SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
โครงการฝายชลอน้า
การท้าตามแนวพระราชด้าริ
   พิจารณาดาเนินการสร้างฝายราคาประหยัด
   ใช้วัสดุราคาถูกและหาง่ายในท้องถิ่น ปิดกั้นร่องน้ากับลาธารขนาดเล็กเป็นระยะ ๆ เพื่อใช้เก็บกักน้าและ
    ตะกอนดินไว้บางส่วน
   ดาเนินการสารวจหาทาเลสร้างฝายต้นน้าในระดับที่สูงใกล้บริเวณยอดเขา มากที่สุด เท่าที่จะเป็นไปได้
   สาหรับบริเวณที่มีปริมาณน้ามาก จึงสร้างฝายเพื่อผันน้าลงมาใช้ในพื้นที่เพาะปลูก
   จะสามารถปลูกพันธุ์ไม้ ป้องกันไฟ พันธุ์ไม้โตเร็ว และพันธุ์ไม้ไม่ทิ้งใบเพื่อฟื้นฟูพื้นที่ต้นน้าลาธาร ให้มี
    สภาพเขียวชอุ่มขึ้นเป็นลาดับ
ฝายชลอน้า
         คือสิ่งก่อสร้าง ที่ทาขึ้นเพื่อขวางหรือกั้นทางน้า โดยปกติมักจะกั้นลาห้วย ลาธารขนาดเล็กใน
    บริเวณที่เป็นต้นน้า หรือ พื้นที่ที่มีความลาดชันสูงให้สามารถกักตะกอนอยู่ได้ และหากเป็นช่องที่น้าไหล
    แรงก็สามารถช่วยในการชะลอการไหลของน้าให้ช้าลงด้วย เพื่อการกักเก็บตะกอนเอาไว้ไม่ให้ไปทับถมลา
    น้าตอนล่าง อันเป็นเป็นวิธีการอนุรักษ์ดินและแหล่งน้า
ประเภทของฝายชะลอน้า
   ฝายชะลอน้าแบบท้องถิ่น หรือฝายแม้ว คือการทาด้วยวัสดุจากธรรมชาติ เช่น กิ่งไม้ ไม้ล้ม หรือก้อน
    หินชนิดต่างๆ มาวางเรียงซ้อนกัน
   ฝายชะลอน้าแบบเรียงด้วยหิน เป็นฝายกึ่งถาวร
   ฝายชะน้าแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก เป็นฝายแบบถาวร
วัตถุประสงค์การสร้างฝาย
   เพื่อชะลอการไหลและลดความรุนแรงของกระแสน้าในลาธาร ไม่ให้ไหลหลากอย่างรวดเร็วและทาให้น้าซึม
    ลงสู่ดินได้มากขึ้น เพิ่มความชุ่มชื้น ส่งผลให้เกิดความหลากหลายทางชีวภาพของระบบนิเวศป่าต้นน้า
    ลาธาร
   เพื่อลดความรุนแรงของการเกิดการชะล้างพังทลายของดิน และสามารถกักเก็บตะกอน และเศษซากพืช
    ที่ไหลลงมากับน้าในลาธาร บนพื้นที่ ต้นน้าลาธาร ซึ่งจะช่วยยืดอายุของแหล่งน้าตอนล่างให้ตื้นเขินช้าลง
    และทาให้มีปริมาณและคุณภาพของน้าที่ดีขึ้น
   เพื่อกักเก็บน้าไว้เป็นแหล่งน้า สาหรับใช้ในการอุปโภคบริโภคของมนุษย์และสัตว์ป่า ตลอดจนการ
    เกษตรกรรม
การสร้างฝาย
 ก่อสร้างด้วยท่อนไม้ขนาบด้วยหิน
 ก่อสร้างแบบเรียงด้วยหินแบบง่าย
 ก่อสร้างแบบถุงทรายซีเมนต์
 ก่อสร้างแบบคันดิน
 ก่อสร้างแบบหลักคอนกรีตหินทิ้ง
 ก่อสร้างแบบหลักไม้ไผ่สานขัดกัน อันเป็นภูมิปัญญาของชาวบ้าน
 ก่อสร้างแบบคอกหมูแกนดินอัดขบานด้วยหิน
วิธีการสร้างฝาย
   ฝายที่สร้างขึ้นมา เป็นฝายแบบไม่ถาวร ให้วัสดุจากธรรมชาติ เป็นหลัก สาหรับชะลอน้า ในหน้าแล้ง
    เท่านั้น ไม่ได้สร้างเพื่อกักเก็บน้า การไหลของน้า ที่หน้าฝาย ยังมีน้าไหลอยู่ ตลอดเวลา ไม่ว่าจะซึมผ่าน
