SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
5          Learning projects:
                    Smart Farm, Smart Farmers,
                    Smart Officers
ผลการดำาเนินการของ Smart Farm Flagship ในส่วนของโครงการนำาร่องภาคสนาม ยัง
มุ่งเน้นปรัชญาของ Flagship คือการสร้าง Co-creation กับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
ในการนำาเทคโนโลยีสารสนเทศมาพัฒนาภาคการเกษตร ซึ่ง Flagship ได้วางแผนการ
ปฏิบัติไว้ 3 ส่วน คือ ปีแรกสร้างเครือข่ายเรียนรู้ร่วมกัน และสร้างแนวทางการปฏิบัติงาน
เชิงนโยบาย ส่วนที่สองคือการแสวงหาโจทย์งานจากหน่วยงานภาคี และนำาร่องงานเพื่อ
สร้างความเป็น Smart Farm ให้ชัดเจนและลงตัว ส่วนสุดท้ายคือการสร้าง Standard &
Procedures ของการเป็น Smart Farm/Smart Farmers บนฐานนวัตกรรมบริการด้านการ
จัดการความรู้และการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อสร้างฐานการเกษตรไทยให้เติบโต
ต่อเนื่องอย่างมั่นคงด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม

ในส่วนของโครงการนำาร่อง สามารถมองได้ 2 มุมมอง กล่าวคือ
   1. ในมิติขององค์กรที่ร่วมดำาเนินงาน ประกอบด้วย กรมหม่อนไหม กรมการข้าว
      สวก. สวทช. และ International Consortium
ภาพที่ 5-1 แสดงกรอบงานที่ Smart Farm Flagship ร่วมดำาเนินการ

โครงการนำาร่องที่ดำาเนินการแล้ว อยู่ระหว่างดำาเนินการ และกำาลังจะดำาเนินการ
ประกอบด้วย

โครงการ Smart Thai Silk
เนื่องจากผ้าไหมไทยเป็นที่รู้จักทั่วโลกว่าเป็นไหมที่มีคุณภาพดี มีความอ่อนนุ่ม มีสี
ธรรมชาติที่เป็นเอกลักษณ์ ความต้องการไหมไทยมีสูงแต่ในปัจจุบันผู้ประกอบอาชีพทอ
ผ้าไหมในประเทศลดลงเป็นอย่างมาก ด้วยเกษตรกรส่วนหนึ่งหันไปปลูกพืชเสณษฐกิจ
ชนิดอื่นแทนหม่อน และหาคนรุ่นใหม่เข้ามาในอุตสาหกรรมทอผ้าไหมพื้นบ้านยากขึ้น
ประกอบกับผ้าไหมไทยกำาลังเผชิญกับกฏระเบียบที่เคร่งครัดขึ้นด้านคุณภาพและ
มาตรฐานสิ่งทอธรรมชาติในการส่งออกผ้าไหมไปตลาดสำาคัญทั่วโลก ทำาอย่างไรจึงจะ
รักษาเอกลักษณ์ผ้าไทยและอุตสาหกรรมผ้าไหมไทยไว้ได้เป็นโจทย์เร่งด่วนที่จะต้องแก้
โดยการเปิดรับเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่เข้ามาสนับสนุนภาคการผลิตหม่อนและ
หนอนไหมอย่างเร่งด่วน

ดังนั้นเนคเทคร่วมกับกรมหม่อนไหม มีวตถุประสงค์หลักในการนำาเทคโนโลยีสารสนเทศ
                                   ั
ไปพัฒนาระบบการผลิตหม่อนและคุณภาพในกระบวนการเลี้ยงไหม ตลอดจนการวัด
คุณภาพเส้นไหม จำานวนโครงการทั้งหมด 6 โครงการ งบประมาณดำาเนินการจากกรม
หม่อนไหมและสำานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ รวม ล้านบาท มีโครงการย่อย
ประกอบด้วย
  •   หลัก สูต รการประยุก ต์ใ ช้ส ื่อ การเรีย นการสอนออนไลน์ด ้ว ย
      LearnSquare (LearnSquare Thai Opensource e-Learning System) เป็น
      โครงการจัดทำาระบบ Learn Online ความรู้ด้านการจัดการแปลงหม่อน และการ
      ผลิตเส้นไหมคุณภาพ ดำาเนินการปี 2554 โดยใช้เทคโนโลยี ของ LearnSquare
      ( Thai Open source e-Learning System) เป็นระบบบริหารจัดการการเรียนรู้
      ออนไลน์ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตามอัธยาศัย
      ทุกที่ ทุกเวลา ในรูปแบบสื่อมัลติมีเดีย ทั้งบทความ ภาพ เสียง หรือวีดีโอ ที่
      สามารถโต้ตอบได้เสมือนการเรียนในห้องเรียนปกติซึ่งถือเป็นการเปิดโอกาส
      ทางการศึกษาให้กว้างมากขึ้น และมีมาตรฐานที่เท่าเทียมกัน นำามาสร้างหลักสูตร
      e-Learning และอบรมการใช้งานให้กับเจ้าหน้ากรมหม่อนไหมทั้งส่วนกลางและ
      ภูมิภาค

  •   โครงการพัฒ นาระบบตรวจวัด และควบคุม เพื่อ การบริห ารจัด การนำ้า ใน
      แปลงปลูก หม่อ น เนื่องจากใบหม่อนมีสารอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อการสร้าง
      เส้นไหมของดักแด้หนอนไหมและเป็นอาหารหลักเพียงชนิดเดียวที่เกษตรกรใช้
      เป็นหลัก ดังนั้นผลผลิตและคุณภาพใบหม่อนย่อมมีความสำาคัญต่อการผลิตผ้า
      ไหมโดยตรง นอกจากนี้ในหม่อนยังสามารถนำามาใช้เป็นเครื่องดื่มประเภทชา
      สมุนไพรที่มีสารออกฤทธิ์ที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่มีอาการความดันโลหิตสูง เป็นที่
      ต้องการของผู้รักสุขภาพทั้งในและต่างประเทศ ระบบการตรวจวัดและควบคุมนำ้า
      ในแปลงหม่อนจึงเป็นระบบที่จำาเป็นในพื้นที่ที่มีปัญหานำ้าต้นทุนแตกต่างกัน การ
      วัดความชื้นดินระดับ root zone ร่วมกับการวิเคราะห์ข้อมูล อุณหภูมิอากาศ
      ความชื้นในทรงพุ่ม ความเข้มแสง และปริมาณนำ้าฝน จะนำามาสู่การทำาตาราง
      บริหารจัดการนำ้าบนระบบข้อมูลจริงที่ทำาให้ต้นหม่อนมีการเติบโตที่สมำ่าเสมอและ
      ให้ผลผลิตคุณภาพสูงสุด เนคเทคได้ดำาเนินการติดตั้งสถานีตรวจวัดสภาพอากาศ
      ขนาดเล็ก ให้กับศูนย์วิจัยหม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติ จำานวน 4 แห่ง ประกอบด้วย
      ศูนย์วิจัยหม่อนไหมฯสระบุรี ศูนย์วิจัยฯชุมพร ศูนย์วิจัยหม่อนไหมนครราชสีมา
และศูนย์วิจัยฯหม่อนไหมร้อยเอ็ด โดยนำาร่องระบบการควบคุมการให้นำ้าแปลง
    หม่อนที่ทำางานอัตโนมัติร่วมกับสถานีตรวจวัด ที่ศูนย์วิจัยหม่อนไหมฯสระบุรี ซึ่ง
    การดำาเนินการแล้วเสร็จในเดือนตุลาคม 2012 นอกจากนี้ข้อมูลที่ได้จากเครื่องมือ
    ประกอบยังสามารถบอกการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศเฉพาะถิ่นในบริเวณ
    นั้น ทำาให้สามารถวางแผนจัดการการผลิตใบหม่อนได้อย่างมีประสิทธิภาพเต็ม
    ศักยภาพของพื้นที่

