SlideShare a Scribd company logo
1 of 45
Download to read offline
การอบรมเชิงปฏิบัติการ
การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง:
ต่อยอดองค์ความรู้สู่การปฏิบัติ
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์พัทยา
วันที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๕๗
โดย ปริญญา เทวานฤมิตรกุล
รองอธิการบดีฝ่ายการนักศึกษาและการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
คุณสมบัติของความเป็น “พลเมือง” ในระบอบ
ประชาธิปไตยตามยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ
รับผิดชอบตนเอง
และพึ่งตนเองได้
เคารพหลัก
ความเสมอภาค
รับผิดชอบต่อสังคม
และส่วนรวม
เคารพกติกา
หรือกฎหมาย
เคารพสิทธิ
ผู้อื่น
เป็นสมาชิกคนหนึ่งของสังคมที่รับผิดชอบ
ตนเอง และพึ่งตนเองได้ไม่อยู่ใต้การ
ครอบงําหรือระบบอุปถัมภ์ของใคร
ไม่ใช้สิทธิเสรีภาพของ
ตน ไปละเมิดสิทธิ
เสรีภาพของบุคคลอื่น
เคารพกติกา เคารพกฎหมาย ไม่ใช้
กําลังแก้ปัญหา ยอมรับผลของการ
ละเมิดกติกา และทําหน้าที่ตาม
กฎหมาย เช่น เสียภาษี
ตระหนักว่าตนเป็นสมาชิกคนหนึ่งของสังคม
และมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา โดยไม่ก่อ
ปัญหาและลงมื่อแก้ด้วยตัวเอง
เห็นคนเท่าเทียมกัน
โดยมองคนเป็นแนว
ระนาบ ไม่ใชแนวดิ่ง
เคารพความ
แตกต่าง
ยอมรับความแตกต่าง
และเคารพผู้อื่นที่
แตกต่างจากตนเอง
พลเมือง
การศึกษาแบบที่เป็นมามีปัญหาอย่างไร?
ทําไมต้อง Active Learning?
การศึกษาของประเทศไทยไม่ประสบความสําเร็จเพราะ
เป็น Input-based Education
Input-based Education Outcome-based Education
Lecture-based Learning
Teacher-Centered การศึกษาแนวดิ่ง
ผู้สอนเป็นผู้บรรยาย (Lecturer)
Student-Centered การศึกษาแนวระนาบ
ผู้สอนเป็นวิทยากรกระบวนการ ( Facilitator)
มุ่ง Input : ความรู้ ตํารา อาจารย์การ
บรรยาย ชั่วโมงเรียน การสอบ
Activity-based Learning
มุ่ง Outcome หรือผลลัพธ์ และออกแบบ
กระบวนการเรียนรู้เพื่อไปสู่ผลลัพธ์
active learning!passive learning!
การ “เรียนรู้” มิได้เกิดจาก “คําตอบ” แต่เกิดจาก “คําถาม”
หน้าที่อาจารย์คือสร้าง “เงื่อนไข” ที่ทําให้เกิดการเรียนรู้
“Most teachers waste their time by asking
questions that are intended to discover what
a student does not know, whereas the true art
of questioning is to discover what the
student does know or is capable of knowing.”
- Albert Einstein
“I never teach my students. I only
build conditions to let them learn by
themselves.” -Albert Einstein
ลิง “วิวัฒนาการ” มาเป็นคนได้อย่างไร : สมองโตก่อนจึง
เดินสองขา หรือเดินสองขาก่อนสมองจึงโต?
ทําไมลิงที่เป็นต้นกําเนิดมนุษย์อยู่ดีๆ จึงลุกขึ้นมาเดินสอง
ขา และทําให้เกิดวิวัฒนาการเป็นมนุษย์ในทุกวันนี้?
เทคนิคพื้นฐานของวิธีการสอนแบบ Teach Less – Learn
