SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
ใบงานที่ 6
                        เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”



           โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎี เป็นโครงงานที่ได้เสนอทฤษฎี หลักการ หรือแนวความคิดใหม่ ๆ
ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสูตร สมการ หรือคาอธิบายก็ได้ โดยผู้เสนอได้ตั้งกติกา หรือข้อตกลงนั้น หรืออาจใช้กติกา
และข้อตกลงเดิมมาอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในแนวใหม่ อาจเสนอหลักการ แนวความคิด หรือจินตนาการ
ที่ยังไม่มีใครคิดมาก่อน อาจเป็นการขัดแย้งหรือขยายทฤษฎีเดิม แต่จะต้องมีข้อมูลหรือทฤษฎีอื่นมาสนับสนุน
http://www.wr.ac.th/sci/index.php?option=com_content&view=category&id=38&Itemid=61

ตัวอย่าง
1. การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน
สูตรนํ้ายาธาตุอาหารพืชจากประเทศออสเตรเลีย ประกอบด้วยน้ายาเข้มข้นจานวน 5 ชนิด ดังต่อไปนี้ คือ
1) โมโนแอมโมเนียมฟอสเฟต (mono ammonium phosphate) จานวน 100 กรัม ละลายในน้าจานวน 1
ลิตร
2) แคลเซียมไนเตรท (calcium nitrate) จานวน 250 กรัม ละลายในน้าจานวน 1 ลิตร
3) โพแทสเซียมไนเตรท (potassium nitrate) จานวน 100 กรัม ละลายในน้า จานวน 1 ลิตร
4) เหล็กคีเลต (iron chelate) จานวน 12.5 กรัม ละลายในน้าจานวน 1 ลิตร
5) น้ายาผสมของ โบแรก (borax) 3 กรัม แมกนีเซียมซัลเฟต (magnesium sulfate) 1 กรัม สังกะสีซัลเฟต
(zinc sulfate) 0.3 กรัม ทองแดงซัลเฟต (copper sulfate) 0.1 กรัม โซเดียมโมลิบเดท (sodium
molybdate) 0.1 กรัม โซเดียมคลอไรด์ (sodium chloride) 0.1 กรัม
ทั้งหมดนี้รวมกันแล้วละลายในน้าจานวน 1 ลิตร
 เมื่อจะใช้น้ายาเพื่อปลูกพืชให้เอาน้ายาเข้มข้นเบอร์ 1) มาจานวน 40 มิลลิลิตร หรือ ซีซี เบอร์ 2) มาจานวน
80 ซีซี เบอร์ 3) มาจานวน 120 ซีซี เบอร์ 4) มาจานวน 20 ซีซี และเบอร์ 5) มาจานวน 20 ซีซี ผสมกับน้าให้
ได้ปริมาณสุดท้ายจานวน 20 ลิตร แล้วนาน้ายาธาตุอาหารพืชนี้ไปใช้กับพืชที่จะปลูกต่อไป น้ายาธาตุอาหารพืช
ที่เตรียมขึ้นมาเพื่อใช้ปลูกพืช โดยไม่ใช้ดินนั้น จะต้องมี pH อยู่ในช่วงระหว่าง 5.5-6.5 ถ้าpH ของน้ายาธาตุ
อาหารสูงกว่าช่วงนี้ ให้ใช้กรดกามะถันหรือกรดเกลือเจือจางปรับ pH ให้ต่าลง ถ้า pH ของน้ายา
ธาตุอาหารต่ากว่าช่วงนี้ให้ใช้ปูนขาว หรือโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์เจือจางปรับ pH ให้สูงขึ้น และเมื่อใช้น้ายา
ธาตุอาหารพืชปลูกพืชแล้ว ก็สมควรจะตรวจสอบ pH ของน้ายาเป็นช่วง ๆ ไป เนื่องจากพืชดูดธาตุอาหารแต่
ละตัวไปจากน้ายาได้แตกต่างถัน จึงจะมีผลทาให้น้ายาธาตุอาหารพืชมี pH เปลี่ยนแปลงไป และในขณะปลูก
พืชที่จาเป็นที่จะต้อง ตรวจสอบความเค็ม (EC) ของน้ายาธาตุอาหารพืช และในวัสดุปลูกด้วยว่ามีสูงมากน้อย
เพียงใด ถ้ามีความเค็ม (EC) 2-4 มิลลิโมส์/ซม. จะไม่เป็นอันตราย ต่อพืชที่ปลูก ถ้าความเค็ม (EC) สูงกว่าค่านี้
ก็สมควรแก้ไข โดยการเจือจางสารละลายธาตุอาหารพืชด้วยน้าเพื่อลดความเค็ม สมบัติของนํ้าที่ใช้รด น้าที่ใช้
รดจะต้องเป็นน้าที่มีสมบัติเป็นกลาง (pH 6-7) และไม่มีสารบางตัวที่จะก่อให้เกิดความเป็นกรดหรือความเป็น
ด่าง สภาพแวดล้อมที่สําคัญ ในการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน ได้แก่ อุณหภูมิในบรรยากาศและอุณหภูมิที่ในวัสดุ
ปลูกหรือในน้ายาธาตุอาหารจะต้องไม่ร้อน จนเกินไปโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงแรกของการเจริญเติบโต
นอกจากนั้นปริมาณแสงแดดก็นับว่ามีความสาคัญที่เกี่ยวเนื่องกับอุณหภูมิ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดพืชที่ต้องการ
ปริมาณแสงที่แตกต่างกันเพื่อการเจริญเติบโต


ชนิดของการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน
การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินมีหลายชนิด หรือหลายแบบ แต่ละชนิดก็มีความเหมาะสม มีข้อดีข้อเสียแตกต่างกัน
ออกไป การที่จะเลือกปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินชนิดใดนั้น จะต้องพิจารณาว่าชนิดใดมีความยุ่งยากน้อยที่สุด
ค่าใช้จ่ายถูกที่สุด และใช้วัสดุอุปกรณ์ที่หาง่าย สิ่งปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้แตกต่างกันออกไปในแต่ละท้องที่ หรือ
แตกต่างกันออกไปแล้วแต่ชนิดพืชที่จะปลูก ชนิดของการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินดังกล่าวนี้สามารถจาแนก ออก 2
พวกใหญ่ ๆ ได้ ดังต่อไปนี้ คือ
พวกที่ 1 คือ การปลูกพืชในนํ้ายาธาตุอาหารโดยตรงเป็นการปลูกพืชที่ปล่อยให้รากพืชจุ่มลงไปหาอาหารจาก
น้ายาธาตุอาหารโดยตรงเลย หรือฉีดน้ายาธาตุอาหารพืชให้แก่รากพืช พืชมีที่เกาะยึดสาคัญเพียงเล็กน้อย ให้
ลาต้นตั้งตรงเพื่อรับแสงเท่านั้น ส่วนระบบรากทั้งหมดจะเจริญเติบโตลงไปในน้ายาธาตุ อาหารในภาชนะปลูก
เช่น ถาด หรือรางที่วางเอียง ๆ วิธีนี้จะต้องมีระบบการหมุนเวียนของน้ายาธาตุอาหาร ตลอดเวลา หรือเป็น
ช่อง ๆ หรือมีการปั๊มอากาศลงไป เพื่อเพิ่มอากาศให้แก่ระบบรากที่จุ่มอยู่ในน้ายาธาตุอาหาร การปลูกพืชในน้า
ยาธาตุอาหารแบบนี้ เริ่มต้นจากการเพาะเมล็ดพืชในกระบะปักชาที่เป็นทรายหรือแกลบฟองน้าเสียก่อน พอ
ต้นพืชอายุประมาณ 1-2 สัปดาห์ ถึงจะย้ายมาปลูกในภาชนะ จนกว่าพืชจะเก็บเกี่ยวผลิตผลได้ โดยปกติจะ
เปลี่ยนน้ายาธาตุอาหารใหม่ เมื่อปลูกพืชครั้งใหม่ทุกครั้งไป การปลูกพืชในน้ายาธาตุอาหารโดยตรงนี้ สามารถ
แบ่งออกได้เป็น 4 วิธี คือ
1. วิธีฉีดน้ายาธาตุอาหารให้แก่รากพืชโดยตรง อย่างต่อเนื่อง (spray technique)
2. วิธีปล่อยให้รากพืชลอยอยู่ในน้ายาธาตุอาหารโดยตรง (float system) โดยที่น้ายาธาตุอาหารไม่มีการ
เคลี่อนที่ วิธีนี้จะต้องมีการปั๊มอากาศลงไปในน้ายาด้วย เพื่อเพิ่มอากาศให้แก่รากพืช
3. วิธีปล่อยให้น้ายาธาตุอาหารพืชไหลผ่านรากพืชเป็นแผ่นบาง ๆ ในราง (nutrient film technique)
ตลอดเวลา แล้วรวบรวมน้ายาธาตุอาหารพืช เพื่อนามาใช้หมุนเวียนในระบบต่อไป ดังรูปที่ 3
4. วิธีปล่อยให้น้ายาธาตุอาหารพืชไหลผ่านถาดที่ปลูกพืช (nutrient flow technique) ตลอดเวลา แล้ว
ปล่อยให้น้ายาธาตุอาหารพืชล้นออกทางอีกด้านหนึ่งของถาด แล้วรวบรวมน้ายาธาตุอาหารพืช เพื่อนามา
ใช้มุนเวียนในระบบต่อไป

พวกที่ 2 คือ การปลูกพืชโดยใช้วัสดุปลูก
เป็นการปลูกพืชในน้ายาธาตุอาหารที่ต้องใช้ วัสดุปลูกให้พืชเกาะยึด เพื่อให้ลาต้นตั้งตรงรับแสง วัสดุปลูก
เหล่านี้จะเป็นตัวดูดซับน้าและน้ายาธาตุอาหารไว้ให้พืชใช้หลังจากนั้นปล่อยน้ายาธาตุอาหารพืชให้ไปหล่อเลี้ยง
การเจริญเติบโตของพืชอีกทีหนึ่ง การปลูกพืชโดยใช้วัสดุปลูกนี้ สามารถแบ่งออกได้ เป็น 2 วิธี คือ
1. วิธีแบบปล่อยให้น้าท่วมภาชนะ (flood bed techniques)
การให้น้ายาธาตุอาหารแบบท่วมภาชนะปลูกเป็นช่วง วิธีนี้เริ่มจากการย้ายกล้าพืชที่จะปลูกมาปลูกในภาชนะที่
บรรจุวัสดุสาหรับพืชเกาะยึดและมีท่อสาหรับให้ธาตุอาหารพืชไหลเข้าไปในท่อภาชนะ วันละประมาณ 1-3 รั้ง
ปล่อยให้น้ายาธาตุอาหารท่วมอยู่ครั้งละครึ่งชั่วโมงถึงหนึ่งชั่วโมง แล้วปล่อยให้น้ายาธาตุอาหารไหลออกมา
เก็บว้ใช้ในโอกาสต่อไป ดังรูปที่ 5 วิธีที่จะปล่อยให้น้ายาธาตุอาหารไหลเข้าไปท่วมและระบายออกนั้น สามาร
ถาได้โดยใช้เครื่องปั๊มอย่างอัตโนมัติ หรือใช้วิธีใส่น้ายาธาตุอาหารในถังพลาสติกต่อเชื่อมกับภาชนะที่ปลูกเมื่อ
จะให้น้ายาธาตุอาหารท่วมภาชนะปลูกก็ยกถังให้สูงขึ้น น้ายาธาตุอาหารจะไหลมาท่วมภาชนะโดยแรงดึงดูด
ของโลก เมื่อต้องการให้น้ายาธาตุอาหารระบายออกก็กดถังให้ต่าลงกว่าระดับภาชนะ วิธีนี้เป็นวิธีง่ายที่สุดวิธี
หนึ่ง
2. วิธีแบบให้น้าหยดในถาดหรือถุง (tray or bag drip feed system) เป็นวิธีการให้น้ายาธาตุอาหารแบบ
วิธีหยดในถุงหรือถาด ดังรูปที่ 6 เริ่มจากปลูกกล้าบนวัสดุ เช่น ขี้เลื่อยหรือขุยมะพร้าวหรือแกลบ แล้วต่อท่อให้
น้ายาธาตุอาหารไหลไปยังพืชแต่ละต้นแบบน้าหยด โดยปล่อยให้น้ายาธาตุอาหารจากถังพลาสติกที่อยู่สูงกว่า
หยดลงสู่ภาชนะปลูกพืชในอัตราที่สูงพอที่จะทาให้ภาชนะเปียกชุ่มอยู่เสมอ แต่ไม่ถึงกับมีน้าไหลล้นออกมาจาก
ภาชนะ จึงทาให้มีสภาพเหมาะสมกับการเจริญเติบโตของรากพืช หรือจะปลูกกล้าพืชในท่อพลาสติกขนาดใหญ่
ที่เจาะและบรรจุวัสดุที่ใช้สาหรับ ให้พืชยึดเกาะเต็มและปลูกพืชเป็นระยะ พืชแต่ละต้นจะมีสายน้ายาธาตุ
อาหารแบบน้าหยด ท่อพลาสติกขนาดใหญ่นี้จะวางลาดเทเล็กน้อย ให้น้ายาธาตุอาหารที่มีมากเกินไปไหลลงไป
ด้านต่า วิธีนี้เป็นวิธีที่ประหยัดเวลาและแรงงานมากที่สุด การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินนี้ ไม่ใช่เป็นของใหม่ที่จะต้อง
ใช้เทคโนโลยีชั้นสูง แต่ความจริงเป็นวิธีที่ใช้กันมานานแล้ว และไม่ได้ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงอะไรเลย เพียงแต่ว่า
ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการปลูกในอดีตอาจจะแพงในระยะเริ่มต้นเมื่อเปรียบเทียบกับการปลูกบนพื้นดิน
ธรรมดา ทั้งนี้เนื่องจากในอดีตมีพื้นดิน เหลือเฟือและที่ดินทั้งหลายเหล่านี้ยังอุดมสมบูรณ์สูง ปลูกพืชอะไร
เมื่อไหร่ ที่ไหน ก็ขึ้นเจริญงอกงามดี แต่ในสภาพปัจจุบันพื้นที่ดินมีจานวนจากัดลง การเพิ่มขึ้นของประชากร
อย่างรวดเร็ว ประกอบกับที่ดินส่วนใหญ่เสื่อมโทรม ขาดธาตุอาหารพืช สภาพของที่ดินไม่เหมาะสมต่อการ
เจริญเติบโตของพืช ครั้นจะปรับปรุงบารุงดินให้ดีเหมือนเดิมนั้นจะต้องลงทุนสูงในการใช้ปุ๋ย และใช้เวลานาน
ในการที่จะทาให้ดินเหมาะสมเหมือนเดิม ดังนั้นการแก้ไขอย่างเร่งด่วน แนวทางหนึ่งในการที่จะช่วยให้
ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศ ผลิตพืชอาหารได้เพียงพอ ในบางฤดูกาล และบางพื้นที่ที่เป็นปัญหาของระเทศ
ในขณะนี้ก็คือ “การพัฒนาการปลูกพืช โดยไม่ใช้ดินซึ่งเป็นความหวังใหม่ เพื่อเพิ่มการผลิตอาหารให้แก่ระชา
กร” โดย เฉพาะอย่างยิ่งโครงการพัฒนาตัวอย่าง เพื่อผลิตพืชผักใช้เป็นอาหารกลางวันในโรงเรียนต่าง ๆ สา
หรับเยาวชนทั่วประเทศ
ที่มา : http://www.thaikasetsart.com
2. โครงงาน เรื่องกรดจากน้้าผลไม้ (ส่วนหนึ่ง)
บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล/ผลการจัดทําโครงงาน
ผลการทดลอง
ตอนที่ 1 ระดับค่าความเป็นกรดของน้าผลไม้เมือนามาผสมกันเรียงลาดับจากค่ามากไปหาค่าน้อยเป็นนดังนี้
น้ําผลไม้และค่า pH ที่ได้
1. น้ามะนาว + น้าสับปะรด 3.0
2. น้ามะนาว + น้าส้ม 4.0
3. น้าส้ม + น้าสับปะรด 4.5