•   โครงการพัฒ นาโปรแกรมนับ ไข่ไ หม (Research and development of
    Silkworm Egg Counter Program) ผ้าไหมและผลิตภัณฑ์จากไหม นับว่าเป็น
    ผลิตภัณฑ์ที่สร้างรายได้ให้เกษตรกรไทยมหาศาล โดยมูลค่าการส่งออกรังไหม
    เส้นไหม และผลิตภัณฑ์ไหมของประเทศไทย ปีพ.ศ. 2554 มีมูลค่าถึง 550 ล้าน
    บาท 1 นอกจากนี้ผ้าไหมยังแสดงออกถึงวัฒนธรรมไทย ซึ่งเป็นเอกลักษณฺประจำา
    ชาติ โดยประเทศไทยให้ความสำาคัญกับหม่อนไหม จนมีการจัดตั้งกรมหม่อนไหม
    ในปีพ.ศ. 2551 ซึ่งกรมหม่อนไหมมีภารกิจมากมาย และหนึ่งในภารกิจสำาคัญคือ
    ผลิตไข่ไหมให้เกษตรกร โดยปีงบประมาณ 2553 กำาหนดเป้าหมายไว้ที่ -134,200
    แผ่น และสามารถผลิต 133,045 แผ่น 2 โดยที่ในแต่ละแผ่นมีจำานวนไข่ไหม
    ประมาณ 20,000-30,000 ฟอง แต่เนื่องจากไข่ไหมมีขนาดเล็กมาก ทำาให้การนับ
    ไข่ไหมให้ถูกต้องด้วยสายตามนุษย์เป็นไปยากมาก ปัจจุบันนี้จึงใช้วธีประเมิน
                                                                  ิ
    จำานวนไข่ไหมที่จะขายให้เกษตรกรจากการชั่งนำ้าหนักไข่ไหมจำานวนหนึ่งแล้ว
    คำานวณแบบประมาณการ ซึ่งมีข้อผิดพลาดค่อนข้างมาก และเป็นไปได้ที่ขายไข่
    ไหมให้เกษตรกรไม่ครบจำานวนหรือขายไข่ไหมมากเกินกว่าที่ตกลงไปมาก
    ทำาให้จำานวนหนอนไหมที่ออกมาไม่แน่นอน ส่งผลการเลี้ยงดูทำาได้ยากขึ้นต่อไป
    นอกจากนี้การประมาณการยังไม่สามารถจำาแนกไข่ดีไข่เสียออกจากกันได้อีก
    ด้วย และการเก็บข้อมูลจำานวนไข่ไหมต่อไหมแต่ละตัววางไข่ ก็ทำาได้ไม่ถูกต้อง
    ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกนส์และคอมพิวเตอร์จะนำาเทคโนโลยีประมวผลภาพ
    มาช่วยในทำาการนับไข่ไหมด้วยการสแกนแผ่นไข่ไหมด้วยเครื่องสแกนเนอร์
    แล้วใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประมวลผลเชิงภาพ เพื่อนับไข่ไหมทั้งหมด พร้อม
    ทั้งจำาแนกไข่ดีไข่เสียออกจากกัน โดยจะมีวิธีการดำาเนินการดังนี้
             • 2.1 ทำาการเก็บภาพตัวอย่างแผ่นไข่ไหม
             • 2.2 พัฒนาโปรแกรมนับไข่ไหม โดยน่าจะมีที่ต้องพัฒนาเพิ่มเติม คือ
• การปรับปรุงคุณภาพภาพ โดยเฉพาะภาพบนกระดาษสีอ่อน
             • การหาขอบเขตของไข่ไหม
             • การหาตำาแหน่งของไข่ไหมทั้งหมด
             • การแยกแยะไข่ไหมที่ดีและเสีย
             • การนับจำานวนไข่ไหมทั้งสองประเภท
    ระบบดังกล่าวได้ส่งมอบเมื่อตุลาคม 2555 โดยติดตั้งใช้งานที่ศูนย์วิจัย
    หม่อนไหมเฉลิมพระเกียติ 5 แห่ง ประกอบด้วย ศูนย์วิจัยฯสระบุรี ศูนย์วิจัยฯ
    นครราชสีมา ศูนย์วิจัยฯชุมพร ศูนย์วิจัยฯร้อยเอ็ด ศูนย์วิจัยฯน่าน

