะเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรชั้นปที่ 4 - นักศึกษาที่มีจํานวนหนวยกิตสอบไดตั้งแต 128 หนวยกิตขึ้นไป ใหเทียบฐานะเปน นักศึกษาเภสัชศาสตรชั้นปที่ 5 อนึ่ง การกําหนดเทียบสถานะของชั้นปของนักศึกษาเภสัชศาสตรมิไดหมายความครอบคลุม ถึงเงื่อนไขการลงทะเบียนเรียนรายวิชาดังกําหนดไวในแผนการศึกษาและหลักสูตร