    ฝาย หรือ น้าล้นข้ามฝาย
   ระดับความสูงของตัวฝาย ไม่สูงมากนัก ระดับความสูงประมาณ 40 % ของความสูงของระดับน้า
    สูงสุด ในลาคลองหรือลาห้วย สายน้ายังสามารถไหลล้นผ่านฝายได้ ตลอดเวลา เพื่อยังรักษาระบบ
    นิเวศน์ หน้าฝายไว้
   ตัวฝายควรมีระดับความลาดชัน ประมาณ 20 - 45 องศา ทั้งด้านหน้า และ ด้านหลัง ไม่ควรสร้าง
    ฝาย ที่มีหน้าตัด 90 องศา
   การก่อสร้างจะสร้างเป็นช่วงๆ แบบ ขั้นบันได เป็นช่วงๆ ระยะขึ้นอยุ่กับพื้นที่ ประมาณ 50 - 200
    เมตร
วิธีการสร้างฝาย
   หากหน้าน้า มีน้ามา ฝายนี้ก็จะพังทลาย ลง (ช่วยลดความเร็วของกระแสน้าป่า ลงได้) หินที่ก่อเรียง
    ตัวไว้ ก็จะพัง และ ไหลลงมาสู่ตัวฝาย ด้านล่าง ต่อไป
   พอหมดหน้าน้าป่า น้าเกือบจะใกล้แห้ง มายกก้อนหินกลับไปเรียง เป็นฝายชะลอน้า ตามเดิม (ส่วนใหญ่
    แล้ว จะยังหลงเหลือ โครงสร้างเดิมอยู่บ้าง) ใช้เวลาก่อสร้าง ประมาณ 1-2 ชม. ต่อฝาย
   ควรคานึงถึง สัตว์น้า ที่อาศัยในลาคลองด้วยว่า สามารถเดินทางไปยังต้นน้าได้หรือไม่
ข้อความคานึงในการสร้างฝาย
   ต้องคานึงถึงความแข็งแรงให้มากพอทีจะไม่เกิดการพังทลายเสียหายยามที่ฝนตกหนักและกระแสน้าไหลแรง
                                             ่
   ควรก่อสร้างในบริเวณลาห้วยที่มีความลาดชันต่าและแคบ
   สาหรับฝายกึ่งถาวรและฝายถาวร ควรก่อสร้างฐานให้ลึกถึงหินดานร่องห้วย (bedrock) เพื่อที่จะสามารถดักและ
    ดึงน้าใต้ดินเหนือฝายได้
   วัสดุก่อสร้างฝายต้นน้าลาธาร ประเภทกิ่งไม้ ท่อนไม้ ที่นามาใช้ในการสร้างจะต้องระมัดระวังใช้เฉพาะไม้ล้มขอนนอนไพร
    เป็นลาดับแรก ก่อนที่จะใช้กิ่งไม้ ท่อนไม้ จากการริดกิ่ง ถ้าจาเป็นให้ใช้น้อยที่สุด
ประโยชน์ที่ได้รับจากการสร้างฝาย
   ช่วยลดการชะล้างพังทลายของดิน และลดความรุนแรงของกระแสน้าในลาธาร ทาให้ระยะเวลาการไหลของน้าเพิ่มมากขึ้น
    ความชุ่มชื้นเพิ่มขึ้น และแผ่ขยายกระจายความชุ่มชื้นออกไปเป็นวงกว้างในพื้นที่ทั้งสองฝั่งของลาห้วย นอกจากนี้ ยังช่วย
    เพิ่มปริมาณน้าใต้ดินบางส่วนด้วย
   ช่วยกักเก็บตะกอนและวัสดุต่าง ๆ ที่ไหลลงมากับน้าในลาห้วยได้ดี เป็นการช่วยยืดอายุแหล่งน้าตอนล่างให้ตื้นเขินช้าลง
    คุณภาพของน้ามีตะกอนปะปนน้อยลง
   ช่วยเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ และการทดแทนของสังคมพืชให้แก่พื้นที่
    โดยรอบ
•   ช่วยลดความรุนแรงของการเกิดไฟป่าในฤดูแล้ง
•   ทาให้เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์น้า และใช้เป็นแหล่งน้าเพื่อการอุปโภคบริโภคของมนุษย์และสัตว์ป่าต่าง ๆ ตลอดจน
    นาไปใช้ในการเกษตร
ผู้ท้า