ตอนที่ 2 ความสามารถในการกัดกร่อนและขจัดคราบสกปรกบนเหรียญเมื่อนาน้าน้าเกลือละลายน้าผสมลงไป
แก้วที่ 1 น้าส้ม + น้ามะนาว
แก้วที่ 2 น้ามะนาว + น้าสับปะรด
แก้วที่ 3 น้าส้ม + น้าสับปะรด
เหรียญหนึ่งบาทที่สกปรกจานวน 3 เหรียญ
เหรียญที่มีสกปรกใส่ในแก้วน้าผลไม้ผสมเกลือละลายน้า
เหรียญที่ผ่านการแช่น้าผลไม้ผสมเกลือละลายน้า 30 นาที
บทที่ 5
สรุปผลและอภิปรายผลการดํานินการจัดทําโครงงาน
จากผลการทดลองสรุปได้ดังนี้
1. เมื่อนาน้าส้มผสมกับน้ามะนาวจะได้ค่า pH เท่ากับ 4.0
2. เมื่อนาน้ามะนาวผสมกับน้าสับปะรดจะได้ค่า pH เท่ากับ 3.0
3. เมื่อนาน้าสมผสมกับน้าสับปะรดจะได้ค่า pH เท่ากับ 4.5
 แสดงว่ามื่อนาน้ามะนาวมาผสมกับน้าสับปะรดจะพบว่าค่าความเป็นกรดสูงกว่า น้ามะนาวผสมกัน้าส้ม และ
น้าส้มผสมกับน้าสับปะรด นอกจากนี้เรายังพบว่าเมื่อนาน้าผลไม้ที่ได้จากการผสมกันดังกล่าวทั้ง 3 ชนิด มาเติม
เกลือละลายน้าลงไปแล้วนาเหรียญที่มีคราบสกปรกใส่ลงไปตั้งเวลาไว้ประมาณ 30 นาที ภายหลัง 30 นาที นา
เหรียญออกมาล้างน้าสะอาดพบว่าเหรียญที่อยู่ในน้าผสมไม้ที่มีค่า pH สูงที่สุดมี่ความสะอาดมากที่สุด เพราะ
กรดที่เข้มข้นจะมีฤทธิ์การกัดกร่อนมากที่สุดตามลาดับความเข้มข้นของกรด


ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการทดลอง
1. สามารถนาน้าผลไม้มาทาความสะอาดเหรียญที่มีคราบสกปรกได้
2. สามารถทราบถึงฤทธิ์ของกรดที่กัดกร่อนคราบสกปรกบนเหรียญได้
3. สามารถทราบว่าน้าผลไม้ชนิดใดมีค่าความเป็นกรดมากและมีฤทธิ์การกัดกร่อนไดดีที่สุด
ข้อเสนอแนะ
1. เราอาจนาน้าผลไม้ชนิดอื่นที่มีฤทธิ์เป็นกรดที่หาได้ง่ายตามครัวเรือนของคุณ
ที่มา : http://www.learners.in.th/blogs/posts/349062
3. โครงงาน หน่อไม้ก้าจัดหนอน
โครงงานหน่อไม้กําจัดหนอน ชื่อโครงงาน หน่อไม้กาจัดหนอน
ผู้จัดทา นายเนรมิตร สินธุกูฏ นางสาวอานวย งามวาท นางสาวผกากรอง เพ็ญผาด
ครูที่ปรึกษา นางสุภาพรรณ ดาษถนิม นางบุสดี การถัก
ผลงาน รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 โครงงานวิทยาศาสตร์ ในงานนิทรรศการแสดง
ผลงานการจัดการศึกษาของเทศบาลภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ณ
สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ จังหวัดร้อยเอ็ด


1. ที่มาและความส้าคัญของปัญหา
จากการศึกษาและสังเกต พบว่าประชาชนในชนบททางภาคอีสาน ชอบประกอบอาหารรับประทานเอง และ


เครื่องปรุงในการประกอบอาหารที่ขาดไม่ได้ในแต่ละครัวเรือนคือ ปลาร้า ในครอบครัวหนึ่งเมื่อหาปลามาได้
ปริมาณมากจะนาไปจาหน่ายในรูปปลาสด เพื่อเป็นรายได้แก่ครอบครัว ที่เหลือจะแปรรูปเพื่อไว้รับประทาน
ได้าน เช่น ปลาส้ม ปลาตากแห้ง และปลาร้า การทาปลาร้า ส่วนมากจะใช้ปลาตัวเล็กหลากหลายชนิดและเป็น
ปลาที่ไม่สด ถ้านาไปซื้อขายกันจะราคาถูก ขายไม่ได้ราคาเท่าที่ควร ดังนั้นชาวบ้านจึงนิยมทาเป็นปลาร้า หรือ
ซื้อหามาทาปลาร้าไว้บริโภค วิธีการทาปลาร้าของชาวชนบท ก็คือ การนาปลาที่ได้มา ขอดเกล็ดควักไส้ออก
แล้วล้างน้าให้สะอาด ใส่ภาชนะหมักด้วยเกลือสินเธาว์ ทิ้งไว้ประมาณ 1–2 คืนจากนั้นจะใช้ข้าวคั่วโขลกให้
แหลกพอสมควร นามาคลุกเคล้ากับปลาที่หมักไว้คลุกเคล้าให้เข้ากันดีแล้วนาบรรจุไว้ในภาชนะที่เรียกว่า “ ไห
“ ปิดปากไหเก็บไว้ในครัวเรือนประมาณ 1 ปี นามาบริโภคได้ หรือครอบครัวที่ทาปริมาณมากจะนาไปจาหน่าย
เป็นรายได้ต่อไป ปัญหาของปลาร้า ถ้าวิธีการทาไม่ดี ส่วนผสมไม่เหมาะสมกันจะทาให้ปลาร้านั้นเกิดหนอน
ปลาร้า ทาให้เกิดความเสียหายต่อปลาร้า การนามาบริโภคหรือการนาไปจาหน่าย ตัวการสาคัญที่ทาให้ปลาร้า
เกิดหนอน คือการที่แมลงวันวางไข่ที่ไหปลาร้า และหรือแมลงหวี่ชนิดหนึ่งวางไข่ที่ปลาร้า จากปัญหาดังกล่าว
มนุษย์จึงศึกษาวิธีกาจัดหนอนในปลาร้าด้วยวิธีการต่าง ๆ ซึ่งอาจได้ผลดี เสีย แตกต่างกันไป
การกาจัดหนอนในปลาร้า โดยการควบคุมต้นเหตุ คือ แมลงวันหรือแมลงหวี่ โดยการกาจัดจจัยในการดารง
ชีวิต คือ ที่อยู่อาศัย อาหาร และควบคุมความเหมาะสมต่อสภาพการดารงชีวิต หรือแม้แต่การป้องกันไม่ให้
แมลงดังกล่าวมารบกวน จะเป็นวิธีการที่ทาได้ยาก เพราะแหล่งเพาะเชื้อแมลงวันอยู่ได้ในสถานที่ต่างๆ
มากมาย การ
กาจัดวิธีนี้จึงใช้ไม่ได้ผล
การกาจัดโดยการเขี่ยไข่แมลงวันหรือแมลงหวี่ทิ้ง เป็นสิ่งที่ทาไม่ได้ผลดีเท่าที่ควร เพราะบางครั้งไข่ตกหล่นลง
ไปรวมอยู่ในปลาร้าขณะที่มีการเขี่ยทิ้ง หรือระยะเวลาการฟักไข่เป็นตัวหนอนอ่อน ใช้ระยะเวลาสั้น จึงทาให้
เกิดหนอนในปลาร้าและไม่ได้ผล การกาจัดโดยการนาปลาร้าที่มีหนอนไปต้ม เป็นวิธีการกาจัดที่ทาให้หนอน
ปลาร้าตายหมดจริง แต่ไม่เหมาะหรือไม่สะดวก ในกรณีที่ปลาร้ามีปริมาณมากๆและทาให้การนาไปจาหน่าย
ไม่ได้ราคา และไม่สะดวกต่อการเก็บ การกาจัดโดยการใช้สารเคมี ไม่เหมาะสมเพราะเป็นอันตรายต่อมนุษย์
และสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ยังมีปัญหาเรื่องการระวังรักษาเพื่อความปลอดภัยและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย จึงไม่
นิยม การกาจัดหนอนปลาร้า เพื่อไม่ให้เกิดความยุ่งยากสิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย และไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์และ
สิ่งแวดล้อม รวมทั้งเป็นการรักษารดชาดของปลาร้าคงเดิมไม่เปลี่ยนแปลง เพื่อช่วยค้นหาแนวทางแก้ปัญหา
หนอนปลาร้า สมาชิกในกลุ่มจึงจัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง หน่อไม้กาจัดหนอนปลาร้า เพื่อแก้ไขปัญหา
ในปัจจุบันและอนาคต
1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1.2.1 เพื่อศึกษาว่าหน่อไม้กาจัดหนอนปลาร้าได้
1.2.2 เพื่อศึกษาเปรียบเทียบหน่อไม้กับการกาจัดหนอนปลาร้า เมื่อกาหนดชนิดของหน่อไม้ที่ต่างกัน
1.2.3 เพื่อศึกษาสาเหตุที่หน่อไม้ทาให้หนอนในปลาร้าตาย
1.2.4 เพื่อศึกษาช่วงระยะเวลาใดมีผลต่อการกาจัดหนอนปลาร้ามากที่สุด