More หรือ Active Learning : การตั้งคําถามเพื่อให้“คิด”
Input-based Education Outcome-based Education
Lecture-based Learning
Teacher-Centered การศึกษาแนวดิ่ง
อาจารย์เป็นผู้สอน (Lecturer)
Student-Centered การศึกษาแนวระนาบ
อาจารย์เป็นวิทยากรกระบวนการ ( Facilitator)
มุ่ง Input : ความรู้ ตํารา อาจารย์การ
บรรยาย ชั่วโมงเรียน การสอบ
Activity-based Learning
มุ่ง Outcome หรือผลลัพธ์ และออกแบบ
กระบวนการเรียนรู้เพื่อไปสู่ผลลัพธ์
active learning!passive learning!
เทคนิคการตั้งคําถาม Active Learning
เพื่อนําไปสู่การ “เรียนรู้”
เทคนิคการตั้งคําถามแบบที่ ๑ : คําถามปลายเปิด – ยก
ปัญหาหรือข่าวที่เกิดและถามว่า มีความคิดเห็นอย่างไร?
ทําไมต้อง “ประชาธิปไตย”?
บทเรียนจากอุบัติเหตุเครื่องบิน KLM ชนกับ PAN AM
ปี ๒๕๒๐ เครื่องบินโบอิ้ง ๗๔๗ ของสายการบิน KLM ชนกับ PAN AM ที่สนามบิน
Tenerife หมู่เกาะ Canary ประเทศสเปน เพราะกัปตัน Veldhuyzen van Zanten ของ KLM
นําเครื่องขึ้นโดยยังไม่ได้รับสัญญาณอนุมัติ ทําให้มีผู้เสียชีวิต ๕๘๓ คน
เทคนิคการตั้งคําถามแบบที่ ๒ : ตั้งคําถามว่า เห็นด้วย
หรือไม่เห็นด้วย จากนั้นให้แต่ละข้างแสดงความคิดเห็น
ทําไมประเทศที่ “ประชาธิปไตย” ดี จึงมีคอร์รัปชันน้อย?
สองเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างไร?
เทคนิคการตั้งคําถามแบบที่ ๓ : ตั้งคําถามโดยมีตัวเลือกที่
จะทําไปสู่คําตอบที่ผู้เรียนคิดได้เอง
ตัวอย่างที่ ๑
ท่านคิดว่า ความรู้ กับ ความคิด อะไรสําคัญกว่ากัน?
ตัวอย่างที่ ๒
ท่านคิดว่า สิ่งที่เรารู้ กับ สิ่งที่เราไม่รู้ อะไรมีมากกว่ากัน?
ตัวอย่างที่ ๓
แล้วท่านมั่นใจไหมว่าสิ่งที่ท่าน รู้ มัน ถูกต้อง?
สิ่งที่เรา “รู้” แล้ว เราแน่ใจได้อย่างไรว่ามัน ถูกต้อง ?
ตัวอย่าง: อะไรคือ “ตะวันออก” อะไรคือ “ตะวันตก”?
เพราะพระอาทิตย์ขึ้น
ทางทิศตะวันออก และ
ตกทางทิศตะวันตก?
แผนที่อันนี้ผิดหรือไม่?
ตอนนี้อะไรคือตะวันออก
อะไรคือตะวันตก?
“ตะวันออก” และ “ตะวันตก”
คือความรู้ ที่เป็นความจริงแท้
หรือเป็นแค่สมมติ?
สิ่งที่เรา “รู้” แล้ว เราแน่ใจได้อย่างไรว่ามัน ถูกต้อง ?
ตัวอย่าง: อะไรคือ “เหนือ” อะไรคือ “ใต้” ?
แล้วทําไมทิศ “เหนือ” จึงเป็น
“เหนือ” และทิศ “ใต้” จึงเป็น
“ใต้”? จีนอยู่ “เหนือ” หัวเรา
และมาเลเซียอยู่ใต้เรา?
แผนที่อันนี้ผิดหรือไม่?
จักรวาลไม่มีเหนือหรือ
ใต้ดังนั้น “เหนือ” หรือ
“ใต้” ก็เป็นแค่ “สมมติ”
ความสามารถใน “การเรียนรู้” คือ
ต้องรู้ว่าที่รู้มาแล้วอาจจะผิด หรือ
ไม่ได้ถูกตลอดไป เพื่อจะได้เรียนรู้
ตั้ง คําถาม แล้ว จะหา คําตอบ อย่างไร ?
ตัวอย่าง: ขนนกกับก้อนหินอะไรตกถึงพื้นก่อน?
เพราะวัตถุที่หนักกว่าย่อมตก
ถึงพื้นก่อนวัตถุที่เบากว่า
Aristotle (384 - 322 BC)
ตั้ง คําถาม แล้ว จะหา คําตอบ อย่างไร ?
ตัวอย่าง: ขนนกกับก้อนหินอะไรตกถึงพื้นก่อน?
เพราะวัตถุที่หนักกว่าย่อมตก
