SlideShare a Scribd company logo
1 of 73
Download to read offline
ความขัดแย้ งที่ไม่สามารถยุติได้ ยอมทา
่
ความเสียหายแก่มนุษยชาติทงชีวิตและ
ั้
ทรัพย์สินประเทศต่างๆจึงพยายามหาวิธี
ปกปองผลประโยชน์ของตน โดยการร่วมมือ
้
ช่วยเหลือกันระหว่างกลุมเพื่อประสานสัมพันธ์
่
ในการที่จะรักษาผลประโยชน์ร่วมกัน
การประสานประโยชน์ หมายถึง การ
ร่วมมือกันเพื่อรักษาและปกปองผลประโยชน์ของ
้
ตนและเป็ นการระงับกรณีความขัดแย้ งที่มาจาก
การแข่งขันทางการเมืองและเศรษฐกิจระหว่าง
ประเทศ การประสานประโยชน์ มีความสาคัญทัง้
ทางด้ านการเมือง การทหาร การค้ า และการทูต
อย่างไรก็ตามแม้ จะมีการสานประโยชน์กน แต่ก็ยง
ั
ั
มีการแข่งขัน ความขัดแย้ ง และสงครามอยู่ ดังนัน
้
สังคมโลกจึงมีความจาเป็ นที่จะต้ องให้ การ
สนับสนุน และปรับปรุงวิธีการประสานประโยชน์
ระหว่างประเทศให้ มากยิ่งขึ ้น ทังในปั จจุบนและ
้
ั
อนาคต
องค์ การระหว่ างประเทศ หมายถึง องค์การที่รัฐ
ตังแต่สองรัฐขึ ้นไปร่วมกันก่อตัง้ มีการประชุมร่วมกันเป็ น
้
ประจา มีวตถุประสงค์ในการธารงรักษาสันติภาพและ
ั
แก้ ไขความขัดแย้ งระหว่างประเทศ เช่น องค์การ
สหประชาชาติ ซึงมีแนวทางในการแก้ ไขความขัดแย้ ง
่
ต่างๆ องค์การสนธิสญญาแอตแลนติกเหนือหรื อนาโต ซึ่ง
ั
รักษาผลประโยชน์ของกลุมประเทศ
่
องค์ การสันนิบาตชาติ
องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations)
สันนิบาตชาติ เป็ นองค์การระหว่าง
ประเทศ ตังขึ ้นในปี พ.ศ. 2462
้
จากการประชุมสันติภาพที่ปารี ส
ของประเทศผู้ชนะสงครามโลก
ครังที่หนึง เปาหมายของ
้
่ ้
สันนิบาตชาติคือการควบคุม
กองกาลัง ปองกันสงคราม
้
ไกล่เกลียข้ อพิพาทระหว่างประเทศด้ วยการเจรจาและการทูต และ
่
พัฒนาความเป็ นอยูของโลก สันนิบาตชาติไม่มีกองกาลังของตัวเอง จึง
่
ต้ องพึงพาชาติมหาอานาจในการดาเนินการตามคาสัง สันนิบาตชาติ
่
่
ล้ มเหลวในการปองกันสงครามโลกครังที่สอง และแทนที่โดย
้
้
สหประชาชาติหลังจบสงคราม
องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations)
เมื่อเดือนมกราคม ค.ศ. 1919 ประธานาธิบดีวดโรว์ วิลสัน
ู
(Woodrow Wilson) แห่งสหรัฐอเมริ กา ได้ เสนอหลักการ 14 ข้ อ
(Wilson’s Fourteen Points) เพื่อใช้ เป็ นหลักในการเจรจาทา
สนธิสญญาสันติภาพต่อผู้นาของประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส และ
ั
อิตาลี ซึงเป็ นแนวความคิดที่จะปองกันมิให้ เกิดสงครามร้ ายแรงทีจะ
่
้
่
ทาลายล้ างประชาชาติขึ ้นอีก โดยให้ สถาปนาองค์การสันนิบาตชาติ
ขึ ้นเพื่อเป็ นองค์กรกลางทีจะใช้ แก้ ปัญหากรณีพิพาทระหว่างประเทศ
่
โดยสันติวิธีเพื่อดารงรักษาสันติภาพอันถาวรไว้ องค์การสันนิบาต
ชาติประชุมครังแรก ณ กรุงเจนีวาประเทศ สวิตเซอร์ แลนด์
้
องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations)

ประธานาธิบดี วูดโรว์ วิลสัน ผู้เสนอให้ ก่อตังองค์ การนีขน
้
้ ึ้
องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations)

การ์ ดที่ระลึกในโอกาสก่ อตังสันนิบาต คนในรู ปคือ
้
ประธานาธิบดี วูดโรว์ วิลสัน ผู้เสนอให้ ก่อตังองค์ การนีขึน
้
้ ้
องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations)
แนวความคิดของประชาคมนานาชาติที่
อยูร่วมกันอย่างสันติมมานานแล้ ว ในปี ค.ศ.
่
ี
1795 อิมมานูเอล คานต์ เสนอให้ มีการก่อตัง้
องค์การที่จะไกล่เกลียของพิพาทและรักษา
่
สันติภาพระหว่างประเทศในงานเขียนของ
เขา Perpetual Peace: A Philosophical
Sketch โดยเขาย ้าว่าแนวทางนี ้ไม่ใช่การให้ มี
รัฐบาลปกครองโลก แต่ให้ รัฐบาลของแต่ละ
ประเทศเคารพพลเมืองของตน และต้ อนรับ
ชาวต่างประเทศในลักษณะที่เป็ นมนุษย์
ด้ วยกัน สันติภาพระหว่างประเทศก็จะเกิดขึ ้น
องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations)
ต่อมาเมื่อเกิดสงครามนโปเลียนในศตวรรษที่ 19 ก็มความ
ี
พยายามร่วมมือกันเพื่อให้ ยโรปมีความมันคงยิงขึ ้น รวมทังได้ เกิด
ุ
่
่
้
อนุสญญาเจนีวาขึ ้นเพื่อมนุษยธรรมระหว่างสงคราม และ
ั
อนุสญญาเฮกซึงกาหนดกฎเกณฑ์ของสงครามและการไกล่เกลีย
ั
่
่
ข้ อพิพาทระหว่างประเทศ และในปี ค.ศ. 1889 นักรณรงค์สนติภาพ
ั
ได้ ก่อตังสมัชชาสหภาพรัฐสภา (Inter-Parliamentary Union: IPU)
้
ขึ ้นเพื่อสนับสนุนการเจรจาและการทูตในการแก้ ไขข้ อพิพาท
องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations)
ในช่วงต้ นศตวรรษที่ 20 มีกลุมอานาจใหญ่สองกลุมในยุโรปที่
่
่
ขัดแย้ งกัน และเป็ นสาเหตุของสงครามโลกครังที่หนึง สงครามนี ้ได้
้
่
ส่งผลกระทบในทุกด้ านของชีวต และทาให้ เกิดกระแสต่อต้ าน
ิ
สงครามทัวโลก จนเกิดวลีเรียกสงครามโลกครังที่หนึงว่า "สงคราม
่
้
่
เพื่อที่จะหยุดสงครามทังหมด" และมีการสืบสวนพบว่าสาเหตุเกิด
้
จาก การแข่งขันทางอาวุธ พันธมิตร การทูตลับ และเสรี ภาพในการ
เข้ าร่วมสงครามของรัฐต่าง ๆ เพื่อประโยชน์สวนตน จึงมีการเสนอให้
่
มีองค์การระหว่างประเทศที่จะทาหน้ าที่หยุดสงครามในอนาคตด้ วย
การลดอาวุธ การทูตอย่างเปิ ดเผย การตัดสินข้ อพิพาท ความร่วมมือ
ระหว่างชาติ การควบคุมสิทธิในการเข้ าร่วมสงคราม และการลงโทษ
ประเทศที่ทาผิดกฎ
องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations)
บุคคลสาคัญทีมีสวนทาให้ สนนิบาตชาติเป็ นความจริ งขึ ้นมาคือ
่ ่
ั
ประธานาธิบดี วูดโรว์ วิลสัน แห่งสหรัฐอเมริ กา การตังสันนิบาตชาติ
้
เป็ นหนึงในหลักการสีสบข้ อของวิลสัน ซึงข้ อ 14 ระบุวา การรวมตัว
่
่ ิ
่
่
กันของประชาชาติควรจะถูกก่ อตังขึนภายใต้ พนธะที่แน่ นอน
้ ้
ั
เพื่อจุดประสงค์ ท่ สามารถให้ ความช่ วยเหลือกันได้ กับทุกฝ่ าย
ี
และให้ การรับรองแก่ รัฐที่มีขนาดเล็กกว่ าเทียบเท่ ากับตนเอง
โดยการจัดตังองค์ การสันนิบาตชาติขึนมา โดยในระหว่างการ
้
้
ประชุมสันติภาพที่ปารี ส ซึงมีสามประเทศใหญ่ผ้ ชนะสงครามเข้ าร่วม
่
ู
คือ อเมริ กา ฝรั่งเศส สหราชอาณาจักร แนวความคิดการก่อตัง้
สันนิบาตชาติของวิลสันได้ รับการยอมรับ และกลายเป็ นส่วนหนึงของ
่
สนธิสญญาแวร์ ซายส์
ั
องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations)
กติกาสันนิบาตชาติถกร่างขึ ้นโดยคณะกรรมการพิเศษ โดยมี
ู
44 ประเทศที่เซ็นยอมรับกติกานี ้ซึงรวมถึงประเทศไทยด้ วย อย่างไร
่
ก็ดีแม้ วิลสันจะประสบผลสาเร็ จในการผลักดันให้ สนนิบาตชาติเป็ น
ั
จริ งขึ ้นมา ซึงทาให้ เขาได้ รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพในปี
่
เดียวกัน แต่รัฐสภาอเมริ กากลับมีมติไม่ยอมให้ ประเทศอเมริ กาเข้ า
ร่วมสันนิบาต เนื่องจากเกรงว่าจะมีข้อผูกมัดตามมา ซึงจะเป็ น
่
สาเหตุที่ทาให้ สนนิบาตล่มในเวลาต่อมา
ั
สันนิบาตชาติเปิ ดประชุมคณะมนตรี หกวันหลังจากสนธิสญญา
ั
แวร์ ซายส์มีผลบังคับใช้ ต่อมาสานักงานใหญ่ถกย้ ายไปกรุงเจนีวา
ู
และมีการประชุมสมัชชาใหญ่ครังแรกในปี ค.ศ. 1920
้
องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations)

ภาพของสนธิสัญญาแวร์ ซายฉบับภาษาอังกฤษ
องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations)
มีตราสัญลักษณ์กึ่งทางการเกิดขึ ้น
ครังแรกในปี ค.ศ. 1939 ซึงเป็ นดาวห้ า
้
่
เหลี่ยมสองดวงในรูปห้ าเหลี่ยมสีน ้าเงิน
สื่อความหมายถึงทวีปในโลก 5 ทวีป
และเผ่าพันธุ์ 5 เผ่า (ขาว เหลือง น ้าตาล
ดา แดง) ตามที่เชื่อกันในสมัยนัน
้
ด้ านบนเป็ นชื่อภาษาอังกฤษ (League
of Nations) ส่วนด้ านล่างเป็ นภาษา
ฝรั่งเศส

ตราสัญลักษณ์
องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations)
สมาชิกภาพ
ประเทศทีเ่ ป็ นฝ่ ายชนะในสงครามโลกครังที่ 1 ทุกประเทศได้ ร่วมลงนาม
้
ในสนธิสญญาสันติภาพและเป็ นสมาชิกขององค์การสันนิบาตชาติโดย
ั
อัตโนมัติประเทศที่แพ้ สงครามมีสทธิเข้ าเป็ นสมาชิกขององค์การนี ้ได้ แต่
ิ
ต้ องปฏิบตตามสนธิสญญาสันติภาพให้ เรี ยบร้ อยเสียก่อน ส่วนประเทศ
ัิ
ั
อื่น จะเข้ าเป็ นสมาชิกได้ เมื่อได้ รับความเห็นชอบจากการออกเสียงสอง
ในสามของประเทศสมาชิกส่วนสหรัฐอเมริ กาแม้ จะเป็ นผู้ริเริ่มแนวคิด
การจัดตังองค์การนี ้ไม่ได้ เป็ นสมาชิก เนื่องจากสภาคองเกรสของ
้
สหรัฐอเมริ กาไม่ยอมให้ สตยาบัน
ั
องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations)
รัฐสมาชิก