1.3 สมมติฐาน
1.3.1 ชนิดของหน่อไม้กาจัดหนอนได้ไม่แตกต่างกัน
1.3.2 หน่อไม้สดกาจัดหนอนปลาร้าได้ดีกว่าหน่อไม้แห้ง และหน่อไม้อัดปี๊ป
1.3.3 รสขื่นของหน่อไม้ทาให้หนอนในปลาร้าตายได้
1.3.4 ช่วงเวลาไม่เป็นอุปสรรคกับหน่อไม้กาจัดหนอนปลาร้า
1.4 ขอบเขตของการศึกษา
1.4.1 ศึกษาเฉพาะหน่อไม้ไผ่ตง หน่อไม้บ้าน ที่เป็นหน่อไม้สด หน่อไม้แห้ง หน่อไม้อัดปี๊ป
1.4.2 อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง ใช้กล่องพลาสติก บิกเกอร์
1.4.3 ผลจากการศึกษาจากัดปริมาณหน่อไม้ และหนอนในปลาร้าในกล่องพลาสติก ปริมาณของปลาร้า 1
กิโลกรัม ต่อหน่อไม้ 30 กรัม
1.4.4 สถานที่ศึกษาทดลอง ตั้งกล่องพลาสติกใส่ปลาร้าไว้ที่สนามสอนหย่อมที่บ้าน
1.4.5 ช่วงเวลาในการทดลอง ระหว่างเวลา 08.00 - 06.00 น. วันรุ่งขึ้น แบ่งการทดลอง 3 ช่วง คือ ช่วงแรก
098.00 น. , ช่วงที่ 2 เวลา 13.00 น. และช่วงที่ 3 เวลา 17.30 น. แต่ละช่วงของการทดลองใช้เวลาสังเกตผล
ทุกๆ 5 ชั่วโมง
1.5 นิยามเชิงปฏิบัติการ
1.5.1 หนอนหรือหนอนปลาร้า หมายถึง หนอนที่เกิดจากแมลงวันวางไข่ในปลาร้าและฟักเป็นตัวหนอน
1.5.2 กาจัด หมายถึง ทาให้หนอนตายหรือหมดไปจากปลาร้า
1.6 ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการทดลอง
1.6.1 ตัวแปรอิสระ
การทดลองที่ 1 ชนิดของหน่อไม้สดที่ใช้ทดลอง หน่อไม้ไผ่ตง หน่อไม้ไผ่บ้าน
การทดลองที่ 2 ชนิดของหน่อไม้สด หน่อไม้แห้ง หน่อไม้อัดปี๊ป
การทดลองที่ 3 ช่วงระยะเวลา 08.00 น. , 13.00 น. และ 17.30 น.
1.6.5 ตัวแปรตาม
การทดลองที่ 1 ลักษณะของหนอนในปลาร้า เมื่อใส่หน่อไม้ในปลาร้า
การทดลองที่ 2 ลักษณะของหนอนในปลาร้า เมื่อใส่ชนิดของหน่อไม้ต่างกันลงในปลาร้า
การทดลองที่ 3 ลักษณะของหนอนในปลาร้า เมื่อใส่หน่อไม้ลงในปลาร้าในช่วงระยะเวลาต่าง ๆ
1.5.2 ตัวแปรที่ควบคุม
การทดลองที่ 1
1. ขนาดและชนิดของกล่องพลาสติกทดลอง
2. ช่วงระยะเวลาการทดลอง และการสังเกตการทดลอง เวลา 08.00 น. สังเกตทุก ๆ 5
ชั่วโมง
3. ปริมาณของหน่อไม้ที่ใช้
 4. ปริมาณของปลาร้า และจานวนตัวหนอน
5. ชนิดของหน่อไม้ไผ่ตง หน่อไม้บ้าน
การทดลองที่ 2
1. ขนาดและชนิดของกล่องพลาสติกทดลอง
2. ช่วงระยะเวลาการทดลอง และสังเกตผลการทดลอง ทุก ๆ 5 ชั่วโมง
3. ชนิดของหน่อไม้สด หน่อไม้แห้ง หน่อไม้อัดปี๊ป
4. ปริมาณของหน่อไม้ที่ใช้
5. ปริมาณของปลาร้า และจานวนหนอน
6. สถานที่
การทดลองที่ 3
1. ขนาดและชนิดของกล่องพลาสติก ทดลอง
2. ชนิดของหน่อไม้
3. ปริมาณของหน่อไม้ที่ใช้
4. ปริมาณปลาร้า และจานวนหนอน
5. ช่วงระยะเวลาการทดลองและสังเกตผลการทดลอง ทุก ๆ 5 ชั่วโมง
6. สถานที่
1.7 ข้อตกลงเบื้องต้น
การศึกษาหน่อไม้กาจัดหนอนปลาร้า จะศึกษาเฉพาะการใช้หน่อไม้ไผ่ตง หน่อไม้ไผ่บ้าน และประเภทของ
หน่อไม้สด หน่อไม้แห้ง และหน่อไม้อัดปี๊ป ที่ใช้กาจัดหนอนในปลาร้าเท่านั้น ส่วนหน่อไม้อื่น ๆ และหนอนชนิด
อื่น ๆ จะไม่ศึกษาในที่นี้
1.8 กระบวนการศึกษา
การศึกษาหน่อไม้กาจัดหนอนปลาร้า ทาการศึกษาตามขั้นตอนของกระบวนการวิทยาศาสตร์ ดังนี้ ขั้นที่
1 สังเกตเพื่อกาหนดปัญหา
สิ่งที่สังเกต คือเห็นชาวบ้านโคกน้าเกลี้ยง ตาบลโพนทอง อาเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ นาหน่อไม้และแขนง
ของหน่อไม้ มาใส่ลงในปลาร้า
ผลการสังเกต
1. เห็นปลาร้ามีหนอน
2. เห็นไหปลาร้าและปลาร้าในไหมีหนอนตัวเล็กปริมาณมาก
3. แมลงวันและแมลงหวี่บินตอมไหปลาร้า
4. เมื่อใส่หน่อไม้สดลงไปในไหปลาร้าที่มีหนอน ทาให้หนอนตาย
ก้าหนดปัญหา
1. ชนิดของหน่อไม้ต่างกันมีผลต่อการกาจัดหนอนปลาร้ามากน้อยหรือต่างกัน อย่างไร
2. หน่อไม้สด หน่อไม้แห้ง และหน่อไม้อัดปี๊ป กาจัดหนอนปลาร้า ต่างกัน อย่างไร เพราะเหตุใด
3. ช่วงระยะเวลาการกาจัดหนอนปลาร้าด้วยหน่อไม้ มีผลอย่างไร
ขั้นที่ 2 ตั้งสมมติฐาน
ขั้นที่ 3 ทดสอบสมมติฐาน โดยการทดลอง ดังนี้
การทดลองที่ 1 เรื่องหน่อไม้ไผ่ตง และหน่อไม้บ้าน กาจัดหนอนปลาร้าได้ ต่างกันหรือไม่
การทดลองที่ 2 เรื่องหน่อไม้สด หน่อไม้แห้งและหน่อไม้อัดปี๊ป กาจัดหนอนได้ต่างกันหรือไม่ สาเหตุใดหน่อไม้
จึงทาให้หนอนในปลาร้าตายได้
การทดลองที่ 3 ช่วงระยะเวลาใดดีที่สุดในการใช้หน่อไม้กาจัดหนอนปลาร้า


ขั้นที่ 4 วิเคราะห์ผลการทดลอง และสรุปผลกรทดลอง
ขั้นที่ 5 นาหลักฐานที่สรุปได้จากการทดลองไปใช้ โดยการใช้หน่อไม้ไปกาจัดหนอนที่มีอยู่ในปลาร้าที่ใช้อยู่บ้าน
5.1 ทดลองใช้หน่อไม้กาจัดหนอนในปลาร้าที่เกิดจากแมลงวัน ทดลองใช้หน่อไม้กาจัดหนอนในปลาร้าที่เกิด
จากแมลงหวี่ จากปลาร้าในไหจริงที่ชาวบ้านทาแล้วเกิดหนอน


http://www.tet2.org/index.php?lay=show&ac=article&Id=560699&Ntype=3
4. โครงงานเศษเทียนผสมสมุนไพรไล่ยุง
ชื่อโครงงาน เศษเทียนผสมสมุนไพรไล่ยุง
ผู้จัดทํา นายกิตติศักดิ์ ญาณกาย
นางสาวอรวรรณ ภูทองแหลม
นางสาวอรสุดา พงษ์ละออ
ครูที่ปรึกษา นางสุภาพรรณ ดาษถนิม
นางสุพรรณี ถนอมสงัด
ผลงาน โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ปีการศึกษา 2549


จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า
1. เพื่อเป็นการนาเศษเทียนที่เหลือใช้แล้วนามาใช้ให้เกิดประโยชน์
2. เพื่อศึกษาว่าเศษเทียนผสมกับพืชสมุนไพรไล่ยุงได้
3. เพื่อศึกษาชนิดของสมุนไพรกับการไล่ยุง
สมมติฐาน
1. เศษเทียนผสมกับพืชสมุนไพรไล่ยุงได้
2. เศษเทียนผสมใบตะไคร้หอมปั่นตากแห้ง สามารถไล่ยุงได้ดีกว่าเศษเทียนผสมเปลือกมะกรูดปั่นตากแห้งและ
เศษเทียนผสมเปลือกส้มปั่นตากแห้ง
ขอบเขตการศึกษา
เศษเทียนที่หลอมเหลวแล้วผสมใบตะไคร้หอม ปั่นตากแห้ง เปลือกมะกรูดปั่นตากแห้ง และ เปลือกส้มปั่นตาก
แห้ง
อุปกรณ์ในการทดลอง
1. ใบตะไคร้หอม เปลือกมะกรูด เปลือกส้ม ที่ปั่นให้ละเอียดแล้วนาไป ตากแห้ง
2. เศษเทียน
3. สีเทียน
4. แก้ว
5. ไส้เทียน ยาว 45 นิ้ว
6. กระดาษที่รองก้นแก้ว สูง 45 นิ้ว
7. ไม้ 8.เครื่องปั่นผลไม้
9.บีกเกอร์ ขนาด 250 ลูกบาศก์เซนติเมตร
10.บีกเกอร์ ขนาด 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร
11.ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์
12.แท่งแก้วคนสาร
13.เตารีด
14.ไม้ขีดไฟ
15.เครื่องชั่ง
16.ตู้ ขนาดกว้าง 18 นิ้ว จานวน 3 หลัง
17.ยุง
18.กระชอน
19.ที่กรอง
ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการทดลอง
ตัวแปรต้น เศษเทียน ใบตะไคร้หอมปั่นตากแห้ง เปลือกมะกรูดปั่นตากแห้ง เปลือกส้มปั่นตากแห้ง
ตัวแปรตาม ไล่ยุงได้
ตัวแปรควบคุม
* เศษเทียนที่หลอมเหลวแล้ว 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร
* ใบตะไคร้หอมปั่นตากแห้ง 5,10 กรัม
* เปลือกมะกรูดปั่นตากแห้ง 5,10 กรัม
* เปลือกส้มปั่นตากแห้ง 5,10 กรัม
* ตู้ขนาดกว้าง 18 นิ้ว ยาว 45 นิ้ว สูง 45 นิ้ว จานวน 3 หลัง
* ยุงในตู้จานวนหลังละ 50 ตัว
* ใช้เวลาในการทดลอง 30 นาที
* สถานที่ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์โรงเรียนเทศบาล ๒
ผลการทดลอง
1. เศษเทียนผสมใบตะไคร้หอมปั่นตากแห้งไล่ยุงได้ดีรองลงมาคือเศษเทียนผสมเปลือกมะกรูดปั่นตากแห้งและ
เศษเทียนผสมเปลือกส้มปั่นตากแห้ง( ไม่กรองกากสมุนไพร )
2. เศษเทียนผสมใบตะไคร้หอมปั่นตากแห้งไล่ยุงได้ดีที่สุดรองลงมาคือเศษเทียนผสมเปลือกมะกรูดปั่นตากแห้ง
และเศษเทียนผสมเปลือกส้มปั่นตากแห้ง แห้ง ตามลาดับ และพบว่ายุงตายด้วย
( กรองกากสมุนไพรออก)
สรุปผลการทดลอง
* จะเห็นว่าเศษเทียนผสมใบตะไคร้-หอมปั่นตากแห้งไล่ยุง ได้ดีที่สุดรองลงมาคือเศษเทียนผสมเปลือกมะกรูด
ปั่น ตากแห้งและเศษเทียนผสมเปลือกส้มปั่นตากแห้ง ตามลาดับ และพบว่ายุงตายด้วย( กรองกากสมุนไพร
ออก)
* เศษเทียนที่เหลือใช้แล้วสามารถนามาผสมกับสมุนไพรให้เกิดประโยชน์ได้
* ทาให้ทราบชนิดของสมุนไพรสามารถไล่ยุงได้
ข้อเสนอแนะการทดลอง
1. เมื่อผสมสีเทียนอาจได้ไม่ตรงตามต้องการ เช่น ผสมสีฟ้าได้เป็นสีฟ้าอมเขียว เพราะเศษเทียนมีสีเหลืองจึงทา
ให้สีคลาดเคลื่อน
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน
ด้านการศึกษา
1. ทาให้ทราบประโยชน์ของเศษเทียนที่เหลือใช้แล้ว
2. ทาให้ทราบว่าเศษเทียนสามารถผสมกับพืชสมุนไพรไล่ยุงได้
3. ทาให้ได้ทราบว่าชนิดของสมุนไพรสามารถไล่ยุงได้
ด้านเศรษฐกิจ
สามารถนาผลิตภัณฑ์ที่ได้ไปจาหน่ายเป็นการเสริมรายได้แก่ครอบครัว




ที่มา : http://www.tet2.org/index.php?lay=show&ac=article&Id=560698&Ntype=3
5. โครงงานสีผมสวยด้วยใบกาว


ชื่อโครงงาน สีผมสวยด้วยใบกาว
ผู้จัดทา เด็กหญิงลัดดาวัลย์ ฆารศรี
เด็กหญิงกาญจนา พละสินธุ์
เด็กหญิงธิติมา น้อยนาจารย์
ครูที่ปรึกษา นางสุภาพรรณ ดาษถนิม
นางสุพรรณี ถนอมสงัด
ผลงาน เข้าร่วมการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เนื่องในสัปดาห์
วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร วันที่ 18-19 สิงหาคม 2549


จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า
1. เพื่อหาอัตราส่วนที่เหมาะสมระหว่างมวลของใบกาวสด และปริมาตรของน้าสะอาดในการสกัดสารจากใบ
กาวสด
2. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการเปลี่ยนสีผมของสารสกัดจากใบกาวสดตามอัตราส่วนที่เหมาะสม
3. เพื่อหาอัตราส่วนที่เหมาะสมระหว่างมวลของผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์และปริมาตรของน้าสะอาดในการนาผง
สกัดใบกาวบริสุทธิ์ไปใช้ในการเปลี่ยนสีผม
4. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการเปลี่ยนสีผมของผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์ตามอัตราส่วนที่เหมาะสม
5.เพื่อนาพืชในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์และเพื่อความปลอดภัยของสุขภาพ
สมมติฐานของการศึกษา
1. สารสกัดจากใบกาวจะมีประสิทธิภาพในการทาให้สีผมเปลี่ยนไป
2. ผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์จะมีประสิทธิภาพในการเปลี่ยนสีผมได้เหมือนกับสารสกัดใบกาวสดและสามารถ
นามาใช้แทนกันได้
วัสดุ-อุปกรณ์และวิธีดําเนินการ
มวลของใบกาว : ปริมาตรของน้าสะอาด 100 กรัม : 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร
1. นาใบกาวสดมวล 100 กรัม มาปั่นให้ละเอียด
2. นาใบกาวที่ได้จากข้อ 1 ใส่ลงในกะละมังใบเล็ก
3.เติมน้าสะอาด ปริมาณ 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร ลงในกะละมังที่มีใบกาวปั่นละเอียด
4.คั้นใบกาวในกะละมังใบเล็กจนกระทั่งใบมีสีซีด
5.กรองเอาสารที่ได้จากข้อ 4 โดยใช้ผ้าขาวบางและใช้ตะแกรงกรอง
6.ได้สารที่สกัดมาจากการสกัดใบกาว
7.นาสารสกัดใบกาวสดลงในหลอดทดลองเพื่อเปรียบเทียบกับอัตราส่วนอื่น
วัสดุ-อุปกรณ์
1.ตัวอย่างเส้นผมที่นามาทดลอง
2.สารสกัดใบกาวสด ตามอัตราส่วนที่เลือกไว้
3.น้าเปล่า
วิธีดําเนินการทดลอง
1.นาสารสกัดจากใบกาวสด ตามอัตราส่วนที่กาหนดไว้มาชโลมเส้นผมที่นามาทดลอง
2.หมักตัวอย่างผสมกับสารสกัดใบกาวสดโดยหมักไว้นาน 30 นาที
3.ครบ 30 นาที แล้วล้างออกด้วยน้าเปล่า
4.สังเกตการเปลี่ยนแปลงของสีผม
วัสดุ-อุปกรณ์
1. ใบกาวแห้ง มวล 150 กรัม
2. เครื่องปั่นผลไม้จานวน 1 เครื่อง
3. เครื่องชั่ง จานวน 1 เครื่อง
4. ผ้าขาวบาง จานวน 1 ผืน
5. บีกเกอร์ จานวน 2 ใบ
6. น้าสะอาด จานวน 60 ลูกบาศก์เซนติเมตร
วิธีด้าเนินการทดลอง
ขั้นเตรียมผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์
นาใบกาวแห้ง มวล 150 กรัมใส่ลงในโถเครื่องปั่น และปั่นจนกระทั่งได้ผงใบกาวบริสุทธิ์ที่ละเอียด แล้ว กรอง
ด้วยผ้าขาวบางอีกครั้ง เพื่อให้ได้ผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์ที่มีขนาดละเอียดเล็กที่สุด
ขั้นการหาอัตราส่วนที่เหมาะสม
1.ชั่งผงใบกาวบริสุทธิ์ มวล 5 กรัม และ 10 กรัม ใส่ลงในบีกเกอร์ 2 ใบ
2.เติมน้าลงในบีกเกอร์ที่มีผงใบกาวบริสุทธิ์ใบละ 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร
3.สังเกต การรวมตัวเป็นเนื้อเดียวของสาร
วัสดุ-อุปกรณ์
1.ผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์ มวลตามอัตราส่วนที่เลือกไว้
2.น้าสะอาด ปริมาตรตามอัตราส่วนเหมาะสมที่เลือกไว้
3.ตัวอย่างเส้นผมที่นามาทาการทดลอง
วิธีดําเนินการทดลอง
1.นาผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์ใส่ลงในบีกเกอร์ แล้วเติมน้าสะอาดลงไปในบีกเกอร์มวลของผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์ต่อ
ปริมาตรของน้าสะอาด เป็นไปตามอัตราส่วนที่เลือกไว้
2.นาเอาส่วนผสมของข้อที่ 1 มาชโลมตัวอย่างเส้นผมที่นามาทดลอง
3.หมักตัวอย่างผมกับผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์ไว้นาน 30 นาที
4.ครบ 30 นาทีแล้วล้างออกด้วยน้าเปล่า
5.สังเกตการเปลี่ยนแปลงของสีผม
ผลการดําเนินการ
ตอนที่ 1 อัตราส่วนที่เหมาะสมระหว่างมวลของใบกาวสด กับปริมาตรของน้าสะอาด คือ
มวลใบกาวสด : ปริมาตรน้าสะอาด ผลการสังเกต
50 กรัม : 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร100 กรัม : 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร ได้ของเหลวสีเขียวอมเหลืองได้ของเหลว
สีเขียวเข้มอมเหลือง
ทดลองหาอัตราส่วนที่เหมาะสมระหว่างมวลของใบกาวสดกับปริมาตรน้าสะอาด อัตราที่เหมาะสม คือ มวล
ของใบกาวสด 100 กรัมต่อน้าสะอาด 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร เพราะจะให้สารสกัดจากใบกาวสดมีสีเข้มที่สุด
ตอนที่ 2 ทดสอบประสิทธิภาพในการเปลี่ยนสีของผมเมื่อทดสอบกับอัตราส่วนของสารสกัดใบกาวสดที่เลือกไว้
(
มวลของใบกาวสด 100 กรัมต่อน้าสะอาด 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร )
ระยะเวลาในการหมักผม การเปลี่ยนของสีผม
30 นาที - ส่วนผมที่เคยเป็นสีขาวจะเปลี่ยนเป็นสีส้มแดง- ส่วนผมที่เคยเป็นสีดาจะเปลี่ยนเป็นสีน้าตาล
ทดลอบหาประสิทธิภาพในการเปลี่ยนสีของผมเมื่อทดสอบกับอัตราส่วนของสารสกัดใบกาวสด คือ มวลของใบ
กาวสด 100 กรัมต่อน้าสะอาด 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร ผลการทดสอบประสิทธิภาพการเปลี่ยนสีผม คือ ผมที่
เคย
เป็นสีขาวจะเปลี่ยนเป็นสีส้มแดงส่วนผมที่เคยเป็นสีดาจะเปลี่ยนเป็นสีน้าตาล
ตอนที่ 3 การทดสอบหาอัตราส่วนที่เหมาะสมระหว่างมวลของผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์กับปริมาตรของน้าสะอาด
ใน
การนาผงสกัดไปใช้ในการเปลี่ยนสีผม
มวลผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์ : ปริมาตรน้าสะอาด ผลการสังเกต
5 กรัม : 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร10 กรัม : 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร ผงสกัดใบกาวรวมเป็นเนื้อเดียวกันกับน้าได้
พอดี
ผงสกัดใบกาวบางส่วนที่ไม่รวมเป็นเนื้อเดียวกันกับน้า
ทดสอบหาอัตราส่วนที่เหมาะสมระหว่างมวลของผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์กับปริมาตรของน้าสะอาดในการนาผง
สกัดไปใช้ในการเปลี่ยนสีผม อัตราส่วนที่เหมาะสมคือ มวลของผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์ 5 กรัมต่อปริมาตรของน้า
สะอาด 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร เพราะผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์จะรวมเป็นเนื้อเดียวกับน้าอย่างลงตัวพอดี
ตอนที่ 4 ทดสอบประสิทธิภาพในการเปลี่ยนสีผมของผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์ตามอัตราส่วน มวลของผงสกัดใบ
กาว
บริสุทธิ์ 5 กรัม ต่อน้า 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร
ระยะเวลาในการหมักผม การเปลี่ยนของสีผม
30 นาที - ส่วนผมที่เคยเป็นสีขาวจะเปลี่ยนเป็นสีน้าตาลทอง- ส่วนผมที่เคยเป็นสีดาจะเปลี่ยนเป็นสีน้าตาล
ทดสอบประสิทธิภาพการเปลี่ยนสีผม ของผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์ตามอัตราส่วน มวลของผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์
5 กรัม ต่อน้า 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร ผลการทดสอบประสิทธิภาพการเปลี่ยนสีผม คือ ผมที่เคยเป็นสีขาวจะ
เปลี่ยนเป็นสีน้าตาลทองส่วนผมที่เคยเป็นสีดาจะเปลี่ยนเป็นสีน้าตาล
ตอนที่ 5 การเผยแพร่เพื่อนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวัน จะเห็นว่า สารสกัดจากใบกาวสดและผง
สกัด
ใบกาวบริสุทธิ์สามารถเปลี่ยนสีผมจากสีเดิม เป็นสีโทนน้าตาล ดังนั้นจึงเหมาะที่นามาใช้ในการเปลี่ยนสีผมแทน
น้ายาเปลี่ยนสีผมที่ขายตามท้องตลาดทั่วไปเพราะไม่เป็นอันตรายต่อเส้นผมและหนังศีรษะและประหยัดด้วย
สรุปผลและอภิปรายผล
สรุปผลการทดลอง
ตอนที่ 1 อัตราส่วนที่เหมาะสมระหว่างมวลของใบกาวสด กับปริมาตรของน้าสะอาด
คือ มวลของใบกาวสด 100 กรัม ต่อน้าสะอาด 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร เพราะจะให้สารสกัดจากใบกาวสดมีสี
เข้ม
ที่สุด
ตอนที่ 2 ประสิทธิภาพในการเปลี่ยนสีของผม คือ ใบกาวสด 100 กรัม ต่อน้าสะอาด 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร
ผมที่
เคยเป็นสีขาวจะเปลี่ยนเป็นสีส้มแดง ส่วนผมที่เคยเป็นสีดาจะเปลี่ยนเป็นสีน้าตาล
ตอนที่ 3 อัตราส่วนที่เหมาะสมระหว่างมวลของผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์กับปริมาตรของน้าสะอาดในการนาผง
สกัดไป
ใช้ในการเปลี่ยนสีผม คือมวลของผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์ 5 กรัมต่อปริมาตรของน้าสะอาด30 ลูกบาศก์-
เซนติเมตร
ซึ่งผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์จะรวมเป็นเนื้อเดียวกับน้าอย่างลงตัวพอดี
ตอนที่ 4 ประสิทธิภาพในการเปลี่ยนสีผมของผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์ตามอัตราส่วนคือมวลของผงสกัดใบกาว
บริสุทธิ์
5 กรัม ต่อน้า 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร ผลการทดสอบประสิทธิภาพการเปลี่ยนสีผมคือ ผมที่เคยเป็นสีขาวจะ
เปลี่ยนเป็นสีน้าตาลทองส่วนผมที่เคยเป็นสีดาจะเปลี่ยนเป็นสีน้าตาล
ตอนที่ 5 การเผยแพร่เพื่อนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวัน
จากการนาไปเผยแพร่ เพื่อนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวัน จะเห็นว่าสารสกัดจากใบกาวสด และผง
สกัดใบกาวบริสุทธิ์ สามารถเปลี่ยนสีผมจากสีเดิมเป็นสีโทนน้าตาล ดังนั้นจึงเหมาะที่นามาใช้ในการเปลี่ยนสีผม
แทนน้ายาสีผมที่ขายตามท้องตลาดทั่วไปเพราะไม่เป็นอันตรายต่อเส้นผมและหนังศีรษะและยังเป็นการ
ประหยัด
อีกด้วย
อภิปรายผลการทดลอง
จากการทดลองจะเห็นว่าสารสกัดใบกาวสดและผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์สามารถเปลี่ยนสีผมจากสีเดิมเป็นสีโทน
น้าตาลได้ เพื่อให้สะดวกต่อการนาไปใช้ในการเปลี่ยนสีผม ควรใช้ผลิตภัณฑ์ผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์จะดีกว่า
เพราะไม่ยุ่งยากในการเตรียมสารสกัดเพียงแค่เอาผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์ผสมกับน้าก็สามารถนาไปใช้ได้เลย ซึ่ง
สะดวกต่อการนาไปใช้ มีกลิ่นหอมกว่าและสามารถเก็บไว้ได้นานกว่าอีกด้วย ถ้าต้องการให้มีสีอื่นผสมควรใช้พืช
ชนิดอื่นมาเป็นส่วนผสม เช่น
-ถ้าต้องการเปลี่ยนเป็นสีน้าตาลม่วง ควรใช้ดอกอัญชัน เป็นส่วนผสมและใช้น้ามะนาวผสมแทนน้าเปล่า
-ถ้าต้องการเปลี่ยนสีน้าตาลช็อกโกแลต (สีน้าตาลไหม้)ควรใช้กาแฟเป็นส่วนผสม การใช้สารสกัดด้วยใบกาว
เปลี่ยนสีผม สามารถทาได้ทุกเวลาที่ต้องการ ไม่ทาให้เกิดอันตรายต่อเส้นผมและหนังศีรษะ
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน
1. ได้อัตราส่วนที่เหมาะสมของใบกาวสดต่อน้าสะอาดในการทาสารสกัดใบกาว
2. ได้ทราบถึงประสิทธิภาพในการเปลี่ยนสีผมของสารสกัดใบกาวสด
3. ได้อัตราส่วนที่เหมาะสมของผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์ต่อน้าสะอาดในการเปลี่ยนสีผม
4. ได้ทราบถึงประสิทธิภาพในการเปลี่ยนสีผมของผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์
5. ได้นาพืชในท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์และปลอดภัยต่อสุขภาพ
ข้อเสนอแนะ
ควรทดลองนาพืชชนิดอื่นที่ให้สีแตกต่างกันมาเป็นส่วนผสม เพราะจะได้สีผมที่หลากหลายมาก ยิ่งขึ้น


http://www.tet2.org/index.php?lay=show&ac=article&Id=560691&Ntype=3
https://sites.google.com/site/walaipornskb/khorng-ngan-khxmphiwtexr
สืบค้นเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2555

More Related Content

Similar to ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Fernimagine
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้Beaubeau Reedus
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมKaka619
 
โครงงานกลุ่มที่ 6
โครงงานกลุ่มที่ 6โครงงานกลุ่มที่ 6
โครงงานกลุ่มที่ 60892827602
 
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ploymhud
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554Lsilapakean
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 

Similar to ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี” (15)

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้
 
M6 125 60_6
M6 125 60_6M6 125 60_6
M6 125 60_6
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Plant hor 7_77_60
Plant hor 7_77_60Plant hor 7_77_60
Plant hor 7_77_60
 
โครงงานกลุ่มที่ 6
โครงงานกลุ่มที่ 6โครงงานกลุ่มที่ 6
โครงงานกลุ่มที่ 6
 
โครงงานกลุ่มที่ 6.doc
โครงงานกลุ่มที่ 6.docโครงงานกลุ่มที่ 6.doc
โครงงานกลุ่มที่ 6.doc
 
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
 
ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10
 
ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10
 
M6 144 60_3
M6 144 60_3M6 144 60_3
M6 144 60_3
 

More from Justice MengKing

O net พละศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ 2552
O net พละศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ 2552O net พละศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ 2552
O net พละศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ 2552Justice MengKing
 
O net คณิตศาสตร์ 2552
O net คณิตศาสตร์ 2552O net คณิตศาสตร์ 2552
O net คณิตศาสตร์ 2552Justice MengKing
 
