SlideShare a Scribd company logo
1 of 304
Download to read offline
รายงานการสืบค้นข้อมูลความก้าวหน้ าและสถานะทาง
เทคโนโลยีชีวภาพของสิ่งมีชีวิตดัดแปลงทางพันธุกรรม (GMOs)
                ในประเทศสหรัฐอเมริกา




                              โดย

                    นาย นรินทร์ เรืองพานิช
                      ทีปรึกษาโครงการ
                        ่


       เสนอต่อสํานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
                                                            .)
                        30 ธันวาคม 2553
รายงานการสืบค้นข้อมูลความก้าวหน้าและสถานะทางเทคโนโลยีชวภาพของสิงมีชวตดัดแปลงทาง
                                                             ี         ่ ีิ
       พันธุกรรมในประเทศสหรัฐอเมริกา ภายใต้โครงการการดําเนินภารกิจ                 )
                                   ประจําปีงบประมาณ 2553
                                (มกราคม 2553 - ธันวาคม 2553)
            สํานักงานทีปรึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจํากรุงวอชิงตัน ดี.ซี.
                      ่




_________________________________________________________________________________________
รายงานฉบับนี้เป็ นลิขสิทธิของสํานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
                          ์
                                      .) หากนําไปใช้ประโยชน์โปรดอ้างอิงชื่อ สํานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี                                                                          .) ด้วย
คานา

         รายงานการสืบค้นข้อมูลความก้าวหน้าและสถานะทางเทคโนโลยีชวภาพของสิงมีชวตดัดแปลง
                                                                        ี            ่ ีิ
ทางพันธุกรรมในประเทศสหรัฐอเมริกา มีวตถุประสงค์การจัดทําเพื่อติดตามความรูและความก้าวหน้าทาง
                                           ั                                  ้
เทคโนโลยีของจีเอ็มโอในประเทศสหรัฐอเมริกาเพื่อใช้เป็ นข้อมูลสนับสนุ นการดําเนินงานวิจยและพัฒนา
                                                                                        ั
ของหน่ ว ยงานภาครัฐ สถาบัน การศึก ษา และภาคเอกชน ให้ม ีข ีด ความสามารถในการแข่ ง ขัน กับ
ต่างประเทศ อีกทัง เพิมความรูและความเข้าใจให้แก่ประชาชน วัตถุประสงค์ดงกล่าวเป็ นส่วนหนึ่งของ
                    ้ ่         ้                                           ั
ภารกิจ ของสํ า นัก งานที่ป รึก ษาด้า นวิท ยาศาสตร์แ ละเทคโนโลยี ประจํา ก รุง วอชิง ตัน ดี. ซี. อัน เป็ น
หน่วยงานภายใต้สานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
                     ํ
         คณะผู้จดทําหวังว่ารายงานฉบับนี้จะเป็ นประโยชน์และช่วยให้ผู้อ่านมีความรูทางด้านเทคโนโลยี
                 ั                                                              ้
จีเอ็มโอเพิมมากยิงขึน เพื่อนําไปใช้พจารณาถึงประโยชน์และโทษของจีเอ็มโอและใช้ในการตัด สินใจให้การ
           ่       ่ ้               ิ
สนับสนุ นหรือคัดค้านการพัฒนาจีเอ็มโอในประเทศไทยต่อไป ทังนี้รายงานฉบับนี้สามารถสืบค้นได้ทาง
                                                            ้
เว๊ปไซด์ http://www.ostc.thaiembdc.org


                                                     สํานักงานทีปรึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
                                                               ่
                                                                    ประจํากรุงวอชิงตัน ดี.ซี.
                                                                        30 ธันวาคม 2553
สารบัญ

เนื้ อหา                                                                                                                                      หน้ า

บทสรุปผูบริหาร................................................................................................................................. 1
          ้
บทนํา................................................................................................................................................ 3
บทที่ 1          ความสําคัญของเทคโนโลยีจเี อ็มโอ
                 1.1 ประวัตความเป็นมาของจีเอ็มโอ............................................................................. 4
                                           ิ
                 1.2 จีเอ็มโอคืออะไร..................................................................................................... 5
                 1.3 เทคนิคทีใช้ในการปรับปรุงพันธุกรรม..................................................................... 6
                                               ่
                 1.4 การแบ่งประเภทของจีเอ็มโอ
                         - จุลนทรียดดแปลงทางพันธุกรรม......................................................................... 8
                                         ิ       ์ ั
                         - พืชดัดแปลงทางพันธุกรรม................................................................................. 8
                         - สัตว์ดดแปลงทางพันธุกรรม.............................................................................. 15
                                             ั
บทที่ 2          สถานะทางเทคโนโลยีจเี อ็มโอในประเทศสหรัฐฯ
                 2.1 สถานะทางเทคโนโลยีของจุลนทรีย์ GM................................................................ 24
                                                                       ิ
                         - จุลนทรีย์ GM
                                 ิ                                                                                               ................... 24
                         - จุลนทรีย์ GM
                                   ิ                                                ................................................................ 28
                         - จุลนทรีย์ GM
                                     ิ                                   ........................................................................... 37
                         - จุลนทรีย์ GMิ                                                   …...................................................... 42
                         - ประโยชน์ดานอื่นๆ ของจุลนทรีย์ GM…………………………………………… .. 50
                                                     ้               ิ
                         - การยอมรับและโอกาสทางการค้า....................................................................... 51
                         - แนวโน้มการพัฒนาจุลนทรีย์ GM …………………………………………………..52
                                                              ิ
                         - สรุป.................................................................................................................. 52
                         - ข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็น................................................................................ 53
                 2.2 สถานะทางเทคโนโลยีของพืช GM…………………………………………………….54
                         - พืช GM เพื่อประโยชน์ดานการเกษตรและอาหารของมนุษย์............................... 54
                                                                 ้
                         - การวิเคราะห์ภาพรวมการปลูกพืช GM
                            ระหว่างปี 1996-2008....................................................................................... 70
                         - พืช GM                                              (Bio-Pharming)……………………………….. 78
                         - พืช GM สําหรับเป็ นอาหารสัตว์......................................................................... 87

                                                                           i
สารบัญ (ต่อ)

เนื้ อหา                                                                                                                          หน้ า

บทที่ 2          - การยอมรับพืช GM                                                     …............................................ 89
                - แนวโน้มการพัฒนาพืช GM                                                 …........................................... 94
                 - แนวโน้มการพัฒนาพืช GM                                                          ................................... 96
                 - สรุป..............................................................................................................100
                 - ข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็น............................................................................100
           2.3 สถานะทางเทคโนโลยีของสัตว์ GM……………………………………………… .102
                 - การแบ่งประเภทสัตว์ GM……………………………………………………… 103
                 - ประโยชน์ทางการแพทย์................................................................................105
                 - ประโยชน์ทางการเกษตรและสิงแวดล้อม........................................................113
                                                               ่
                      ั
                 - ปญหาและอุปสรรค........................................................................................119
                 - สัตว์ GM                      …..................................................................................121
                 - ความปลอดภัยของอาหารจากสัตว์ GM……………………………………… ..124
                 - แนวโน้มการพัฒนาสัตว์ GM..........................................................................124
                 - สรุป..............................................................................................................124
                 - ข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็น............................................................................125
           2.4 ตลาดการส่งออกสินค้าจีเอ็มโอของประเทศสหรัฐฯ................................................127
           2.5 ประโยชน์และข้อกังวลของผูบริโภคต่อจีเอ็มโอ......................................................132
                                                       ้
           2.6 กฎหมาย นโยบายและหน่วยงานทีควบคุมจีเอ็มโอ……………………………… ...135
                                                                 ่
           2.7 การรับรูและการยอมรับจีเอ็มโอของประชาชน.......................................................153
                        ้
                    ้                     ิ          ั
           2.8 การคุมครองทรัพย์สนทางปญญาและสิทธิบตร......................................................167
                                                                             ั
           2.9 หน่วยงานทีเกียวข้องกับการวิจยและพัฒนาจีเอ็มโอ
                             ่ ่                          ั
                 - หน่วยงานรัฐบาล สมาคม และองค์กรอิสระต่างๆ..............................................176
                 - สถาบันวิจยและพัฒนา ในสถาบันการศึกษา..................................................... 186
                                 ั
                 - บริษทและภาคเอกชน..................................................................................... 192
                          ั
           2.10 สรุป................................................................................................................... 222