ถึงพื้นก่อนวัตถุที่เบากว่า
Aristotle (384 - 322 BC)
ในปี ค.ศ. ๑๙๗๑ David R. Scott
ทดลองทิ้ง ค้อน และ ขนนก บน
ดวงจันทร์ นักศึกษาคิดว่าอะไร
ตกถึงพื้นก่อน?
ก่อนจะเฉลยคําตอบ ขอเล่า
ให้ฟังถึง Experiment อีกอัน
ที่ทํา ก่อน หน้านั้น
ตั้ง คําถาม แล้ว จะหา คําตอบ อย่างไร ?
ก่อนจะถึงการทดลองบนดวงจันทร์ มีการทดลองก่อนหน้านั้น
เพราะวัตถุที่หนักกว่าย่อมตก
ถึงพื้นก่อนวัตถุที่เบากว่า
Aristotle (384 - 322 BC)
วัตถุที่หนักกว่าตกถึงพื้นก่อน
วัตถุที่เบากว่า จริงหรือ?
Galileo Galilei (1564 - 1642)
Galileo ทดลองทิ้งลูกเหล็ก
หนัก ๑๐ กก. และ ๑ กก. จาก
หอเอนปิซาพร้อมๆ กัน ลูก
เหล็กลูกไหนถึงพื้นก่อน?
ตั้ง คําถาม แล้ว จะหา คําตอบ อย่างไร ?
วัตถุไม่ว่าเบาหรือหนักจะตกถึงพื้น พร้อมกัน!
เพราะวัตถุที่หนักกว่าย่อมตก
ถึงพื้นก่อนวัตถุที่เบากว่า
Aristotle (384 - 322 BC)
วัตถุที่หนักกว่าตกถึงพื้นก่อน
วัตถุที่เบากว่า จริงหรือ?
Galileo Galilei (1564 - 1642)
แต่ ทําไม ขนนกถึงตกถึง
พื้นทีหลังก้อนหินล่ะ? เราเรียนรู้ อะไร
จากเรื่องนี้?
“การเรียนรู้” คือ ตั้ง “คําถาม” แล้ว
ต้องหา “คําตอบ” ด้วยการ
“ทดลอง” หรือ “พิสูจน์” อย่ามโน!
เทคนิคการตั้งคําถามแบบที่ ๓ : ตั้งคําถามโดยรู้อยู่แล้วว่า
ผู้เรียนจะตอบว่าอะไร (ได้ทั้งปลายเปิด และเป็นตัวเลือก)
ตัวอย่างที่ ๑
ท่านคิดว่า ความรู้ กับ ความคิด อะไรสําคัญกว่ากัน?
ตัวอย่างที่ ๓
แล้วท่านมั่นใจไหมว่าสิ่งที่ท่าน รู้ มัน ถูกต้อง?
ตัวอย่างที่ ๒
ท่านคิดว่า สิ่งที่เรารู้ กับ สิ่งที่เราไม่รู้ อะไรมีมากกว่ากัน?
ตัวอย่างที่ ๔
ท่านคิดว่า คะแนน เป็น เป้ าหมาย หรือเป็น เครื่องมือ ?
เทคนิคการตั้งคําถามแบบที่ ๔ :
ให้นักศึกษาตั้งคําถามเอง!
ปี ๒๕๒๐ เครื่องบินโบอิ้ง ๗๔๗ ของสายการบิน KLM ชนกับ PAN AM ที่สนามบิน
Tenerife หมู่เกาะ Canary ประเทศสเปน เพราะกัปตัน Veldhuyzen van Zanten ของ KLM
นําเครื่องขึ้นโดยยังไม่ได้รับสัญญาณอนุมัติ ทําให้มีผู้เสียชีวิต ๕๘๓ คน
Learning Outcome คือ ให้ผู้เรียนเข้าใจได้ด้วยตนเองว่า ทําไมต้อง“ประชาธิปไตย”
สรุปเทคนิคการตั้งคําถาม : ตั้ง Learning Outcome ก่อน แล้ว
ออกแบบ “คําถาม” เพื่อนําไปสู่ “การเรียนรู้” ในเรื่องนั้น
ผู้นําไม่ว่าระบอบไหน - เผด็จการหรือประชาธิปไตย อาจตัดสินใจผิดหรือทําผิดได้หรือไม่?
แล้วผู้นําหรือรัฐบาลระบอบไหน ที่ทําผิดหรือตัดสินใจผิดแล้ว เราทักท้วงได้?
ลองฝึกตั้งคําถาม : การที่คนชอบโพส Facebook หยาบคาย หรือ
ก้าวร้าว หรือเขียนโดย ไม่คิด เราจะตั้งคําถามอย่างไรเพื่อให้คิด
ความจริงโคชเชก็คงจะลงโทษรุนแรงไป
จริงๆ แต่ ทําไม คนถึงไม่เห็นใจนักกีฬาเท
ควันโดคนนี้ แต่กลับเข้าข้างโคชเชมากกว่า?
คําถาม : Facebook เป็นพื้นที่
ส่วนตัว หรือสาธารณะ?
Learning Outcome คือ ตระหนักว่า Facebook เป็นพื้นที่สาธารณะ ดังนั้น ต้องคิดก่อนเขียน
สรุปเทคนิคการตั้งคําถาม : ตั้ง Learning Outcome ก่อน แล้ว