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัติ ดรีม
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัติ ดรีมใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัติ ดรีม
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัติ ดรีมJustice MengKing
 
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้ ดรีม
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้ ดรีมใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้ ดรีม
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้ ดรีมJustice MengKing
 
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงานใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงานJustice MengKing
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”Justice MengKing
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทJustice MengKing
 
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภทJustice MengKing
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทJustice MengKing
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานJustice MengKing
 
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานJustice MengKing
 
ใบงานที่ 16 เรื่อง ปฏิทินการปฏิบัติงาน
ใบงานที่ 16 เรื่อง ปฏิทินการปฏิบัติงานใบงานที่ 16 เรื่อง ปฏิทินการปฏิบัติงาน
ใบงานที่ 16 เรื่อง ปฏิทินการปฏิบัติงานJustice MengKing
 

More from Justice MengKing (12)

O net พละศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ 2552
O net พละศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ 2552O net พละศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ 2552
O net พละศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ 2552
 
O net คณิตศาสตร์ 2552
O net คณิตศาสตร์ 2552O net คณิตศาสตร์ 2552
O net คณิตศาสตร์ 2552
 
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัติ ดรีม
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัติ ดรีมใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัติ ดรีม
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัติ ดรีม
 
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้ ดรีม
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้ ดรีมใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้ ดรีม
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้ ดรีม
 
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงานใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท
 
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
ใบงานที่ 16 เรื่อง ปฏิทินการปฏิบัติงาน
ใบงานที่ 16 เรื่อง ปฏิทินการปฏิบัติงานใบงานที่ 16 เรื่อง ปฏิทินการปฏิบัติงาน
ใบงานที่ 16 เรื่อง ปฏิทินการปฏิบัติงาน
 

ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”