                                                               ii
สารบัญ (ต่อ)

เนื้ อหา                                                                                                                                  หน้ า

บทที่ 3       สถานะทางเทคโนโลยีจเี อ็มโอ                                         …......................................................... 224
              3.1 นโยบายจีเอ็มโอ                             …............................................................................ 224
              3.2 ลําดับเหตุการณ์เทคโนโลยีจเี อ็มโอ                                            …........................................... 227
              3.3 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีจเี อ็มโอในประเทศไทย............................................ 230
              3.4 ความช่วยเหลือจากประเทศสหรัฐฯ...................................................................... 236
              3.5 การรับรูของประชาชน และการยอมรับ.................................................................238
                                ้
              3.6 กฎหมายควบคุม................................................................................................. 238
              3.7 การคัดค้านจีเอ็มโอ                                    ….................................................................. 242
              3.8 หน่วยงานรัฐบาลทีเกียวข้อง................................................................................ 246
                                                ่ ่
              3.9 โอกาสทางการค้า............................................................................................... 250
              3.10 หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และสมาคมต่างๆ ทีเกียวข้อง............................... 251
                                                                                                 ่ ่
              3.11 แนวโน้มการพัฒนาจีเอ็มโอ                                           ….................................................... 254
              3.12 สรุป................................................................................................................ 254
              3.13 ข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็น............................................................................... 255
อภิธานศัพท์.................................................................................................................................. 257
ภาคผนวก 1 แหล่งข้อมูลทีเกียวข้องกับจีเอ็มโอ............................................................................. 261
                                  ่ ่
ภาคผนวก 2 หน่วยงานรัฐบาลและสถานทีตดต่อทีเกียวข้องกับการดําเนินงานด้านจีเอ็มโอ.............. 267
                                                        ่ ิ         ่ ่
เอกสารอ้างอิง................................................................................................................................. 271




                                                                        iii
สารบัญตาราง

ตารางที่                                                                                            หน้ า

   1       แสดงโปรตีนทีเป็ นประโยชน์ทางการแพทย์ทได้จากนํ้านมของสัตว์เลียงลูกด้วยนม
                                        ่                        ่ี                  ้
           ทีถูกดัดแปลงทางพันธุกรรม Mammals transgenic)………………………………………20
               ่
   2       จุลนทรีย์ GM ทีสามารถย่อยสลายสารพิษทีปนเปื้อนอยู่ตามธรรมชาติ……………………28
                   ิ                      ่                    ่
   3       ตัวอย่างมาตรฐานการผลิตเอนไซม์เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร………………………… 36
   4       ผลิตภัณฑ์ป๋ ยชีวภาพทีวางจําหน่ ายในท้องตลาด……………………………………………42
                                      ุ         ่
   5       สรุปภาพรวม Therapeutic proteins                                                      GM…….. 49
   6       สายพันธุถวเหลือง GM ทีปลูกเป็นการค้าในประเทศสหรัฐฯ และสายพันธุทกําลังอยู่
                       ์ ั่                       ่                                        ์ ่ี
           ในขันตอนการพัฒนาในต่างประเทศ………………………………………………………… 58
                     ้
   7       สายพันธุถวเหลือง GM
                        ์ ั่
           เป็นการค้าได้ภายในอีก 5 ปี ข้างหน้า……………………………………………………… 58
   8       สายพันธุขาวโพด GM
                         ์ ้                                                           ธุขาวโพด GM
                                                                                         ์ ้
           ทีกําลังปลูกเป็ นการค้าในประเทศต่างๆ ทัวโลก…………………………………………… 59
                 ่                                           ่
   9       สายพันธุขาวโพด GM
                          ์ ้                       Regulatory Pipeline             …………………… 59
   10      สายพันธุขาวโพด GM
                           ์ ้                              dvance R
           ต่างประเทศ……………………………………………………………………………………61
   11      สายพันธุ์ Rapeseed GM                                             ใน        Regulatory
             dvanced R ……………………………………………………………………………… 61
   12      สายพันธุฝ้าย GM ทีปลูกเป็ นการค้าในประเทศสหรัฐฯ และต่างประเทศ………………… 63
                                ์           ่
   13      สายพันธุฝ้าย GM        ์                                             Regulatory Pipeline…… 63
   14      สายพันธุฝ้าย GM ทีอยูในขันตอน Advanced R&D ในประเทศสหรัฐฯ และต่างประเทศ
                                    ์         ่ ่ ้
           ซึงคาดว่าจะปลูกเป็นการค้าได้ภายในปี 2013……………………………………………… 64
             ่
   15      สายพันธุขาว GM   ์ ้
           สายพันธุขาว GM    ์ ้                      Regulatory pipeline               ………………… 65
   16      สายพันธุขาว GM     ์ ้                      dvanced R                                    …66
   17      สายพันธุมนฝรัง่ GM  ์ ั                       Regulatory        dvanced R
           สหรัฐฯ และต่างประเทศ………………………………………………………………………66
   18      สายพันธุ์ alfalfa GM                          Regulatory pipeline……………………………… 68

                                                   iv
สารบัญตาราง                   )

ตารางที่                                                                                                                     หน้ า

   19      พืช GM                                                                                       ……………….…69
   20      พืช GM                                          dvanced R
                  เป็ นการค้าได้ภายใน 5 ปี ข้างหน้า………………………………………………… 69
   21      ต้นทุนในการผลิตยารักษาโรคจากสิงมีชวตต่างๆ ………………………………………… 78
                                                  ่ ีิ
   22      พืนทีปลูกทดลองพืช GM
             ้ ่                                                                                             APHIS
           ระหว่างปี 1991-2004……………………………………………………………………… 81
   23      การพัฒนาพืช GM เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ของหน่ วยงานภาครัฐและเอกชน
           ในประเทศสหรัฐฯ และประเทศแคนาดา…………………………………………………… 82
   24      แสดงการเปรียบเทียบการผลิตยารักษาโรคจากสิงมีชวตชนิดต่างๆ……………………… 106
                                                                      ่ ีิ
   25      แสดงผลิตภัณฑ์โปรตีนทีเป็ นประโยชน์ทางการแพทย์ทกําลังพัฒนาเพื่อการค้า ………… 110
                                   ่                                           ่ี
   26      แสดงการพัฒนาเทคโนโลยี Xenotransplantation                                            ……………………… 112
   27      แสดงต้นทุนการผลิตโปรตีนทีเป็นประโยชน์ทางการแพทย์……………………………… 113
                                           ่
   28      แสดงตัวอย่างการพัฒนาสัตว์ GM                                ………………………………………… 118
   29      แสดงประสิทธิภาพ หรือความสําเร็จของการดัดแปลงพันธุกรรมในสัตว์ชนิดต่างๆ……… 120
   30      แสดงมูลค่าทางเศรษฐกิจของผลิตภัณฑ์ยารักษาโรค……………………………………… 120
   31      ตลาดส่งออกสินค้าเกษตรจีเอ็มโอทีสาคัญของประเทศสหรัฐฯ ในปี 2003………………… 127
                                                  ่ํ
   32      หน่วยงานและกฎหมายควบคุมจีเอ็มโอของประเทศสหรัฐฯ……………………………… 138
   33      หน่วยงานและกฎหมายควบคุมผลิตภัณฑ์ทได้จากจีเอ็มโอของประเทศสหรัฐฯ.......………139
                                                              ่ี
   34      แสดงการรับรูของประชาชนชาวอเมริกนต่อพืช GM และสัตว์ GM……………………… 153
                         ้                             ั
   35      แสดงแหล่งข่าวสารสําคัญทีผบริโภคใช้ในการรับทราบหรือเรียนรูถงเทคโนโลยีจเี อ็มโอ… 155
                                      ่ ู้                                                    ้ ึ
   36      แสดงการเปรียบเทียบการเชื่อถือของประชาชนต่อกลุ่มบุคคลต่างๆ เกียวกับจีเอ็มโอ…… 155          ่
   37      แสดงการเปรียบเทียบการยอมรับของผูบริโภคต่อสิงมีชวตดัดแปลงพันธุกรรม
                                                         ้               ่ ีิ
           ชนิดต่างๆ…………………………………………………………………………………… 156
   38      การยอมรับของผูบริโภคต่อพืช GM และ สัตว์ GM จําแนกตามเพศ อายุ และ
                            ้
           ระดับการศึกษา… ........................................................................................................ 157
   39      ความคิดเห็นของผูบริโภคทีตองการให้ FDA ออกข้อบังคับการติดฉลาก
                              ้        ่ ้
           ผลิตภัณฑ์จเี อ็มโอ…………………………………………………………………………… 163