•   โครงการวิจ ัย และพัฒ นาระบบตรวจเพศดัก แด้ห นอนไหมความแม่น ยำา
    สูง ด้ว ยแสง (Research and development of photonics-based highly-
    accurate silkworm sex identifying systems) ตั้งแต่ชนชาติจีนได้ริเริ่มการนำารัง
    ของหนอนไหมมาทำาเป็นเส้นไหมและทอเป็นเครื่องนุ่งห่มเมื่อประมาณเจ็ดพันกว่า
    ปีมาแล้ว การผลิตรังของหนอนไหมแบบครบวงจรก็เริ่มพัฒนาขึ้นเป็นลำาดับจาก
    การที่ทำากันเป็นอาชีพหลัก และ อาชีพเสริมของครอบครัว ไปสู่อุตสาหกรรมใน
    ครัวเรือน และ อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ มูลค่าในมุมมองทางด้านเศรษฐกิจของ
    อุตสาหกรรมการผลิตไหมและเครื่องนุ่งห่มที่ทำาจากเส้นไหมของประเทศไทยอยู่
    ในระดับที่มากกว่า 5,000 ล้านบาท และคาดว่าอาจถึงระดับหมื่นล้านบาทได้ ทั้งนี้
    ทุกสิ่งทุกอย่างที่ได้ระหว่างการเลี้ยงไหม การปลูกหม่อน และ ผลิตภัณฑ์จากเส้น
    ไหม มีมูลค่าในตัวเอง ยกตัวอย่างเช่น มูลของหนอนไหมที่ถ่ายออกมาระหว่าง
    การเจริญเติบโตสามารถนำาไปสกัดสารวิตามินเคสำาหรับใช้ในผลิตภัณฑ์เครื่อง
    สำาอางและสามารถนำาไปทำาผลิตภัณฑ์ชาขี้ไหม ส่วนรังไหมเองนอกเหนือจากนำา
    ไปทำาเป็นเส้นไหมและทอเป็นผ้าไหมที่สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มผ่านทางลวดลาย
    การทอ และ แบบของเครื่องนุ่งห่มแล้ว ยังสามารถนำาไปละลายเป็นนำ้าดื่มบำารุงสุข
    ภาพได้อีกในการผลิตรังของหนอนไหมมีหลายกระบวนการอยู่ด้วยกัน ซึ่ง
    กระบวนการที่สำาคัญกระบวนการหนึ่ง คือ การคัดแยกเพศของหนอนไหมในช่วง
    การเติบโตของหนอนไหมที่เหมาะสมเพื่อจะได้ติดตามการเจริญเติบโต ความแข็ง
    แรง และ ลักษณะที่สำาคัญที่จะนำามาใช้ในขั้นตอนการผสมพันธุ์ต่อไป วิธีการที่
    สามารถคัดแยกเพศของไหมได้ถูกต้องมากที่สุด คือ การตรวจลักษณะทาง
    พันธุกรรม แต่เนื่องจากวิธีการนี้เป็นแบบทำาลายที่จะต้องเสียหนอนไหมไป จึงไม่
ได้นำามาใช้ในอุตสาหกรรม รวมถึงการใช้ภาพถ่ายคลื่นแม่เหล็ก (Magnetic
Resonance Imaging) เป็นอีกเทคนิคหนึ่งที่นอกจากจะใช้ศึกษาการเติบโตและ
การเปลี่ยนรูปร่างในระยะต่างๆ ของตัวไหมได้ แต่เนื่องจากระบบการถ่ายภาพ
ด้วยคลื่นแม่เหล็กมีราคาสูง และ ประสิทธิภาพในการคัดแยกยังไม่สูงมากนัก จึง
ทำาให้วิธีการนี้ไม่เป็นที่ยอมรับ วิธีการที่ใช้กันทั่วไป คือ การคัดแยกผ่านการ
สังเกตด้วยตาเปล่าจากจุดเด่นบริเวณก้นของหนอนไหมช่วงระยะที่เป็นดักแด้ ซึ่ง
วิธีการนี้ต้องอาศัยผู้ที่มีประสบการณ์ และเนื่องจากจุดเด่นบริเวณก้นของดักแด้
ของหนอนไหมมีขนาดประมาณหนึ่งมิลลิเมตรยังส่งผลเสียต่อสายตาของผู้คัด
แยกได้ อีกวิธีการหนึ่งที่ชวยลดเวลาในการคัดแยกลงได้คือการดูสีที่รังของ
                          ่
หนอนไหม อย่างไรก็ตาม เนื่องจากปัจจุบันรังของหนอนไหมมีหลากหลายสีซึ่ง
ขึ้นอยู่กับพันธุ์ของผีเสื้อที่เลี้ยง ทำาให้วิธีการนี้ไม่สามารถคัดแยกเพศของหนอน
ไหมได้ดีเท่ากับการคัดแยกด้วยการตรวจสอบลักษณะเด่นที่ได้อธิบายไว้ก่อน
หน้า การชั่งนำ้าหนักเป็นอีกวิธีการหนึ่งที่ชวยให้การคัดแยกทำาได้รวดเร็วขึ้น ซึ่ง
                                           ่
วิธีการนี้อยู่บนพื้นฐานที่ว่ารังไหมหรือดักแด้ของหนอนไหมที่เป็นเพศเมียจะมี
ขนาดและนำ้าหนักมากกว่ารังไหมหรือดักแด้ของหนอนไหมที่เป็นของเพศผู้
ศูนย์วิจัยหม่อนไหมหลายๆ ศูนย์ในประเทศไทยก็ได้เลือกใช้วิธีการนี้ถึงแม้ว่าจะ
คัดได้ทีละตัวและเครื่องคัดแยกเพศหนอนไหมมีราคาประมาณ 5 ล้านบาท
นอกจากนี้ การนำาถาดมาเจาะรูหลายๆ รูโดยให้แต่ละรูมีขนาดเท่ากับขนาดของ
รังของหนอนไหมเพศผู้จะทำาให้คัดแยกเพศของหนอนไหมได้รวดเร็วขึ้น แต่
เนื่องจากในปัจจุบันมีการพัฒนาของพันธุ์ไหมมากขึ้นรวมไปถึงอัตราการเจริญ
เติบโตของหนอนไหมแต่ละตัวก็ไม่เหมือนกัน ทำาให้นำ้าหนักและขนาดของรังไหม
หรือของดักแด้ของหนอนไหมที่เป็นเพศเมียมีค่าใกล้เคียงกับของเพศผู้ได้ ส่งผล
ให้เกิดข้อผิดพลาดสูงในระหว่างการคัดแยกเพศดักแด้ของหนอนไหม ปัจจุบัน
ศูนย์วิจัยหนอนไหมบางศูนย์ได้ยกเลิกการใช้เครื่องคัดแยกเพศดักแด้ไหมด้วย
การชั่งนำ้าหนักแล้วและหันกลับมาใช้การสังเกตด้วยตาเปล่าแทน นอกเหนือจาก
วิธีการดังกล่าวข้างต้น การนำาองค์ความรู้ทางแสงเข้ามาช่วยก็ได้มีการนำาเสนอ
ขึ้นมาเพื่อใช้คัดแยกเพศของหนอนไหม ซึ่งครอบคลุมการตรวจสอบจาก
สเปกตรัมของแสงที่สะท้อนมาจากดักแด้ของหนอนไหมที่จะต้องอาศัยเครื่องสเปก
โตรมิเตอร์ที่มีราคาค่อนข้างสูง และ มีขั้นตอนประมวลผลข้อมูลสเปกตรัมที่มี
ความซับซ้อนและใช้เวลานาน อีกวิธีการหนึ่งคือการตรวจสอบจากแสงที่เรือง
    ออกมาจากรังของหนอนไหมภายใต้แสงอัลตราไวโอเล็ต A (Ultraviolet A)
    อย่างไรก็ตาม แสงที่สะท้อนจากดักแด้และแสงที่เรืองออกมาจากรังของหนอน
    ไหมแต่ละพันธุ์มีความแตกต่างกัน จึงไม่สามารถคัดแยกเพศของหนอนไหมได้ทุก
    สายพันธุ์ เมื่อพิจารณาถึงวิธีการที่ได้กล่าวมาข้างต้นพบว่าวิธีการดังกล่าวยังไม่
    สามารถคัดแยกเพศดักแด้ของหนอนไหมได้อย่างรวดเร็วและแม่นยำา และมี
    ต้นทุนในการผลิตตำ่าได้ ดังนั้น เพื่อที่จะตรวจสอบเพศดักแด้ของหนอนไหมของ
    หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องของประเทศไทยให้ได้ประสิทธิภาพสูงขึ้น แนวทาง
    หนึ่งคือการตรวจสอบทางกายวิภาคโดยเฉพาะเอกลักษณ์หรืออวัยวะภายในที่
    สามารถใช้ในการระบุเพศดักแด้ของหนอนไหมได้อย่างต่อมไคติน (Chitin
    gland) เนื่องจากผิวหนังดักแด้ของหนอนไหมมีองค์ประกอบของไคตินอยู่และตัว
    ดักแด้ของหนอนไหมก็มีขนาดของความหนาไม่เกิน 10 มิลลิเมตร ทำาให้เรา
    สามารถใช้แหล่งกำาเนิดแสงที่ให้กำาลังของแสงตำ่า และให้แสงที่มีความยาวคลื่น
    ยาวอย่างแสงสีแดงในย่านที่ตามองเห็นที่มีความยาวคลื่นตั้งแต่ 600 นาโนเมตร
    ขึ้นไปจนถึงแสงในย่านอินฟราเรดใกล้ที่มีความยาวคลื่น 1100 นาโนเมตร ได้
    ทั้งนี้เพราะว่าแสงที่มีคุณสมบัติดังกล่าวสามารถแผ่ทะลุลงไปยังวัสดุที่เป็นไคติน
    ได้ดี ไม่เป็นอันตรายต่อตัวดักแด้ของหนอนไหม และยังช่วยให้เห็นองค์ประกอบ
    ภายในที่ที่แสงเคลื่อนที่ผ่านไปในตัวด้วย เมื่อนำาองค์ความรู้ดังกล่าวมาผสมผสาน
    เข้ากับการประมวลผลภาพที่ประกอบไปด้วยขั้นตอนอย่างการกรองสัญญาณ
    รบกวนออกจากภาพ และ การค้นหาวัตถุที่สนใจ จะทำาให้สามารถตรวจสอบเพศ
    ดักแด้ของหนอนไหมได้อย่างรวดเร็ว มีกระบวนการที่ไม่ซับซ้อน และ ไม่มีการ
    สัมผัสกับตัวดักแด้ของหนอนไหมระหว่างทำาการตรวจสอบกระบวนการดังกล่าว
    เป็นกระบวนการที่สำาคัญที่จะต้องศึกษาและพัฒนาในโครงการนี้เพื่อให้ได้ระบบที่
    สามารถตรวจสอบเพศดักแด้ของหนอนไหมและมีความแม่นยำา ตรวจสอบได้
    รวดเร็ว และมีต้นทุนในการผลิตตำ่า ระบบดังกล่าวนี้จะติดตั้งทีศูนย์วิจัยหม่อน
                                                               ่
    ไหมฯ จำานวน 5 แห่ง