  • 1. ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี” โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎี เป็นโครงงานที่ได้เสนอทฤษฎี หลักการ หรือแนวความคิดใหม่ ๆ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสูตร สมการ หรือคาอธิบายก็ได้ โดยผู้เสนอได้ตั้งกติกา หรือข้อตกลงนั้น หรืออาจใช้กติกา และข้อตกลงเดิมมาอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในแนวใหม่ อาจเสนอหลักการ แนวความคิด หรือจินตนาการ ที่ยังไม่มีใครคิดมาก่อน อาจเป็นการขัดแย้งหรือขยายทฤษฎีเดิม แต่จะต้องมีข้อมูลหรือทฤษฎีอื่นมาสนับสนุน http://www.wr.ac.th/sci/index.php?option=com_content&view=category&id=38&Itemid=61 ตัวอย่าง 1. การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน สูตรนํ้ายาธาตุอาหารพืชจากประเทศออสเตรเลีย ประกอบด้วยน้ายาเข้มข้นจานวน 5 ชนิด ดังต่อไปนี้ คือ 1) โมโนแอมโมเนียมฟอสเฟต (mono ammonium phosphate) จานวน 100 กรัม ละลายในน้าจานวน 1 ลิตร 2) แคลเซียมไนเตรท (calcium nitrate) จานวน 250 กรัม ละลายในน้าจานวน 1 ลิตร 3) โพแทสเซียมไนเตรท (potassium nitrate) จานวน 100 กรัม ละลายในน้า จานวน 1 ลิตร 4) เหล็กคีเลต (iron chelate) จานวน 12.5 กรัม ละลายในน้าจานวน 1 ลิตร 5) น้ายาผสมของ โบแรก (borax) 3 กรัม แมกนีเซียมซัลเฟต (magnesium sulfate) 1 กรัม สังกะสีซัลเฟต (zinc sulfate) 0.3 กรัม ทองแดงซัลเฟต (copper sulfate) 0.1 กรัม โซเดียมโมลิบเดท (sodium molybdate) 0.1 กรัม โซเดียมคลอไรด์ (sodium chloride) 0.1 กรัม ทั้งหมดนี้รวมกันแล้วละลายในน้าจานวน 1 ลิตร เมื่อจะใช้น้ายาเพื่อปลูกพืชให้เอาน้ายาเข้มข้นเบอร์ 1) มาจานวน 40 มิลลิลิตร หรือ ซีซี เบอร์ 2) มาจานวน 80 ซีซี เบอร์ 3) มาจานวน 120 ซีซี เบอร์ 4) มาจานวน 20 ซีซี และเบอร์ 5) มาจานวน 20 ซีซี ผสมกับน้าให้ ได้ปริมาณสุดท้ายจานวน 20 ลิตร แล้วนาน้ายาธาตุอาหารพืชนี้ไปใช้กับพืชที่จะปลูกต่อไป น้ายาธาตุอาหารพืช ที่เตรียมขึ้นมาเพื่อใช้ปลูกพืช โดยไม่ใช้ดินนั้น จะต้องมี pH อยู่ในช่วงระหว่าง 5.5-6.5 ถ้าpH ของน้ายาธาตุ อาหารสูงกว่าช่วงนี้ ให้ใช้กรดกามะถันหรือกรดเกลือเจือจางปรับ pH ให้ต่าลง ถ้า pH ของน้ายา
  • 2. ธาตุอาหารต่ากว่าช่วงนี้ให้ใช้ปูนขาว หรือโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์เจือจางปรับ pH ให้สูงขึ้น และเมื่อใช้น้ายา ธาตุอาหารพืชปลูกพืชแล้ว ก็สมควรจะตรวจสอบ pH ของน้ายาเป็นช่วง ๆ ไป เนื่องจากพืชดูดธาตุอาหารแต่ ละตัวไปจากน้ายาได้แตกต่างถัน จึงจะมีผลทาให้น้ายาธาตุอาหารพืชมี pH เปลี่ยนแปลงไป และในขณะปลูก พืชที่จาเป็นที่จะต้อง ตรวจสอบความเค็ม (EC) ของน้ายาธาตุอาหารพืช และในวัสดุปลูกด้วยว่ามีสูงมากน้อย เพียงใด ถ้ามีความเค็ม (EC) 2-4 มิลลิโมส์/ซม. จะไม่เป็นอันตราย ต่อพืชที่ปลูก ถ้าความเค็ม (EC) สูงกว่าค่านี้ ก็สมควรแก้ไข โดยการเจือจางสารละลายธาตุอาหารพืชด้วยน้าเพื่อลดความเค็ม สมบัติของนํ้าที่ใช้รด น้าที่ใช้ รดจะต้องเป็นน้าที่มีสมบัติเป็นกลาง (pH 6-7) และไม่มีสารบางตัวที่จะก่อให้เกิดความเป็นกรดหรือความเป็น ด่าง สภาพแวดล้อมที่สําคัญ ในการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน ได้แก่ อุณหภูมิในบรรยากาศและอุณหภูมิที่ในวัสดุ ปลูกหรือในน้ายาธาตุอาหารจะต้องไม่ร้อน จนเกินไปโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงแรกของการเจริญเติบโต นอกจากนั้นปริมาณแสงแดดก็นับว่ามีความสาคัญที่เกี่ยวเนื่องกับอุณหภูมิ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดพืชที่ต้องการ ปริมาณแสงที่แตกต่างกันเพื่อการเจริญเติบโต ชนิดของการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินมีหลายชนิด หรือหลายแบบ แต่ละชนิดก็มีความเหมาะสม มีข้อดีข้อเสียแตกต่างกัน ออกไป การที่จะเลือกปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินชนิดใดนั้น จะต้องพิจารณาว่าชนิดใดมีความยุ่งยากน้อยที่สุด ค่าใช้จ่ายถูกที่สุด และใช้วัสดุอุปกรณ์ที่หาง่าย สิ่งปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้แตกต่างกันออกไปในแต่ละท้องที่ หรือ แตกต่างกันออกไปแล้วแต่ชนิดพืชที่จะปลูก ชนิดของการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินดังกล่าวนี้สามารถจาแนก ออก 2 พวกใหญ่ ๆ ได้ ดังต่อไปนี้ คือ พวกที่ 1 คือ การปลูกพืชในนํ้ายาธาตุอาหารโดยตรงเป็นการปลูกพืชที่ปล่อยให้รากพืชจุ่มลงไปหาอาหารจาก น้ายาธาตุอาหารโดยตรงเลย หรือฉีดน้ายาธาตุอาหารพืชให้แก่รากพืช พืชมีที่เกาะยึดสาคัญเพียงเล็กน้อย ให้ ลาต้นตั้งตรงเพื่อรับแสงเท่านั้น ส่วนระบบรากทั้งหมดจะเจริญเติบโตลงไปในน้ายาธาตุ อาหารในภาชนะปลูก เช่น ถาด หรือรางที่วางเอียง ๆ วิธีนี้จะต้องมีระบบการหมุนเวียนของน้ายาธาตุอาหาร ตลอดเวลา หรือเป็น ช่อง ๆ หรือมีการปั๊มอากาศลงไป เพื่อเพิ่มอากาศให้แก่ระบบรากที่จุ่มอยู่ในน้ายาธาตุอาหาร การปลูกพืชในน้า ยาธาตุอาหารแบบนี้ เริ่มต้นจากการเพาะเมล็ดพืชในกระบะปักชาที่เป็นทรายหรือแกลบฟองน้าเสียก่อน พอ ต้นพืชอายุประมาณ 1-2 สัปดาห์ ถึงจะย้ายมาปลูกในภาชนะ จนกว่าพืชจะเก็บเกี่ยวผลิตผลได้ โดยปกติจะ เปลี่ยนน้ายาธาตุอาหารใหม่ เมื่อปลูกพืชครั้งใหม่ทุกครั้งไป การปลูกพืชในน้ายาธาตุอาหารโดยตรงนี้ สามารถ แบ่งออกได้เป็น 4 วิธี คือ 1. วิธีฉีดน้ายาธาตุอาหารให้แก่รากพืชโดยตรง อย่างต่อเนื่อง (spray technique) 2. วิธีปล่อยให้รากพืชลอยอยู่ในน้ายาธาตุอาหารโดยตรง (float system) โดยที่น้ายาธาตุอาหารไม่มีการ เคลี่อนที่ วิธีนี้จะต้องมีการปั๊มอากาศลงไปในน้ายาด้วย เพื่อเพิ่มอากาศให้แก่รากพืช
  • 3. 3. วิธีปล่อยให้น้ายาธาตุอาหารพืชไหลผ่านรากพืชเป็นแผ่นบาง ๆ ในราง (nutrient film technique) ตลอดเวลา แล้วรวบรวมน้ายาธาตุอาหารพืช เพื่อนามาใช้หมุนเวียนในระบบต่อไป ดังรูปที่ 3 4. วิธีปล่อยให้น้ายาธาตุอาหารพืชไหลผ่านถาดที่ปลูกพืช (nutrient flow technique) ตลอดเวลา แล้ว ปล่อยให้น้ายาธาตุอาหารพืชล้นออกทางอีกด้านหนึ่งของถาด แล้วรวบรวมน้ายาธาตุอาหารพืช เพื่อนามา ใช้มุนเวียนในระบบต่อไป พวกที่ 2 คือ การปลูกพืชโดยใช้วัสดุปลูก เป็นการปลูกพืชในน้ายาธาตุอาหารที่ต้องใช้ วัสดุปลูกให้พืชเกาะยึด เพื่อให้ลาต้นตั้งตรงรับแสง วัสดุปลูก เหล่านี้จะเป็นตัวดูดซับน้าและน้ายาธาตุอาหารไว้ให้พืชใช้หลังจากนั้นปล่อยน้ายาธาตุอาหารพืชให้ไปหล่อเลี้ยง การเจริญเติบโตของพืชอีกทีหนึ่ง การปลูกพืชโดยใช้วัสดุปลูกนี้ สามารถแบ่งออกได้ เป็น 2 วิธี คือ 1. วิธีแบบปล่อยให้น้าท่วมภาชนะ (flood bed techniques) การให้น้ายาธาตุอาหารแบบท่วมภาชนะปลูกเป็นช่วง วิธีนี้เริ่มจากการย้ายกล้าพืชที่จะปลูกมาปลูกในภาชนะที่ บรรจุวัสดุสาหรับพืชเกาะยึดและมีท่อสาหรับให้ธาตุอาหารพืชไหลเข้าไปในท่อภาชนะ วันละประมาณ 1-3 รั้ง ปล่อยให้น้ายาธาตุอาหารท่วมอยู่ครั้งละครึ่งชั่วโมงถึงหนึ่งชั่วโมง แล้วปล่อยให้น้ายาธาตุอาหารไหลออกมา เก็บว้ใช้ในโอกาสต่อไป ดังรูปที่ 5 วิธีที่จะปล่อยให้น้ายาธาตุอาหารไหลเข้าไปท่วมและระบายออกนั้น สามาร ถาได้โดยใช้เครื่องปั๊มอย่างอัตโนมัติ หรือใช้วิธีใส่น้ายาธาตุอาหารในถังพลาสติกต่อเชื่อมกับภาชนะที่ปลูกเมื่อ จะให้น้ายาธาตุอาหารท่วมภาชนะปลูกก็ยกถังให้สูงขึ้น น้ายาธาตุอาหารจะไหลมาท่วมภาชนะโดยแรงดึงดูด ของโลก เมื่อต้องการให้น้ายาธาตุอาหารระบายออกก็กดถังให้ต่าลงกว่าระดับภาชนะ วิธีนี้เป็นวิธีง่ายที่สุดวิธี หนึ่ง 2. วิธีแบบให้น้าหยดในถาดหรือถุง (tray or bag drip feed system) เป็นวิธีการให้น้ายาธาตุอาหารแบบ วิธีหยดในถุงหรือถาด ดังรูปที่ 6 เริ่มจากปลูกกล้าบนวัสดุ เช่น ขี้เลื่อยหรือขุยมะพร้าวหรือแกลบ แล้วต่อท่อให้ น้ายาธาตุอาหารไหลไปยังพืชแต่ละต้นแบบน้าหยด โดยปล่อยให้น้ายาธาตุอาหารจากถังพลาสติกที่อยู่สูงกว่า หยดลงสู่ภาชนะปลูกพืชในอัตราที่สูงพอที่จะทาให้ภาชนะเปียกชุ่มอยู่เสมอ แต่ไม่ถึงกับมีน้าไหลล้นออกมาจาก ภาชนะ จึงทาให้มีสภาพเหมาะสมกับการเจริญเติบโตของรากพืช หรือจะปลูกกล้าพืชในท่อพลาสติกขนาดใหญ่ ที่เจาะและบรรจุวัสดุที่ใช้สาหรับ ให้พืชยึดเกาะเต็มและปลูกพืชเป็นระยะ พืชแต่ละต้นจะมีสายน้ายาธาตุ อาหารแบบน้าหยด ท่อพลาสติกขนาดใหญ่นี้จะวางลาดเทเล็กน้อย ให้น้ายาธาตุอาหารที่มีมากเกินไปไหลลงไป ด้านต่า วิธีนี้เป็นวิธีที่ประหยัดเวลาและแรงงานมากที่สุด การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินนี้ ไม่ใช่เป็นของใหม่ที่จะต้อง ใช้เทคโนโลยีชั้นสูง แต่ความจริงเป็นวิธีที่ใช้กันมานานแล้ว และไม่ได้ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงอะไรเลย เพียงแต่ว่า ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการปลูกในอดีตอาจจะแพงในระยะเริ่มต้นเมื่อเปรียบเทียบกับการปลูกบนพื้นดิน ธรรมดา ทั้งนี้เนื่องจากในอดีตมีพื้นดิน เหลือเฟือและที่ดินทั้งหลายเหล่านี้ยังอุดมสมบูรณ์สูง ปลูกพืชอะไร เมื่อไหร่ ที่ไหน ก็ขึ้นเจริญงอกงามดี แต่ในสภาพปัจจุบันพื้นที่ดินมีจานวนจากัดลง การเพิ่มขึ้นของประชากร อย่างรวดเร็ว ประกอบกับที่ดินส่วนใหญ่เสื่อมโทรม ขาดธาตุอาหารพืช สภาพของที่ดินไม่เหมาะสมต่อการ
  • 4. เจริญเติบโตของพืช ครั้นจะปรับปรุงบารุงดินให้ดีเหมือนเดิมนั้นจะต้องลงทุนสูงในการใช้ปุ๋ย และใช้เวลานาน ในการที่จะทาให้ดินเหมาะสมเหมือนเดิม ดังนั้นการแก้ไขอย่างเร่งด่วน แนวทางหนึ่งในการที่จะช่วยให้ ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศ ผลิตพืชอาหารได้เพียงพอ ในบางฤดูกาล และบางพื้นที่ที่เป็นปัญหาของระเทศ ในขณะนี้ก็คือ “การพัฒนาการปลูกพืช โดยไม่ใช้ดินซึ่งเป็นความหวังใหม่ เพื่อเพิ่มการผลิตอาหารให้แก่ระชา กร” โดย เฉพาะอย่างยิ่งโครงการพัฒนาตัวอย่าง เพื่อผลิตพืชผักใช้เป็นอาหารกลางวันในโรงเรียนต่าง ๆ สา หรับเยาวชนทั่วประเทศ ที่มา : http://www.thaikasetsart.com
  • 5. 2. โครงงาน เรื่องกรดจากน้้าผลไม้ (ส่วนหนึ่ง) บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล/ผลการจัดทําโครงงาน ผลการทดลอง ตอนที่ 1 ระดับค่าความเป็นกรดของน้าผลไม้เมือนามาผสมกันเรียงลาดับจากค่ามากไปหาค่าน้อยเป็นนดังนี้ น้ําผลไม้และค่า pH ที่ได้ 1. น้ามะนาว + น้าสับปะรด 3.0 2. น้ามะนาว + น้าส้ม 4.0 3. น้าส้ม + น้าสับปะรด 4.5 ตอนที่ 2 ความสามารถในการกัดกร่อนและขจัดคราบสกปรกบนเหรียญเมื่อนาน้าน้าเกลือละลายน้าผสมลงไป แก้วที่ 1 น้าส้ม + น้ามะนาว แก้วที่ 2 น้ามะนาว + น้าสับปะรด แก้วที่ 3 น้าส้ม + น้าสับปะรด เหรียญหนึ่งบาทที่สกปรกจานวน 3 เหรียญ เหรียญที่มีสกปรกใส่ในแก้วน้าผลไม้ผสมเกลือละลายน้า เหรียญที่ผ่านการแช่น้าผลไม้ผสมเกลือละลายน้า 30 นาที
  • 6. บทที่ 5 สรุปผลและอภิปรายผลการดํานินการจัดทําโครงงาน จากผลการทดลองสรุปได้ดังนี้ 1. เมื่อนาน้าส้มผสมกับน้ามะนาวจะได้ค่า pH เท่ากับ 4.0 2. เมื่อนาน้ามะนาวผสมกับน้าสับปะรดจะได้ค่า pH เท่ากับ 3.0 3. เมื่อนาน้าสมผสมกับน้าสับปะรดจะได้ค่า pH เท่ากับ 4.5 แสดงว่ามื่อนาน้ามะนาวมาผสมกับน้าสับปะรดจะพบว่าค่าความเป็นกรดสูงกว่า น้ามะนาวผสมกัน้าส้ม และ น้าส้มผสมกับน้าสับปะรด นอกจากนี้เรายังพบว่าเมื่อนาน้าผลไม้ที่ได้จากการผสมกันดังกล่าวทั้ง 3 ชนิด มาเติม เกลือละลายน้าลงไปแล้วนาเหรียญที่มีคราบสกปรกใส่ลงไปตั้งเวลาไว้ประมาณ 30 นาที ภายหลัง 30 นาที นา เหรียญออกมาล้างน้าสะอาดพบว่าเหรียญที่อยู่ในน้าผสมไม้ที่มีค่า pH สูงที่สุดมี่ความสะอาดมากที่สุด เพราะ กรดที่เข้มข้นจะมีฤทธิ์การกัดกร่อนมากที่สุดตามลาดับความเข้มข้นของกรด ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการทดลอง 1. สามารถนาน้าผลไม้มาทาความสะอาดเหรียญที่มีคราบสกปรกได้ 2. สามารถทราบถึงฤทธิ์ของกรดที่กัดกร่อนคราบสกปรกบนเหรียญได้ 3. สามารถทราบว่าน้าผลไม้ชนิดใดมีค่าความเป็นกรดมากและมีฤทธิ์การกัดกร่อนไดดีที่สุด ข้อเสนอแนะ 1. เราอาจนาน้าผลไม้ชนิดอื่นที่มีฤทธิ์เป็นกรดที่หาได้ง่ายตามครัวเรือนของคุณ ที่มา : http://www.learners.in.th/blogs/posts/349062