   นรีกานต์ อุดมทรัพย์ ม.4/6 เลขที่ 2

More Related Content

What's hot

หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
ขนิษฐา ทวีศรี
 
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าวปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
Nut Seraphim
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
flimgold
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Sivagon Soontong
 
ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02
witthawat silad
 
ฝนกรด
ฝนกรดฝนกรด
ฝนกรด
dnavaroj
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
Thanyamon Chat.
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
Mod DW
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
Wijitta DevilTeacher
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
Kittivut Tantivuttiki
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
dnavaroj
 

What's hot (20)

หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
 
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าวปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
 
แผนอบรมยาเสพติด
แผนอบรมยาเสพติดแผนอบรมยาเสพติด
แผนอบรมยาเสพติด
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swotแผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
 
ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02
 
ฝนกรด
ฝนกรดฝนกรด
ฝนกรด
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
กฎของพาสคัล
กฎของพาสคัลกฎของพาสคัล
กฎของพาสคัล
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
 
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อมบทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
หน่วยที่ 1 ใจหาย
หน่วยที่ 1 ใจหายหน่วยที่ 1 ใจหาย
หน่วยที่ 1 ใจหาย
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
 
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
 
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
 

Viewers also liked

ฝายชะลอน้ำตามแนวพระราชดำรัส
ฝายชะลอน้ำตามแนวพระราชดำรัสฝายชะลอน้ำตามแนวพระราชดำรัส
ฝายชะลอน้ำตามแนวพระราชดำรัส
poo_28088
 
โครงการฝายชะลอน้ำ ตามพระราชดำรัส
โครงการฝายชะลอน้ำ ตามพระราชดำรัสโครงการฝายชะลอน้ำ ตามพระราชดำรัส
โครงการฝายชะลอน้ำ ตามพระราชดำรัส
Luksika
 
โครงการฝายชลอน้ำ
โครงการฝายชลอน้ำโครงการฝายชลอน้ำ
โครงการฝายชลอน้ำ
pacharawanwaii
 
ฝายชะลอน้ำ
ฝายชะลอน้ำฝายชะลอน้ำ
ฝายชะลอน้ำ
dk_161154
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริ
Chayaphon yaphon
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
Aekapoj Poosathan
 
เศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง ฝายกั้นน้ำ
เศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง ฝายกั้นน้ำเศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง ฝายกั้นน้ำ
เศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง ฝายกั้นน้ำ
maytakul
 
โครงการปันรัก
โครงการปันรักโครงการปันรัก
โครงการปันรัก
พัน พัน
 
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนาโครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
namtoey
 
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัสโครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
Preeyaporn Wannamanee
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
sukanya5729
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Kittichai Pinlert
 

Viewers also liked (20)

ฝายชะลอน้ำตามแนวพระราชดำรัส
ฝายชะลอน้ำตามแนวพระราชดำรัสฝายชะลอน้ำตามแนวพระราชดำรัส
ฝายชะลอน้ำตามแนวพระราชดำรัส
 
โครงการฝายชะลอน้ำ ตามพระราชดำรัส
โครงการฝายชะลอน้ำ ตามพระราชดำรัสโครงการฝายชะลอน้ำ ตามพระราชดำรัส
โครงการฝายชะลอน้ำ ตามพระราชดำรัส
 
ฝายแม้ว
ฝายแม้วฝายแม้ว
ฝายแม้ว
 
โครงการฝายชลอน้ำ
โครงการฝายชลอน้ำโครงการฝายชลอน้ำ
โครงการฝายชลอน้ำ
 
ฝายชะลอน้ำ
ฝายชะลอน้ำฝายชะลอน้ำ
ฝายชะลอน้ำ
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริ
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
เศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง ฝายกั้นน้ำ
เศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง ฝายกั้นน้ำเศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง ฝายกั้นน้ำ
เศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง ฝายกั้นน้ำ
 
เขาหินซ้อน
เขาหินซ้อนเขาหินซ้อน
เขาหินซ้อน
 
ผลการดำเนินงานเศรษฐกิจพอเพียง
ผลการดำเนินงานเศรษฐกิจพอเพียงผลการดำเนินงานเศรษฐกิจพอเพียง
ผลการดำเนินงานเศรษฐกิจพอเพียง
 
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
 
โครงงาน สัญชาตญาณสัตว์ กับการเตือนภัยแผ่นดินไหวและสึนามิ
โครงงาน สัญชาตญาณสัตว์ กับการเตือนภัยแผ่นดินไหวและสึนามิโครงงาน สัญชาตญาณสัตว์ กับการเตือนภัยแผ่นดินไหวและสึนามิ
โครงงาน สัญชาตญาณสัตว์ กับการเตือนภัยแผ่นดินไหวและสึนามิ
 