แผนที่รัฐสมาชิกของสันนิบาตในปี ค.ศ. 1920
รัฐสมาชิก
อาณานิคมของรัฐสมาชิก
ดินแดนภายใต้ อาณัติสนนิบาตชาติ
ั
รัฐที่ไม่เป็ นสมาชิก
อาณานิคมของรัฐที่ไม่เป็ นสมาชิก
องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations)
รัฐสมาชิก
เมื่อเริ่ มต้ นมีรัฐสมาชิกร่วมก่อตังสันนิบาต 42 ประเทศ แต่มีเพียง
้
23 ประเทศเท่านันที่เป็ นสมาชิกจนกระทังยุบสันนิบาตในปี ค.ศ. 1946
้
่
ซึงประเทศไทยรวมอยูในประเทศเหล่านี ้ด้ วย
่
่
สันนิบาตมีจานวนรัฐสมาชิกมากที่สดคือ 58 ประเทศในช่วงปี
ุ
ค.ศ. 1934-1935
องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations)
ดินแดนใต้ อาณัติ
เมื่อสงครามโลกครังที่หนึงจบลง ประเทศผู้แพ้ เช่น เยอรมนี และ
้
่
จักรวรรดิออตโตมัน จาต้ องสละอาณานิคมซึงเป็ นบทลงโทษจาก
่
ประเทศผู้ชนะสงคราม การประชุมสันติภาพที่ปารี สจึงได้ ตกลงให้
รัฐบาลต่าง ๆ บริ หารอาณาบริ เวณเหล่านี ้ในนามของสันนิบาต
เรี ยกว่า ดินแดนใต้ อาณัติ (mandate) ซึงอานาจของสันนิบาตใน
่
การจัดการได้ รับการรับรองจากมาตรา 22 ของกติกาสันนิบาต
ชาติ โดยมีคณะกรรมการจัดการดินแดนใต้ อาณัติเป็ นผู้ดแล
ู
องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations)
ดินแดนใต้ อาณัติ
ดินแดนใต้ อาณัติถกแบ่งออกเป็ นสามประเภท A B C ตามมาตรา 22
ู
• A คือดินแดนที่เคยอยูในจักรวรรดิออตโตมันมาก่อน ที่ "ต้ องได้ รับ
่
ความช่วยเหลือจากผู้ได้ รับมอบอาณัตเิ ป็ นระยะเวลาหนึงจนกว่าจะ
่
สามารถปกครองตนเองได้ "
• B คือดินแดนที่เคยเป็ นอาณานิคมของเยอรมนีมาก่อน ที่ "ต้ องได้ รับ
การเข้ ามาดูแลเพื่อรักษาเสรี ภาพทางมโนธรรมและศาสนา...และเพื่อ
ยับยังการค้ าทาส การค้ าอาวุธ"
้
• C คือเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้ ที่ "สมควรที่สดที่จะอยูใต้ อาณัติ...
ุ
่
เพื่อที่ชนพื ้นเมืองจะได้ รับการปกปองดังที่กล่าวมาแล้ ว
้
องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations)
ดินแดนใต้ อาณัติ
ส่วนประเทศมหาอานาจขณะนัน 7 ประเทศได้ รับมอบอาณัติ
้
(mandatory) คือมีอานาจปกครองดินแดนใต้ อาณัติของสันนิบาต
ได้ แก่ สหราชอาณาจักร, สหพันธ์ แอฟริ กาใต้ , ฝรั่งเศส, เบลเยียม,
นิวซีแลนด์, ออสเตรเลีย และญี่ปน
ุ่
ดินแดนใต้ อาณัติทงหมดไม่ได้ รับเอกราชจวบจนสงครามโลกครังที่
ั้
้
สองสิ ้นสุด ยกเว้ นประเทศอิรักประเทศเดียวที่ได้ รับเอกราชและเข้ าร่วม
สันนิบาตในปี ค.ศ. 1932 หลังจากสันนิบาตถูกยุบดินแดนใต้ อาณัติ
เหล่านี ้ถูกโอนไปให้ สหประชาชาติดแล เรี ยกว่า ดินแดนมอบหมายของ
ู
สหประชาชาติ (United Nations Trust Territories) และเป็ นเอกราช
ทังหมดในปี ค.ศ. 1990
้
องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations)
ดินแดนใต้ อาณัติ
นอกจากดินแดนใต้ อาณัติแล้ ว สันนิบาตยังปกครองดินแดน
ลุมแม่น ้าซาร์ เป็ นเวลา 15 ปี ก่อนจะจัดให้ มีประชามติ ซึง
่
่
ประชากรส่วนใหญ่เลือกที่จะกลับเข้ าเป็ นส่วนหนึงของเยอรมนี
่
และยังปกครองเมืองอิสระแห่งดันซิก (ปั จจุบนเป็ นส่วนหนึงของ
ั
่
ประเทศโปแลนด์) ตังแต่ค.ศ. 1920 - 1939
้
องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations)
วัตถุประสงค์

จุดประสงค์สาคัญที่สดของ
ุ
องค์การสันนิบาตชาติ คือ การดารง
สันติภาพและปองกันสงครามใน
้
อนาคต ประเทศสมาชิกต่างให้
สัตยาบันที่จะเคารพเอกราช และบูรณ
ภาพแห่ง อาณาเขตของประเทศต่าง ๆ
และในกรณีที่ประเทศสมาชิกใดถูก
รุกรานทังทางด้ านเศรษฐกิจหรื อกาลัง
้
ทหารต้ องเป็ นหน้ าที่ของประเทศ
สมาชิกอื่นในการร่วมมือกันต่อต้ านผู้
รุกราน
องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations)
วัตถุประสงค์
องค์การสันนิบาตชาติมีหลักการในความร่วมมือกัน ดังนี ้
1. ร่วมมือกันรักษาความปลอดภัยและความมันคงระหว่างประเทศ
่
2. เป็ นองค์กรกลางในการตัดสินชี ้ขาดกรณีพิพาทระหว่างประเทศ
3. ร่วมมือกันดาเนินการลดกาลังอาวุธยุทโธปกรณ์
4. ส่งเสริ มความร่วมมือระหว่างประเทศ เพื่อเปิ ดความสัมพันธ์
ทางการทูต
องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations)
การดาเนินงาน
การดาเนินงาน องค์การสันนิบาตชาติ (League of Nations) มี
องค์กรต่างๆทาหน้ าที่และรับผิดชอบ ดังนี ้
1. สมัชชา คือ ที่ประชุมใหญ่ขององค์การ
ประกอบด้ วยผู้แทนของประเทศสมาชิก ทังหมด ประเทศละไม่
้
เกิน 3 คน ออกเสียงลงคะแนนได้ ประเทศละ 1 เสียง มีวาระการ
ประชุมปี ละครัง เพื่อพิจารณาปั ญหาต่างๆที่อาจส่งผลกระทบต่อ
้
สันติภาพของโลก
องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations)
การดาเนินงาน
2. คณะมนตรี ทาหน้ าทีเ่ ป็ นผู้บริ หารองค์การ เมื่อตัง้
ครังแรกประกอบด้ วยสมาชิก ประเภทถาวร 4 ประเทศ คือ ฝรั่งเศส
้
อังกฤษ อิตาลี และญี่ปน และสมาชิกประเภทไม่ถาวรทีมาจากการ
ุ่
่
เลือกตัง้ อีก 4 ประเทศ คณะมนตรีนี ้มีการประชุมปี ละครัง เพื่อ
้
พิจารณาปั ญหาเรื่ องต่างๆที่เป็ นภัยคุกคามต่อสันติภาพของโลก
และปฎิบติตามข้ อเสนอแนะของสมัชชา
ั
3. สานักงานเลขาธิการ เป็ นสานักงานจัดทารายงาน
รักษาเอกสารหลักฐาน อานวยการวิจยและประสานงานกับฝ่ าย
ั
ต่างๆ
องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations)
การดาเนินงาน
4. คณะกรรมาธิการ ทาหน้ าที่เกี่ยวกับกิจการด้ าน
เศรษฐกิจและสังคม ได้ แก่ องค์การอนามัยระหว่างประเทศ สานัก
แรงงานสากล คณะกรรมาธิการฝ่ ายดินแดนในอาณัติ
5. ศาลยุติธรรมระหว่ างประเทศ ทาหน้ าทีเ่ กี่ยวกับ
กฎหมายระหว่างประเทศในการพิจารณาคดีตางๆและกรณีพิพาท
่
เกี่ยวกับพรมแดน ศาลยุติธรรมระหว่ างประเทศ ประกอบด้ วยผู้
พิพากษา 15 คน
องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations)

วังแห่ งประชาชาติ ณ กรุงเจนีวา เป็ นสานักงานใหญ่
ของสันนิบาตตังแต่ ปี 1929 จนกระทั่งถูกยุบ
้
องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations)

ผลงานขององค์ การสันนิบาตชาติ
ผลงานที่ประสบความสาเร็จ กรณีหมู่เกาะอาลันด์ ที่สวีเดน
และฟิ นแลนด์ตางแย่งชิงกันจะเข้ าครอบครององค์การสันนิบาตชาติ
่
ตัดสินให้ มอบหมูเ่ กาะอาลันด์อยูภายใต้ อานาจอธิปไตยของฟิ นแลนด์
่
แต่ต้องเป็ นดินแดนปลอดทหารและมีสถานภาพกึ่งอิสระ
หมู่เกาะอาลันด์
ในทะเลบอลติก
องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations)

ผลงานที่ไม่ ประสบความสาเร็จ
1.เหตุการณ์ ญ่ ีปุ่นรุ กรานแคว้ นแมนจูเรียของ
จีน องค์การสันนิบาตชาติไม่สามารถใช้ มาตรการใดๆลงโทษ
ญี่ปนได้
ุ่
2.เหตุการณ์ รุนแรงที่เกาะคอร์ ฟู อิตาลีใช้ กาลังเข้ ายึด
ครองเกาะคอร์ ฟของกรี ซ ซึงองค์การสันนิบาตชาติไม่สามารถ
ู
่
ยับยัง้
หรื อลงโทษอิตาลีได้ ทังๆที่กรี ซและอิตาลีตางก็เป็ นสมาชิก
้
่
ขององค์การ
องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations)

ผลงานที่ไม่ ประสบความสาเร็จ
3.เยอรมนีละเมิดสนธิสัญญาแวร์ ซาย โดยการส่งทหารเข้ าสูเ่ ขต
ปลอดทหารไรน์แลนด์ของเยอรมนี
4.สงครามอะบิสซิเนีย ที่อิตาลีสงกองทัพบุกอะบิสซิเนีย
่
(เอธิโอเปี ย) โดยไม่ประกาศสงคราม และสามารถยึดกรุงแอดดิสอาบาบา
ได้ ซึงสมัชชาขององค์การสันนิบาตชาติได้ ลงมติประณามอิตาลีวาเป็ น
่
่
ฝ่ ายรุกราน และลงโทษอิตาลีโดยการงดติดต่อค้ าขายกับอิตาลี แต่ไม่ได้
ผลเพราะอิตาลีได้ รับการสนับสนุนจากเยอรมนี อีกทังอิตาลียงตอบโต้
้
ั
ด้ วยการลาออกจากการเป็ นสมาชิกขององค์การสันนิบาตชาติอีก
ด้ วย
องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations)