                                                               v
สารบัญตาราง     )

ตารางที่                                                                หน้ า

   40      ตัวอย่างพันธุพชทีได้รบความคุมครอง……………………………………………………..174
                        ์ ื ่ ั        ้
   41      รายชื่อพืชดัดแปลงพันธุกรรมทีนําเข้ามาทดลองปลูกในประเทศไทย
                                         ่
           ระหว่างปีพ.ศ. 2537-2542……………………………………………………………… 231
   42      แสดงสถานะการวิจยและพัฒนาเทคโนโลยีของพืช GM ในประเทศไทย………………… 234
                             ั




                                      vi
สารบัญภาพ

ภาพที่                                                                                                         หน้ า

   1     หน่วยพันธุกรรมในเซลล์ของสิงมีชวต……………………………………………………... 5
                                        ่ ีิ
   2     วิธเี ทคนิครีคอมบิแนนท์ดเี อ็นเอ (recombinant DNA) ในเซลล์แบคทีเรีย……………….. 7
   3     แสดงวิธการถ่ายยีนเข้าสู่พชโดยวิธ ี Agrobacterium และวิธการใช้ Gene gun…………. 9
                     ี              ื                                  ี
   4     การถ่ายยีนด้วยวิธ ี Microinjection………………………………………………………… 16
   5     การถ่ายยีนด้วยวิธ ี Embryonic stem cell-mediated transfer…………………………… 17
   6     การถ่ายยีนด้วยวิธ ี Retrovirus-mediated transfer……………………………………… 18
   7     แสดงการสร้างแบคทีเรีย Pseudomonas สายพันธุ์ “Superbug”………………………… 25
   8     สัดส่วนการทดลองพืช GM ในแปลงทดลองของภาครัฐและเอกชน
         ระหว่างปี 1987 ถึง 2008………………………………………………………………… . 71
   9     จํานวนแปลงทดลองปลูกพืช GM ระหว่างปี 1987 ถึง 2008…………………………… 72
   10    จํานวนลักษณะโดยเฉลียของพืช GM
                                  ่                           …………………………………… 74
   11    จํานวนพืนที่  ้        )                       ช GM………………………………… 74
   12    จํานวนลักษณะของพืช GM ในแปลงทดลอง……………………………………………… 75
   13    จํานวนแปลงทดลองปลูกพืช GM ในลักษณะต่างๆ……………………………………… 75
   14    จํานวนแปลงทดลองปลูกของพืช GM ทีมความสําคัญทางเศรษฐกิจ.....………………… 76
                                                ่ ี
   15    จํานวนแปลงทดลองปลูกของพืช GM ชนิดอื่นๆ..………………………………………… 76
   16    พืนทีปลูก (เอเคอร์)
           ้ ่                                 GM              …………………………………… 77
   17    ลําดับเหตุการณ์ของการปลูกพืช GM อย่างเป็นการค้าของประเทศสหรัฐฯ……………… 77
   18    แสดงขันตอนการพัฒนาพืช PMPs………………………………………………………… 80
                 ้
   19    จํานวนพันธุพช GM์ ื                                   APHIS                                น
         แปลงทดลองได้ระหว่างปี 1987 ถึง 2003..................................................................... 90
   20    จํานวนพันธุพช GM ์ ื                                   APHIS              2005...................... 91
   21    จํานวนลักษณะทีสําคัญของพืช GM
                              ่                                          2005.................................. 91
   22    แสดงขันตอนการสร้างสัตว์ GM
                   ้                                                                                .............109
   23    แสดงกระบวนการผลิตและทําให้บริสุทธิ ์ของ ATryn นํ้านม GM ...................... 122

                                                      vii
สารบัญภาพ (ต่อ)

ภาพที่                                                                                                                            หน้ า

   24    ปลา GloFish®............................................................................................................. 123
   25    ประเทศคู่คาทีสาคัญ 5 อันดับแรก ทีนําเข้าสินค้าการเกษตรจากประเทศสหรัฐฯ............ 128
                     ้ ่ํ                                ่
   26    มูลค่าการนําเข้าสินค้าและส่วนแบ่งตลาดสินค้าการเกษตรของประเทศสหรัฐฯ
         ในสหภาพยุโรป........................................................................................................... 129
   27    ปริมาณการส่งออกสินค้าเกษตรของประเทศสหรัฐฯ ไปยังสหภาพยุโรป
         ระหว่างปี 1990-2003................................................................................................... 130
   28    หน่วยงานและกฎหมายควบคุมผลิตภัณฑ์จากจีเอ็มโอ................................................... 145
   29    ความคิดเห็นของประชาชนถึงประโยชน์ของเทคโนโลยีจเี อ็มโอ...................................... 154
   30    การรับรูถงผลิตภัณฑ์จเี อ็มโอทีวางขายในท้องตลาด..................................................... 154
                 ้ ึ                            ่
   31    การยอมรับของประชาชนต่อพืช GM                                                                  (PMPs)....................156
   32    ตัวอย่างแนวโน้มการยอมรับสิงมีชวตดัดแปลงพันธุกรรม............................................... 158
                                               ่ ีิ
   33    แนวโน้มการรับรูถงอาหาร GM
                           ้ ึ                                                            ............................................ 159
   34    ความคิดเห็นของประชาชนต่อการควบคุมอาหาร GM                                                         FDA.................... 159
   35    การสนับสนุ นของประชาชนชาวอเมริกนต่ออาหาร GM.................................................. 161
                                                              ั
   36    แสดงข้อมูลการตัดสินใจบริโภคอาหาร GM ระหว่างผูชายและผูหญิง.............................. 161
                                                                                  ้              ้
   37    แสดงจํานวนร้อยละความคิดเห็นของผูบริโภคถึงความปลอดภัยของอาหาร GM............. 162
                                                            ้
   38    การสนับสนุ นเทคโนโลยีจเี อ็มโอในแต่ละประเทศ........................................................... 165
   39    แสดงความเห็นการสนับสนุ นการพัฒนาเทคโนโลยีจเี อ็มโอ
                      อื่นๆ ทัวโลก.............................................................................................. 166
                                ่
   40    แสดงร้อยละการตัดสินใจซืออาหาร GM ้
                             ......................................................................................................... 166
   41    แนวโน้มการจดสิทธิบตรด้านเทคโนโลยีชวภาพทางการเกษตรในปี 1976-2000............. 169
                                   ั                            ี
   42    เทคโนโลยีต่างๆ ด้านเทคโนโลยีชวภาพทางการเกษตรทีได้ขอจดสิทธิบตร.................... 170
                                                       ี                               ่                      ั
   43    การแบ่งตามหน่วยงานทีจดสิทธิบตรด้านเทคโนโลยีชวภาพทางการเกษตร.................... 171
                                       ่             ั                              ี
                                                               viii
บทสรุปผูบริ หาร
                                                       ้