•   โครงการวิจ ัย พัฒ นาเครื่อ งมือ ต้น แบบในการตรวจวัด ความสมำ่า เสมอ
    ของเส้น ไหมสำา หรับ ใช้จ ัด ชัน คุณ ภาพมาตรฐานเส้น ไหมไทย ด้วยไหม
                                  ้
    ไทยมีความต้องการของผู้ใช้สูงโดยเฉพาะในยุโรป บริษัทที่เป็นผู้นำาแฟชั่นเครื่อง
ได้นำามาใช้ในอุตสาหกรรม รวมถึงการใช้ภาพถ่ายคลื่นแม่เหล็ก (Magnetic
Resonance Imaging) เป็นอีกเทคนิคหนึ่งที่นอกจากจะใช้ศึกษาการเติบโตและ
การเปลี่ยนรูปร่างในระยะต่างๆ ของตัวไหมได้ แต่เนื่องจากระบบการถ่ายภาพ
ด้วยคลื่นแม่เหล็กมีราคาสูง และ ประสิทธิภาพในการคัดแยกยังไม่สูงมากนัก จึง
ทำาให้วิธีการนี้ไม่เป็นที่ยอมรับ วิธีการที่ใช้กันทั่วไป คือ การคัดแยกผ่านการ
สังเกตด้วยตาเปล่าจากจุดเด่นบริเวณก้นของหนอนไหมช่วงระยะที่เป็นดักแด้ ซึ่ง
วิธีการนี้ต้องอาศัยผู้ที่มีประสบการณ์ และเนื่องจากจุดเด่นบริเวณก้นของดักแด้
ของหนอนไหมมีขนาดประมาณหนึ่งมิลลิเมตรยังส่งผลเสียต่อสายตาของผู้คัด
แยกได้ อีกวิธีการหนึ่งที่ชวยลดเวลาในการคัดแยกลงได้คือการดูสีที่รังของ
                          ่
หนอนไหม อย่างไรก็ตาม เนื่องจากปัจจุบันรังของหนอนไหมมีหลากหลายสีซึ่ง
ขึ้นอยู่กับพันธุ์ของผีเสื้อที่เลี้ยง ทำาให้วิธีการนี้ไม่สามารถคัดแยกเพศของหนอน
ไหมได้ดีเท่ากับการคัดแยกด้วยการตรวจสอบลักษณะเด่นที่ได้อธิบายไว้ก่อน
หน้า การชั่งนำ้าหนักเป็นอีกวิธีการหนึ่งที่ชวยให้การคัดแยกทำาได้รวดเร็วขึ้น ซึ่ง
                                           ่
วิธีการนี้อยู่บนพื้นฐานที่ว่ารังไหมหรือดักแด้ของหนอนไหมที่เป็นเพศเมียจะมี
ขนาดและนำ้าหนักมากกว่ารังไหมหรือดักแด้ของหนอนไหมที่เป็นของเพศผู้
ศูนย์วิจัยหม่อนไหมหลายๆ ศูนย์ในประเทศไทยก็ได้เลือกใช้วิธีการนี้ถึงแม้ว่าจะ
คัดได้ทีละตัวและเครื่องคัดแยกเพศหนอนไหมมีราคาประมาณ 5 ล้านบาท
นอกจากนี้ การนำาถาดมาเจาะรูหลายๆ รูโดยให้แต่ละรูมีขนาดเท่ากับขนาดของ
รังของหนอนไหมเพศผู้จะทำาให้คัดแยกเพศของหนอนไหมได้รวดเร็วขึ้น แต่
เนื่องจากในปัจจุบันมีการพัฒนาของพันธุ์ไหมมากขึ้นรวมไปถึงอัตราการเจริญ
เติบโตของหนอนไหมแต่ละตัวก็ไม่เหมือนกัน ทำาให้นำ้าหนักและขนาดของรังไหม
หรือของดักแด้ของหนอนไหมที่เป็นเพศเมียมีค่าใกล้เคียงกับของเพศผู้ได้ ส่งผล
ให้เกิดข้อผิดพลาดสูงในระหว่างการคัดแยกเพศดักแด้ของหนอนไหม ปัจจุบัน
ศูนย์วิจัยหนอนไหมบางศูนย์ได้ยกเลิกการใช้เครื่องคัดแยกเพศดักแด้ไหมด้วย
การชั่งนำ้าหนักแล้วและหันกลับมาใช้การสังเกตด้วยตาเปล่าแทน นอกเหนือจาก
วิธีการดังกล่าวข้างต้น การนำาองค์ความรู้ทางแสงเข้ามาช่วยก็ได้มีการนำาเสนอ
ขึ้นมาเพื่อใช้คัดแยกเพศของหนอนไหม ซึ่งครอบคลุมการตรวจสอบจาก
สเปกตรัมของแสงที่สะท้อนมาจากดักแด้ของหนอนไหมที่จะต้องอาศัยเครื่องสเปก
โตรมิเตอร์ที่มีราคาค่อนข้างสูง และ มีขั้นตอนประมวลผลข้อมูลสเปกตรัมที่มี

More Related Content

What's hot

แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์Aun Chun Cha Ree
 
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศป.ปลา ตากลม
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningrubtumproject.com
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์Mymi Santikunnukan
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์Mymi Santikunnukan
 
Military PR using social network
Military PR using social networkMilitary PR using social network
Military PR using social networkTeeranan
 
Military pr new_media
Military pr new_mediaMilitary pr new_media
Military pr new_mediaTeeranan
 

What's hot (7)

แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
 
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Military PR using social network
Military PR using social networkMilitary PR using social network
Military PR using social network
 
Military pr new_media
Military pr new_mediaMilitary pr new_media
Military pr new_media
 

Viewers also liked

การสร้างระบบพยากรณ์โรคกล้วยไม้
การสร้างระบบพยากรณ์โรคกล้วยไม้การสร้างระบบพยากรณ์โรคกล้วยไม้
การสร้างระบบพยากรณ์โรคกล้วยไม้Pisuth paiboonrat
 
Traceability platform concept
Traceability platform  conceptTraceability platform  concept
Traceability platform conceptPisuth paiboonrat
 

Viewers also liked (8)

การสร้างระบบพยากรณ์โรคกล้วยไม้
การสร้างระบบพยากรณ์โรคกล้วยไม้การสร้างระบบพยากรณ์โรคกล้วยไม้
การสร้างระบบพยากรณ์โรคกล้วยไม้
 
20100818 sf-israel
20100818 sf-israel20100818 sf-israel
20100818 sf-israel
 
Sri smart farm
Sri smart farmSri smart farm
Sri smart farm
 
SRI thailand
SRI thailandSRI thailand
SRI thailand
 
Traceability platform concept
Traceability platform  conceptTraceability platform  concept
Traceability platform concept
 
Poster e gov day
Poster e gov dayPoster e gov day
Poster e gov day
 
Orchid export strategy
Orchid export strategyOrchid export strategy
Orchid export strategy
 
Orchid quality april 2011
Orchid quality april 2011Orchid quality april 2011
Orchid quality april 2011
 

Similar to Smart farm white paper chapter 5 (20)

Ku 54
Ku 54Ku 54
Ku 54
 
Smart Agriculture
Smart Agriculture Smart Agriculture
Smart Agriculture
 
Smart farm concept
Smart farm conceptSmart farm concept
Smart farm concept
 
Digital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agricultureDigital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agriculture
 