การที่องค์ การสันนิบาตชาติเกิดความอ่ อนแอ
เนื่องมาจากการมีความคิดที่ไม่สอดคล้ องกับความเป็ นจริง
โดยมองว่าทุกประเทศมีผลประโยชน์ร่วมกัน
แต่ความจริ งแล้ วในช่วงเวลาหลังสงครามโลกครังที่ 1 แต่ละ
้
ประเทศคิดถึงแต่ผลประโยชน์เป็ นหลักสาคัญที่สด เหนือบทบาท
ุ
ขององค์การสันนิบาตชาติ ทาให้ องค์การสันนิบาตชาติไม่สามารถ
แก้ ไขปั ญหาได้ และประสบความล้ มเหลวตลอดมา จนกระทัง
่
องค์การสันนิบาตชาติสิ ้นสภาพในช่วงสงครามโลกครังที่ 2
้
องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations)
จุดอ่ อนขององค์ การสันนิบาตชาติ
แม้ องค์การสันนิบาตชาติจะได้ ปฏิบติภารกิจสาเร็ จในช่วงต้ นๆ
ั
หลายกรณี แต่ตอมาก็ต้องประสบความล้ มเหลว ซึงน่าจะมีสาเหตุ
่
่
มาจากองค์ประกอบต่างๆดังนี ้
1.ประเทศมหาอานาจที่ย่ งใหญ่ ไม่ ได้ เป็ นสมาชิก กฎ
ิ
ข้ อบังคับขององค์การสันนิบาตชาติจะบังคับใช้ ได้ ผลก็เฉพาะ
ประเทศสมาชิกขององค์การนี ้หรือเป็ นแล้ วลาออกไป เช่น
สหรัฐอเมริ กา สหภาพโซเวียต เยอรมณี ญี่ปน อิตาลี
ุ่
องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations)
จุดอ่ อนขององค์ การสันนิบาตชาติ
สหรัฐอเมริกา สภาคองเกรสไม่ยอมให้ สตยาบันที่จะให้
ั
สหรัฐอเมริ กาเป็ นสมาชิกขององค์การ
สหภาพโซเวียต หลังสงครามโลกครังที1 สหภาพโซเวียตเกิด
้ ่
ความวุนวายภายในประเทศเพิ่งเข้ าเป็ นสมาชิกขององค์การ
่
สันนิบาตชาติเมื่อ ค.ศ.1934
องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations)
จุดอ่ อนขององค์ การสันนิบาตชาติ
เยอรมนี ได้ เข้ าเป็ นสมาชิกในค.ศ.1926 หลังจากการก่อตัง้
องค์การสันนิบาตชาติถึง6ปี เนื่องจากเยอรมนีเป็ นประเทศผู้แพ้
สงคราม ต้ องปฏิบติตามข้ อกาหนดเกี่ยวกับการเข้ าเป็ นสมาชิก
ั
และได้ ถอนตัวออกไปใน ค.ศ.1933 ก่อนที่สหภาพโซเวียตจะเข้ า
เป็ นสมาชิก1ปี
ญี่ปุ่น ถอนตัวออกไปใน ค.ศ.1933
อิตาลี ได้ ถอนตัวออกไปใน ค.ศ.1937
ตังแต่ ค.ศ.1937 ประเทศมหาอานาจที่ยงคงเป็ นสมาชิกตังแต่
้
ั
้
เริ่ มก่อตังจึงมีเพียงอังกฤษและฝรั่งเศสเท่านัน
้
้
องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations)
จุดอ่ อนขององค์ การสันนิบาตชาติ
2.ประเทศมหาอานาจโจมตีประเทศอื่น มหาอานาจหลาย
ประเทศได้ ก่อความก้ าวร้ าว รุกรานประเทศอื่นเสียเอง ได้ แก่
ฝรั่งเศสและเบลเยี่ยม ได้ เข้ ายึดครองเหมืองแร่ถานหินใน
่
แคว้ นรูห์ ซึงเปรี ยบเสมือนเส้ นโลหิตใหญ่ของเยอรมณี แม้
่
อังกฤษประท้ วงก็ไม่สาเร็ จ ทังนี ้เนื่องจากเยอรมนีผ้ แพ้ สงคราม
้
ู
ไม่สามารถจ่ายค่าปฏิกรรมสงครามตามกาหนดได้ เยอรมนีจง
ึ
ตอบโต้ ด้วยการนัดหยุดงานทัวประเทศ และก่อวินาศกรรม
่
องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations)
จุดอ่ อนขององค์ การสันนิบาตชาติ
ฝรั่งเศสให้ การสนับสนุนโปแลนด์ในการโจมตีลทวเนียเพื่อ
ิ ั
ยึดเมืองวิลนา เนื่องจากฝรั่งเศสและโปแลนด์ได้ เซ็นสัญญา
ใน ค.ศ.1921 ที่จะร่วมมือกันทุกเรื่ องเกี่ยวกับกิจการ
ต่างประเทศของคูสญญา
่ ั
อิตาลี ได้ โจมตีเกาะคอร์ ฟของกรีซโดยไม่ยอมรับบทบาทและ
ู
หน้ าที่ขององค์การสันนิบาตชาติ
องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations)
จุดอ่ อนขององค์ การสันนิบาตชาติ
ดังนันแม้ วาจะมีองค์การสันนิบาตชาติ แต่เมื่อประเทศมหาอานาจ
้ ่
ต้ องการผลประโยชน์หรื อจะเสียประโยชน์ด้วยประการใดๆก็ตาม
มหาอานาจเหล่านี ้จะเพิกเฉยต่อบทบาทและหน้ าที่ขององค์การ
สันนิบาตชาติ หรื อลาออกจากการเป็ นสมาชิก ซึงองค์การสันนิบาต
่
ชาติก็ไม่สามารถปฏิบติการใดๆ อันเป็ นการโต้ ตอบต่อประเทศ
ั
เหล่านันได้ จึงนับว่าความล้ มเหลวขององค์การสันนิบาตชาติอีก
้
ประการหนึง
่
องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations)
จุดอ่ อนขององค์ การสันนิบาตชาติ
การที่ประเทศต่างๆไม่ได้
ให้ ความร่วมมือในการดาเนินงาน
ขององค์การสันนิบาตชาติ ซึงมี
่
จุดมุงหมายที่จะนาสันติภาพมาสู่
่
มนุษยชาติ ทาให้ การดาเนินงาน
ขององค์การนี ้ไม่ประสบความสาเร็ จ
หลังจากการก่อตังองค์การสันนิบาต
้
ชาติมาได้ 20ปี สงครามโลกครังที2ก็
้ ่
อุบติขึ ้น
ั
องค์การสหประชาชาติ (United Nations)
องค์ การสหประชาชาติ
(United Nations)
เมื่อสงครามโลกครังที2สิ ้นสุดลง ฝ่ าย
้ ่
พันธมิตรได้ พยายามหาวิธีปองกันมิให้
้
สงครามเกิดขึ ้นอีก โดยดาเนินการดังนี ้
นายกรัฐมนตรีเซอร์ วินสตัน เชอร์ ชิลล์ แห่ง
อังกฤษ และประธานาธิบดีแฟรงกลิน ดี.
รูสเวลต์ แห่งสหรัฐอเมริกา ได้ ร่วมกัน
ประกาศกฎบัตรแอตแลนติก (Atlantic
Charter) บนเรื อรบออกัสตา (Augusta)
ของสหรัฐอเมริ กา ซึงจอดอยูนอกฝั่ งนิวฟั นด์
่
่
แลนด์เพื่อแสวงหาหลักปฏิบติในการรักษา
ั
สันติภาพของโลกในวันที่ 14 สิงหาคม
ค.ศ.1941

ประธานาธิบดีแฟรงกลิน
ดี.รู สเวลต์
แห่ งสหรัฐอเมริกา
เชอร์ ชิลล์ พบกับรู สเวลต์
บนเรื อยูเอสเอส ออกัสตา
ในการประชุมลับนอกฝั่ ง
นิวฟั นด์ แลนด์
เชอร์ ชิลล์ พบกับรู สเวลต์
บนเรื อราชนาวี
พรินซ์ ออฟเวลส์
องค์ การสหประชาชาติ
(United Nations)
ต่อมาประเทศต่างๆ รวม 26
ประเทศได้ ให้ คารับรองต่อกฎบัตร
แอตแลนติก และในการประชุมที่
กรุงมอสโก (Moscow
Conferrence) ซึงมีในสหรัฐอเมริกา
่
อังกฤษ สหภาพโซเวียต และจีนเป็ น
ผู้นา ก็ได้ ประกาศจัดตังองค์การ
้
รักษาสันติภาพขึ ้นในปี เดียวกัน

ต่อมาคารับรองเหล่านี ้ได้ กลายมา
เป็ นองค์การหลักแห่งความร่วมมือ
ระหว่างประเทศที่จะรักษา
สันติภาพของโลก โดยได้ ก่อตัง้
เป็ นองค์กรระหว่างประเทศ
เรี ยกว่า องค์การสหประชาชาติ
ขึ ้นเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม ค.ศ.1945
ร่ างกฎบัตรแก้ ไข
ลายมือเชอร์ ชิลล์
การลงนามในกฎบัตร
สหประชาชาติ
ณ ซานฟรานซิสโก
ปี ค.ศ.1945
องค์ การสหประชาชาติ
(United Nations)

ตราสั ญลักษณ์

ธงชาติสหประชาชาติ

สัญลักษณ์ที่ได้ รับการเสนอให้
เป็ นสัญลักษณ์ของสมัชชา
รัฐสภาแห่งสหประชาชาติ ซึง
่
เกี่ยวพันโดยตรงถึงการเลือกตัง้
ผู้แทนของประเทศโดยพลเมือง
ของประเทศนัน ๆ
้
องค์ การสหประชาชาติ
(United Nations)

สมาชิกภาพ
ปั จจุบน (ค.ศ.2007) องค์การ
ั
สหประชาชาตินี ้มีสมาชิกอยูทวโลก
่ ั่
รวม193ประเทศ ประเภทของสมาชิก
ภาพและเงื่อนไขการสมัครเข้ าเป็ น
สมาชิกขององค์การสหประชาชาติ มี
ดังนี ้
1.ประเภทของสมาชิก สมาชิก
ขององค์การสหประชาชาติม2ประเภท
ี
คือ

1) สมาชิกดังเดิม ได้ แก่ รัฐซึงเข้ าร่วม
้
่
ประชุมองค์การสหประชาชาติวา
่
ด้ วยองค์การระหว่างประเทศที่นคร
แซนแฟรนซิสโก สหรัฐอเมริ กา และ
ร่วมกันลงนามในกฎบัตร
สหประชาชาติเมื่อวันที่ 26มิถนายน
ุ
ค.ศ.1945 โดยมีรัฐเข้ าร่วมประชุม
เพื่อจัดตังองค์การสหประชาชาติ50
้
ประเทศ (กฎบัตรมีผลบังคับใช้ ใน
วันที่24ตุลาคม ค.ศ.1945 จึงถือว่า
วันที่ 24 ตุลาคมของทุกปี เป็ นวัน
สหประชาชาติ)
องค์ การสหประชาชาติ
(United Nations)

สมาชิกภาพ
2) สมาชิกที่สมัครเข้ าภายหลัง ได้ แก่
ประเทศทีมคณสมบัตตามที่ไกด้ กาหนด
่ ี ุ
ิ
ไว้ ในกฎบัตรสหประชาชาติ และสมัคร
เข้ าเป็ นสมาชิกภาพหลัง ซึงจะต้ องมี
่
คุณสมบัตตามเงื่อนไข
ิ
2.เงื่ อนไขการเข้ าเป็ นสมาชิก
องค์ การสหประชาชาติจะรับประเทศ
ต่างๆเข้ าเป็ นสมาชิกโดยพิจารณาจาก
เงื่อนไขต่อไปนี ้

1) เป็ นประเทศที่รักสันติภาพ และ
ยอมปฏิบติตามข้ อตกลงที่
ั
สหประชาชาติตงไว้
ั้
2) เป็ นประเทศที่ยอมรับฟั งความ
คิดเห็น และคาตัดสินต่างๆของ
สหประชาชาติในกรณีที่เกิดข้ อ
พิพาทหรื อขัดแย้ งกัน
3) ต้ องได้ รับคะแนนเสียงจานวน
2ใน3ของสมัชชาใหญ่ โดยมีคณะ
มนตรีความมันคงประกาศรับเป็ น
่
สมาชิกใหม่
แผนที่แสดงรัฐสมาชิกของ
สหประชาชาติ
ประเทศที่องค์ การ
สหประชาชาติรับรองว่ ามีเอก
ราช โดยไม่ คานึงถึงมุมมอง
ของรัฐสมาชิกอื่น หรือต่ อ
สถานภาพทางกฎหมายของ
ประเทศใด ๆ
ภาพเคลื่อนไหวแสดงถึงการเข้ าร่ วมเป็ นรัฐ
สมาชิกของสหประชาชาติเรียงตามปี
องค์ การสหประชาชาติ
(United Nations)

วัตถุประสงค์
องค์การสหประชาชาติมี
วัตถุประสงค์หลักดังนี ้
1.ธารงรักษาไว้ ซงสันติภาพและ
ึ่
ความมันคงของโลกโดยการร่วมมือกัน
่
2.เสริ มสร้ างความร่วมมือระหว่าง
ประเทศ เพื่อช่วยกันคลีคลายและ
่
แก้ ปัญหาทางด้ านสังคม เศรษฐกิจ
วัฒนธรรม และสิทธิทางด้ านมนุษยชน

3.เป็ นศูนย์กลางพัฒนา
ความสัมพันธ์อนดี และ
ั
ประสานงานกันระหว่างประเทศ
สมาชิกเพื่อให้ ดาเนินงาน
บรรลุผลตามเปาหมาย
้
องค์ การสหประชาชาติ
(United Nations)

การดาเนินงาน
องค์การสหประชาชาติมีหน่วยงานหรื อ
องค์กรหลักอยู6องค์กร คือ
่
1.สมัชชาใหญ่ (General Assembly)
เป็ นองค์กรหลักและเป็ นที่ประชุมใหญ่ของ
องค์การสหประชาชาติ และเป็ นศูนย์กลาง
ของกิจกรรมทังปวง ปั จจุบนมีสมาชิก
้
ั
ทังหมด191ราย ซึงสมาชิกแต่ละประเทศ
้
่
จะส่งผู้แทนเข้ าร่วมในสมัชชานี ้ได้ อย่างเท่า
เทียมกัน

ห้ องประชุมสมัชชาใหญ่
แห่ งสหประชาชาติ
ภายในที่ประชุมคณะมนตรี
ความมั่นคงแห่ งสหประชาชาติ

2.คณะมนตรี ความมันคง (Security
่
Council) เป็ นองค์กรหลักที่มีหน้ าที่
จัดการในเรื่ องความมันคงและตัดสิน
่
วินิจฉัยข้ อพิพาทขัดแย้ งของประเทศ
สมาชิก หรื อถ้ าประเทศใดก็ตามที่
ไม่ได้ เป็ นสมาชิกขององค์การ
สหประชาชาติจะเสนอเกี่ยวกับกรณี
พิพาทที่คกคามต่อสันติภาพของโลก
ุ
ต่อคณะมนตรี ความมันคงเพื่อ
่
พิจารณาก็ยอมทาได้
่
องค์ การสหประชาชาติ
(United Nations)

การดาเนินงาน
3.คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม
(Economic and Social Council)
เป็ นองค์กรหลักทางด้ านการแก้ ปัญหา
และรับผิดชอบทางด้ านเศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิทธิมนุษยชน
ตลอดจนด้ านการพัฒนาต่างๆที่
สมัชชาใหญ่มอบหมาย ประกอบด้ วย
ประเทศสมาชิกทังหมด 54 ประเทศ
้

ซึงได้ รับเลือกจากสมัชชาใหญ่แห่ง
่
สหประชาชาติวาระละสามปี ส่วน
ประธานมีวาระหนึงปี และได้ รับเลือก
่
จากประเทศขนาดเล็กหรื อขนาด
กลางเพื่อเป็ นผู้แทนของคณะมนตรี
เศรษฐกิจและสังคมแห่ง
สหประชาชาติ คณะมนตรี เศรษฐกิจ
และสังคมแห่งสหประชาชาติจดการ
ั
ประชุมขึ ้นทุกปี เมื่อถึงเดือน
กรกฎาคม เป็ นเวลาสีสปดาห์ แต่
่ ั
หลังจากปี ค.ศ.1998 เป็ นต้ นมา
และมีผลงานมากที่สดในองค์การ
ุ
สหประชาชาติ
องค์ การสหประชาชาติ
(United Nations)

การดาเนินงาน
4.คณะมนตรี ภาวะทรัสตี
(Trusteeship Council) เป็ น
องค์กรทีมความรับผิดชอบ
่ ี
ทางด้ านการปกครองดูแล
ประเทศทีอยูใสภาวะทรัสตี คือ
่ ่
ประเทศทียงไม่ได้ รับเอกราชที่
่ ั
สมบูรณ์