ออกแบบ “คําถาม” เพื่อนําไปสู่ “การเรียนรู้” ในเรื่องนั้น
ถ้าท่านได้รับเชิญให้ไป “สอน” เรื่อง “พลเมืองดี” แก่นักโทษที่กําลังจะพ้น
โทษ ท่านจะตั้งคําถามอย่างไร?
Learning Outcome คือ เป็น “พลเมือง” ไม่ทําผิดซํ้า ไม่กลับมาติดคุกอีก
ท่านจะสอนอะไร ให้ตั้ง Learning Outcome แล้วจึงออกแบบ “คําถาม”
เทคนิคพื้นฐานของ Active Learning ประการที่ ๒ :
ไม่สอนแล้วจึงยกตัวอย่าง แต่ใช้“ตัวอย่าง” เพื่อ “สอน”
“สอน” : ประชาธิปไตย
ทําไมจึงต้อง
“แบ่งแยกอํานาจ”!
“ตัวอย่าง” : แบ่งเค้กให้
คนสองคน ให้คนหนึ่ง
เป็นคนแบ่ง ทําอย่างไร
จึงจะแบ่งเค้กให้เท่ากัน
เทคนิคพื้นฐานของ Active Learning ประการที่ ๒ :
ไม่สอนแล้วจึงยกตัวอย่าง แต่ใช้“ตัวอย่าง” เพื่อ “สอน”
“ตัวอย่าง” : การแข่ง
ฟุตบอลมีคนสองกลุ่มที่
ขัดแย้งกันอย่างสิ้นเชิง
แต่ทําไมจึงแข่งกันได้?
“สอน” : ขัดแย้งกันแค่
ไหนก็จะไม่ฆ่ากัน ถ้าใช้
“กติกา” ในการแก้ปัญหา
หลักสําคัญที่สุดของ การเรียนรู้ คือ “คิด” และ “ตั้งคําถาม”
เพื่อให้ได้มาซึ่ง ความรู้ ไม่ใช่ “เชื่อ” และใช้แต่ “ความเห็น”
เทคนิคการสร้างกิจกรรมการเรียนรู้
เทคนิคการสร้างกิจกรรมการเรียนรู้ (๑): ทําให้เป็นเรื่อง
ใกล้ตัว – เชื่อมโยงกับตัวผู้เรียน
เทคนิคการสร้างกิจกรรมการเรียนรู้ (๒): ให้เจอของจริง
และเรียนรู้ด้วยการลงมือทํา
เทคนิค Coaching การทําโครงงาน
(Project-based Learning)
หลักของ Coaching การทําโครงงาน (๑) : อาจารย์ให้
“โจทย์” ให้นักศึกษาทําโครงงาน ไม่ใช่ให้โครงงานไปทํา
หลักของ Coaching การทําโครงงาน (๒) : Class
Presentation – โครงงานที่จะทํา “แก้โจทย์” ได้หรือไม่
หลักของ Coaching การทําโครงงาน (๓) : ลงมือทํา
โครงงาน โดยอาจารย์คอยติดตาม และแนะนํา (coaching)
หลักของ Coaching การทําโครงงาน (๔) : การนําเสนอ
“ผล” การทําโครงงาน - ควรมีการแข่งขันและรางวัล
หลักของ Coaching การทําโครงงาน (๕) : เมื่อทํา
โครงงานเสร็จจะต้องมี Reflection – เรียนรู้อะไร?
เทคนิค Reflection:
เครื่องมือนําไปสู่การเรียนรู้
เมื่อเสร็จกิจกรรมแล้ว
คําถามที่ง่ายที่สุดที่จะนําไปสู่ Reflection คือ นักเรียนได้
“เรียนรู้อะไร” จากกิจกรรมนั้นๆ
คําถามที่ง่ายที่สุดที่จะนําไปสู่ Reflection คือ นักเรียนได้
“เรียนรู้อะไร” จากกิจกรรมนั้นๆ
คําถามที่ง่ายที่สุดที่จะนําไปสู่ Reflection คือ นักเรียนได้
เรียนรู้อะไรจากกิจกรรมนั้นๆ
เทคนิคการประเมิน “ผล”:
เพื่อ “พัฒนา” การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ให้ได้ “ผล” ยิ่งขึ้น
Civic Education เป็น Outcome-based Education จึงต้อง
มีการประเมิน “ผล” ว่า “วิธีการ” ที่ใช้ได้“ผล” หรือไม่
ประเมิน “ผล” คือเปรียบเทียบ ก่อน เรียน และ หลัง เรียน
– ให้นักศึกษาประเมินตนเอง และผู้สอนประเมิน
Civic Education เป็น Outcome-based Education จึงต้อง
มีการประเมิน “ผล” ว่า “วิธีการ” ที่ใช้ได้“ผล” หรือไม่