07
0707
07
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
Mancha
ManchaMancha
Mancha
 
07
0707
07
 
07
0707
07
 
Is pre
Is preIs pre
Is pre
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
 
Smart farm concept
Smart farm conceptSmart farm concept
Smart farm concept
 
K2
K2K2
K2
 
K2
K2K2
K2
 
Smart farm lecture-ku
Smart farm lecture-kuSmart farm lecture-ku
Smart farm lecture-ku
 
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายรายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
 
Ativities student system
Ativities student systemAtivities student system
Ativities student system
 
โครงงานกลุ่มที่ 1.doc
โครงงานกลุ่มที่ 1.docโครงงานกลุ่มที่ 1.doc
โครงงานกลุ่มที่ 1.doc
 
โครงงานกลุ่มที่ 1
โครงงานกลุ่มที่ 1โครงงานกลุ่มที่ 1
โครงงานกลุ่มที่ 1
 
07
0707
07
 

More from Pisuth paiboonrat (20)

E agriculture-thailand
E agriculture-thailandE agriculture-thailand
E agriculture-thailand
 
Icdt for community
Icdt for communityIcdt for community
Icdt for community
 
ICDT for ag1 ver2
ICDT for ag1 ver2ICDT for ag1 ver2
ICDT for ag1 ver2
 
Disruptive technology for agriculture v2
Disruptive technology for agriculture v2Disruptive technology for agriculture v2
Disruptive technology for agriculture v2
 
Ag smart2 pisuth
Ag smart2 pisuthAg smart2 pisuth
Ag smart2 pisuth
 
Ag smart pisuth
Ag smart pisuthAg smart pisuth
Ag smart pisuth
 
Digital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agricultureDigital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agriculture
 
Ag smart pisuth
Ag smart pisuthAg smart pisuth
Ag smart pisuth
 
Mahidol ag
Mahidol agMahidol ag
Mahidol ag
 
Ku01
Ku01Ku01
Ku01
 
Smart farm concept ait
Smart farm concept aitSmart farm concept ait
Smart farm concept ait
 
RSPG social business model
RSPG social business modelRSPG social business model
RSPG social business model
 
Smart farm rice-kanchanaburi
Smart farm rice-kanchanaburiSmart farm rice-kanchanaburi
Smart farm rice-kanchanaburi
 
Smart farm initiative2
Smart farm initiative2Smart farm initiative2
Smart farm initiative2
 
Smart farm initiative
Smart farm initiativeSmart farm initiative
Smart farm initiative
 
Smart Agriculture under Thailand 4.0
Smart Agriculture under Thailand 4.0Smart Agriculture under Thailand 4.0
Smart Agriculture under Thailand 4.0
 
Fao final2
Fao final2Fao final2
Fao final2
 
E-agriculture Solution: Thailand experiences
E-agriculture Solution: Thailand experiencesE-agriculture Solution: Thailand experiences
E-agriculture Solution: Thailand experiences
 