ซึงองค์การสหประชาชาติต้องให้
่
ความคุ้มครองดูแล นับตังแต่
้
ค.ศ.1957 ถึง ค.ศ.1968 ดินแดนที่
อยูในภาวะทรัสตีมี 11 แห่ง ใน
่
ค.ศ.1997 มีเพียงหมูเ่ กาะใน
มหาสมุทรแปซิฟิกภายใต้ การ
ปกครองดูแลของสหรัฐอเมริ กา
เท่านัน และหมูเ่ กาะเหล่านี ้ได้ รับ
้
เอกราชปกครองตนเองหมดแล้ ว
ตังแต่ ค.ศ.1999
้
องค์ การสหประชาชาติ
(United Nations)

การดาเนินงาน
5.ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
(International Court of Justice)
หรื อเรี ยกว่าศาลโลก เป็ น
องค์กรณ์ทางด้ านตุลาการของ
องค์การสหประชาชาติ
ประกอบด้ วยผู้พิพากษาจานวน
15 คน

ศาลยุตธรรมระหว่างประเทศถูกก่อตัง้
ิ
ขึ ้นเมื่อปี ค.ศ. 1945 เริ่ มทาหน้ าที่ใน
ปี ค.ศ.1946 แทนศาลยุตธรรมถาวร
ิ
ระหว่างประเทศ อนุสาวรีย์ของศาล
ยุติธรรมระหว่างประเทศ ซึงคล้ ายกับ
่
ศาลยุตธรรมถาวรระหว่างประเทศ
ิ
ก่อนหน้ า คือ ข้ อความรัฐธรรมนูญที่
วางระเบียบของศาลยุตธรรมระหว่าง
ิ
ประเทศ ศาลนี ้มีสานักงานตังอยูที่กรุง
้ ่
เฮก ประเทศเนเธอร์ แลนด์
ศาลยุตธรรมระหว่ างประเทศ
ิ
ซึ่งตังอยู่ในพระราชวัง
้
สันติภาพ กรุงเฮก
เนเธอร์ แลนด์
องค์ การสหประชาชาติ
(United Nations)

การดาเนินงาน
6.สานักเลขาธิการ (Secretariat)
เป็ นองค์กรที่มเี จ้ าหน้ าที่ประจา มี
เลขาธิการเป็ นหัวหน้ า เลขาธิการคน
ปั จจุบนคือ บัน คีมน (Ban Kiั
ู
moon) ซึงเป็ นชาวเกาหลีใต้ ได้ รับ
่
เลือกให้ ดารงตาแหน่ง มีวาระ5ปี
ตังแต่ ค.ศ.2007
้

นับเป็ นเลขาธิการสหประชาชาติคน
ที8 และเป็ นชาวเอเชียคนที2 ที่ได้ รับ
่
่
ตาแหน่งนี ้ ส่วนผู้ดารงตาแหน่งรอง
เลขาธิการสหประชาชาติคนปั จจุบน
ั
คือ มาร์ ค มัลลอร์ ช บราวน์ ซึงโดย
่
ปกติจะลาออกพร้ อมกับการหมด
วาระของเลขาธิการสหประชาชาติ
เพื่อเปิ ดทางให้ เลขาธิการคนใหม่
แต่งตังรองเลขาธิการคนต่อไปด้ วย
้
ตนเอง
บัน คีมูน เลขาธิการ
สหประชาชาติ
คนปั จจุบัน
สานักงานเลขาธิการแห่ ง
สหประชาชาติซ่ ึงตังอยู่ใน
้
สานักงานใหญ่ ขององค์ การ
สหประชาชาติ
องค์ การสหประชาชาติ
(United Nations)

การดาเนินงาน
7.หน่วยงานพิเศษ
นอกจาก 5 ส่วนหลักของสหประชาชาติแล้ ว
ยังมีหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติที่ทา
หน้ าที่แตกต่างออกไป อย่างเช่น องค์การ
อนามัยโลก
ซึงเป็ นไปตามกาหนดของกฎบัตร
่
สหประชาชาติวา หน่วยงานหลักของ
่
สหประชาชาติสามารถก่อตังหน่วยงานพิเศษ
้
ขึ ้นมาเพื่อเติมเต็มการทาหน้ าที่ของตัวเองได้

สัญลักษณ์ องค์ การอนามัยโลก

สานักงานใหญ่ องค์ การอนามัยโลก
ณ กรุงเจนีวา ประเทศ
สวิตเซอร์ แลนด์
องค์ การสหประชาชาติ
(United Nations)

ผลการปฏิบัตงาน
ิ
องค์การสหประชาชาติได้ แสดงบทบาท
และปฏิบติงานด้ านต่างๆได้ สาเร็จลุลวง
ั
่
หลายประการดังนี ้
1.ด้ านความขัดแย้ ง องค์การ
สหประชาชาติได้ จดการเจรจาแก้ ไข
ั
ปั ญหา หรื อบางครังก็ใช้ กองกาลังเข้ าไป
้
สนับสนุนในการแก้ ไขปั ญหาในกรณี
พิพาท หรื อความขัดแย้ งเกี่ยวกับเรื่ อง
เชื ้อชาติ

ลัทธิทางการเมือง หรื อดินแดน
ภายในประเทศหรื อระหว่างประเทศ
ได้ สาเร็ จลุลวงหลายกรณีเช่น ปั ญหา
่
สงครามในคาบสมุทรเกาหลี ปั ญหา
สงครามระหว่างอาหรับและ
อิสราเอลซึงเกิดขึ ้นหลายครัง ปั ญหา
่
้
สงครามกลางเมืองในไซปรัส ปั ญหา
สงครามแคว้ นคาตังกาในคองโก
ปั ญหาอิรักยึดครองคูเวต และยังมี
ปั ญหาที่องค์การสหประชาชาติกาลัง
ดาเนินการแก้ ไขอยูในปั จจุบน เช่น
่
ั
ปั ญหาความขัดแย้ งในโซมาเลีย
ปั ญหาแคว้ นแคชเมียร์ ระหว่าง
อินเดียและปากีสถาน
องค์ การสหประชาชาติ
(United Nations)

ผลการปฏิบัตงาน
ิ
2.ด้ านการลดอาวุธ การที่สมาชิก
องค์การสหประชาชาติซงส่วนใหญ่เป็ น
ึ่
ประเทศขนาดเล็กและขนาดกลางได้ ยก
ปั ญหาที่เกิดขึ ้นเนื่องจากประเทศใหญ่
หรื อประเทศมหาอานาจได้ สะสมกอง
กาลังอาวุธไว้ เป็ นจานวนมาก ย่อมทาให้
เกิดความตึงเครี ยดซึงอาจก่อให้ เกิด
่
สงครามและขาดความมันคงปลอดภัยขึ ้น
่

องค์การสหประชาชาติก็ได้ ตระหนัก
ในปั ญหานี ้จึงได้ จดให้ มีการเจรจา
ั
เพื่อลดและควบคุมการใช้ อาวุธขึ ้น
โดยเฉพาะอาวุธนิวเคลียร์ ของสอง
ประเทศมหาอานาจและได้ มการ
ี
จัดทาสนธิสญญาเกี่ยวกับการลด
ั
และควบคุมอาวุธขึ ้นหลายฉบับ เช่น
สนธิสญญาจากัดอาวุธนอกพิภพ
ั
สนธิสญญาห้ ามทดลองอาวุธ
ั
นิวเคลียร์ สนธิสญญาห้ าม
ั
ครอบครองอาวุธนิวเคลียร์ ในลาติน
อเมริ กา สนธิสญญาว่าด้ วยอาวุธ
ั
แบคทีเรียและสารพิษ
องค์ การสหประชาชาติ
(United Nations)

ผลการปฏิบัตงาน
ิ
3.ด้ านเศรษฐกิจและสังคม องค์การ
สหประชาชาติได้ สงเสริ มและสนับสนุน
่
เพื่อพัฒนาความก้ าวหน้ าทาง
เศรษฐกิจและสังคมทังด้ านเงินทุนและ
้
บุคลากร โดยให้ ความช่วยเหลือแก่
ประเทศกาลังพัฒนาเกี่ยวกับเรื่องการ
พัฒนาคุณภาพประชากร การอนุรักษ์
ทรัพยากรและสิงแวดล้ อม การพัฒนา
่
อุตสาหกรรมและเทศโนโลยี

การให้ สทธิพเิ ศษทางการค้ าโดยผ่าน
ิ
ทบวงการชานาญพิเศษ หรื อองค์กรณ์
ต่างๆ เช่น ธนาคารโลก(World Bank)
การประชุมสหประชาชาติวาด้ วยการค้ า
่
และการพัฒนา(UNCTAD) องค์การ
การค้ าโลก(WTO) องค์การพัฒนา
อุตสาหกรรมของสหประชาชาติ
(UNIDO) องค์การอาหารและเกษตร
แห่งสหประชาชาติ(FAO) กองทุนเพื่อ
กิจกรรมประชากรแห่งสประชาชาติ
(UNFPA) กองทุนสงเคราะห์เด็กแห่ง
สหประชาชาติ(UNICEF) สานักงาน
ข้ าหลวงใหญ่
ผู้ลี ้ภัยแห่งสหประชาชาติ(UNHCR)
ธนาคารโลก

องค์ การการค้ าโลก(WTO)
องค์ การพัฒนาอุตสาหกรรม
ของสหประชาชาติ(UNIDO)

องค์ การอาหารและเกษตรแห่ ง
สหประชาชาติ(FAO)
องค์ การสหประชาชาติ
(United Nations)

ผลการปฏิบัตงาน
ิ
4.ด้ านสิทธิมนุษยชน องค์การ
สหประชาชาติเป็ นองค์กรกลางทีจะต่อสู้
่
และรักษาไว้ ซงสิทธิและอิสรภาพขัน
ึ่
้
พื ้นฐานของมนุษย์ที่ไม่เลือกเชื ้อชาติ ภาษา
ศาสนา และเพศ โดยผ่านทาง
คณะกรรมการว่าด้ วยสิทธิมนุษยชน
(Commission on Human Rights) และ
กาหนดให้ วนที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็ น
ั
วันสิทธิมนุษยชนโลก

เพื่อส่งเสริ มสิทธิของมนุษย์ทวโลกให้ มี
ั่
ความเท่าเทียมกันทางด้ านเสรี ภาพ ความ
ปลอดภัย ความเสมอภาค และสิทธิในการ
ร่วมสมาคม การทางาน การพักผ่อน การใช้
เวลาว่าง และการศึกษา

เอเลนอร์ โรสเวลต์ กับปฏิญญา
สากลว่ าด้ วยสิทธิมนุษยชน ใน
ปี ค.ศ. 1949
องค์ การสหประชาชาติ
(United Nations)

ผลการปฏิบัตงาน
ิ
5.ด้ านกฎหมาย องค์การ
สหประชาชาติได้ จดร่างกฎหมาย
ั
ระหว่างประเทศขึ ้นหลายฉบับทังนี ้
้
เพื่อรักษาความยุตธรรม ความเข้ าใจ
ิ
อันดี และการรักษาผลประโยชน์ของ
ประชาชาติ ซึงจัดดาเนินการโดย
่
คณะกรรมการเฉพาะกิจที่กาหนดขึ ้น
จากการประชุมสมัชชาใหญ่และศาล
โลก

เช่น กฎหมายทางทะเล กฎหมายว่า
ด้ วยความสัมพันธ์ทางการทูต
กฎหมายว่าด้ วยการค้ าระหว่าง
ประเทศ กฎหมายว่าด้ วยแรงงาน
ระหว่างประเทศ นอกจากนี ้ศาลโลก
แห่งสหประชาชาติยงได้ พจารณา
ั ิ
พิพากษาคดีปัญหาระหว่างประเทศ
หลายปั ญหาเช่น กรณีเขาพระวิหาร
ระหว่างไทยกับกัมพูชา กรณีนา
มิเบียที่ถกสาธารณรัฐแอฟริ กาใต้
ู
ยึดครอง
สาธารณรัฐนามิเบีย

เขาพระวิหารระหว่ างไทยกับกัมพูชา

สาธารณรัฐนามิเบียที่ถก
ู
สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ ยดครอง
ึ
องค์ การสหประชาชาติ
(United Nations)

ผลการปฏิบัตงาน
ิ
6.ด้ านความเป็ นเอกราชของ
ประเทศ ดินแดนทีอยูในความดูแล
่ ่
ของคณะมนตรี ภาวะทรัสตีแห่ง
สหประชาชาติได้ รับการปลดปล่อย
เป็ นเอกราชเพื่อการปกครองตนเอง
หลายประเทศเช่น โตโก แคเมอรูน
นาอูรู ปาปั วนิวกีนี

องค์การสหประชาชาตินบเป็ น
ั
องค์กรระหว่างประเทศที่ประสบ
ความสาเร็จมากกว่าองค์การระหว่าง
ประเทศใดๆทังนี ้เนื่องจากประเทศ
้
ส่วนใหญ่ในโลกต่างยอมรับหลักการ
และร่วมมือปฏิบติตามด้ วยดี หาก
ั
องค์กรนี ้ต้ องยุติหรื อล่มสลายลง
สงครามโลกก็คงจะเกิดขึ ้นอีก และจะ
ก่อให้ เกิดความเสียหายทังชีวตและ
้ ิ
ทรัพย์สนมากกว่าสงคราใดๆในอดีต
ิ
จัดทาโดย
นางสาวสิรินพร ศรี วนิชย์
ม.6.5 เลขที่ 36
นางสาวหทัยภัทร วิทรานิช
ุ
ม.6.5 เลขที่ 38