More Related Content

Similar to การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง (ต่อยอด)

การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมายการพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมายSomprasong friend Ka Nuamboonlue
 
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างโครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างPz'Peem Kanyakamon
 
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนssuserd18196
 
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนssuserd18196
 
หลักการและทฤฎีการสื่อสาร
หลักการและทฤฎีการสื่อสารหลักการและทฤฎีการสื่อสาร
หลักการและทฤฎีการสื่อสารMagicianslove Beer
 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทยยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทยKlangpanya
 
06550146 โซเชียลมีเดียเพื่อการศึกษา
06550146 โซเชียลมีเดียเพื่อการศึกษา06550146 โซเชียลมีเดียเพื่อการศึกษา
06550146 โซเชียลมีเดียเพื่อการศึกษาTapp Pov
 
เอกสารรู้เท่าทันสื่อ
เอกสารรู้เท่าทันสื่อเอกสารรู้เท่าทันสื่อ
เอกสารรู้เท่าทันสื่อRujroad Kaewurai
 
ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยjirapom
 
Education problem of thailand
Education problem of thailandEducation problem of thailand
Education problem of thailandtenglifangad
 
ชุดกิจกรรม Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
ชุดกิจกรรม Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ตชุดกิจกรรม Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
ชุดกิจกรรม Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ตInfluencer TH
 
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซวิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซJirawat Fishingclub
 
หลักการและทฤษฏีการสื่อสาร(แนท)
หลักการและทฤษฏีการสื่อสาร(แนท)หลักการและทฤษฏีการสื่อสาร(แนท)
หลักการและทฤษฏีการสื่อสาร(แนท)PoMpam KamOlrat
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project ChanChann1
 
การศึกษาเพื่อความเป็นไท
การศึกษาเพื่อความเป็นไทการศึกษาเพื่อความเป็นไท
การศึกษาเพื่อความเป็นไทTum Meng
 
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่าสื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่าSoraj Hongladarom
 
9789740329817
97897403298179789740329817
9789740329817CUPress
 
นวัตกรรม บทที่3
นวัตกรรม บทที่3นวัตกรรม บทที่3
นวัตกรรม บทที่3LALILA226
 

Similar to การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง (ต่อยอด) (20)

การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมายการพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
 
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างโครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
 
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
 
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
 
หลักการและทฤฎีการสื่อสาร
หลักการและทฤฎีการสื่อสารหลักการและทฤฎีการสื่อสาร
หลักการและทฤฎีการสื่อสาร
 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทยยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
 
06550146 โซเชียลมีเดียเพื่อการศึกษา
06550146 โซเชียลมีเดียเพื่อการศึกษา06550146 โซเชียลมีเดียเพื่อการศึกษา
06550146 โซเชียลมีเดียเพื่อการศึกษา
 
เอกสารรู้เท่าทันสื่อ
เอกสารรู้เท่าทันสื่อเอกสารรู้เท่าทันสื่อ
เอกสารรู้เท่าทันสื่อ
 
ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย
 
Education problem of thailand
Education problem of thailandEducation problem of thailand
Education problem of thailand
 
ชุดกิจกรรม Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
ชุดกิจกรรม Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ตชุดกิจกรรม Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
ชุดกิจกรรม Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
 
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซวิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
 
หลักการและทฤษฏีการสื่อสาร(แนท)
หลักการและทฤษฏีการสื่อสาร(แนท)หลักการและทฤษฏีการสื่อสาร(แนท)
หลักการและทฤษฏีการสื่อสาร(แนท)
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
การศึกษาเพื่อความเป็นไท
การศึกษาเพื่อความเป็นไทการศึกษาเพื่อความเป็นไท
การศึกษาเพื่อความเป็นไท
 
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่าสื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
 
Happy
HappyHappy
Happy
 
9789740329817
97897403298179789740329817
9789740329817
 
นวัตกรรม บทที่3
นวัตกรรม บทที่3นวัตกรรม บทที่3
นวัตกรรม บทที่3
 

การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง (ต่อยอด)