            ั ั
          ปจจุบน ความก้าวหน้ าด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยเฉพาะอย่างยิงในสาขาเทคโนโลยี ่
ด้านต่างๆ เช่น เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีพลังงาน นาโนเทคโนโลยี ตลอดจนความก้าวหน้าใน
ด้านวิศวกรรมได้ช่วยสร้างความสะดวกสบายในชีวตประจําวันและส่งเสริมคุณภาพชีวตให้ดยงขึน และ
                                                        ิ                                          ิ   ี ิ่ ้
                                                              ั
กลายเป็ นส่วนหนึ่งในชีวตประจําวัน อย่างไรก็ตาม ปจจัยทางด้านอาหารและยารักษาโรค ยังเป็ นปจจัย
                            ิ                                                                                 ั
สําคัญ ที่มนุ ษย์ต้องพึ่งพา และเทคโนโลยีชว ภาพเป็ นเทคโนโลยีหนึ่งที่มการนํ ามาใช้ประโยชน์ ใ นการ
                                            ี                                   ี
พัฒนาด้านอาหารและด้านการแพทย์เพื่อประชากรของโลก โดยเฉพาะอย่างยิงเทคโนโลยีด้านดัดแปลง่
พันธุกรรมสิงมีชวต หรือทีเรียกกันว่า จีเอ็มโอ (Genetically Modified Organisms; GMOs)
                 ่ ีิ         ่
                                 มีการพั      แล้วกว่า                   เพื่อรองรับการเพิมขึนของประชากร
                                                                                            ่ ้
โลกที่คาดว่าจะส่งผลกระทบถึงปริมาณการผลิตด้านอาหารและยารักษาโรคที่ยงมีไม่เพี ยงพอต่อความ
                                                                                      ั
ต้องการ และที่ผ่านมาประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้รบการยกย่องว่าเป็ นประเทศต้นกําเนิดและผู้นําด้าน
                                                          ั
เทคโนโลยีจเอ็มโอของโลก ได้ทําการวิจย ค้นคว้า และพัฒนาเทคโนโลยีจเี อ็มโอมาอย่างต่อเนื่อง ทังใน
                  ี                       ั                                                                     ้
พืช สัตว์ และจุลนทรีย์ โดยมุ่งเน้ นประโยชน์ ทางด้านอาหารและทางการแพทย์ เนื่องจากเทคโนโลยี
                      ิ
จีเอ็มโอมีศกยภาพที่จะปรับปรุงสิงมีชวตได้ทงด้านคุณภาพและปริมาณตามที่เราต้องการ เช่น การเพิม
             ั                       ่ ีิ       ั้                                                                  ่
ปริมาณผลผลิตของพืชเศรษฐกิจที่สําคัญ การเพิมคุณค่าทางอาหาร การผลิตโปรตีนทีเป็ นประโยชน์ทาง
                                                    ่                                            ่
การแพทย์ การพัฒนาวัคซีนและวิธการรักษาโรคร้ายแรง การเพิมความสามารถของจุลนทรียในการกําจัด
                                       ี                            ่                        ิ       ์
สารพิษในสิงแวดล้อม และการปรับปรุงคุณภาพดิน เป็นต้น
               ่
                    ั ั
          ในปจจุบน ได้พ บว่าพืชดัดแปลงพันธุ กรรมมีค วามก้าวหน้ าในการพัฒนามากที่สุ ด และได้รบ                     ั
อนุ ญาตให้ผลิตเป็ นการค้าได้เมื่อเปรียบเทียบกับการพัฒนาในจุลนทรีย์และสัตว์ จึงส่งผลให้ประเทศ
                                                                      ิ
สหรัฐอเมริกาสามารถขยายพืนทีเพาะปลูกและสามารถส่งออกพืชจีเอ็มโอมากที่สุดในโลก นอกจากนัน
                                ้ ่                                                                                   ้
ยังพบว่าประเทศอื่นๆ ได้ให้ความสนใจพัฒนาและเพาะปลูกพืชจีเอ็มโอมากขึ้น เช่น ประเทศแคนาดา
ประเทศเม็กซิโก ประเทศอินเดีย ประเทศจีน และประเทศฟิลปปินส์ เป็นต้น ิ
          อย่างไรก็ตาม ได้พบว่าการตระหนักรูของผูบริโภคในคุณประโยชน์ของเทคโนโลยีจเี อ็มโอยังมีไม่
                                              ้       ้
มาก รวมถึงยังขาดความรู้ค วามเข้าใจในเทคโนโลยีจเ อ็มโอ ทําให้ผู้บริโภคเกิดความกังวลถึงความ
                                                                ี
ปลอดภัยของผลิตภัณฑ์อาหารทีมจเี อ็มโอเป็ นส่วนประกอบ และมีการต่อต้านจีเอ็มโอขึนในหลายประเทศ
                                   ่ ี                                                         ้
โดยเฉพาะอย่างยิงในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรปและประเทศญี่ปุ่นทีมนโยบายไม่อนุ ญาตให้นําเข้าสินค้าที่
                        ่                                               ่ ี
มีจเอ็มโอเป็ นส่วนประกอบ หรือมีการจํากัดปริมาณการนํ าเข้า แม้แต่ในประเทศสหรัฐอเมริกาก็ยงมีการ
     ี                                                                                                      ั
ต่อต้านจากหลายกลุ่ม ไม่ว่าจะเป็ นนักวิชาการ ประชาชน และองค์กรอิสระต่างๆ นอกจากนี้ ยังมีคําถาม
ถึงความจําเป็ นในการดัดแปลงพันธุกรรมของสิงมีชวต โดยเฉพาะอย่างยิ่งการดัดแปลงพันธุกรรมในสัตว์
                                                   ่ ีิ
ที่ผู้บริโภคมีความรู้สกว่าเป็ นการทรมานสัตว์และขาดจริยธรรม และเทคโนโลยีจเอ็มโอสามารถที่จะลด
                          ึ                                                             ี
   ั                                                        ั
ปญหาความอดอยากของประชากรโลกได้จริงหรือไม่ ปญหาความอดอยากทีแท้จริงเกิดจากปริมาณอาหาร
                                                                                  ่
                                                        -1-
ไม่เพียงพอหรือเกิดจากความยากจน คําถามเหล่านี้เป็ นสิ่งที่นักวิทยาศาสตร์และผู้เกี่ยวข้องต้องนํ ามา
                                              ั
วิเคราะห์และพิจารณาเพือหาแนวทางแก้ปญหาให้ถูกต้องต่อไป
                              ่
         ในประเทศไทย เทคโนโลยีดดแปลงพันธุกรรมได้รบความสนใจมานานกว่า 20 ปีมาแล้ว และได้ม ี
                                          ั                 ั
                    ั                                     ่       ั ั
การศึกษาและวิจยมาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิงในพืช แต่ในปจจุบน ยังไม่มพชจีเอ็มโอชนิดใด
                                                                               ี ื
ได้รบอนุ ญาตให้ปลูกเพื่อการค้าได้ และพบว่า ถึงแม้ว่ามะละกอและฝ้ายเป็ นพืชทีมความก้าวหน้าในการ
       ั                                                                  ่ ี
พัฒนามากทีสุดและมีศกยภาพทีจะผลิตเพื่อการค้าได้กตาม แต่การพัฒนาดังกล่าวยังไม่สามารถพัฒนาไป
             ่              ั       ่                   ็
ได้เนื่องจากมีการต่อต้านการพัฒนาพืชจีเอ็มโออย่างมากจากกลุ่มองค์กรอิสระ (NGO) อาทิ กลุ่มกรีนพีช
และกลุ่มเกษตรอินทรีย์ ในปี 2546 ในเรืองความปลอดภัย มาตรการการควบคุมจากหน่วยงานของรัฐบาล
                                            ่
ทีไม่มประสิทธิภาพ และผลกระทบต่อการส่งออกสินค้าทางการเกษตรของประเทศ อีกทัง ไม่มกฎหมาย
    ่ ี                                                                            ้       ี
ควบคุมจีเอ็มโอโดยเฉพาะ ทําให้รฐบาลมีคาสังห้ามปลูกทดลองพืชจีเอ็มโอ อย่างไรก็ตาม อาจกล่าวได้ว่า
                                      ั         ํ ่
ประเทศไทยมีความพร้อมในการพัฒนาจีเอ็มโอ ทังด้านบุคลากร เครืองมือและอุปกรณ์ หน่วยงาน
                                                      ้            ่
ควบคุม และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี อีกทัง กําลังมีการดําเนินการออกกฎหมายเพื่อควบคุมจีเอ็มโอ
                                                    ้
มาบังคับใช้ในไม่ชานี้  ้
         ถึงแม้ว่า ประเทศไทยจะมีความพร้อมในหลายด้านก็ตาม จากหลักฐานเชิงประจักษ์ ได้พบว่า
ความรู้และความเข้าใจเทคโนโลยีจเอ็มโอของประชาชนหรือผู้บริโภคชาวไทยยังมีอ ยู่จํากัด ซึ่งจะเป็ น
                                        ี
อุปสรรคสําคัญของการพัฒนาจีเอ็มโอในประเทศไทย หากรัฐบาลต้องการผลักดันการพัฒนาจีเ อ็มโอใน
ประเทศไทย ผู้ศกษามีความเห็นว่า รัฐบาลต้องมุ่งเน้ นการประชาสัมพันธ์เชิงรุกเพื่อให้ความรูและความ
                  ึ                                                                      ้
เข้าใจเกี่ยวกับข้อดีและข้อเสียของจีเอ็มโอแก่ประชาชนให้มากยิงขึน รวมถึงการแสวงหาวิธการแก้ไข
                                                              ่ ้                      ี
     ั                          ั
ปญหาการส่ งออก ซึ่ง เป็ นปญหาสําคัญ ที่จะส่ งผลกระทบต่ อ เกษตรกรโดยตรง เมื่อใดที่ประชาชนหรือ
ผูบริโภคมีความเข้าใจและเล็งเห็นถึงประโยชน์ของจีเอ็มโอมากกว่าโทษแล้ว ประชาชนจะให้การสนับสนุ น
  ้
การพัฒนาจีเอ็มโอเพิมมากขึน และส่งผลให้การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทยมี
                          ่       ้
ความก้าวหน้าเพิมขึนอีกแขนงหนึ่ง
                      ่ ้