More Related Content

What's hot

ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศjanejaneneee
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางSherry Srwchrp
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมFemale'PiAtip BoOn Paeng
 
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาบทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาThammasat University
 
สงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohmสงครามโลก Ohm
สงครามโลก OhmTaraya Srivilas
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
เหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติเหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติtinnaphop jampafaed
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือWarodom Techasrisutee
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21jinjuthabam
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปPannaray Kaewmarueang
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21Pannaray Kaewmarueang
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2Pannaray Kaewmarueang
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 

What's hot (20)

ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
 
สงครามอ่าวเปอร์เซีย
สงครามอ่าวเปอร์เซียสงครามอ่าวเปอร์เซีย
สงครามอ่าวเปอร์เซีย
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาบทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
สงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohmสงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohm
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
เหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติเหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติ
 
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 

More from Pannaray Kaewmarueang

การประสานผลประโยชน์
การประสานผลประโยชน์การประสานผลประโยชน์
การประสานผลประโยชน์Pannaray Kaewmarueang
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่Pannaray Kaewmarueang
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Pannaray Kaewmarueang
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางPannaray Kaewmarueang
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกPannaray Kaewmarueang
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียPannaray Kaewmarueang
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์Pannaray Kaewmarueang
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางPannaray Kaewmarueang
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันPannaray Kaewmarueang
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียPannaray Kaewmarueang
 

More from Pannaray Kaewmarueang (13)

การประสานผลประโยชน์
การประสานผลประโยชน์การประสานผลประโยชน์
การประสานผลประโยชน์
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
โอเปก
โอเปกโอเปก
โอเปก
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
 
ปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนาปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนา
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 

การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ

  • 1.
  • 2. ความขัดแย้ งที่ไม่สามารถยุติได้ ยอมทา ่ ความเสียหายแก่มนุษยชาติทงชีวิตและ ั้ ทรัพย์สินประเทศต่างๆจึงพยายามหาวิธี ปกปองผลประโยชน์ของตน โดยการร่วมมือ ้ ช่วยเหลือกันระหว่างกลุมเพื่อประสานสัมพันธ์ ่ ในการที่จะรักษาผลประโยชน์ร่วมกัน
  • 3. การประสานประโยชน์ หมายถึง การ ร่วมมือกันเพื่อรักษาและปกปองผลประโยชน์ของ ้ ตนและเป็ นการระงับกรณีความขัดแย้ งที่มาจาก การแข่งขันทางการเมืองและเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศ การประสานประโยชน์ มีความสาคัญทัง้ ทางด้ านการเมือง การทหาร การค้ า และการทูต อย่างไรก็ตามแม้ จะมีการสานประโยชน์กน แต่ก็ยง ั ั มีการแข่งขัน ความขัดแย้ ง และสงครามอยู่ ดังนัน ้ สังคมโลกจึงมีความจาเป็ นที่จะต้ องให้ การ สนับสนุน และปรับปรุงวิธีการประสานประโยชน์ ระหว่างประเทศให้ มากยิ่งขึ ้น ทังในปั จจุบนและ ้ ั อนาคต
  • 4. องค์ การระหว่ างประเทศ หมายถึง องค์การที่รัฐ ตังแต่สองรัฐขึ ้นไปร่วมกันก่อตัง้ มีการประชุมร่วมกันเป็ น ้ ประจา มีวตถุประสงค์ในการธารงรักษาสันติภาพและ ั แก้ ไขความขัดแย้ งระหว่างประเทศ เช่น องค์การ สหประชาชาติ ซึงมีแนวทางในการแก้ ไขความขัดแย้ ง ่ ต่างๆ องค์การสนธิสญญาแอตแลนติกเหนือหรื อนาโต ซึ่ง ั รักษาผลประโยชน์ของกลุมประเทศ ่
  • 6. องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations) สันนิบาตชาติ เป็ นองค์การระหว่าง ประเทศ ตังขึ ้นในปี พ.ศ. 2462 ้ จากการประชุมสันติภาพที่ปารี ส ของประเทศผู้ชนะสงครามโลก ครังที่หนึง เปาหมายของ ้ ่ ้ สันนิบาตชาติคือการควบคุม กองกาลัง ปองกันสงคราม ้ ไกล่เกลียข้ อพิพาทระหว่างประเทศด้ วยการเจรจาและการทูต และ ่ พัฒนาความเป็ นอยูของโลก สันนิบาตชาติไม่มีกองกาลังของตัวเอง จึง ่ ต้ องพึงพาชาติมหาอานาจในการดาเนินการตามคาสัง สันนิบาตชาติ ่ ่ ล้ มเหลวในการปองกันสงครามโลกครังที่สอง และแทนที่โดย ้ ้ สหประชาชาติหลังจบสงคราม
  • 7. องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations) เมื่อเดือนมกราคม ค.ศ. 1919 ประธานาธิบดีวดโรว์ วิลสัน ู (Woodrow Wilson) แห่งสหรัฐอเมริ กา ได้ เสนอหลักการ 14 ข้ อ (Wilson’s Fourteen Points) เพื่อใช้ เป็ นหลักในการเจรจาทา สนธิสญญาสันติภาพต่อผู้นาของประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส และ ั อิตาลี ซึงเป็ นแนวความคิดที่จะปองกันมิให้ เกิดสงครามร้ ายแรงทีจะ ่ ้ ่ ทาลายล้ างประชาชาติขึ ้นอีก โดยให้ สถาปนาองค์การสันนิบาตชาติ ขึ ้นเพื่อเป็ นองค์กรกลางทีจะใช้ แก้ ปัญหากรณีพิพาทระหว่างประเทศ ่ โดยสันติวิธีเพื่อดารงรักษาสันติภาพอันถาวรไว้ องค์การสันนิบาต ชาติประชุมครังแรก ณ กรุงเจนีวาประเทศ สวิตเซอร์ แลนด์ ้
  • 8. องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations) ประธานาธิบดี วูดโรว์ วิลสัน ผู้เสนอให้ ก่อตังองค์ การนีขน ้ ้ ึ้
  • 9. องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations) การ์ ดที่ระลึกในโอกาสก่ อตังสันนิบาต คนในรู ปคือ ้ ประธานาธิบดี วูดโรว์ วิลสัน ผู้เสนอให้ ก่อตังองค์ การนีขึน ้ ้ ้
  • 10. องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations) แนวความคิดของประชาคมนานาชาติที่ อยูร่วมกันอย่างสันติมมานานแล้ ว ในปี ค.ศ. ่ ี 1795 อิมมานูเอล คานต์ เสนอให้ มีการก่อตัง้ องค์การที่จะไกล่เกลียของพิพาทและรักษา ่ สันติภาพระหว่างประเทศในงานเขียนของ เขา Perpetual Peace: A Philosophical Sketch โดยเขาย ้าว่าแนวทางนี ้ไม่ใช่การให้ มี รัฐบาลปกครองโลก แต่ให้ รัฐบาลของแต่ละ ประเทศเคารพพลเมืองของตน และต้ อนรับ ชาวต่างประเทศในลักษณะที่เป็ นมนุษย์ ด้ วยกัน สันติภาพระหว่างประเทศก็จะเกิดขึ ้น
  • 11. องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations) ต่อมาเมื่อเกิดสงครามนโปเลียนในศตวรรษที่ 19 ก็มความ ี พยายามร่วมมือกันเพื่อให้ ยโรปมีความมันคงยิงขึ ้น รวมทังได้ เกิด ุ ่ ่ ้ อนุสญญาเจนีวาขึ ้นเพื่อมนุษยธรรมระหว่างสงคราม และ ั อนุสญญาเฮกซึงกาหนดกฎเกณฑ์ของสงครามและการไกล่เกลีย ั ่ ่ ข้ อพิพาทระหว่างประเทศ และในปี ค.ศ. 1889 นักรณรงค์สนติภาพ ั ได้ ก่อตังสมัชชาสหภาพรัฐสภา (Inter-Parliamentary Union: IPU) ้ ขึ ้นเพื่อสนับสนุนการเจรจาและการทูตในการแก้ ไขข้ อพิพาท
  • 12. องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations) ในช่วงต้ นศตวรรษที่ 20 มีกลุมอานาจใหญ่สองกลุมในยุโรปที่ ่ ่ ขัดแย้ งกัน และเป็ นสาเหตุของสงครามโลกครังที่หนึง สงครามนี ้ได้ ้ ่ ส่งผลกระทบในทุกด้ านของชีวต และทาให้ เกิดกระแสต่อต้ าน ิ สงครามทัวโลก จนเกิดวลีเรียกสงครามโลกครังที่หนึงว่า "สงคราม ่ ้ ่ เพื่อที่จะหยุดสงครามทังหมด" และมีการสืบสวนพบว่าสาเหตุเกิด ้ จาก การแข่งขันทางอาวุธ พันธมิตร การทูตลับ และเสรี ภาพในการ เข้ าร่วมสงครามของรัฐต่าง ๆ เพื่อประโยชน์สวนตน จึงมีการเสนอให้ ่ มีองค์การระหว่างประเทศที่จะทาหน้ าที่หยุดสงครามในอนาคตด้ วย การลดอาวุธ การทูตอย่างเปิ ดเผย การตัดสินข้ อพิพาท ความร่วมมือ ระหว่างชาติ การควบคุมสิทธิในการเข้ าร่วมสงคราม และการลงโทษ ประเทศที่ทาผิดกฎ
  • 13. องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations) บุคคลสาคัญทีมีสวนทาให้ สนนิบาตชาติเป็ นความจริ งขึ ้นมาคือ ่ ่ ั ประธานาธิบดี วูดโรว์ วิลสัน แห่งสหรัฐอเมริ กา การตังสันนิบาตชาติ ้ เป็ นหนึงในหลักการสีสบข้ อของวิลสัน ซึงข้ อ 14 ระบุวา การรวมตัว ่ ่ ิ ่ ่ กันของประชาชาติควรจะถูกก่ อตังขึนภายใต้ พนธะที่แน่ นอน ้ ้ ั เพื่อจุดประสงค์ ท่ สามารถให้ ความช่ วยเหลือกันได้ กับทุกฝ่ าย ี และให้ การรับรองแก่ รัฐที่มีขนาดเล็กกว่ าเทียบเท่ ากับตนเอง โดยการจัดตังองค์ การสันนิบาตชาติขึนมา โดยในระหว่างการ ้ ้ ประชุมสันติภาพที่ปารี ส ซึงมีสามประเทศใหญ่ผ้ ชนะสงครามเข้ าร่วม ่ ู คือ อเมริ กา ฝรั่งเศส สหราชอาณาจักร แนวความคิดการก่อตัง้ สันนิบาตชาติของวิลสันได้ รับการยอมรับ และกลายเป็ นส่วนหนึงของ ่ สนธิสญญาแวร์ ซายส์ ั
  • 14. องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations) กติกาสันนิบาตชาติถกร่างขึ ้นโดยคณะกรรมการพิเศษ โดยมี ู 44 ประเทศที่เซ็นยอมรับกติกานี ้ซึงรวมถึงประเทศไทยด้ วย อย่างไร ่ ก็ดีแม้ วิลสันจะประสบผลสาเร็ จในการผลักดันให้ สนนิบาตชาติเป็ น ั จริ งขึ ้นมา ซึงทาให้ เขาได้ รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพในปี ่ เดียวกัน แต่รัฐสภาอเมริ กากลับมีมติไม่ยอมให้ ประเทศอเมริ กาเข้ า ร่วมสันนิบาต เนื่องจากเกรงว่าจะมีข้อผูกมัดตามมา ซึงจะเป็ น ่ สาเหตุที่ทาให้ สนนิบาตล่มในเวลาต่อมา ั สันนิบาตชาติเปิ ดประชุมคณะมนตรี หกวันหลังจากสนธิสญญา ั แวร์ ซายส์มีผลบังคับใช้ ต่อมาสานักงานใหญ่ถกย้ ายไปกรุงเจนีวา ู และมีการประชุมสมัชชาใหญ่ครังแรกในปี ค.ศ. 1920 ้
  • 15. องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations) ภาพของสนธิสัญญาแวร์ ซายฉบับภาษาอังกฤษ
  • 16. องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations) มีตราสัญลักษณ์กึ่งทางการเกิดขึ ้น ครังแรกในปี ค.ศ. 1939 ซึงเป็ นดาวห้ า ้ ่ เหลี่ยมสองดวงในรูปห้ าเหลี่ยมสีน ้าเงิน สื่อความหมายถึงทวีปในโลก 5 ทวีป และเผ่าพันธุ์ 5 เผ่า (ขาว เหลือง น ้าตาล ดา แดง) ตามที่เชื่อกันในสมัยนัน ้ ด้ านบนเป็ นชื่อภาษาอังกฤษ (League of Nations) ส่วนด้ านล่างเป็ นภาษา ฝรั่งเศส ตราสัญลักษณ์
  • 17. องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations) สมาชิกภาพ ประเทศทีเ่ ป็ นฝ่ ายชนะในสงครามโลกครังที่ 1 ทุกประเทศได้ ร่วมลงนาม ้ ในสนธิสญญาสันติภาพและเป็ นสมาชิกขององค์การสันนิบาตชาติโดย ั อัตโนมัติประเทศที่แพ้ สงครามมีสทธิเข้ าเป็ นสมาชิกขององค์การนี ้ได้ แต่ ิ ต้ องปฏิบตตามสนธิสญญาสันติภาพให้ เรี ยบร้ อยเสียก่อน ส่วนประเทศ ัิ ั อื่น จะเข้ าเป็ นสมาชิกได้ เมื่อได้ รับความเห็นชอบจากการออกเสียงสอง ในสามของประเทศสมาชิกส่วนสหรัฐอเมริ กาแม้ จะเป็ นผู้ริเริ่มแนวคิด การจัดตังองค์การนี ้ไม่ได้ เป็ นสมาชิก เนื่องจากสภาคองเกรสของ ้ สหรัฐอเมริ กาไม่ยอมให้ สตยาบัน ั
  • 18. องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations) รัฐสมาชิก แผนที่รัฐสมาชิกของสันนิบาตในปี ค.ศ. 1920 รัฐสมาชิก อาณานิคมของรัฐสมาชิก ดินแดนภายใต้ อาณัติสนนิบาตชาติ ั รัฐที่ไม่เป็ นสมาชิก อาณานิคมของรัฐที่ไม่เป็ นสมาชิก
  • 19. องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations) รัฐสมาชิก เมื่อเริ่ มต้ นมีรัฐสมาชิกร่วมก่อตังสันนิบาต 42 ประเทศ แต่มีเพียง ้ 23 ประเทศเท่านันที่เป็ นสมาชิกจนกระทังยุบสันนิบาตในปี ค.ศ. 1946 ้ ่ ซึงประเทศไทยรวมอยูในประเทศเหล่านี ้ด้ วย ่ ่ สันนิบาตมีจานวนรัฐสมาชิกมากที่สดคือ 58 ประเทศในช่วงปี ุ ค.ศ. 1934-1935
  • 20. องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations) ดินแดนใต้ อาณัติ เมื่อสงครามโลกครังที่หนึงจบลง ประเทศผู้แพ้ เช่น เยอรมนี และ ้ ่ จักรวรรดิออตโตมัน จาต้ องสละอาณานิคมซึงเป็ นบทลงโทษจาก ่ ประเทศผู้ชนะสงคราม การประชุมสันติภาพที่ปารี สจึงได้ ตกลงให้ รัฐบาลต่าง ๆ บริ หารอาณาบริ เวณเหล่านี ้ในนามของสันนิบาต เรี ยกว่า ดินแดนใต้ อาณัติ (mandate) ซึงอานาจของสันนิบาตใน ่ การจัดการได้ รับการรับรองจากมาตรา 22 ของกติกาสันนิบาต ชาติ โดยมีคณะกรรมการจัดการดินแดนใต้ อาณัติเป็ นผู้ดแล ู
  • 21. องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations) ดินแดนใต้ อาณัติ ดินแดนใต้ อาณัติถกแบ่งออกเป็ นสามประเภท A B C ตามมาตรา 22 ู • A คือดินแดนที่เคยอยูในจักรวรรดิออตโตมันมาก่อน ที่ "ต้ องได้ รับ ่ ความช่วยเหลือจากผู้ได้ รับมอบอาณัตเิ ป็ นระยะเวลาหนึงจนกว่าจะ ่ สามารถปกครองตนเองได้ " • B คือดินแดนที่เคยเป็ นอาณานิคมของเยอรมนีมาก่อน ที่ "ต้ องได้ รับ การเข้ ามาดูแลเพื่อรักษาเสรี ภาพทางมโนธรรมและศาสนา...และเพื่อ ยับยังการค้ าทาส การค้ าอาวุธ" ้ • C คือเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้ ที่ "สมควรที่สดที่จะอยูใต้ อาณัติ... ุ ่ เพื่อที่ชนพื ้นเมืองจะได้ รับการปกปองดังที่กล่าวมาแล้ ว ้
  • 22. องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations) ดินแดนใต้ อาณัติ ส่วนประเทศมหาอานาจขณะนัน 7 ประเทศได้ รับมอบอาณัติ ้ (mandatory) คือมีอานาจปกครองดินแดนใต้ อาณัติของสันนิบาต ได้ แก่ สหราชอาณาจักร, สหพันธ์ แอฟริ กาใต้ , ฝรั่งเศส, เบลเยียม, นิวซีแลนด์, ออสเตรเลีย และญี่ปน ุ่ ดินแดนใต้ อาณัติทงหมดไม่ได้ รับเอกราชจวบจนสงครามโลกครังที่ ั้ ้ สองสิ ้นสุด ยกเว้ นประเทศอิรักประเทศเดียวที่ได้ รับเอกราชและเข้ าร่วม สันนิบาตในปี ค.ศ. 1932 หลังจากสันนิบาตถูกยุบดินแดนใต้ อาณัติ เหล่านี ้ถูกโอนไปให้ สหประชาชาติดแล เรี ยกว่า ดินแดนมอบหมายของ ู สหประชาชาติ (United Nations Trust Territories) และเป็ นเอกราช ทังหมดในปี ค.ศ. 1990 ้