โครงการปันรัก
โครงการปันรักโครงการปันรัก
โครงการปันรัก
 
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนาโครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
 
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัสโครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 

โครงการฝายชลอน้ำ

  • 2. การท้าตามแนวพระราชด้าริ  พิจารณาดาเนินการสร้างฝายราคาประหยัด  ใช้วัสดุราคาถูกและหาง่ายในท้องถิ่น ปิดกั้นร่องน้ากับลาธารขนาดเล็กเป็นระยะ ๆ เพื่อใช้เก็บกักน้าและ ตะกอนดินไว้บางส่วน  ดาเนินการสารวจหาทาเลสร้างฝายต้นน้าในระดับที่สูงใกล้บริเวณยอดเขา มากที่สุด เท่าที่จะเป็นไปได้  สาหรับบริเวณที่มีปริมาณน้ามาก จึงสร้างฝายเพื่อผันน้าลงมาใช้ในพื้นที่เพาะปลูก  จะสามารถปลูกพันธุ์ไม้ ป้องกันไฟ พันธุ์ไม้โตเร็ว และพันธุ์ไม้ไม่ทิ้งใบเพื่อฟื้นฟูพื้นที่ต้นน้าลาธาร ให้มี สภาพเขียวชอุ่มขึ้นเป็นลาดับ
  • 3. ฝายชลอน้า  คือสิ่งก่อสร้าง ที่ทาขึ้นเพื่อขวางหรือกั้นทางน้า โดยปกติมักจะกั้นลาห้วย ลาธารขนาดเล็กใน บริเวณที่เป็นต้นน้า หรือ พื้นที่ที่มีความลาดชันสูงให้สามารถกักตะกอนอยู่ได้ และหากเป็นช่องที่น้าไหล แรงก็สามารถช่วยในการชะลอการไหลของน้าให้ช้าลงด้วย เพื่อการกักเก็บตะกอนเอาไว้ไม่ให้ไปทับถมลา น้าตอนล่าง อันเป็นเป็นวิธีการอนุรักษ์ดินและแหล่งน้า
  • 4. ประเภทของฝายชะลอน้า  ฝายชะลอน้าแบบท้องถิ่น หรือฝายแม้ว คือการทาด้วยวัสดุจากธรรมชาติ เช่น กิ่งไม้ ไม้ล้ม หรือก้อน หินชนิดต่างๆ มาวางเรียงซ้อนกัน  ฝายชะลอน้าแบบเรียงด้วยหิน เป็นฝายกึ่งถาวร  ฝายชะน้าแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก เป็นฝายแบบถาวร
  • 5. วัตถุประสงค์การสร้างฝาย  เพื่อชะลอการไหลและลดความรุนแรงของกระแสน้าในลาธาร ไม่ให้ไหลหลากอย่างรวดเร็วและทาให้น้าซึม ลงสู่ดินได้มากขึ้น เพิ่มความชุ่มชื้น ส่งผลให้เกิดความหลากหลายทางชีวภาพของระบบนิเวศป่าต้นน้า ลาธาร  เพื่อลดความรุนแรงของการเกิดการชะล้างพังทลายของดิน และสามารถกักเก็บตะกอน และเศษซากพืช ที่ไหลลงมากับน้าในลาธาร บนพื้นที่ ต้นน้าลาธาร ซึ่งจะช่วยยืดอายุของแหล่งน้าตอนล่างให้ตื้นเขินช้าลง และทาให้มีปริมาณและคุณภาพของน้าที่ดีขึ้น  เพื่อกักเก็บน้าไว้เป็นแหล่งน้า สาหรับใช้ในการอุปโภคบริโภคของมนุษย์และสัตว์ป่า ตลอดจนการ เกษตรกรรม
  • 6. การสร้างฝาย  ก่อสร้างด้วยท่อนไม้ขนาบด้วยหิน  ก่อสร้างแบบเรียงด้วยหินแบบง่าย  ก่อสร้างแบบถุงทรายซีเมนต์  ก่อสร้างแบบคันดิน  ก่อสร้างแบบหลักคอนกรีตหินทิ้ง  ก่อสร้างแบบหลักไม้ไผ่สานขัดกัน อันเป็นภูมิปัญญาของชาวบ้าน  ก่อสร้างแบบคอกหมูแกนดินอัดขบานด้วยหิน