Smart Thai Rice
Smart Thai RiceSmart Thai Rice
Smart Thai Rice
 
Sf roiet
Sf roietSf roiet
Sf roiet
 

Smart farm white paper chapter 5

  • 1. 5 Learning projects: Smart Farm, Smart Farmers, Smart Officers ผลการดำาเนินการของ Smart Farm Flagship ในส่วนของโครงการนำาร่องภาคสนาม ยัง มุ่งเน้นปรัชญาของ Flagship คือการสร้าง Co-creation กับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ในการนำาเทคโนโลยีสารสนเทศมาพัฒนาภาคการเกษตร ซึ่ง Flagship ได้วางแผนการ ปฏิบัติไว้ 3 ส่วน คือ ปีแรกสร้างเครือข่ายเรียนรู้ร่วมกัน และสร้างแนวทางการปฏิบัติงาน เชิงนโยบาย ส่วนที่สองคือการแสวงหาโจทย์งานจากหน่วยงานภาคี และนำาร่องงานเพื่อ สร้างความเป็น Smart Farm ให้ชัดเจนและลงตัว ส่วนสุดท้ายคือการสร้าง Standard & Procedures ของการเป็น Smart Farm/Smart Farmers บนฐานนวัตกรรมบริการด้านการ จัดการความรู้และการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อสร้างฐานการเกษตรไทยให้เติบโต ต่อเนื่องอย่างมั่นคงด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม ในส่วนของโครงการนำาร่อง สามารถมองได้ 2 มุมมอง กล่าวคือ 1. ในมิติขององค์กรที่ร่วมดำาเนินงาน ประกอบด้วย กรมหม่อนไหม กรมการข้าว สวก. สวทช. และ International Consortium
  • 2. ภาพที่ 5-1 แสดงกรอบงานที่ Smart Farm Flagship ร่วมดำาเนินการ โครงการนำาร่องที่ดำาเนินการแล้ว อยู่ระหว่างดำาเนินการ และกำาลังจะดำาเนินการ ประกอบด้วย โครงการ Smart Thai Silk เนื่องจากผ้าไหมไทยเป็นที่รู้จักทั่วโลกว่าเป็นไหมที่มีคุณภาพดี มีความอ่อนนุ่ม มีสี ธรรมชาติที่เป็นเอกลักษณ์ ความต้องการไหมไทยมีสูงแต่ในปัจจุบันผู้ประกอบอาชีพทอ ผ้าไหมในประเทศลดลงเป็นอย่างมาก ด้วยเกษตรกรส่วนหนึ่งหันไปปลูกพืชเสณษฐกิจ ชนิดอื่นแทนหม่อน และหาคนรุ่นใหม่เข้ามาในอุตสาหกรรมทอผ้าไหมพื้นบ้านยากขึ้น ประกอบกับผ้าไหมไทยกำาลังเผชิญกับกฏระเบียบที่เคร่งครัดขึ้นด้านคุณภาพและ มาตรฐานสิ่งทอธรรมชาติในการส่งออกผ้าไหมไปตลาดสำาคัญทั่วโลก ทำาอย่างไรจึงจะ รักษาเอกลักษณ์ผ้าไทยและอุตสาหกรรมผ้าไหมไทยไว้ได้เป็นโจทย์เร่งด่วนที่จะต้องแก้ โดยการเปิดรับเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่เข้ามาสนับสนุนภาคการผลิตหม่อนและ หนอนไหมอย่างเร่งด่วน ดังนั้นเนคเทคร่วมกับกรมหม่อนไหม มีวตถุประสงค์หลักในการนำาเทคโนโลยีสารสนเทศ ั
  • 3. ไปพัฒนาระบบการผลิตหม่อนและคุณภาพในกระบวนการเลี้ยงไหม ตลอดจนการวัด คุณภาพเส้นไหม จำานวนโครงการทั้งหมด 6 โครงการ งบประมาณดำาเนินการจากกรม หม่อนไหมและสำานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ รวม ล้านบาท มีโครงการย่อย ประกอบด้วย • หลัก สูต รการประยุก ต์ใ ช้ส ื่อ การเรีย นการสอนออนไลน์ด ้ว ย LearnSquare (LearnSquare Thai Opensource e-Learning System) เป็น โครงการจัดทำาระบบ Learn Online ความรู้ด้านการจัดการแปลงหม่อน และการ ผลิตเส้นไหมคุณภาพ ดำาเนินการปี 2554 โดยใช้เทคโนโลยี ของ LearnSquare ( Thai Open source e-Learning System) เป็นระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ ออนไลน์ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตามอัธยาศัย ทุกที่ ทุกเวลา ในรูปแบบสื่อมัลติมีเดีย ทั้งบทความ ภาพ เสียง หรือวีดีโอ ที่ สามารถโต้ตอบได้เสมือนการเรียนในห้องเรียนปกติซึ่งถือเป็นการเปิดโอกาส ทางการศึกษาให้กว้างมากขึ้น และมีมาตรฐานที่เท่าเทียมกัน นำามาสร้างหลักสูตร e-Learning และอบรมการใช้งานให้กับเจ้าหน้ากรมหม่อนไหมทั้งส่วนกลางและ ภูมิภาค • โครงการพัฒ นาระบบตรวจวัด และควบคุม เพื่อ การบริห ารจัด การนำ้า ใน แปลงปลูก หม่อ น เนื่องจากใบหม่อนมีสารอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อการสร้าง เส้นไหมของดักแด้หนอนไหมและเป็นอาหารหลักเพียงชนิดเดียวที่เกษตรกรใช้ เป็นหลัก ดังนั้นผลผลิตและคุณภาพใบหม่อนย่อมมีความสำาคัญต่อการผลิตผ้า ไหมโดยตรง นอกจากนี้ในหม่อนยังสามารถนำามาใช้เป็นเครื่องดื่มประเภทชา สมุนไพรที่มีสารออกฤทธิ์ที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่มีอาการความดันโลหิตสูง เป็นที่ ต้องการของผู้รักสุขภาพทั้งในและต่างประเทศ ระบบการตรวจวัดและควบคุมนำ้า ในแปลงหม่อนจึงเป็นระบบที่จำาเป็นในพื้นที่ที่มีปัญหานำ้าต้นทุนแตกต่างกัน การ วัดความชื้นดินระดับ root zone ร่วมกับการวิเคราะห์ข้อมูล อุณหภูมิอากาศ ความชื้นในทรงพุ่ม ความเข้มแสง และปริมาณนำ้าฝน จะนำามาสู่การทำาตาราง บริหารจัดการนำ้าบนระบบข้อมูลจริงที่ทำาให้ต้นหม่อนมีการเติบโตที่สมำ่าเสมอและ ให้ผลผลิตคุณภาพสูงสุด เนคเทคได้ดำาเนินการติดตั้งสถานีตรวจวัดสภาพอากาศ ขนาดเล็ก ให้กับศูนย์วิจัยหม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติ จำานวน 4 แห่ง ประกอบด้วย ศูนย์วิจัยหม่อนไหมฯสระบุรี ศูนย์วิจัยฯชุมพร ศูนย์วิจัยหม่อนไหมนครราชสีมา