                                              -2-
บทนา

                                 ิ        ั ั
            การดําเนินชีวตในปจจุบนก้าวหน้าไปพร้อมกับการพัฒนาเทคโนโลยีและวิทยาการใหม่ๆ ทีเกิดขึน      ่  ้
อย่างรวดเร็ว ทําให้ม ีเ ทคโนโลยีด้านใหม่ๆ ขึ้น มารับ ใช้มนุ ษ ย์อ ย่างต่ อ เนื่อ ง ไม่ว่าจะเป็ น เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีนาโน เทคโนโลยีดานวัสดุใหม่ ฯลฯ แต่กระนันเมื่อประชากรของโลก
                                                                ้                    ้
มีจานวนเพิมสูงขึนและภาวะความต้องการอาหารเพิมขึน อีกทัง มีภาวะโรคภัยอุบตใหม่ทมนุ ษย์ต้องเผชิญ
     ํ         ่       ้                                 ่ ้        ้              ั ิ       ่ี
มากยิงขึน ทําให้มนุ ษย์ดนรนค้นคว้าหาวิทยาการใหม่ขนมาเพื่อเอาชนะอุปสรรคทีเกิดขึน และเทคโนโลยี
         ่ ้                         ้ิ                      ้ึ                        ่   ้
ดัดแปลงพันธุกรรมของสิงมีชวต หรือเรียกโดยย่ อว่า “จีเอ็มโอ” Genetically Modified Organism: GMO)
                                        ่ ีิ
จึงได้รบการค้นคว้า และนําออกเผยแพร่เพื่อเป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ
          ั
            ในทศวรรษทีผ่านมา จีเอ็มโอ มีบทบาทต่อมนุ ษย์โลกในฐานะทีเป็ นเครื่องมือช่วยปรับปรุงผลผลิต
                               ่                                          ่
ด้านอาหารให้เพียงพอต่อปากท้องของมนุ ษย์หรือช่วยพัฒนาเทคนิคการรักษาพยาบาล ในวงการแพทย์
ได้มการกล่าวขานถึงพืชดัดแปลงทางพันธุกรรมอย่างต่อเนื่อง ทังในแง่บวกและแง่ลบ และได้มขอมูลด้าน
       ี                                                              ้                           ี้
การดัดแปลงพันธุกรรมพืชเพื่อเป็ นอาหารของมนุ ษย์ออกมาเผยแพร่อยู่เนือ งๆ อย่างเช่น การพัฒนาให้ม ี
ผลผลิตที่สูงขึน มีความต้านทานต่อโรคและแมลง แต่ความก้าวหน้าในเทคโนโลยีน้ี ยังคลอบคลุมไปถึง
                     ้
                   ิ         ์               ่ ั ั
จีเอ็มโอในจุลนทรียและสัตว์ ซึงปจจุบนประเทศสหรัฐอเมริกา กําลังพัฒนาสิงมีชวตทังสองอย่างต่อเนื่อง
                                                                               ่ ีิ ้
และยังมีขอมูลไม่แพร่หลายมากนัก สํานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (โดยสํานักงานที่
             ้
ปรึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจํากรุงวอชิงตัน) จึงให้มโครงการสืบค้นข้อมูลความก้าวหน้า
                                                                        ี
และสถานะเทคโนโลยีชวภาพด้าน GMOs (Genetically Modified Organisms) ในประเทศสหรัฐอเมริกา
                                   ี
เพื่อ นํ าออกเผยแพร่แ ละเป็ น ฐานข้อ มูล ในการสนับสนุ นและส่ งเสริมการพัฒ นาด้า นวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี รวมถึงพัฒนากระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมอาหารของประเทศไทยให้มประสิทธิภาพอย่าง      ี
ยังยืน เพื่อช่วยเพิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยในระยะยาวต่อไป
   ่                     ่
            รายงานสถานะเทคโนโลยีชวภาพด้าน GMOs (Genetically Modified Organisms) ในประเทศ
                                                ี
สหรัฐอเมริกาฉบับนี้ประกอบไปด้วยผลการศึกษาจํานวน 3 บท โดยบทที่ 1 กล่าวถึงความสําคัญของ
เทคโนโลยีจเี อ็มโอ บทที่ 2 แสดงผลการศึกษาสถานะทางเทคโนโลยีจเี อ็มโอในประเทศสหรัฐอเมริกา โดย
ศึกษาสถานะทางเทคโนโลยีชวภาพของจุลนทรียดดแปลงทางพันธุกรรม สถานะทางเทคโนโลยีของพืช
                                           ี       ิ ์ ั
ดัดแปลงทางพันธุกรรม และสถานะทางเทคโนโลยีของสัตว์ดดแปลงพันธุกรรม บทที่ 3 ศึกษาสถานะทาง
                                                                  ั
เทคโนโลยีสงมีชวตดัดแปลงพันธุกรรมในประเทศไทย และบทสรุปและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการ
                 ิ่ ี ิ
พัฒนาเทคโนโลยีชวภาพด้านจีเอ็มโอในประเทศไทย
                           ี