  • 7. วิธีการสร้างฝาย  ฝายที่สร้างขึ้นมา เป็นฝายแบบไม่ถาวร ให้วัสดุจากธรรมชาติ เป็นหลัก สาหรับชะลอน้า ในหน้าแล้ง เท่านั้น ไม่ได้สร้างเพื่อกักเก็บน้า การไหลของน้า ที่หน้าฝาย ยังมีน้าไหลอยู่ ตลอดเวลา ไม่ว่าจะซึมผ่าน ฝาย หรือ น้าล้นข้ามฝาย  ระดับความสูงของตัวฝาย ไม่สูงมากนัก ระดับความสูงประมาณ 40 % ของความสูงของระดับน้า สูงสุด ในลาคลองหรือลาห้วย สายน้ายังสามารถไหลล้นผ่านฝายได้ ตลอดเวลา เพื่อยังรักษาระบบ นิเวศน์ หน้าฝายไว้  ตัวฝายควรมีระดับความลาดชัน ประมาณ 20 - 45 องศา ทั้งด้านหน้า และ ด้านหลัง ไม่ควรสร้าง ฝาย ที่มีหน้าตัด 90 องศา  การก่อสร้างจะสร้างเป็นช่วงๆ แบบ ขั้นบันได เป็นช่วงๆ ระยะขึ้นอยุ่กับพื้นที่ ประมาณ 50 - 200 เมตร
  • 8. วิธีการสร้างฝาย  หากหน้าน้า มีน้ามา ฝายนี้ก็จะพังทลาย ลง (ช่วยลดความเร็วของกระแสน้าป่า ลงได้) หินที่ก่อเรียง ตัวไว้ ก็จะพัง และ ไหลลงมาสู่ตัวฝาย ด้านล่าง ต่อไป  พอหมดหน้าน้าป่า น้าเกือบจะใกล้แห้ง มายกก้อนหินกลับไปเรียง เป็นฝายชะลอน้า ตามเดิม (ส่วนใหญ่ แล้ว จะยังหลงเหลือ โครงสร้างเดิมอยู่บ้าง) ใช้เวลาก่อสร้าง ประมาณ 1-2 ชม. ต่อฝาย  ควรคานึงถึง สัตว์น้า ที่อาศัยในลาคลองด้วยว่า สามารถเดินทางไปยังต้นน้าได้หรือไม่
  • 9. ข้อความคานึงในการสร้างฝาย  ต้องคานึงถึงความแข็งแรงให้มากพอทีจะไม่เกิดการพังทลายเสียหายยามที่ฝนตกหนักและกระแสน้าไหลแรง ่  ควรก่อสร้างในบริเวณลาห้วยที่มีความลาดชันต่าและแคบ  สาหรับฝายกึ่งถาวรและฝายถาวร ควรก่อสร้างฐานให้ลึกถึงหินดานร่องห้วย (bedrock) เพื่อที่จะสามารถดักและ ดึงน้าใต้ดินเหนือฝายได้  วัสดุก่อสร้างฝายต้นน้าลาธาร ประเภทกิ่งไม้ ท่อนไม้ ที่นามาใช้ในการสร้างจะต้องระมัดระวังใช้เฉพาะไม้ล้มขอนนอนไพร เป็นลาดับแรก ก่อนที่จะใช้กิ่งไม้ ท่อนไม้ จากการริดกิ่ง ถ้าจาเป็นให้ใช้น้อยที่สุด
  • 10. ประโยชน์ที่ได้รับจากการสร้างฝาย  ช่วยลดการชะล้างพังทลายของดิน และลดความรุนแรงของกระแสน้าในลาธาร ทาให้ระยะเวลาการไหลของน้าเพิ่มมากขึ้น ความชุ่มชื้นเพิ่มขึ้น และแผ่ขยายกระจายความชุ่มชื้นออกไปเป็นวงกว้างในพื้นที่ทั้งสองฝั่งของลาห้วย นอกจากนี้ ยังช่วย เพิ่มปริมาณน้าใต้ดินบางส่วนด้วย  ช่วยกักเก็บตะกอนและวัสดุต่าง ๆ ที่ไหลลงมากับน้าในลาห้วยได้ดี เป็นการช่วยยืดอายุแหล่งน้าตอนล่างให้ตื้นเขินช้าลง คุณภาพของน้ามีตะกอนปะปนน้อยลง  ช่วยเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ และการทดแทนของสังคมพืชให้แก่พื้นที่ โดยรอบ • ช่วยลดความรุนแรงของการเกิดไฟป่าในฤดูแล้ง • ทาให้เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์น้า และใช้เป็นแหล่งน้าเพื่อการอุปโภคบริโภคของมนุษย์และสัตว์ป่าต่าง ๆ ตลอดจน นาไปใช้ในการเกษตร
  • 11. ผู้ท้า  นรีกานต์ อุดมทรัพย์ ม.4/6 เลขที่ 2