  • 4. และศูนย์วิจัยฯหม่อนไหมร้อยเอ็ด โดยนำาร่องระบบการควบคุมการให้นำ้าแปลง หม่อนที่ทำางานอัตโนมัติร่วมกับสถานีตรวจวัด ที่ศูนย์วิจัยหม่อนไหมฯสระบุรี ซึ่ง การดำาเนินการแล้วเสร็จในเดือนตุลาคม 2012 นอกจากนี้ข้อมูลที่ได้จากเครื่องมือ ประกอบยังสามารถบอกการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศเฉพาะถิ่นในบริเวณ นั้น ทำาให้สามารถวางแผนจัดการการผลิตใบหม่อนได้อย่างมีประสิทธิภาพเต็ม ศักยภาพของพื้นที่ • โครงการพัฒ นาโปรแกรมนับ ไข่ไ หม (Research and development of Silkworm Egg Counter Program) ผ้าไหมและผลิตภัณฑ์จากไหม นับว่าเป็น ผลิตภัณฑ์ที่สร้างรายได้ให้เกษตรกรไทยมหาศาล โดยมูลค่าการส่งออกรังไหม เส้นไหม และผลิตภัณฑ์ไหมของประเทศไทย ปีพ.ศ. 2554 มีมูลค่าถึง 550 ล้าน บาท 1 นอกจากนี้ผ้าไหมยังแสดงออกถึงวัฒนธรรมไทย ซึ่งเป็นเอกลักษณฺประจำา ชาติ โดยประเทศไทยให้ความสำาคัญกับหม่อนไหม จนมีการจัดตั้งกรมหม่อนไหม ในปีพ.ศ. 2551 ซึ่งกรมหม่อนไหมมีภารกิจมากมาย และหนึ่งในภารกิจสำาคัญคือ ผลิตไข่ไหมให้เกษตรกร โดยปีงบประมาณ 2553 กำาหนดเป้าหมายไว้ที่ -134,200 แผ่น และสามารถผลิต 133,045 แผ่น 2 โดยที่ในแต่ละแผ่นมีจำานวนไข่ไหม ประมาณ 20,000-30,000 ฟอง แต่เนื่องจากไข่ไหมมีขนาดเล็กมาก ทำาให้การนับ ไข่ไหมให้ถูกต้องด้วยสายตามนุษย์เป็นไปยากมาก ปัจจุบันนี้จึงใช้วธีประเมิน ิ จำานวนไข่ไหมที่จะขายให้เกษตรกรจากการชั่งนำ้าหนักไข่ไหมจำานวนหนึ่งแล้ว คำานวณแบบประมาณการ ซึ่งมีข้อผิดพลาดค่อนข้างมาก และเป็นไปได้ที่ขายไข่ ไหมให้เกษตรกรไม่ครบจำานวนหรือขายไข่ไหมมากเกินกว่าที่ตกลงไปมาก ทำาให้จำานวนหนอนไหมที่ออกมาไม่แน่นอน ส่งผลการเลี้ยงดูทำาได้ยากขึ้นต่อไป นอกจากนี้การประมาณการยังไม่สามารถจำาแนกไข่ดีไข่เสียออกจากกันได้อีก ด้วย และการเก็บข้อมูลจำานวนไข่ไหมต่อไหมแต่ละตัววางไข่ ก็ทำาได้ไม่ถูกต้อง ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกนส์และคอมพิวเตอร์จะนำาเทคโนโลยีประมวผลภาพ มาช่วยในทำาการนับไข่ไหมด้วยการสแกนแผ่นไข่ไหมด้วยเครื่องสแกนเนอร์ แล้วใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประมวลผลเชิงภาพ เพื่อนับไข่ไหมทั้งหมด พร้อม ทั้งจำาแนกไข่ดีไข่เสียออกจากกัน โดยจะมีวิธีการดำาเนินการดังนี้ • 2.1 ทำาการเก็บภาพตัวอย่างแผ่นไข่ไหม • 2.2 พัฒนาโปรแกรมนับไข่ไหม โดยน่าจะมีที่ต้องพัฒนาเพิ่มเติม คือ
  • 5. • การปรับปรุงคุณภาพภาพ โดยเฉพาะภาพบนกระดาษสีอ่อน • การหาขอบเขตของไข่ไหม • การหาตำาแหน่งของไข่ไหมทั้งหมด • การแยกแยะไข่ไหมที่ดีและเสีย • การนับจำานวนไข่ไหมทั้งสองประเภท ระบบดังกล่าวได้ส่งมอบเมื่อตุลาคม 2555 โดยติดตั้งใช้งานที่ศูนย์วิจัย หม่อนไหมเฉลิมพระเกียติ 5 แห่ง ประกอบด้วย ศูนย์วิจัยฯสระบุรี ศูนย์วิจัยฯ นครราชสีมา ศูนย์วิจัยฯชุมพร ศูนย์วิจัยฯร้อยเอ็ด ศูนย์วิจัยฯน่าน • โครงการวิจ ัย และพัฒ นาระบบตรวจเพศดัก แด้ห นอนไหมความแม่น ยำา สูง ด้ว ยแสง (Research and development of photonics-based highly- accurate silkworm sex identifying systems) ตั้งแต่ชนชาติจีนได้ริเริ่มการนำารัง ของหนอนไหมมาทำาเป็นเส้นไหมและทอเป็นเครื่องนุ่งห่มเมื่อประมาณเจ็ดพันกว่า ปีมาแล้ว การผลิตรังของหนอนไหมแบบครบวงจรก็เริ่มพัฒนาขึ้นเป็นลำาดับจาก การที่ทำากันเป็นอาชีพหลัก และ อาชีพเสริมของครอบครัว ไปสู่อุตสาหกรรมใน ครัวเรือน และ อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ มูลค่าในมุมมองทางด้านเศรษฐกิจของ อุตสาหกรรมการผลิตไหมและเครื่องนุ่งห่มที่ทำาจากเส้นไหมของประเทศไทยอยู่ ในระดับที่มากกว่า 5,000 ล้านบาท และคาดว่าอาจถึงระดับหมื่นล้านบาทได้ ทั้งนี้ ทุกสิ่งทุกอย่างที่ได้ระหว่างการเลี้ยงไหม การปลูกหม่อน และ ผลิตภัณฑ์จากเส้น ไหม มีมูลค่าในตัวเอง ยกตัวอย่างเช่น มูลของหนอนไหมที่ถ่ายออกมาระหว่าง การเจริญเติบโตสามารถนำาไปสกัดสารวิตามินเคสำาหรับใช้ในผลิตภัณฑ์เครื่อง สำาอางและสามารถนำาไปทำาผลิตภัณฑ์ชาขี้ไหม ส่วนรังไหมเองนอกเหนือจากนำา ไปทำาเป็นเส้นไหมและทอเป็นผ้าไหมที่สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มผ่านทางลวดลาย การทอ และ แบบของเครื่องนุ่งห่มแล้ว ยังสามารถนำาไปละลายเป็นนำ้าดื่มบำารุงสุข ภาพได้อีกในการผลิตรังของหนอนไหมมีหลายกระบวนการอยู่ด้วยกัน ซึ่ง กระบวนการที่สำาคัญกระบวนการหนึ่ง คือ การคัดแยกเพศของหนอนไหมในช่วง การเติบโตของหนอนไหมที่เหมาะสมเพื่อจะได้ติดตามการเจริญเติบโต ความแข็ง แรง และ ลักษณะที่สำาคัญที่จะนำามาใช้ในขั้นตอนการผสมพันธุ์ต่อไป วิธีการที่ สามารถคัดแยกเพศของไหมได้ถูกต้องมากที่สุด คือ การตรวจลักษณะทาง พันธุกรรม แต่เนื่องจากวิธีการนี้เป็นแบบทำาลายที่จะต้องเสียหนอนไหมไป จึงไม่
  • 6. ได้นำามาใช้ในอุตสาหกรรม รวมถึงการใช้ภาพถ่ายคลื่นแม่เหล็ก (Magnetic Resonance Imaging) เป็นอีกเทคนิคหนึ่งที่นอกจากจะใช้ศึกษาการเติบโตและ การเปลี่ยนรูปร่างในระยะต่างๆ ของตัวไหมได้ แต่เนื่องจากระบบการถ่ายภาพ ด้วยคลื่นแม่เหล็กมีราคาสูง และ ประสิทธิภาพในการคัดแยกยังไม่สูงมากนัก จึง ทำาให้วิธีการนี้ไม่เป็นที่ยอมรับ วิธีการที่ใช้กันทั่วไป คือ การคัดแยกผ่านการ สังเกตด้วยตาเปล่าจากจุดเด่นบริเวณก้นของหนอนไหมช่วงระยะที่เป็นดักแด้ ซึ่ง วิธีการนี้ต้องอาศัยผู้ที่มีประสบการณ์ และเนื่องจากจุดเด่นบริเวณก้นของดักแด้ ของหนอนไหมมีขนาดประมาณหนึ่งมิลลิเมตรยังส่งผลเสียต่อสายตาของผู้คัด แยกได้ อีกวิธีการหนึ่งที่ชวยลดเวลาในการคัดแยกลงได้คือการดูสีที่รังของ ่ หนอนไหม อย่างไรก็ตาม เนื่องจากปัจจุบันรังของหนอนไหมมีหลากหลายสีซึ่ง ขึ้นอยู่กับพันธุ์ของผีเสื้อที่เลี้ยง ทำาให้วิธีการนี้ไม่สามารถคัดแยกเพศของหนอน ไหมได้ดีเท่ากับการคัดแยกด้วยการตรวจสอบลักษณะเด่นที่ได้อธิบายไว้ก่อน หน้า การชั่งนำ้าหนักเป็นอีกวิธีการหนึ่งที่ชวยให้การคัดแยกทำาได้รวดเร็วขึ้น ซึ่ง ่ วิธีการนี้อยู่บนพื้นฐานที่ว่ารังไหมหรือดักแด้ของหนอนไหมที่เป็นเพศเมียจะมี ขนาดและนำ้าหนักมากกว่ารังไหมหรือดักแด้ของหนอนไหมที่เป็นของเพศผู้ ศูนย์วิจัยหม่อนไหมหลายๆ ศูนย์ในประเทศไทยก็ได้เลือกใช้วิธีการนี้ถึงแม้ว่าจะ คัดได้ทีละตัวและเครื่องคัดแยกเพศหนอนไหมมีราคาประมาณ 5 ล้านบาท นอกจากนี้ การนำาถาดมาเจาะรูหลายๆ รูโดยให้แต่ละรูมีขนาดเท่ากับขนาดของ รังของหนอนไหมเพศผู้จะทำาให้คัดแยกเพศของหนอนไหมได้รวดเร็วขึ้น แต่ เนื่องจากในปัจจุบันมีการพัฒนาของพันธุ์ไหมมากขึ้นรวมไปถึงอัตราการเจริญ เติบโตของหนอนไหมแต่ละตัวก็ไม่เหมือนกัน ทำาให้นำ้าหนักและขนาดของรังไหม หรือของดักแด้ของหนอนไหมที่เป็นเพศเมียมีค่าใกล้เคียงกับของเพศผู้ได้ ส่งผล ให้เกิดข้อผิดพลาดสูงในระหว่างการคัดแยกเพศดักแด้ของหนอนไหม ปัจจุบัน ศูนย์วิจัยหนอนไหมบางศูนย์ได้ยกเลิกการใช้เครื่องคัดแยกเพศดักแด้ไหมด้วย การชั่งนำ้าหนักแล้วและหันกลับมาใช้การสังเกตด้วยตาเปล่าแทน นอกเหนือจาก วิธีการดังกล่าวข้างต้น การนำาองค์ความรู้ทางแสงเข้ามาช่วยก็ได้มีการนำาเสนอ ขึ้นมาเพื่อใช้คัดแยกเพศของหนอนไหม ซึ่งครอบคลุมการตรวจสอบจาก สเปกตรัมของแสงที่สะท้อนมาจากดักแด้ของหนอนไหมที่จะต้องอาศัยเครื่องสเปก โตรมิเตอร์ที่มีราคาค่อนข้างสูง และ มีขั้นตอนประมวลผลข้อมูลสเปกตรัมที่มี