  • 7. 3. โครงงาน หน่อไม้ก้าจัดหนอน โครงงานหน่อไม้กําจัดหนอน ชื่อโครงงาน หน่อไม้กาจัดหนอน ผู้จัดทา นายเนรมิตร สินธุกูฏ นางสาวอานวย งามวาท นางสาวผกากรอง เพ็ญผาด ครูที่ปรึกษา นางสุภาพรรณ ดาษถนิม นางบุสดี การถัก ผลงาน รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 โครงงานวิทยาศาสตร์ ในงานนิทรรศการแสดง ผลงานการจัดการศึกษาของเทศบาลภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ณ สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ จังหวัดร้อยเอ็ด 1. ที่มาและความส้าคัญของปัญหา จากการศึกษาและสังเกต พบว่าประชาชนในชนบททางภาคอีสาน ชอบประกอบอาหารรับประทานเอง และ เครื่องปรุงในการประกอบอาหารที่ขาดไม่ได้ในแต่ละครัวเรือนคือ ปลาร้า ในครอบครัวหนึ่งเมื่อหาปลามาได้ ปริมาณมากจะนาไปจาหน่ายในรูปปลาสด เพื่อเป็นรายได้แก่ครอบครัว ที่เหลือจะแปรรูปเพื่อไว้รับประทาน ได้าน เช่น ปลาส้ม ปลาตากแห้ง และปลาร้า การทาปลาร้า ส่วนมากจะใช้ปลาตัวเล็กหลากหลายชนิดและเป็น ปลาที่ไม่สด ถ้านาไปซื้อขายกันจะราคาถูก ขายไม่ได้ราคาเท่าที่ควร ดังนั้นชาวบ้านจึงนิยมทาเป็นปลาร้า หรือ ซื้อหามาทาปลาร้าไว้บริโภค วิธีการทาปลาร้าของชาวชนบท ก็คือ การนาปลาที่ได้มา ขอดเกล็ดควักไส้ออก แล้วล้างน้าให้สะอาด ใส่ภาชนะหมักด้วยเกลือสินเธาว์ ทิ้งไว้ประมาณ 1–2 คืนจากนั้นจะใช้ข้าวคั่วโขลกให้ แหลกพอสมควร นามาคลุกเคล้ากับปลาที่หมักไว้คลุกเคล้าให้เข้ากันดีแล้วนาบรรจุไว้ในภาชนะที่เรียกว่า “ ไห “ ปิดปากไหเก็บไว้ในครัวเรือนประมาณ 1 ปี นามาบริโภคได้ หรือครอบครัวที่ทาปริมาณมากจะนาไปจาหน่าย เป็นรายได้ต่อไป ปัญหาของปลาร้า ถ้าวิธีการทาไม่ดี ส่วนผสมไม่เหมาะสมกันจะทาให้ปลาร้านั้นเกิดหนอน ปลาร้า ทาให้เกิดความเสียหายต่อปลาร้า การนามาบริโภคหรือการนาไปจาหน่าย ตัวการสาคัญที่ทาให้ปลาร้า เกิดหนอน คือการที่แมลงวันวางไข่ที่ไหปลาร้า และหรือแมลงหวี่ชนิดหนึ่งวางไข่ที่ปลาร้า จากปัญหาดังกล่าว มนุษย์จึงศึกษาวิธีกาจัดหนอนในปลาร้าด้วยวิธีการต่าง ๆ ซึ่งอาจได้ผลดี เสีย แตกต่างกันไป การกาจัดหนอนในปลาร้า โดยการควบคุมต้นเหตุ คือ แมลงวันหรือแมลงหวี่ โดยการกาจัดจจัยในการดารง ชีวิต คือ ที่อยู่อาศัย อาหาร และควบคุมความเหมาะสมต่อสภาพการดารงชีวิต หรือแม้แต่การป้องกันไม่ให้ แมลงดังกล่าวมารบกวน จะเป็นวิธีการที่ทาได้ยาก เพราะแหล่งเพาะเชื้อแมลงวันอยู่ได้ในสถานที่ต่างๆ มากมาย การ
  • 8. กาจัดวิธีนี้จึงใช้ไม่ได้ผล การกาจัดโดยการเขี่ยไข่แมลงวันหรือแมลงหวี่ทิ้ง เป็นสิ่งที่ทาไม่ได้ผลดีเท่าที่ควร เพราะบางครั้งไข่ตกหล่นลง ไปรวมอยู่ในปลาร้าขณะที่มีการเขี่ยทิ้ง หรือระยะเวลาการฟักไข่เป็นตัวหนอนอ่อน ใช้ระยะเวลาสั้น จึงทาให้ เกิดหนอนในปลาร้าและไม่ได้ผล การกาจัดโดยการนาปลาร้าที่มีหนอนไปต้ม เป็นวิธีการกาจัดที่ทาให้หนอน ปลาร้าตายหมดจริง แต่ไม่เหมาะหรือไม่สะดวก ในกรณีที่ปลาร้ามีปริมาณมากๆและทาให้การนาไปจาหน่าย ไม่ได้ราคา และไม่สะดวกต่อการเก็บ การกาจัดโดยการใช้สารเคมี ไม่เหมาะสมเพราะเป็นอันตรายต่อมนุษย์ และสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ยังมีปัญหาเรื่องการระวังรักษาเพื่อความปลอดภัยและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย จึงไม่ นิยม การกาจัดหนอนปลาร้า เพื่อไม่ให้เกิดความยุ่งยากสิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย และไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์และ สิ่งแวดล้อม รวมทั้งเป็นการรักษารดชาดของปลาร้าคงเดิมไม่เปลี่ยนแปลง เพื่อช่วยค้นหาแนวทางแก้ปัญหา หนอนปลาร้า สมาชิกในกลุ่มจึงจัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง หน่อไม้กาจัดหนอนปลาร้า เพื่อแก้ไขปัญหา ในปัจจุบันและอนาคต 1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1.2.1 เพื่อศึกษาว่าหน่อไม้กาจัดหนอนปลาร้าได้ 1.2.2 เพื่อศึกษาเปรียบเทียบหน่อไม้กับการกาจัดหนอนปลาร้า เมื่อกาหนดชนิดของหน่อไม้ที่ต่างกัน 1.2.3 เพื่อศึกษาสาเหตุที่หน่อไม้ทาให้หนอนในปลาร้าตาย 1.2.4 เพื่อศึกษาช่วงระยะเวลาใดมีผลต่อการกาจัดหนอนปลาร้ามากที่สุด 1.3 สมมติฐาน 1.3.1 ชนิดของหน่อไม้กาจัดหนอนได้ไม่แตกต่างกัน 1.3.2 หน่อไม้สดกาจัดหนอนปลาร้าได้ดีกว่าหน่อไม้แห้ง และหน่อไม้อัดปี๊ป 1.3.3 รสขื่นของหน่อไม้ทาให้หนอนในปลาร้าตายได้ 1.3.4 ช่วงเวลาไม่เป็นอุปสรรคกับหน่อไม้กาจัดหนอนปลาร้า 1.4 ขอบเขตของการศึกษา 1.4.1 ศึกษาเฉพาะหน่อไม้ไผ่ตง หน่อไม้บ้าน ที่เป็นหน่อไม้สด หน่อไม้แห้ง หน่อไม้อัดปี๊ป 1.4.2 อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง ใช้กล่องพลาสติก บิกเกอร์
  • 9. 1.4.3 ผลจากการศึกษาจากัดปริมาณหน่อไม้ และหนอนในปลาร้าในกล่องพลาสติก ปริมาณของปลาร้า 1 กิโลกรัม ต่อหน่อไม้ 30 กรัม 1.4.4 สถานที่ศึกษาทดลอง ตั้งกล่องพลาสติกใส่ปลาร้าไว้ที่สนามสอนหย่อมที่บ้าน 1.4.5 ช่วงเวลาในการทดลอง ระหว่างเวลา 08.00 - 06.00 น. วันรุ่งขึ้น แบ่งการทดลอง 3 ช่วง คือ ช่วงแรก 098.00 น. , ช่วงที่ 2 เวลา 13.00 น. และช่วงที่ 3 เวลา 17.30 น. แต่ละช่วงของการทดลองใช้เวลาสังเกตผล ทุกๆ 5 ชั่วโมง 1.5 นิยามเชิงปฏิบัติการ 1.5.1 หนอนหรือหนอนปลาร้า หมายถึง หนอนที่เกิดจากแมลงวันวางไข่ในปลาร้าและฟักเป็นตัวหนอน 1.5.2 กาจัด หมายถึง ทาให้หนอนตายหรือหมดไปจากปลาร้า 1.6 ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการทดลอง 1.6.1 ตัวแปรอิสระ การทดลองที่ 1 ชนิดของหน่อไม้สดที่ใช้ทดลอง หน่อไม้ไผ่ตง หน่อไม้ไผ่บ้าน การทดลองที่ 2 ชนิดของหน่อไม้สด หน่อไม้แห้ง หน่อไม้อัดปี๊ป การทดลองที่ 3 ช่วงระยะเวลา 08.00 น. , 13.00 น. และ 17.30 น. 1.6.5 ตัวแปรตาม การทดลองที่ 1 ลักษณะของหนอนในปลาร้า เมื่อใส่หน่อไม้ในปลาร้า การทดลองที่ 2 ลักษณะของหนอนในปลาร้า เมื่อใส่ชนิดของหน่อไม้ต่างกันลงในปลาร้า การทดลองที่ 3 ลักษณะของหนอนในปลาร้า เมื่อใส่หน่อไม้ลงในปลาร้าในช่วงระยะเวลาต่าง ๆ 1.5.2 ตัวแปรที่ควบคุม การทดลองที่ 1 1. ขนาดและชนิดของกล่องพลาสติกทดลอง 2. ช่วงระยะเวลาการทดลอง และการสังเกตการทดลอง เวลา 08.00 น. สังเกตทุก ๆ 5 ชั่วโมง
  • 10. 3. ปริมาณของหน่อไม้ที่ใช้ 4. ปริมาณของปลาร้า และจานวนตัวหนอน 5. ชนิดของหน่อไม้ไผ่ตง หน่อไม้บ้าน การทดลองที่ 2 1. ขนาดและชนิดของกล่องพลาสติกทดลอง 2. ช่วงระยะเวลาการทดลอง และสังเกตผลการทดลอง ทุก ๆ 5 ชั่วโมง 3. ชนิดของหน่อไม้สด หน่อไม้แห้ง หน่อไม้อัดปี๊ป 4. ปริมาณของหน่อไม้ที่ใช้ 5. ปริมาณของปลาร้า และจานวนหนอน 6. สถานที่ การทดลองที่ 3 1. ขนาดและชนิดของกล่องพลาสติก ทดลอง 2. ชนิดของหน่อไม้ 3. ปริมาณของหน่อไม้ที่ใช้ 4. ปริมาณปลาร้า และจานวนหนอน 5. ช่วงระยะเวลาการทดลองและสังเกตผลการทดลอง ทุก ๆ 5 ชั่วโมง 6. สถานที่ 1.7 ข้อตกลงเบื้องต้น การศึกษาหน่อไม้กาจัดหนอนปลาร้า จะศึกษาเฉพาะการใช้หน่อไม้ไผ่ตง หน่อไม้ไผ่บ้าน และประเภทของ หน่อไม้สด หน่อไม้แห้ง และหน่อไม้อัดปี๊ป ที่ใช้กาจัดหนอนในปลาร้าเท่านั้น ส่วนหน่อไม้อื่น ๆ และหนอนชนิด อื่น ๆ จะไม่ศึกษาในที่นี้
  • 11. 1.8 กระบวนการศึกษา การศึกษาหน่อไม้กาจัดหนอนปลาร้า ทาการศึกษาตามขั้นตอนของกระบวนการวิทยาศาสตร์ ดังนี้ ขั้นที่ 1 สังเกตเพื่อกาหนดปัญหา สิ่งที่สังเกต คือเห็นชาวบ้านโคกน้าเกลี้ยง ตาบลโพนทอง อาเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ นาหน่อไม้และแขนง ของหน่อไม้ มาใส่ลงในปลาร้า ผลการสังเกต 1. เห็นปลาร้ามีหนอน 2. เห็นไหปลาร้าและปลาร้าในไหมีหนอนตัวเล็กปริมาณมาก 3. แมลงวันและแมลงหวี่บินตอมไหปลาร้า 4. เมื่อใส่หน่อไม้สดลงไปในไหปลาร้าที่มีหนอน ทาให้หนอนตาย ก้าหนดปัญหา 1. ชนิดของหน่อไม้ต่างกันมีผลต่อการกาจัดหนอนปลาร้ามากน้อยหรือต่างกัน อย่างไร 2. หน่อไม้สด หน่อไม้แห้ง และหน่อไม้อัดปี๊ป กาจัดหนอนปลาร้า ต่างกัน อย่างไร เพราะเหตุใด 3. ช่วงระยะเวลาการกาจัดหนอนปลาร้าด้วยหน่อไม้ มีผลอย่างไร ขั้นที่ 2 ตั้งสมมติฐาน ขั้นที่ 3 ทดสอบสมมติฐาน โดยการทดลอง ดังนี้
  • 12. การทดลองที่ 1 เรื่องหน่อไม้ไผ่ตง และหน่อไม้บ้าน กาจัดหนอนปลาร้าได้ ต่างกันหรือไม่ การทดลองที่ 2 เรื่องหน่อไม้สด หน่อไม้แห้งและหน่อไม้อัดปี๊ป กาจัดหนอนได้ต่างกันหรือไม่ สาเหตุใดหน่อไม้ จึงทาให้หนอนในปลาร้าตายได้ การทดลองที่ 3 ช่วงระยะเวลาใดดีที่สุดในการใช้หน่อไม้กาจัดหนอนปลาร้า ขั้นที่ 4 วิเคราะห์ผลการทดลอง และสรุปผลกรทดลอง ขั้นที่ 5 นาหลักฐานที่สรุปได้จากการทดลองไปใช้ โดยการใช้หน่อไม้ไปกาจัดหนอนที่มีอยู่ในปลาร้าที่ใช้อยู่บ้าน 5.1 ทดลองใช้หน่อไม้กาจัดหนอนในปลาร้าที่เกิดจากแมลงวัน ทดลองใช้หน่อไม้กาจัดหนอนในปลาร้าที่เกิด จากแมลงหวี่ จากปลาร้าในไหจริงที่ชาวบ้านทาแล้วเกิดหนอน http://www.tet2.org/index.php?lay=show&ac=article&Id=560699&Ntype=3
  • 13. 4. โครงงานเศษเทียนผสมสมุนไพรไล่ยุง ชื่อโครงงาน เศษเทียนผสมสมุนไพรไล่ยุง ผู้จัดทํา นายกิตติศักดิ์ ญาณกาย นางสาวอรวรรณ ภูทองแหลม นางสาวอรสุดา พงษ์ละออ ครูที่ปรึกษา นางสุภาพรรณ ดาษถนิม นางสุพรรณี ถนอมสงัด ผลงาน โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ปีการศึกษา 2549 จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า 1. เพื่อเป็นการนาเศษเทียนที่เหลือใช้แล้วนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ 2. เพื่อศึกษาว่าเศษเทียนผสมกับพืชสมุนไพรไล่ยุงได้ 3. เพื่อศึกษาชนิดของสมุนไพรกับการไล่ยุง สมมติฐาน 1. เศษเทียนผสมกับพืชสมุนไพรไล่ยุงได้ 2. เศษเทียนผสมใบตะไคร้หอมปั่นตากแห้ง สามารถไล่ยุงได้ดีกว่าเศษเทียนผสมเปลือกมะกรูดปั่นตากแห้งและ เศษเทียนผสมเปลือกส้มปั่นตากแห้ง ขอบเขตการศึกษา เศษเทียนที่หลอมเหลวแล้วผสมใบตะไคร้หอม ปั่นตากแห้ง เปลือกมะกรูดปั่นตากแห้ง และ เปลือกส้มปั่นตาก แห้ง
  • 14. อุปกรณ์ในการทดลอง 1. ใบตะไคร้หอม เปลือกมะกรูด เปลือกส้ม ที่ปั่นให้ละเอียดแล้วนาไป ตากแห้ง 2. เศษเทียน 3. สีเทียน 4. แก้ว 5. ไส้เทียน ยาว 45 นิ้ว 6. กระดาษที่รองก้นแก้ว สูง 45 นิ้ว 7. ไม้ 8.เครื่องปั่นผลไม้ 9.บีกเกอร์ ขนาด 250 ลูกบาศก์เซนติเมตร 10.บีกเกอร์ ขนาด 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร 11.ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์ 12.แท่งแก้วคนสาร 13.เตารีด 14.ไม้ขีดไฟ 15.เครื่องชั่ง 16.ตู้ ขนาดกว้าง 18 นิ้ว จานวน 3 หลัง 17.ยุง 18.กระชอน 19.ที่กรอง ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการทดลอง ตัวแปรต้น เศษเทียน ใบตะไคร้หอมปั่นตากแห้ง เปลือกมะกรูดปั่นตากแห้ง เปลือกส้มปั่นตากแห้ง ตัวแปรตาม ไล่ยุงได้ ตัวแปรควบคุม
  • 15. * เศษเทียนที่หลอมเหลวแล้ว 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร * ใบตะไคร้หอมปั่นตากแห้ง 5,10 กรัม * เปลือกมะกรูดปั่นตากแห้ง 5,10 กรัม * เปลือกส้มปั่นตากแห้ง 5,10 กรัม * ตู้ขนาดกว้าง 18 นิ้ว ยาว 45 นิ้ว สูง 45 นิ้ว จานวน 3 หลัง * ยุงในตู้จานวนหลังละ 50 ตัว * ใช้เวลาในการทดลอง 30 นาที * สถานที่ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์โรงเรียนเทศบาล ๒ ผลการทดลอง 1. เศษเทียนผสมใบตะไคร้หอมปั่นตากแห้งไล่ยุงได้ดีรองลงมาคือเศษเทียนผสมเปลือกมะกรูดปั่นตากแห้งและ เศษเทียนผสมเปลือกส้มปั่นตากแห้ง( ไม่กรองกากสมุนไพร ) 2. เศษเทียนผสมใบตะไคร้หอมปั่นตากแห้งไล่ยุงได้ดีที่สุดรองลงมาคือเศษเทียนผสมเปลือกมะกรูดปั่นตากแห้ง และเศษเทียนผสมเปลือกส้มปั่นตากแห้ง แห้ง ตามลาดับ และพบว่ายุงตายด้วย
  • 16. ( กรองกากสมุนไพรออก) สรุปผลการทดลอง * จะเห็นว่าเศษเทียนผสมใบตะไคร้-หอมปั่นตากแห้งไล่ยุง ได้ดีที่สุดรองลงมาคือเศษเทียนผสมเปลือกมะกรูด ปั่น ตากแห้งและเศษเทียนผสมเปลือกส้มปั่นตากแห้ง ตามลาดับ และพบว่ายุงตายด้วย( กรองกากสมุนไพร ออก) * เศษเทียนที่เหลือใช้แล้วสามารถนามาผสมกับสมุนไพรให้เกิดประโยชน์ได้ * ทาให้ทราบชนิดของสมุนไพรสามารถไล่ยุงได้ ข้อเสนอแนะการทดลอง 1. เมื่อผสมสีเทียนอาจได้ไม่ตรงตามต้องการ เช่น ผสมสีฟ้าได้เป็นสีฟ้าอมเขียว เพราะเศษเทียนมีสีเหลืองจึงทา ให้สีคลาดเคลื่อน ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน ด้านการศึกษา 1. ทาให้ทราบประโยชน์ของเศษเทียนที่เหลือใช้แล้ว 2. ทาให้ทราบว่าเศษเทียนสามารถผสมกับพืชสมุนไพรไล่ยุงได้ 3. ทาให้ได้ทราบว่าชนิดของสมุนไพรสามารถไล่ยุงได้ ด้านเศรษฐกิจ สามารถนาผลิตภัณฑ์ที่ได้ไปจาหน่ายเป็นการเสริมรายได้แก่ครอบครัว ที่มา : http://www.tet2.org/index.php?lay=show&ac=article&Id=560698&Ntype=3