                                                  -3-
บทที่ 1
                         ความสาคัญของเทคโนโลยีจีเอ็มโอ
        จํานวนประชากรโลกทีเพิมสูงขึน ทําให้พนทีเพาะปลูกเพื่อใช้ในการผลิตอาหารของมนุษย์มจากัด
                              ่ ่     ้            ้ื ่                                      ีํ
และมนุษย์มการบริโภคในปริมาณทีมากขึน ผูผลิตอาหารจึงจําเป็ นทีตองหาเทคโนโลยีทช่วยเพิมผลผลิต
             ี                    ่     ้        ้                ่ ้             ่ี     ่
ให้เพียงพอต่อความต้องการของประชากรโลก GMOs หรือ จีเอ็มโอ (ต่อไปนี้จะใช้คําว่าจีเอ็มโอ เมือ        ่
กล่าวถึงสิงมีชวตดัดแปลงทางพันธุกรรม) จึงเป็ นอีกทางเลือกหนึ่ง ทีหลายประเทศให้ความสนใจและเฝ้า
           ่ ีิ                                                    ่
                                                      ั ั ่ ีิ ่ ี
ศึกษาค้นคว้าถึงข้อดีและข้อเสียของเทคโนโลยีน้ี ปจจุบนสิงมีชวตทีมการวิจยและพัฒนาปรับปรุงพันธุให้
                                                                        ั                       ์
ได้ลกษณะตามต้องการมากทีสุด คือ พืช เนื่องจากพืชเป็ นอาหารหลักของมนุษย์ นอกจากนี้ สัตว์และ
     ั                      ่
จุลนทรียได้รบความสนใจในการปรับปรุงพันธุดวยเช่นกันแต่อยูในวงจํากัด โดยมุงเน้นด้านการแพทย์เป็ น
   ิ     ์ ั                                ์ ้               ่              ่
หลัก ประเทศไทยเป็ นประเทศเกษตรกรรมจึงยากทีจะหลีกเลียงการเข้ามาของจีเอ็มโอ ดังนันจึงจําเป็ น
                                                       ่    ่                          ้
อย่างยิงทีคนไทยจะต้องตื่นตัวศึกษาและเรียนรูให้เท่าทันเทคโนโลยีจเี อ็มโอ เพื่อสามารถนําไปปรับใช้ให้
       ่ ่                                     ้
เป็นประโยชน์ต่อประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
                                          ั ั
        จีเอ็มโอมีความสําคัญอย่างยิงในปจจุบน และเพื่อทราบความเป็ นมาและความสําคัญของจีเอ็มโอ
                                    ่
ในบทนี้ จะสรุปให้ท ราบถึงความเป็ นมาของการพัฒนาจีเ อ็ม โอ อธิบ ายให้ท ราบว่ าจีเ อ็มโอคือ อะไร
               ี                              ั ั
เทคโนโลยีท่ใช้ในการปรับปรุงพันธุกรรมในปจจุบน การแบ่งประเภทของจีเอ็มโอ และประโยชน์ท่ได้รบ    ี ั
จากจีเอ็มโอ

1.1 ประวัติความเป็ นมาของจีเอ็มโอ
        ในปี 1973 สิงมีชวตดัดแปลงทางพันธุกรรมทีถูกสร้างขึนมาครังแรก คือ แบคทีเรีย E. coli โดย
                    ่ ีิ                            ่       ้   ้
Stanley Cohen และ Herbet Boyer แบคทีเรีย E. coli นี้ มีการแสดงออกทางลักษณะของยีนทีได้จาก่
เชื้อแบคทีเรีย Salmonella หลังจากนันไม่นานในเดือนกุมภาพันธ์ปี 1975 ได้มการจัดประชุมเกี่ยวกับ
                                      ้                                  ี
เทคโนโลยีใหม่น้ีและประเมินความเสียงต่างๆ ทีอาจจะเกิดขึน ณ ศูนย์ประชุม Asilomar เมือง Monterey
                                    ่         ่           ้
มลรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ผลการประชุมสรุปว่าเทคโนโลยีน้ีสามารถดําเนินการต่อไปได้
แต่ต้องอยู่ภายใต้การดูแลอย่างใกล้ชดโดยสถาบันวิจยสุขภาพของประเทศสหรัฐฯ จนกว่าจะพิสูจน์ได้ว่า
                                  ิ               ั
เทคโนโลยีน้ีปลอดภัย ต่อมา Herbet Boyer จัดตังบริษท Genentech ซึงเป็ นบริษทแรกทีใช้เทคโนโลยี
                                                ้       ั         ่        ั       ่
Recombinant DNA และในปี 1978 บริษทนี้ได้ประกาศความสําเร็จในการผลิตอินซูลน (Insulin) จาก
                                          ั                                    ิ
E. coli ภายหลังจากนันในราวปี 1986 มีการต่อต้านเทคโนโลยีชวภาพในการสร้างพืชที่ต้านทานความ
                       ้                                      ี
หนาวเย็นจากการถ่ายยีนของแบคทีเรียทีทนอุณ หภูมต่ําได้ (ice-minus bacteria) ที่พฒนาโดยบริษท
                                        ่             ิ                          ั          ั
Advanced Genetic Sciences of Oakland มลรัฐแคลิฟอร์เนีย และในปีเดียวกันได้มการต่อต้านการตัด
                                                                             ี
แต่งทางพันธุกรรมของจุลนทรียทสร้างโปรตีนทีตานทานต่อยาฆ่าแมลงของบริษท Monsanto จะเห็นได้ว่า
                         ิ   ์ ่ี           ่ ้                       ั

                                               -4-
การพัฒนาจีเอ็มโอเกิดขึนมาประมาณ 30 กว่าปีมาแล้ว จากนี้เรามาดูความหมายของจีเอ็มโอ และวิธการ
                       ้                                                               ี
หรือเทคนิคการสร้างจีเอ็มโอว่ามีอะไรบ้าง

1.2 จีเอ็มโอคืออะไร
           จีเอ็มโอ (GMOs) หรือย่อมาจากคําว่า Genetically Modified Organisms เป็ นสิงมีชวตดัดแปลง
                                                                                               ่ ีิ
ทางพันธุกรรมทีได้จากความก้าวหน้าของวิทยาการทางด้านเทคโนโลยีชวภาพและชีววิทยาระดับโมเลกุล
                      ่                                                        ี
(Molecular Biology) โดยการตัดต่อยีนจากสิงมีชวตหนึ่ง ใส่เข้าไปในสิงมีชวตอีกชนิดหนึ่งเพื่อให้เกิด
                                                     ่ ีิ                        ่ ีิ
ลักษณะหรือคุณสมบัตใหม่ตามต้องการ หรือทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปจากพันธุ์ท่มอยู่ในธรรมชาติ
                             ิ                                                               ี ี
โดยอาศัยเทคนิคทางพันธุวศวกรรมทีเรียกว่า รีคอมบ์บแนนท์ดเี อ็นเอ (Recombinant DNA)
                                 ิ            ่            ิ
           ก่อนที่จะอธิบายถึงการสร้างจีเอ็มโอ ขอทําความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับยีน (gene) กันก่อน
สิ่งมีชีว ิต ทุก ชนิด มีห น่ ว ยพันธุ ก รรมหรือ ยีน (Gene) ที่เ ป็ น ตัว กําหนดหรือ ควบคุ มการแสดงออกของ
ลักษณะต่างๆ ของสิงมีชวตทุกชนิด โดยยีนเหล่านันอยู่บนสายดีเอ็นเอ (DNA: Deoxyribonucleic acid)
                         ่ ีิ                           ้
หรือลายพิมพ์ดเอ็นเอ (ดังแสดงไว้ในภาพที่ 1) ยีนจะอยู่ในนิวเคลียสของทุกเซลล์ในสิงมีชวต เช่น เลือด
                    ี                                                                       ่ ีิ
ผิวหนัง ขน ชินเนื้อ ฯลฯ คุณสมบัตทสาคัญของยีน คือ ยีนสามารถเก็บและถ่ายทอดข้อมูลทางพันธุกรรม
                  ้                       ิ ่ี ํ




                                ภาพที่ 1 หน่วยพันธุกรรมในเซลล์ของสิงมีชวต
                                                                   ่ ีิ
ที่มา: http://articles.directorym.net/Recombinant_DNA_San_Francisco_CA-r1051910-San_
Francisco_CA.html