  • 23. องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations) ดินแดนใต้ อาณัติ นอกจากดินแดนใต้ อาณัติแล้ ว สันนิบาตยังปกครองดินแดน ลุมแม่น ้าซาร์ เป็ นเวลา 15 ปี ก่อนจะจัดให้ มีประชามติ ซึง ่ ่ ประชากรส่วนใหญ่เลือกที่จะกลับเข้ าเป็ นส่วนหนึงของเยอรมนี ่ และยังปกครองเมืองอิสระแห่งดันซิก (ปั จจุบนเป็ นส่วนหนึงของ ั ่ ประเทศโปแลนด์) ตังแต่ค.ศ. 1920 - 1939 ้
  • 24. องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations) วัตถุประสงค์ จุดประสงค์สาคัญที่สดของ ุ องค์การสันนิบาตชาติ คือ การดารง สันติภาพและปองกันสงครามใน ้ อนาคต ประเทศสมาชิกต่างให้ สัตยาบันที่จะเคารพเอกราช และบูรณ ภาพแห่ง อาณาเขตของประเทศต่าง ๆ และในกรณีที่ประเทศสมาชิกใดถูก รุกรานทังทางด้ านเศรษฐกิจหรื อกาลัง ้ ทหารต้ องเป็ นหน้ าที่ของประเทศ สมาชิกอื่นในการร่วมมือกันต่อต้ านผู้ รุกราน
  • 25. องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations) วัตถุประสงค์ องค์การสันนิบาตชาติมีหลักการในความร่วมมือกัน ดังนี ้ 1. ร่วมมือกันรักษาความปลอดภัยและความมันคงระหว่างประเทศ ่ 2. เป็ นองค์กรกลางในการตัดสินชี ้ขาดกรณีพิพาทระหว่างประเทศ 3. ร่วมมือกันดาเนินการลดกาลังอาวุธยุทโธปกรณ์ 4. ส่งเสริ มความร่วมมือระหว่างประเทศ เพื่อเปิ ดความสัมพันธ์ ทางการทูต
  • 26. องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations) การดาเนินงาน การดาเนินงาน องค์การสันนิบาตชาติ (League of Nations) มี องค์กรต่างๆทาหน้ าที่และรับผิดชอบ ดังนี ้ 1. สมัชชา คือ ที่ประชุมใหญ่ขององค์การ ประกอบด้ วยผู้แทนของประเทศสมาชิก ทังหมด ประเทศละไม่ ้ เกิน 3 คน ออกเสียงลงคะแนนได้ ประเทศละ 1 เสียง มีวาระการ ประชุมปี ละครัง เพื่อพิจารณาปั ญหาต่างๆที่อาจส่งผลกระทบต่อ ้ สันติภาพของโลก
  • 27. องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations) การดาเนินงาน 2. คณะมนตรี ทาหน้ าทีเ่ ป็ นผู้บริ หารองค์การ เมื่อตัง้ ครังแรกประกอบด้ วยสมาชิก ประเภทถาวร 4 ประเทศ คือ ฝรั่งเศส ้ อังกฤษ อิตาลี และญี่ปน และสมาชิกประเภทไม่ถาวรทีมาจากการ ุ่ ่ เลือกตัง้ อีก 4 ประเทศ คณะมนตรีนี ้มีการประชุมปี ละครัง เพื่อ ้ พิจารณาปั ญหาเรื่ องต่างๆที่เป็ นภัยคุกคามต่อสันติภาพของโลก และปฎิบติตามข้ อเสนอแนะของสมัชชา ั 3. สานักงานเลขาธิการ เป็ นสานักงานจัดทารายงาน รักษาเอกสารหลักฐาน อานวยการวิจยและประสานงานกับฝ่ าย ั ต่างๆ
  • 28. องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations) การดาเนินงาน 4. คณะกรรมาธิการ ทาหน้ าที่เกี่ยวกับกิจการด้ าน เศรษฐกิจและสังคม ได้ แก่ องค์การอนามัยระหว่างประเทศ สานัก แรงงานสากล คณะกรรมาธิการฝ่ ายดินแดนในอาณัติ 5. ศาลยุติธรรมระหว่ างประเทศ ทาหน้ าทีเ่ กี่ยวกับ กฎหมายระหว่างประเทศในการพิจารณาคดีตางๆและกรณีพิพาท ่ เกี่ยวกับพรมแดน ศาลยุติธรรมระหว่ างประเทศ ประกอบด้ วยผู้ พิพากษา 15 คน
  • 29. องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations) วังแห่ งประชาชาติ ณ กรุงเจนีวา เป็ นสานักงานใหญ่ ของสันนิบาตตังแต่ ปี 1929 จนกระทั่งถูกยุบ ้
  • 30. องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations) ผลงานขององค์ การสันนิบาตชาติ ผลงานที่ประสบความสาเร็จ กรณีหมู่เกาะอาลันด์ ที่สวีเดน และฟิ นแลนด์ตางแย่งชิงกันจะเข้ าครอบครององค์การสันนิบาตชาติ ่ ตัดสินให้ มอบหมูเ่ กาะอาลันด์อยูภายใต้ อานาจอธิปไตยของฟิ นแลนด์ ่ แต่ต้องเป็ นดินแดนปลอดทหารและมีสถานภาพกึ่งอิสระ หมู่เกาะอาลันด์ ในทะเลบอลติก
  • 31. องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations) ผลงานที่ไม่ ประสบความสาเร็จ 1.เหตุการณ์ ญ่ ีปุ่นรุ กรานแคว้ นแมนจูเรียของ จีน องค์การสันนิบาตชาติไม่สามารถใช้ มาตรการใดๆลงโทษ ญี่ปนได้ ุ่ 2.เหตุการณ์ รุนแรงที่เกาะคอร์ ฟู อิตาลีใช้ กาลังเข้ ายึด ครองเกาะคอร์ ฟของกรี ซ ซึงองค์การสันนิบาตชาติไม่สามารถ ู ่ ยับยัง้ หรื อลงโทษอิตาลีได้ ทังๆที่กรี ซและอิตาลีตางก็เป็ นสมาชิก ้ ่ ขององค์การ
  • 32. องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations) ผลงานที่ไม่ ประสบความสาเร็จ 3.เยอรมนีละเมิดสนธิสัญญาแวร์ ซาย โดยการส่งทหารเข้ าสูเ่ ขต ปลอดทหารไรน์แลนด์ของเยอรมนี 4.สงครามอะบิสซิเนีย ที่อิตาลีสงกองทัพบุกอะบิสซิเนีย ่ (เอธิโอเปี ย) โดยไม่ประกาศสงคราม และสามารถยึดกรุงแอดดิสอาบาบา ได้ ซึงสมัชชาขององค์การสันนิบาตชาติได้ ลงมติประณามอิตาลีวาเป็ น ่ ่ ฝ่ ายรุกราน และลงโทษอิตาลีโดยการงดติดต่อค้ าขายกับอิตาลี แต่ไม่ได้ ผลเพราะอิตาลีได้ รับการสนับสนุนจากเยอรมนี อีกทังอิตาลียงตอบโต้ ้ ั ด้ วยการลาออกจากการเป็ นสมาชิกขององค์การสันนิบาตชาติอีก ด้ วย
  • 33. องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations) การที่องค์ การสันนิบาตชาติเกิดความอ่ อนแอ เนื่องมาจากการมีความคิดที่ไม่สอดคล้ องกับความเป็ นจริง โดยมองว่าทุกประเทศมีผลประโยชน์ร่วมกัน แต่ความจริ งแล้ วในช่วงเวลาหลังสงครามโลกครังที่ 1 แต่ละ ้ ประเทศคิดถึงแต่ผลประโยชน์เป็ นหลักสาคัญที่สด เหนือบทบาท ุ ขององค์การสันนิบาตชาติ ทาให้ องค์การสันนิบาตชาติไม่สามารถ แก้ ไขปั ญหาได้ และประสบความล้ มเหลวตลอดมา จนกระทัง ่ องค์การสันนิบาตชาติสิ ้นสภาพในช่วงสงครามโลกครังที่ 2 ้
  • 34. องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations) จุดอ่ อนขององค์ การสันนิบาตชาติ แม้ องค์การสันนิบาตชาติจะได้ ปฏิบติภารกิจสาเร็ จในช่วงต้ นๆ ั หลายกรณี แต่ตอมาก็ต้องประสบความล้ มเหลว ซึงน่าจะมีสาเหตุ ่ ่ มาจากองค์ประกอบต่างๆดังนี ้ 1.ประเทศมหาอานาจที่ย่ งใหญ่ ไม่ ได้ เป็ นสมาชิก กฎ ิ ข้ อบังคับขององค์การสันนิบาตชาติจะบังคับใช้ ได้ ผลก็เฉพาะ ประเทศสมาชิกขององค์การนี ้หรือเป็ นแล้ วลาออกไป เช่น สหรัฐอเมริ กา สหภาพโซเวียต เยอรมณี ญี่ปน อิตาลี ุ่
  • 35. องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations) จุดอ่ อนขององค์ การสันนิบาตชาติ สหรัฐอเมริกา สภาคองเกรสไม่ยอมให้ สตยาบันที่จะให้ ั สหรัฐอเมริ กาเป็ นสมาชิกขององค์การ สหภาพโซเวียต หลังสงครามโลกครังที1 สหภาพโซเวียตเกิด ้ ่ ความวุนวายภายในประเทศเพิ่งเข้ าเป็ นสมาชิกขององค์การ ่ สันนิบาตชาติเมื่อ ค.ศ.1934
  • 36. องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations) จุดอ่ อนขององค์ การสันนิบาตชาติ เยอรมนี ได้ เข้ าเป็ นสมาชิกในค.ศ.1926 หลังจากการก่อตัง้ องค์การสันนิบาตชาติถึง6ปี เนื่องจากเยอรมนีเป็ นประเทศผู้แพ้ สงคราม ต้ องปฏิบติตามข้ อกาหนดเกี่ยวกับการเข้ าเป็ นสมาชิก ั และได้ ถอนตัวออกไปใน ค.ศ.1933 ก่อนที่สหภาพโซเวียตจะเข้ า เป็ นสมาชิก1ปี ญี่ปุ่น ถอนตัวออกไปใน ค.ศ.1933 อิตาลี ได้ ถอนตัวออกไปใน ค.ศ.1937 ตังแต่ ค.ศ.1937 ประเทศมหาอานาจที่ยงคงเป็ นสมาชิกตังแต่ ้ ั ้ เริ่ มก่อตังจึงมีเพียงอังกฤษและฝรั่งเศสเท่านัน ้ ้
  • 37. องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations) จุดอ่ อนขององค์ การสันนิบาตชาติ 2.ประเทศมหาอานาจโจมตีประเทศอื่น มหาอานาจหลาย ประเทศได้ ก่อความก้ าวร้ าว รุกรานประเทศอื่นเสียเอง ได้ แก่ ฝรั่งเศสและเบลเยี่ยม ได้ เข้ ายึดครองเหมืองแร่ถานหินใน ่ แคว้ นรูห์ ซึงเปรี ยบเสมือนเส้ นโลหิตใหญ่ของเยอรมณี แม้ ่ อังกฤษประท้ วงก็ไม่สาเร็ จ ทังนี ้เนื่องจากเยอรมนีผ้ แพ้ สงคราม ้ ู ไม่สามารถจ่ายค่าปฏิกรรมสงครามตามกาหนดได้ เยอรมนีจง ึ ตอบโต้ ด้วยการนัดหยุดงานทัวประเทศ และก่อวินาศกรรม ่
  • 38. องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations) จุดอ่ อนขององค์ การสันนิบาตชาติ ฝรั่งเศสให้ การสนับสนุนโปแลนด์ในการโจมตีลทวเนียเพื่อ ิ ั ยึดเมืองวิลนา เนื่องจากฝรั่งเศสและโปแลนด์ได้ เซ็นสัญญา ใน ค.ศ.1921 ที่จะร่วมมือกันทุกเรื่ องเกี่ยวกับกิจการ ต่างประเทศของคูสญญา ่ ั อิตาลี ได้ โจมตีเกาะคอร์ ฟของกรีซโดยไม่ยอมรับบทบาทและ ู หน้ าที่ขององค์การสันนิบาตชาติ
  • 39. องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations) จุดอ่ อนขององค์ การสันนิบาตชาติ ดังนันแม้ วาจะมีองค์การสันนิบาตชาติ แต่เมื่อประเทศมหาอานาจ ้ ่ ต้ องการผลประโยชน์หรื อจะเสียประโยชน์ด้วยประการใดๆก็ตาม มหาอานาจเหล่านี ้จะเพิกเฉยต่อบทบาทและหน้ าที่ขององค์การ สันนิบาตชาติ หรื อลาออกจากการเป็ นสมาชิก ซึงองค์การสันนิบาต ่ ชาติก็ไม่สามารถปฏิบติการใดๆ อันเป็ นการโต้ ตอบต่อประเทศ ั เหล่านันได้ จึงนับว่าความล้ มเหลวขององค์การสันนิบาตชาติอีก ้ ประการหนึง ่
  • 40. องค์ การสันนิบาตชาติ (League of Nations) จุดอ่ อนขององค์ การสันนิบาตชาติ การที่ประเทศต่างๆไม่ได้ ให้ ความร่วมมือในการดาเนินงาน ขององค์การสันนิบาตชาติ ซึงมี ่ จุดมุงหมายที่จะนาสันติภาพมาสู่ ่ มนุษยชาติ ทาให้ การดาเนินงาน ขององค์การนี ้ไม่ประสบความสาเร็ จ หลังจากการก่อตังองค์การสันนิบาต ้ ชาติมาได้ 20ปี สงครามโลกครังที2ก็ ้ ่ อุบติขึ ้น ั
  • 42. องค์ การสหประชาชาติ (United Nations) เมื่อสงครามโลกครังที2สิ ้นสุดลง ฝ่ าย ้ ่ พันธมิตรได้ พยายามหาวิธีปองกันมิให้ ้ สงครามเกิดขึ ้นอีก โดยดาเนินการดังนี ้ นายกรัฐมนตรีเซอร์ วินสตัน เชอร์ ชิลล์ แห่ง อังกฤษ และประธานาธิบดีแฟรงกลิน ดี. รูสเวลต์ แห่งสหรัฐอเมริกา ได้ ร่วมกัน ประกาศกฎบัตรแอตแลนติก (Atlantic Charter) บนเรื อรบออกัสตา (Augusta) ของสหรัฐอเมริ กา ซึงจอดอยูนอกฝั่ งนิวฟั นด์ ่ ่ แลนด์เพื่อแสวงหาหลักปฏิบติในการรักษา ั สันติภาพของโลกในวันที่ 14 สิงหาคม ค.ศ.1941 ประธานาธิบดีแฟรงกลิน ดี.รู สเวลต์ แห่ งสหรัฐอเมริกา
  • 43. เชอร์ ชิลล์ พบกับรู สเวลต์ บนเรื อยูเอสเอส ออกัสตา ในการประชุมลับนอกฝั่ ง นิวฟั นด์ แลนด์
  • 44. เชอร์ ชิลล์ พบกับรู สเวลต์ บนเรื อราชนาวี พรินซ์ ออฟเวลส์
  • 45. องค์ การสหประชาชาติ (United Nations) ต่อมาประเทศต่างๆ รวม 26 ประเทศได้ ให้ คารับรองต่อกฎบัตร แอตแลนติก และในการประชุมที่ กรุงมอสโก (Moscow Conferrence) ซึงมีในสหรัฐอเมริกา ่ อังกฤษ สหภาพโซเวียต และจีนเป็ น ผู้นา ก็ได้ ประกาศจัดตังองค์การ ้ รักษาสันติภาพขึ ้นในปี เดียวกัน ต่อมาคารับรองเหล่านี ้ได้ กลายมา เป็ นองค์การหลักแห่งความร่วมมือ ระหว่างประเทศที่จะรักษา สันติภาพของโลก โดยได้ ก่อตัง้ เป็ นองค์กรระหว่างประเทศ เรี ยกว่า องค์การสหประชาชาติ ขึ ้นเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม ค.ศ.1945
  • 48. องค์ การสหประชาชาติ (United Nations) ตราสั ญลักษณ์ ธงชาติสหประชาชาติ สัญลักษณ์ที่ได้ รับการเสนอให้ เป็ นสัญลักษณ์ของสมัชชา รัฐสภาแห่งสหประชาชาติ ซึง ่ เกี่ยวพันโดยตรงถึงการเลือกตัง้ ผู้แทนของประเทศโดยพลเมือง ของประเทศนัน ๆ ้
  • 49. องค์ การสหประชาชาติ (United Nations) สมาชิกภาพ ปั จจุบน (ค.ศ.2007) องค์การ ั สหประชาชาตินี ้มีสมาชิกอยูทวโลก ่ ั่ รวม193ประเทศ ประเภทของสมาชิก ภาพและเงื่อนไขการสมัครเข้ าเป็ น สมาชิกขององค์การสหประชาชาติ มี ดังนี ้ 1.ประเภทของสมาชิก สมาชิก ขององค์การสหประชาชาติม2ประเภท ี คือ 1) สมาชิกดังเดิม ได้ แก่ รัฐซึงเข้ าร่วม ้ ่ ประชุมองค์การสหประชาชาติวา ่ ด้ วยองค์การระหว่างประเทศที่นคร แซนแฟรนซิสโก สหรัฐอเมริ กา และ ร่วมกันลงนามในกฎบัตร สหประชาชาติเมื่อวันที่ 26มิถนายน ุ ค.ศ.1945 โดยมีรัฐเข้ าร่วมประชุม เพื่อจัดตังองค์การสหประชาชาติ50 ้ ประเทศ (กฎบัตรมีผลบังคับใช้ ใน วันที่24ตุลาคม ค.ศ.1945 จึงถือว่า วันที่ 24 ตุลาคมของทุกปี เป็ นวัน สหประชาชาติ)