  • 17. 5. โครงงานสีผมสวยด้วยใบกาว ชื่อโครงงาน สีผมสวยด้วยใบกาว ผู้จัดทา เด็กหญิงลัดดาวัลย์ ฆารศรี เด็กหญิงกาญจนา พละสินธุ์ เด็กหญิงธิติมา น้อยนาจารย์ ครูที่ปรึกษา นางสุภาพรรณ ดาษถนิม นางสุพรรณี ถนอมสงัด ผลงาน เข้าร่วมการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เนื่องในสัปดาห์ วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร วันที่ 18-19 สิงหาคม 2549 จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า 1. เพื่อหาอัตราส่วนที่เหมาะสมระหว่างมวลของใบกาวสด และปริมาตรของน้าสะอาดในการสกัดสารจากใบ กาวสด 2. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการเปลี่ยนสีผมของสารสกัดจากใบกาวสดตามอัตราส่วนที่เหมาะสม
  • 18. 3. เพื่อหาอัตราส่วนที่เหมาะสมระหว่างมวลของผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์และปริมาตรของน้าสะอาดในการนาผง สกัดใบกาวบริสุทธิ์ไปใช้ในการเปลี่ยนสีผม 4. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการเปลี่ยนสีผมของผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์ตามอัตราส่วนที่เหมาะสม 5.เพื่อนาพืชในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์และเพื่อความปลอดภัยของสุขภาพ สมมติฐานของการศึกษา 1. สารสกัดจากใบกาวจะมีประสิทธิภาพในการทาให้สีผมเปลี่ยนไป 2. ผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์จะมีประสิทธิภาพในการเปลี่ยนสีผมได้เหมือนกับสารสกัดใบกาวสดและสามารถ นามาใช้แทนกันได้ วัสดุ-อุปกรณ์และวิธีดําเนินการ มวลของใบกาว : ปริมาตรของน้าสะอาด 100 กรัม : 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร 1. นาใบกาวสดมวล 100 กรัม มาปั่นให้ละเอียด 2. นาใบกาวที่ได้จากข้อ 1 ใส่ลงในกะละมังใบเล็ก 3.เติมน้าสะอาด ปริมาณ 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร ลงในกะละมังที่มีใบกาวปั่นละเอียด 4.คั้นใบกาวในกะละมังใบเล็กจนกระทั่งใบมีสีซีด 5.กรองเอาสารที่ได้จากข้อ 4 โดยใช้ผ้าขาวบางและใช้ตะแกรงกรอง 6.ได้สารที่สกัดมาจากการสกัดใบกาว 7.นาสารสกัดใบกาวสดลงในหลอดทดลองเพื่อเปรียบเทียบกับอัตราส่วนอื่น วัสดุ-อุปกรณ์ 1.ตัวอย่างเส้นผมที่นามาทดลอง 2.สารสกัดใบกาวสด ตามอัตราส่วนที่เลือกไว้ 3.น้าเปล่า
  • 19. วิธีดําเนินการทดลอง 1.นาสารสกัดจากใบกาวสด ตามอัตราส่วนที่กาหนดไว้มาชโลมเส้นผมที่นามาทดลอง 2.หมักตัวอย่างผสมกับสารสกัดใบกาวสดโดยหมักไว้นาน 30 นาที 3.ครบ 30 นาที แล้วล้างออกด้วยน้าเปล่า 4.สังเกตการเปลี่ยนแปลงของสีผม วัสดุ-อุปกรณ์ 1. ใบกาวแห้ง มวล 150 กรัม 2. เครื่องปั่นผลไม้จานวน 1 เครื่อง 3. เครื่องชั่ง จานวน 1 เครื่อง 4. ผ้าขาวบาง จานวน 1 ผืน 5. บีกเกอร์ จานวน 2 ใบ 6. น้าสะอาด จานวน 60 ลูกบาศก์เซนติเมตร
  • 20. วิธีด้าเนินการทดลอง ขั้นเตรียมผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์ นาใบกาวแห้ง มวล 150 กรัมใส่ลงในโถเครื่องปั่น และปั่นจนกระทั่งได้ผงใบกาวบริสุทธิ์ที่ละเอียด แล้ว กรอง ด้วยผ้าขาวบางอีกครั้ง เพื่อให้ได้ผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์ที่มีขนาดละเอียดเล็กที่สุด ขั้นการหาอัตราส่วนที่เหมาะสม 1.ชั่งผงใบกาวบริสุทธิ์ มวล 5 กรัม และ 10 กรัม ใส่ลงในบีกเกอร์ 2 ใบ 2.เติมน้าลงในบีกเกอร์ที่มีผงใบกาวบริสุทธิ์ใบละ 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร 3.สังเกต การรวมตัวเป็นเนื้อเดียวของสาร วัสดุ-อุปกรณ์ 1.ผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์ มวลตามอัตราส่วนที่เลือกไว้ 2.น้าสะอาด ปริมาตรตามอัตราส่วนเหมาะสมที่เลือกไว้ 3.ตัวอย่างเส้นผมที่นามาทาการทดลอง วิธีดําเนินการทดลอง 1.นาผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์ใส่ลงในบีกเกอร์ แล้วเติมน้าสะอาดลงไปในบีกเกอร์มวลของผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์ต่อ ปริมาตรของน้าสะอาด เป็นไปตามอัตราส่วนที่เลือกไว้ 2.นาเอาส่วนผสมของข้อที่ 1 มาชโลมตัวอย่างเส้นผมที่นามาทดลอง 3.หมักตัวอย่างผมกับผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์ไว้นาน 30 นาที 4.ครบ 30 นาทีแล้วล้างออกด้วยน้าเปล่า 5.สังเกตการเปลี่ยนแปลงของสีผม ผลการดําเนินการ ตอนที่ 1 อัตราส่วนที่เหมาะสมระหว่างมวลของใบกาวสด กับปริมาตรของน้าสะอาด คือ มวลใบกาวสด : ปริมาตรน้าสะอาด ผลการสังเกต
  • 21. 50 กรัม : 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร100 กรัม : 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร ได้ของเหลวสีเขียวอมเหลืองได้ของเหลว สีเขียวเข้มอมเหลือง ทดลองหาอัตราส่วนที่เหมาะสมระหว่างมวลของใบกาวสดกับปริมาตรน้าสะอาด อัตราที่เหมาะสม คือ มวล ของใบกาวสด 100 กรัมต่อน้าสะอาด 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร เพราะจะให้สารสกัดจากใบกาวสดมีสีเข้มที่สุด ตอนที่ 2 ทดสอบประสิทธิภาพในการเปลี่ยนสีของผมเมื่อทดสอบกับอัตราส่วนของสารสกัดใบกาวสดที่เลือกไว้ ( มวลของใบกาวสด 100 กรัมต่อน้าสะอาด 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร ) ระยะเวลาในการหมักผม การเปลี่ยนของสีผม 30 นาที - ส่วนผมที่เคยเป็นสีขาวจะเปลี่ยนเป็นสีส้มแดง- ส่วนผมที่เคยเป็นสีดาจะเปลี่ยนเป็นสีน้าตาล ทดลอบหาประสิทธิภาพในการเปลี่ยนสีของผมเมื่อทดสอบกับอัตราส่วนของสารสกัดใบกาวสด คือ มวลของใบ กาวสด 100 กรัมต่อน้าสะอาด 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร ผลการทดสอบประสิทธิภาพการเปลี่ยนสีผม คือ ผมที่ เคย เป็นสีขาวจะเปลี่ยนเป็นสีส้มแดงส่วนผมที่เคยเป็นสีดาจะเปลี่ยนเป็นสีน้าตาล ตอนที่ 3 การทดสอบหาอัตราส่วนที่เหมาะสมระหว่างมวลของผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์กับปริมาตรของน้าสะอาด ใน
  • 22. การนาผงสกัดไปใช้ในการเปลี่ยนสีผม มวลผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์ : ปริมาตรน้าสะอาด ผลการสังเกต 5 กรัม : 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร10 กรัม : 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร ผงสกัดใบกาวรวมเป็นเนื้อเดียวกันกับน้าได้ พอดี ผงสกัดใบกาวบางส่วนที่ไม่รวมเป็นเนื้อเดียวกันกับน้า ทดสอบหาอัตราส่วนที่เหมาะสมระหว่างมวลของผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์กับปริมาตรของน้าสะอาดในการนาผง สกัดไปใช้ในการเปลี่ยนสีผม อัตราส่วนที่เหมาะสมคือ มวลของผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์ 5 กรัมต่อปริมาตรของน้า สะอาด 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร เพราะผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์จะรวมเป็นเนื้อเดียวกับน้าอย่างลงตัวพอดี ตอนที่ 4 ทดสอบประสิทธิภาพในการเปลี่ยนสีผมของผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์ตามอัตราส่วน มวลของผงสกัดใบ กาว บริสุทธิ์ 5 กรัม ต่อน้า 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร ระยะเวลาในการหมักผม การเปลี่ยนของสีผม 30 นาที - ส่วนผมที่เคยเป็นสีขาวจะเปลี่ยนเป็นสีน้าตาลทอง- ส่วนผมที่เคยเป็นสีดาจะเปลี่ยนเป็นสีน้าตาล ทดสอบประสิทธิภาพการเปลี่ยนสีผม ของผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์ตามอัตราส่วน มวลของผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์ 5 กรัม ต่อน้า 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร ผลการทดสอบประสิทธิภาพการเปลี่ยนสีผม คือ ผมที่เคยเป็นสีขาวจะ เปลี่ยนเป็นสีน้าตาลทองส่วนผมที่เคยเป็นสีดาจะเปลี่ยนเป็นสีน้าตาล ตอนที่ 5 การเผยแพร่เพื่อนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวัน จะเห็นว่า สารสกัดจากใบกาวสดและผง สกัด ใบกาวบริสุทธิ์สามารถเปลี่ยนสีผมจากสีเดิม เป็นสีโทนน้าตาล ดังนั้นจึงเหมาะที่นามาใช้ในการเปลี่ยนสีผมแทน น้ายาเปลี่ยนสีผมที่ขายตามท้องตลาดทั่วไปเพราะไม่เป็นอันตรายต่อเส้นผมและหนังศีรษะและประหยัดด้วย
  • 23. สรุปผลและอภิปรายผล สรุปผลการทดลอง ตอนที่ 1 อัตราส่วนที่เหมาะสมระหว่างมวลของใบกาวสด กับปริมาตรของน้าสะอาด คือ มวลของใบกาวสด 100 กรัม ต่อน้าสะอาด 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร เพราะจะให้สารสกัดจากใบกาวสดมีสี เข้ม ที่สุด ตอนที่ 2 ประสิทธิภาพในการเปลี่ยนสีของผม คือ ใบกาวสด 100 กรัม ต่อน้าสะอาด 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร ผมที่ เคยเป็นสีขาวจะเปลี่ยนเป็นสีส้มแดง ส่วนผมที่เคยเป็นสีดาจะเปลี่ยนเป็นสีน้าตาล ตอนที่ 3 อัตราส่วนที่เหมาะสมระหว่างมวลของผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์กับปริมาตรของน้าสะอาดในการนาผง สกัดไป ใช้ในการเปลี่ยนสีผม คือมวลของผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์ 5 กรัมต่อปริมาตรของน้าสะอาด30 ลูกบาศก์- เซนติเมตร ซึ่งผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์จะรวมเป็นเนื้อเดียวกับน้าอย่างลงตัวพอดี ตอนที่ 4 ประสิทธิภาพในการเปลี่ยนสีผมของผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์ตามอัตราส่วนคือมวลของผงสกัดใบกาว บริสุทธิ์ 5 กรัม ต่อน้า 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร ผลการทดสอบประสิทธิภาพการเปลี่ยนสีผมคือ ผมที่เคยเป็นสีขาวจะ เปลี่ยนเป็นสีน้าตาลทองส่วนผมที่เคยเป็นสีดาจะเปลี่ยนเป็นสีน้าตาล ตอนที่ 5 การเผยแพร่เพื่อนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวัน จากการนาไปเผยแพร่ เพื่อนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวัน จะเห็นว่าสารสกัดจากใบกาวสด และผง สกัดใบกาวบริสุทธิ์ สามารถเปลี่ยนสีผมจากสีเดิมเป็นสีโทนน้าตาล ดังนั้นจึงเหมาะที่นามาใช้ในการเปลี่ยนสีผม แทนน้ายาสีผมที่ขายตามท้องตลาดทั่วไปเพราะไม่เป็นอันตรายต่อเส้นผมและหนังศีรษะและยังเป็นการ ประหยัด อีกด้วย
  • 24. อภิปรายผลการทดลอง จากการทดลองจะเห็นว่าสารสกัดใบกาวสดและผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์สามารถเปลี่ยนสีผมจากสีเดิมเป็นสีโทน น้าตาลได้ เพื่อให้สะดวกต่อการนาไปใช้ในการเปลี่ยนสีผม ควรใช้ผลิตภัณฑ์ผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์จะดีกว่า เพราะไม่ยุ่งยากในการเตรียมสารสกัดเพียงแค่เอาผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์ผสมกับน้าก็สามารถนาไปใช้ได้เลย ซึ่ง สะดวกต่อการนาไปใช้ มีกลิ่นหอมกว่าและสามารถเก็บไว้ได้นานกว่าอีกด้วย ถ้าต้องการให้มีสีอื่นผสมควรใช้พืช ชนิดอื่นมาเป็นส่วนผสม เช่น -ถ้าต้องการเปลี่ยนเป็นสีน้าตาลม่วง ควรใช้ดอกอัญชัน เป็นส่วนผสมและใช้น้ามะนาวผสมแทนน้าเปล่า -ถ้าต้องการเปลี่ยนสีน้าตาลช็อกโกแลต (สีน้าตาลไหม้)ควรใช้กาแฟเป็นส่วนผสม การใช้สารสกัดด้วยใบกาว เปลี่ยนสีผม สามารถทาได้ทุกเวลาที่ต้องการ ไม่ทาให้เกิดอันตรายต่อเส้นผมและหนังศีรษะ ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน 1. ได้อัตราส่วนที่เหมาะสมของใบกาวสดต่อน้าสะอาดในการทาสารสกัดใบกาว 2. ได้ทราบถึงประสิทธิภาพในการเปลี่ยนสีผมของสารสกัดใบกาวสด 3. ได้อัตราส่วนที่เหมาะสมของผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์ต่อน้าสะอาดในการเปลี่ยนสีผม 4. ได้ทราบถึงประสิทธิภาพในการเปลี่ยนสีผมของผงสกัดใบกาวบริสุทธิ์ 5. ได้นาพืชในท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์และปลอดภัยต่อสุขภาพ ข้อเสนอแนะ ควรทดลองนาพืชชนิดอื่นที่ให้สีแตกต่างกันมาเป็นส่วนผสม เพราะจะได้สีผมที่หลากหลายมาก ยิ่งขึ้น http://www.tet2.org/index.php?lay=show&ac=article&Id=560691&Ntype=3 https://sites.google.com/site/walaipornskb/khorng-ngan-khxmphiwtexr สืบค้นเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2555