                                                 -5-
จากบรรพบุรษไปยังลูกหลานได้เพื่อการดํารงเผ่าพันธุ์
                ุ                                              การถ่ายทอดพันธุกรรมนี้เป็นสิงทีเกิดขึนตาม
                                                                                           ่ ่ ้
ธรรมชาติ และเป็ นสิงสําคัญต่อการพัฒนาสายพันธุใหม่ อีกทังเป็นวิวฒนาการของสิงมีชวตชนิดนันๆ
                        ่                            ์       ้        ั             ่ ีิ        ้
          ความแตกต่างของสิงมีชวตแต่ละชนิดอยูทลายพิมพ์ของยีนทีอยู่บนดีเอ็นเอ หรือลายพิมพ์ดเอ็นเอ
                              ่ ีิ              ่ ่ี                    ่                           ี
ไม่มส ิ่งมีชว ิตใดหรือ มนุ ษย์คนใดที่มลายพิมพ์ดีเ อ็นเอเหมือนกัน ดังนัน ยีนสามารถเป็ นตัวบ่งบอกถึง
    ี         ี                       ี                                       ้
เอกลักษณ์เฉพาะของสิงมีชวตแต่ละชนิด หรือแต่ละบุคคลได้ นักวิทยาศาสตร์จงนําไปใช้ประโยชน์ในการ
                          ่ ีิ                                                    ึ
ตรวจสอบพันธุ์พชและสัตว์ หรือสายเลือดของมนุ ษย์ได้ โดยลายพิมพ์ดเอ็นเอของลูกมาจากพ่อครึงนึง
                      ื                                                         ี                       ่
และจากแม่ครึงนึง   ่
          คําจํากัดความของสิงมีชวตดัดแปลงทางพันธุกรรม (GMOs) นี้ ไม่รวมถึงสิงมีชวตที่ได้รบการ
                               ่ ีิ                                                     ่ ีิ          ั
ปรับปรุงทางพันธุกรรมโดยวิธการปรับปรุงพัน ธุพชแบบดังเดิม (Conventional Breeding) ที่ได้จากการ
                                  ี            ์ ื         ้
ผสมข้ามพันธุพชตามธรรมชาติหรือจากการผสมโดยมนุ ษย์ เพื่อให้ได้ลกษณะใหม่ทต้องการ เช่น ทนแล้ง
                  ์ ื                                                       ั        ่ี
ให้ผลผลิตสูง ต้านทานแมลง เป็ นต้น ซึงวิธการนี้จะใช้เวลานานในการคัดเลือกพันธุ์ให้ได้ตามลักษณะที่
                                        ่ ี
ต้องการ นักวิทยาศาสตร์จงได้พฒนาเทคนิคทางพันธุวศวกรรมทีสามารถปรับปรุงพันธุ์สงมีชวตให้ ได้
                                ึ   ั                    ิ                ่                  ิ่ ี ิ
ลักษณะทีตองการ มีความหลากหลายและรวดเร็วขึน
            ่ ้                                        ้

1.3 เทคนิ คทีใช้ในการปรับปรุงพันธุกรรม
             ่
         เมือเราทราบว่าจีเอ็มโอเป็นอย่างไรแล้ว เรามาดูเทคนิคทีสาคัญทีเป็ นหัวใจของการสร้างสิงมีชวต
           ่                                                  ่ํ     ่                      ่ ีิ
ดัดแปลงทางพันธุกรรม นันคือ เทคนิครีคอมบิแนนท์ดเี อ็นเอ (Recombinant DNA) เทคนิคนี้เป็ นวิธการ
                          ่                                                                    ี
ปรับปรุงพันธุทรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากกว่าวิธการปรับปรุงพันธุกรรมของสิงมีชวตแบบดังเดิม ซึง
              ์ ่ี                                ี                          ่ ีิ        ้       ่
เทคนิคนี้จะถ่ายยีนทีแสดงลักษณะทีน่าสนใจหรือยีนเป้าหมายจากสิงมีชวตหนึ่ง ซึงเรียกว่า Donor gene
                    ่              ่                           ่ ีิ           ่
ไปสู่สงมีชวตทีตองการปรับปรุงพันธุกรรม (Recipient organism)
      ิ่ ี ิ ่ ้

        ขันตอนและวิธการของเทคนิครีคอมบิแนนท์ดเี อ็นเอ (ดังแสดงไว้ในภาพที่ 2) มีขนตอนดังนี้
          ้         ี                                                           ั้

        ขันตอนแรก จะเป็นการเตรียมเซลล์ผให้ (Donor cell) ซึงแบคทีเรียทีนิยมใช้ คือ E. coli และมี
          ้                                ู้                ่        ่
องค์ประกอบทางชีววิทยาภายในแบคทีเรียทีสาคัญในกระบวนการนี้ คือ Plasmid DNA ทีจะทําหน้าทีเป็น
                                        ่ํ                                       ่         ่
พาหะ (vector) ขนถ่ายยีนทีสนใจหรือยีนเป้าหมาย จากนันจะสกัดแยกพลาสมิดออกจากเซลล์แบคทีเรีย
                             ่                       ้
ส่วนใหญ่จะเลือกพลาสมิดทีสามารถต้านทานต่อยาปฎิชวนะได้อย่างน้อย 1-2 ชนิด เพื่อเป็นคุณสมบัตใน
                           ่                      ี                                          ิ
การคัดแยกพลาสมิดทีมยนเป้าหมายทีเราต้องการ (recombinant DNA)
                     ่ ี ี            ่
        ขันตอนต่อไปจะแยกดีเอ็นเอผูให้ (Donor DNA) ทีมยนเป้าหมาย ดีเอ็นเอผูให้จะได้มาจากหลาย
            ้                       ้                  ่ ี ี                ้
แหล่ง เช่น สัตว์ พืช หรือ เซลล์มนุษย์ จากนันเป็ นกระบวนการต่อเชื่อมดีเอ็นเอเป้าหมายกับพลาสมิด
                                              ้
กลายเป็ นรีคอมบิแนนท์ดเี อ็นเอ (recombinant DNA; rDNA) นํา rDNA ทีได้ถ่ายกลับเข้าไปในเซลล์
                                                                        ่
                                                  -6-
แบคทีเรียโดยวิธการทีเรียกว่า Transformation ภายหลังจากทีได้แบคทีเรียทีมยนเป้าหมายแล้ว จะทําการ
                ี         ่                            ่             ่ ี ี
เลียงแบคทีเรียเพื่อเพิมปริมาณยีนเป้าหมาย และสกัดแยก rDNA ออก เมือได้ปริมาณ rDNA ทีมยน
   ้                  ่                                                ่                    ่ ี ี
เป้าหมายในปริมาณทีมากแล้ว ขันตอนต่อไปจะเป็ นการถ่ายยีนนี้ส่สงมีชวตต่างๆ เช่น พืช สัตว์ จุลนทรีย์
                        ่       ้                           ู ิ่ ี ิ                      ิ
เป็นต้น ในวิธการทีแตกต่างกัน
             ี     ่




           ภาพที่ 2 วิธเี ทคนิครีคอมบิแนนท์ดเี อนเอ (Recombinant DNA) ในเซลล์แบคทีเรีย
    ที่มา: http://articles.directorym.net/Recombinant_DNA_San_Francisco_CA-r1051910
         San_Francisco_CA.html

             ั ั
          ในปจจุบนเราสามารถสร้างสิงมีชวตดัดแปลงทางพันธุกรรมได้ในจุลนทรีย์ พืช และสัตว์ เรามาดู
                                     ่ ีิ                              ิ
กันว่าการสร้างจีเอ็มโอในสิงมีชวตเหล่านี้ทําอย่างไร มีชนิดใดบ้างทีนํามาทดลองสร้างจีเอ็มโอและลักษณะ
                          ่ ีิ                                  ่
                                ่ี ั             ุ่    ่             ั ั
สําคัญทีเป็นประโยชน์ต่อมนุ ษย์ทนกวิทยาศาสตร์มงเน้นทีจะพัฒนาในปจจุบนและในอนาคต
        ่


                                              -7-
1.4 การแบ่งประเภทของจีเอ็มโอ
       จีเอ็มโอ สามารถจัดแบ่งได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่
       1. จุลนทรียดดแปลงพันธุกรรม
             ิ    ์ ั
       2. พืชดัดแปลงพันธุกรรม
       3. สัตว์ดดแปลงพันธุกรรม
                ั
       ซึงแต่ละประเภทมีรายละเอียดสรุปได้ดงนี้
         ่                                 ั