  • 50. องค์ การสหประชาชาติ (United Nations) สมาชิกภาพ 2) สมาชิกที่สมัครเข้ าภายหลัง ได้ แก่ ประเทศทีมคณสมบัตตามที่ไกด้ กาหนด ่ ี ุ ิ ไว้ ในกฎบัตรสหประชาชาติ และสมัคร เข้ าเป็ นสมาชิกภาพหลัง ซึงจะต้ องมี ่ คุณสมบัตตามเงื่อนไข ิ 2.เงื่ อนไขการเข้ าเป็ นสมาชิก องค์ การสหประชาชาติจะรับประเทศ ต่างๆเข้ าเป็ นสมาชิกโดยพิจารณาจาก เงื่อนไขต่อไปนี ้ 1) เป็ นประเทศที่รักสันติภาพ และ ยอมปฏิบติตามข้ อตกลงที่ ั สหประชาชาติตงไว้ ั้ 2) เป็ นประเทศที่ยอมรับฟั งความ คิดเห็น และคาตัดสินต่างๆของ สหประชาชาติในกรณีที่เกิดข้ อ พิพาทหรื อขัดแย้ งกัน 3) ต้ องได้ รับคะแนนเสียงจานวน 2ใน3ของสมัชชาใหญ่ โดยมีคณะ มนตรีความมันคงประกาศรับเป็ น ่ สมาชิกใหม่
  • 51. แผนที่แสดงรัฐสมาชิกของ สหประชาชาติ ประเทศที่องค์ การ สหประชาชาติรับรองว่ ามีเอก ราช โดยไม่ คานึงถึงมุมมอง ของรัฐสมาชิกอื่น หรือต่ อ สถานภาพทางกฎหมายของ ประเทศใด ๆ
  • 52. ภาพเคลื่อนไหวแสดงถึงการเข้ าร่ วมเป็ นรัฐ สมาชิกของสหประชาชาติเรียงตามปี
  • 53. องค์ การสหประชาชาติ (United Nations) วัตถุประสงค์ องค์การสหประชาชาติมี วัตถุประสงค์หลักดังนี ้ 1.ธารงรักษาไว้ ซงสันติภาพและ ึ่ ความมันคงของโลกโดยการร่วมมือกัน ่ 2.เสริ มสร้ างความร่วมมือระหว่าง ประเทศ เพื่อช่วยกันคลีคลายและ ่ แก้ ปัญหาทางด้ านสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และสิทธิทางด้ านมนุษยชน 3.เป็ นศูนย์กลางพัฒนา ความสัมพันธ์อนดี และ ั ประสานงานกันระหว่างประเทศ สมาชิกเพื่อให้ ดาเนินงาน บรรลุผลตามเปาหมาย ้
  • 54. องค์ การสหประชาชาติ (United Nations) การดาเนินงาน องค์การสหประชาชาติมีหน่วยงานหรื อ องค์กรหลักอยู6องค์กร คือ ่ 1.สมัชชาใหญ่ (General Assembly) เป็ นองค์กรหลักและเป็ นที่ประชุมใหญ่ของ องค์การสหประชาชาติ และเป็ นศูนย์กลาง ของกิจกรรมทังปวง ปั จจุบนมีสมาชิก ้ ั ทังหมด191ราย ซึงสมาชิกแต่ละประเทศ ้ ่ จะส่งผู้แทนเข้ าร่วมในสมัชชานี ้ได้ อย่างเท่า เทียมกัน ห้ องประชุมสมัชชาใหญ่ แห่ งสหประชาชาติ
  • 55. ภายในที่ประชุมคณะมนตรี ความมั่นคงแห่ งสหประชาชาติ 2.คณะมนตรี ความมันคง (Security ่ Council) เป็ นองค์กรหลักที่มีหน้ าที่ จัดการในเรื่ องความมันคงและตัดสิน ่ วินิจฉัยข้ อพิพาทขัดแย้ งของประเทศ สมาชิก หรื อถ้ าประเทศใดก็ตามที่ ไม่ได้ เป็ นสมาชิกขององค์การ สหประชาชาติจะเสนอเกี่ยวกับกรณี พิพาทที่คกคามต่อสันติภาพของโลก ุ ต่อคณะมนตรี ความมันคงเพื่อ ่ พิจารณาก็ยอมทาได้ ่
  • 56. องค์ การสหประชาชาติ (United Nations) การดาเนินงาน 3.คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม (Economic and Social Council) เป็ นองค์กรหลักทางด้ านการแก้ ปัญหา และรับผิดชอบทางด้ านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิทธิมนุษยชน ตลอดจนด้ านการพัฒนาต่างๆที่ สมัชชาใหญ่มอบหมาย ประกอบด้ วย ประเทศสมาชิกทังหมด 54 ประเทศ ้ ซึงได้ รับเลือกจากสมัชชาใหญ่แห่ง ่ สหประชาชาติวาระละสามปี ส่วน ประธานมีวาระหนึงปี และได้ รับเลือก ่ จากประเทศขนาดเล็กหรื อขนาด กลางเพื่อเป็ นผู้แทนของคณะมนตรี เศรษฐกิจและสังคมแห่ง สหประชาชาติ คณะมนตรี เศรษฐกิจ และสังคมแห่งสหประชาชาติจดการ ั ประชุมขึ ้นทุกปี เมื่อถึงเดือน กรกฎาคม เป็ นเวลาสีสปดาห์ แต่ ่ ั หลังจากปี ค.ศ.1998 เป็ นต้ นมา และมีผลงานมากที่สดในองค์การ ุ สหประชาชาติ
  • 57. องค์ การสหประชาชาติ (United Nations) การดาเนินงาน 4.คณะมนตรี ภาวะทรัสตี (Trusteeship Council) เป็ น องค์กรทีมความรับผิดชอบ ่ ี ทางด้ านการปกครองดูแล ประเทศทีอยูใสภาวะทรัสตี คือ ่ ่ ประเทศทียงไม่ได้ รับเอกราชที่ ่ ั สมบูรณ์ ซึงองค์การสหประชาชาติต้องให้ ่ ความคุ้มครองดูแล นับตังแต่ ้ ค.ศ.1957 ถึง ค.ศ.1968 ดินแดนที่ อยูในภาวะทรัสตีมี 11 แห่ง ใน ่ ค.ศ.1997 มีเพียงหมูเ่ กาะใน มหาสมุทรแปซิฟิกภายใต้ การ ปกครองดูแลของสหรัฐอเมริ กา เท่านัน และหมูเ่ กาะเหล่านี ้ได้ รับ ้ เอกราชปกครองตนเองหมดแล้ ว ตังแต่ ค.ศ.1999 ้
  • 58. องค์ การสหประชาชาติ (United Nations) การดาเนินงาน 5.ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice) หรื อเรี ยกว่าศาลโลก เป็ น องค์กรณ์ทางด้ านตุลาการของ องค์การสหประชาชาติ ประกอบด้ วยผู้พิพากษาจานวน 15 คน ศาลยุตธรรมระหว่างประเทศถูกก่อตัง้ ิ ขึ ้นเมื่อปี ค.ศ. 1945 เริ่ มทาหน้ าที่ใน ปี ค.ศ.1946 แทนศาลยุตธรรมถาวร ิ ระหว่างประเทศ อนุสาวรีย์ของศาล ยุติธรรมระหว่างประเทศ ซึงคล้ ายกับ ่ ศาลยุตธรรมถาวรระหว่างประเทศ ิ ก่อนหน้ า คือ ข้ อความรัฐธรรมนูญที่ วางระเบียบของศาลยุตธรรมระหว่าง ิ ประเทศ ศาลนี ้มีสานักงานตังอยูที่กรุง ้ ่ เฮก ประเทศเนเธอร์ แลนด์
  • 60. องค์ การสหประชาชาติ (United Nations) การดาเนินงาน 6.สานักเลขาธิการ (Secretariat) เป็ นองค์กรที่มเี จ้ าหน้ าที่ประจา มี เลขาธิการเป็ นหัวหน้ า เลขาธิการคน ปั จจุบนคือ บัน คีมน (Ban Kiั ู moon) ซึงเป็ นชาวเกาหลีใต้ ได้ รับ ่ เลือกให้ ดารงตาแหน่ง มีวาระ5ปี ตังแต่ ค.ศ.2007 ้ นับเป็ นเลขาธิการสหประชาชาติคน ที8 และเป็ นชาวเอเชียคนที2 ที่ได้ รับ ่ ่ ตาแหน่งนี ้ ส่วนผู้ดารงตาแหน่งรอง เลขาธิการสหประชาชาติคนปั จจุบน ั คือ มาร์ ค มัลลอร์ ช บราวน์ ซึงโดย ่ ปกติจะลาออกพร้ อมกับการหมด วาระของเลขาธิการสหประชาชาติ เพื่อเปิ ดทางให้ เลขาธิการคนใหม่ แต่งตังรองเลขาธิการคนต่อไปด้ วย ้ ตนเอง
  • 63. องค์ การสหประชาชาติ (United Nations) การดาเนินงาน 7.หน่วยงานพิเศษ นอกจาก 5 ส่วนหลักของสหประชาชาติแล้ ว ยังมีหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติที่ทา หน้ าที่แตกต่างออกไป อย่างเช่น องค์การ อนามัยโลก ซึงเป็ นไปตามกาหนดของกฎบัตร ่ สหประชาชาติวา หน่วยงานหลักของ ่ สหประชาชาติสามารถก่อตังหน่วยงานพิเศษ ้ ขึ ้นมาเพื่อเติมเต็มการทาหน้ าที่ของตัวเองได้ สัญลักษณ์ องค์ การอนามัยโลก สานักงานใหญ่ องค์ การอนามัยโลก ณ กรุงเจนีวา ประเทศ สวิตเซอร์ แลนด์
  • 64. องค์ การสหประชาชาติ (United Nations) ผลการปฏิบัตงาน ิ องค์การสหประชาชาติได้ แสดงบทบาท และปฏิบติงานด้ านต่างๆได้ สาเร็จลุลวง ั ่ หลายประการดังนี ้ 1.ด้ านความขัดแย้ ง องค์การ สหประชาชาติได้ จดการเจรจาแก้ ไข ั ปั ญหา หรื อบางครังก็ใช้ กองกาลังเข้ าไป ้ สนับสนุนในการแก้ ไขปั ญหาในกรณี พิพาท หรื อความขัดแย้ งเกี่ยวกับเรื่ อง เชื ้อชาติ ลัทธิทางการเมือง หรื อดินแดน ภายในประเทศหรื อระหว่างประเทศ ได้ สาเร็ จลุลวงหลายกรณีเช่น ปั ญหา ่ สงครามในคาบสมุทรเกาหลี ปั ญหา สงครามระหว่างอาหรับและ อิสราเอลซึงเกิดขึ ้นหลายครัง ปั ญหา ่ ้ สงครามกลางเมืองในไซปรัส ปั ญหา สงครามแคว้ นคาตังกาในคองโก ปั ญหาอิรักยึดครองคูเวต และยังมี ปั ญหาที่องค์การสหประชาชาติกาลัง ดาเนินการแก้ ไขอยูในปั จจุบน เช่น ่ ั ปั ญหาความขัดแย้ งในโซมาเลีย ปั ญหาแคว้ นแคชเมียร์ ระหว่าง อินเดียและปากีสถาน
  • 65. องค์ การสหประชาชาติ (United Nations) ผลการปฏิบัตงาน ิ 2.ด้ านการลดอาวุธ การที่สมาชิก องค์การสหประชาชาติซงส่วนใหญ่เป็ น ึ่ ประเทศขนาดเล็กและขนาดกลางได้ ยก ปั ญหาที่เกิดขึ ้นเนื่องจากประเทศใหญ่ หรื อประเทศมหาอานาจได้ สะสมกอง กาลังอาวุธไว้ เป็ นจานวนมาก ย่อมทาให้ เกิดความตึงเครี ยดซึงอาจก่อให้ เกิด ่ สงครามและขาดความมันคงปลอดภัยขึ ้น ่ องค์การสหประชาชาติก็ได้ ตระหนัก ในปั ญหานี ้จึงได้ จดให้ มีการเจรจา ั เพื่อลดและควบคุมการใช้ อาวุธขึ ้น โดยเฉพาะอาวุธนิวเคลียร์ ของสอง ประเทศมหาอานาจและได้ มการ ี จัดทาสนธิสญญาเกี่ยวกับการลด ั และควบคุมอาวุธขึ ้นหลายฉบับ เช่น สนธิสญญาจากัดอาวุธนอกพิภพ ั สนธิสญญาห้ ามทดลองอาวุธ ั นิวเคลียร์ สนธิสญญาห้ าม ั ครอบครองอาวุธนิวเคลียร์ ในลาติน อเมริ กา สนธิสญญาว่าด้ วยอาวุธ ั แบคทีเรียและสารพิษ
  • 66. องค์ การสหประชาชาติ (United Nations) ผลการปฏิบัตงาน ิ 3.ด้ านเศรษฐกิจและสังคม องค์การ สหประชาชาติได้ สงเสริ มและสนับสนุน ่ เพื่อพัฒนาความก้ าวหน้ าทาง เศรษฐกิจและสังคมทังด้ านเงินทุนและ ้ บุคลากร โดยให้ ความช่วยเหลือแก่ ประเทศกาลังพัฒนาเกี่ยวกับเรื่องการ พัฒนาคุณภาพประชากร การอนุรักษ์ ทรัพยากรและสิงแวดล้ อม การพัฒนา ่ อุตสาหกรรมและเทศโนโลยี การให้ สทธิพเิ ศษทางการค้ าโดยผ่าน ิ ทบวงการชานาญพิเศษ หรื อองค์กรณ์ ต่างๆ เช่น ธนาคารโลก(World Bank) การประชุมสหประชาชาติวาด้ วยการค้ า ่ และการพัฒนา(UNCTAD) องค์การ การค้ าโลก(WTO) องค์การพัฒนา อุตสาหกรรมของสหประชาชาติ (UNIDO) องค์การอาหารและเกษตร แห่งสหประชาชาติ(FAO) กองทุนเพื่อ กิจกรรมประชากรแห่งสประชาชาติ (UNFPA) กองทุนสงเคราะห์เด็กแห่ง สหประชาชาติ(UNICEF) สานักงาน ข้ าหลวงใหญ่ ผู้ลี ้ภัยแห่งสหประชาชาติ(UNHCR)
  • 69. องค์ การสหประชาชาติ (United Nations) ผลการปฏิบัตงาน ิ 4.ด้ านสิทธิมนุษยชน องค์การ สหประชาชาติเป็ นองค์กรกลางทีจะต่อสู้ ่ และรักษาไว้ ซงสิทธิและอิสรภาพขัน ึ่ ้ พื ้นฐานของมนุษย์ที่ไม่เลือกเชื ้อชาติ ภาษา ศาสนา และเพศ โดยผ่านทาง คณะกรรมการว่าด้ วยสิทธิมนุษยชน (Commission on Human Rights) และ กาหนดให้ วนที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็ น ั วันสิทธิมนุษยชนโลก เพื่อส่งเสริ มสิทธิของมนุษย์ทวโลกให้ มี ั่ ความเท่าเทียมกันทางด้ านเสรี ภาพ ความ ปลอดภัย ความเสมอภาค และสิทธิในการ ร่วมสมาคม การทางาน การพักผ่อน การใช้ เวลาว่าง และการศึกษา เอเลนอร์ โรสเวลต์ กับปฏิญญา สากลว่ าด้ วยสิทธิมนุษยชน ใน ปี ค.ศ. 1949
  • 70. องค์ การสหประชาชาติ (United Nations) ผลการปฏิบัตงาน ิ 5.ด้ านกฎหมาย องค์การ สหประชาชาติได้ จดร่างกฎหมาย ั ระหว่างประเทศขึ ้นหลายฉบับทังนี ้ ้ เพื่อรักษาความยุตธรรม ความเข้ าใจ ิ อันดี และการรักษาผลประโยชน์ของ ประชาชาติ ซึงจัดดาเนินการโดย ่ คณะกรรมการเฉพาะกิจที่กาหนดขึ ้น จากการประชุมสมัชชาใหญ่และศาล โลก เช่น กฎหมายทางทะเล กฎหมายว่า ด้ วยความสัมพันธ์ทางการทูต กฎหมายว่าด้ วยการค้ าระหว่าง ประเทศ กฎหมายว่าด้ วยแรงงาน ระหว่างประเทศ นอกจากนี ้ศาลโลก แห่งสหประชาชาติยงได้ พจารณา ั ิ พิพากษาคดีปัญหาระหว่างประเทศ หลายปั ญหาเช่น กรณีเขาพระวิหาร ระหว่างไทยกับกัมพูชา กรณีนา มิเบียที่ถกสาธารณรัฐแอฟริ กาใต้ ู ยึดครอง
  • 72. องค์ การสหประชาชาติ (United Nations) ผลการปฏิบัตงาน ิ 6.ด้ านความเป็ นเอกราชของ ประเทศ ดินแดนทีอยูในความดูแล ่ ่ ของคณะมนตรี ภาวะทรัสตีแห่ง สหประชาชาติได้ รับการปลดปล่อย เป็ นเอกราชเพื่อการปกครองตนเอง หลายประเทศเช่น โตโก แคเมอรูน นาอูรู ปาปั วนิวกีนี องค์การสหประชาชาตินบเป็ น ั องค์กรระหว่างประเทศที่ประสบ ความสาเร็จมากกว่าองค์การระหว่าง ประเทศใดๆทังนี ้เนื่องจากประเทศ ้ ส่วนใหญ่ในโลกต่างยอมรับหลักการ และร่วมมือปฏิบติตามด้ วยดี หาก ั องค์กรนี ้ต้ องยุติหรื อล่มสลายลง สงครามโลกก็คงจะเกิดขึ ้นอีก และจะ ก่อให้ เกิดความเสียหายทังชีวตและ ้ ิ ทรัพย์สนมากกว่าสงคราใดๆในอดีต ิ
  • 73. จัดทาโดย นางสาวสิรินพร ศรี วนิชย์ ม.6.5 เลขที่ 36 นางสาวหทัยภัทร วิทรานิช ุ ม.6.5 เลขที่ 38