  • 7. ความซับซ้อนและใช้เวลานาน อีกวิธีการหนึ่งคือการตรวจสอบจากแสงที่เรือง ออกมาจากรังของหนอนไหมภายใต้แสงอัลตราไวโอเล็ต A (Ultraviolet A) อย่างไรก็ตาม แสงที่สะท้อนจากดักแด้และแสงที่เรืองออกมาจากรังของหนอน ไหมแต่ละพันธุ์มีความแตกต่างกัน จึงไม่สามารถคัดแยกเพศของหนอนไหมได้ทุก สายพันธุ์ เมื่อพิจารณาถึงวิธีการที่ได้กล่าวมาข้างต้นพบว่าวิธีการดังกล่าวยังไม่ สามารถคัดแยกเพศดักแด้ของหนอนไหมได้อย่างรวดเร็วและแม่นยำา และมี ต้นทุนในการผลิตตำ่าได้ ดังนั้น เพื่อที่จะตรวจสอบเพศดักแด้ของหนอนไหมของ หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องของประเทศไทยให้ได้ประสิทธิภาพสูงขึ้น แนวทาง หนึ่งคือการตรวจสอบทางกายวิภาคโดยเฉพาะเอกลักษณ์หรืออวัยวะภายในที่ สามารถใช้ในการระบุเพศดักแด้ของหนอนไหมได้อย่างต่อมไคติน (Chitin gland) เนื่องจากผิวหนังดักแด้ของหนอนไหมมีองค์ประกอบของไคตินอยู่และตัว ดักแด้ของหนอนไหมก็มีขนาดของความหนาไม่เกิน 10 มิลลิเมตร ทำาให้เรา สามารถใช้แหล่งกำาเนิดแสงที่ให้กำาลังของแสงตำ่า และให้แสงที่มีความยาวคลื่น ยาวอย่างแสงสีแดงในย่านที่ตามองเห็นที่มีความยาวคลื่นตั้งแต่ 600 นาโนเมตร ขึ้นไปจนถึงแสงในย่านอินฟราเรดใกล้ที่มีความยาวคลื่น 1100 นาโนเมตร ได้ ทั้งนี้เพราะว่าแสงที่มีคุณสมบัติดังกล่าวสามารถแผ่ทะลุลงไปยังวัสดุที่เป็นไคติน ได้ดี ไม่เป็นอันตรายต่อตัวดักแด้ของหนอนไหม และยังช่วยให้เห็นองค์ประกอบ ภายในที่ที่แสงเคลื่อนที่ผ่านไปในตัวด้วย เมื่อนำาองค์ความรู้ดังกล่าวมาผสมผสาน เข้ากับการประมวลผลภาพที่ประกอบไปด้วยขั้นตอนอย่างการกรองสัญญาณ รบกวนออกจากภาพ และ การค้นหาวัตถุที่สนใจ จะทำาให้สามารถตรวจสอบเพศ ดักแด้ของหนอนไหมได้อย่างรวดเร็ว มีกระบวนการที่ไม่ซับซ้อน และ ไม่มีการ สัมผัสกับตัวดักแด้ของหนอนไหมระหว่างทำาการตรวจสอบกระบวนการดังกล่าว เป็นกระบวนการที่สำาคัญที่จะต้องศึกษาและพัฒนาในโครงการนี้เพื่อให้ได้ระบบที่ สามารถตรวจสอบเพศดักแด้ของหนอนไหมและมีความแม่นยำา ตรวจสอบได้ รวดเร็ว และมีต้นทุนในการผลิตตำ่า ระบบดังกล่าวนี้จะติดตั้งทีศูนย์วิจัยหม่อน ่ ไหมฯ จำานวน 5 แห่ง • โครงการวิจ ัย พัฒ นาเครื่อ งมือ ต้น แบบในการตรวจวัด ความสมำ่า เสมอ ของเส้น ไหมสำา หรับ ใช้จ ัด ชัน คุณ ภาพมาตรฐานเส้น ไหมไทย ด้วยไหม ้ ไทยมีความต้องการของผู้ใช้สูงโดยเฉพาะในยุโรป บริษัทที่เป็นผู้นำาแฟชั่นเครื่อง
  • 8. ได้นำามาใช้ในอุตสาหกรรม รวมถึงการใช้ภาพถ่ายคลื่นแม่เหล็ก (Magnetic Resonance Imaging) เป็นอีกเทคนิคหนึ่งที่นอกจากจะใช้ศึกษาการเติบโตและ การเปลี่ยนรูปร่างในระยะต่างๆ ของตัวไหมได้ แต่เนื่องจากระบบการถ่ายภาพ ด้วยคลื่นแม่เหล็กมีราคาสูง และ ประสิทธิภาพในการคัดแยกยังไม่สูงมากนัก จึง ทำาให้วิธีการนี้ไม่เป็นที่ยอมรับ วิธีการที่ใช้กันทั่วไป คือ การคัดแยกผ่านการ สังเกตด้วยตาเปล่าจากจุดเด่นบริเวณก้นของหนอนไหมช่วงระยะที่เป็นดักแด้ ซึ่ง วิธีการนี้ต้องอาศัยผู้ที่มีประสบการณ์ และเนื่องจากจุดเด่นบริเวณก้นของดักแด้ ของหนอนไหมมีขนาดประมาณหนึ่งมิลลิเมตรยังส่งผลเสียต่อสายตาของผู้คัด แยกได้ อีกวิธีการหนึ่งที่ชวยลดเวลาในการคัดแยกลงได้คือการดูสีที่รังของ ่ หนอนไหม อย่างไรก็ตาม เนื่องจากปัจจุบันรังของหนอนไหมมีหลากหลายสีซึ่ง ขึ้นอยู่กับพันธุ์ของผีเสื้อที่เลี้ยง ทำาให้วิธีการนี้ไม่สามารถคัดแยกเพศของหนอน ไหมได้ดีเท่ากับการคัดแยกด้วยการตรวจสอบลักษณะเด่นที่ได้อธิบายไว้ก่อน หน้า การชั่งนำ้าหนักเป็นอีกวิธีการหนึ่งที่ชวยให้การคัดแยกทำาได้รวดเร็วขึ้น ซึ่ง ่ วิธีการนี้อยู่บนพื้นฐานที่ว่ารังไหมหรือดักแด้ของหนอนไหมที่เป็นเพศเมียจะมี ขนาดและนำ้าหนักมากกว่ารังไหมหรือดักแด้ของหนอนไหมที่เป็นของเพศผู้ ศูนย์วิจัยหม่อนไหมหลายๆ ศูนย์ในประเทศไทยก็ได้เลือกใช้วิธีการนี้ถึงแม้ว่าจะ คัดได้ทีละตัวและเครื่องคัดแยกเพศหนอนไหมมีราคาประมาณ 5 ล้านบาท นอกจากนี้ การนำาถาดมาเจาะรูหลายๆ รูโดยให้แต่ละรูมีขนาดเท่ากับขนาดของ รังของหนอนไหมเพศผู้จะทำาให้คัดแยกเพศของหนอนไหมได้รวดเร็วขึ้น แต่ เนื่องจากในปัจจุบันมีการพัฒนาของพันธุ์ไหมมากขึ้นรวมไปถึงอัตราการเจริญ เติบโตของหนอนไหมแต่ละตัวก็ไม่เหมือนกัน ทำาให้นำ้าหนักและขนาดของรังไหม หรือของดักแด้ของหนอนไหมที่เป็นเพศเมียมีค่าใกล้เคียงกับของเพศผู้ได้ ส่งผล ให้เกิดข้อผิดพลาดสูงในระหว่างการคัดแยกเพศดักแด้ของหนอนไหม ปัจจุบัน ศูนย์วิจัยหนอนไหมบางศูนย์ได้ยกเลิกการใช้เครื่องคัดแยกเพศดักแด้ไหมด้วย การชั่งนำ้าหนักแล้วและหันกลับมาใช้การสังเกตด้วยตาเปล่าแทน นอกเหนือจาก วิธีการดังกล่าวข้างต้น การนำาองค์ความรู้ทางแสงเข้ามาช่วยก็ได้มีการนำาเสนอ ขึ้นมาเพื่อใช้คัดแยกเพศของหนอนไหม ซึ่งครอบคลุมการตรวจสอบจาก สเปกตรัมของแสงที่สะท้อนมาจากดักแด้ของหนอนไหมที่จะต้องอาศัยเครื่องสเปก โตรมิเตอร์ที่มีราคาค่อนข้างสูง และ มีขั้นตอนประมวลผลข้อมูลสเปกตรัมที่มี