   1.4.1 จุลินทรียดดแปลงทางพันธุกรรม (Microorganism GM หรือ Transgenic
                      ์ ั
   microorganism)
       ดังทีกล่าวไว้ขางต้น สิงมีชวตทีถูกดัดแปลงทางพันธุกรรมด้วยเทคนิคทางพันธุวศวกรรมประเภท
               ่          ้            ่ ีิ ่                                   ิ
แรก คือ จุลนทรีย์ (Microorganism) ในเวลาต่อมานักวิทยาศาสตร์ได้พฒนาจุลนทรียดดแปลงพันธุกรรม
                 ิ                                              ั      ิ    ์ ั
มากขึน เพื่อประโยชน์ดานอุตสาหกรรมอาหาร ทางการแพทย์ และทางด้านสิงแวดล้อม
     ้                      ้                                      ่
       วิธการถ่ายยีนเป้าหมายหรือยีนที่มคุณสมบัตพเศษที่เราต้องการไปสู่จุลนทรีย์ เพื่อให้จุลนทรีย์
           ี                                    ี        ิ ิ             ิ                ิ
สามารถสร้างสารหรือมีการแสดงออกเฉพาะตามที่เราต้องการนัน ทําได้โดยอาศัยเทคนิค recombinant
                                                             ้
DNA ดังทีได้กล่าวมาข้างต้น และใช้เทคโนโลยีชวภาพในการผลิตและสกัดแยกสารทีเราต้องการออกมา
             ่                                         ี                     ่
จากกระบวนการผลิต เช่น การเลี้ยงจุลนทรีย์ท่ผลิตกรดแลกติกในถังหมักชีวภาพ (Bioreactor) ซึ่งกรด
                                             ิ       ี
แลกติกเป็นกรดทีสาคัญในอุตสาหกรรมอาหาร
                   ่ํ
       ทังนี้ ประโยชน์ทได้รบจากจุลนทรียดดแปลงทางพันธุกรรมในด้านต่างๆ ดังตัวอย่างเช่น
         ้                    ่ี ั         ิ   ์ ั
       1. ไวน์ จาก ยีสต์ GM
       2. โยเกิรต และ Salami จาก แบคทีเรียกรดแลกติก GM
                    ์
       3. Blue Cheese จาก เชือรา GM      ้
       4. เอนไซม์ Amylase จากแบคทีเรีย GM
       5. โปรตีนทีเป็นประโยชน์ทางการแพทย์จากแบคทีเรีย GM
                        ่
       6. แบคทีเรีย GM ทีกําจัดคราบนํ้ามัน
                                   ่
       7. แบคทีเรีย GM ทีช่วยป้องกันโรคเชือราในพืช
                                     ่             ้

    1.4.2 พืชดัดแปลงทางพันธุกรรม (Plant GM หรือ Transgenic Plants)
        พืชเป็นแหล่งอาหารหลักทีสําคัญของมนุ ษย์มาตังแต่ในอดีต ผลิตภัณฑ์อาหารส่วนมากมาจากพืช
                                 ่                 ้
ในอดีตก่อนการสร้างพืชดัดแปลงทางพันธุกรรม มนุ ษย์ได้ปรับปรุงผลผลิตโดยใช้วธการคัดเลือกพันธุ์ตาม
                                                                             ิี
ธรรมชาติ ซึ่งวิธการนี้มมานานหลายพันปีมาแล้ว แต่เมื่อไม่ก่รอยปีมานี้การคัดเลือกพันธุได้อาศัยความรู้
                ี      ี                                 ี้                         ์
ทางวิทยาศาสตร์ใ นการผสมข้ามพันธุ์ และคัดเลือ กพันธุ์ เ พื่อ ให้ได้ล กษณะที่ต้อ งการ (ให้ผ ลผลิต สูง ,
                                                                    ั
ต้านทานโรค เป็ นต้น) เราเรียกว่า การปรับปรุงพันธุแบบดังเดิม (Conventional Breeding) วิธการนี้จะใช้
                                                 ์    ้                                  ี
                                                -8-
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa
Gmo in-usa

More Related Content

Similar to Gmo in-usa

แบบรายงานผลการดำเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิต ของหมู่บ้าน ชุมชน
แบบรายงานผลการดำเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิต ของหมู่บ้าน ชุมชนแบบรายงานผลการดำเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิต ของหมู่บ้าน ชุมชน
แบบรายงานผลการดำเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิต ของหมู่บ้าน ชุมชน
84village
 
ระเบียบวาระ 23 มค 56
ระเบียบวาระ 23 มค 56ระเบียบวาระ 23 มค 56
ระเบียบวาระ 23 มค 56
Dhanee Chant
 
ใบงานประวัติ
ใบงานประวัติใบงานประวัติ
ใบงานประวัติ
poomarin
 
ตย.การรายงานขอปิดโครงการ (1)
ตย.การรายงานขอปิดโครงการ  (1)ตย.การรายงานขอปิดโครงการ  (1)
ตย.การรายงานขอปิดโครงการ (1)
i_cavalry
 
ตย.รายงาน ฯ วท.กห.2
ตย.รายงาน ฯ วท.กห.2ตย.รายงาน ฯ วท.กห.2
ตย.รายงาน ฯ วท.กห.2
i_cavalry
 
แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2
Surapong Jakang
 
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
ทับทิม เจริญตา
 
รายงานผลการปฏิบัติราชการของผู้รับการประเมิน ข.
รายงานผลการปฏิบัติราชการของผู้รับการประเมิน ข.รายงานผลการปฏิบัติราชการของผู้รับการประเมิน ข.
รายงานผลการปฏิบัติราชการของผู้รับการประเมิน ข.
สมมารถ ขาวนวล
 
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยรายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
Nang Ka Nangnarak
 
แบบขอรับค่ารักษาพยาบาล สปส.2 19 (กรณีทุพพลภาพ)
แบบขอรับค่ารักษาพยาบาล สปส.2 19 (กรณีทุพพลภาพ)แบบขอรับค่ารักษาพยาบาล สปส.2 19 (กรณีทุพพลภาพ)
แบบขอรับค่ารักษาพยาบาล สปส.2 19 (กรณีทุพพลภาพ)
Nithimar Or
 
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการแบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
Kittiphat Chitsawang
 
Sar ครู..
Sar ครู..Sar ครู..
Sar ครู..
krunoony
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
Nirut Uthatip
 
Scireleaseditem pisa-timss
Scireleaseditem pisa-timssScireleaseditem pisa-timss
Scireleaseditem pisa-timss
Biobiome
 
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSSตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
kunkrooyim
 
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
Naughtily NaRee
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
Nirut Uthatip
 

Similar to Gmo in-usa (20)

แบบรายงานผลการดำเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิต ของหมู่บ้าน ชุมชน
แบบรายงานผลการดำเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิต ของหมู่บ้าน ชุมชนแบบรายงานผลการดำเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิต ของหมู่บ้าน ชุมชน
แบบรายงานผลการดำเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิต ของหมู่บ้าน ชุมชน
 
ระเบียบวาระ 23 มค 56
ระเบียบวาระ 23 มค 56ระเบียบวาระ 23 มค 56
ระเบียบวาระ 23 มค 56
 
ใบงานประวัติ
ใบงานประวัติใบงานประวัติ
ใบงานประวัติ
 
ตย.การรายงานขอปิดโครงการ (1)
ตย.การรายงานขอปิดโครงการ  (1)ตย.การรายงานขอปิดโครงการ  (1)
ตย.การรายงานขอปิดโครงการ (1)
 
ตย.รายงาน ฯ วท.กห.2
ตย.รายงาน ฯ วท.กห.2ตย.รายงาน ฯ วท.กห.2
ตย.รายงาน ฯ วท.กห.2
 
แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2
 
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
 
รายงานผลการปฏิบัติราชการของผู้รับการประเมิน ข.
รายงานผลการปฏิบัติราชการของผู้รับการประเมิน ข.รายงานผลการปฏิบัติราชการของผู้รับการประเมิน ข.
รายงานผลการปฏิบัติราชการของผู้รับการประเมิน ข.
 
บันทึกส่ง
บันทึกส่งบันทึกส่ง
บันทึกส่ง
 
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยรายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
 
แบบขอรับค่ารักษาพยาบาล สปส.2 19 (กรณีทุพพลภาพ)
แบบขอรับค่ารักษาพยาบาล สปส.2 19 (กรณีทุพพลภาพ)แบบขอรับค่ารักษาพยาบาล สปส.2 19 (กรณีทุพพลภาพ)
แบบขอรับค่ารักษาพยาบาล สปส.2 19 (กรณีทุพพลภาพ)
 
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการแบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
 
Sar ครู..
Sar ครู..Sar ครู..
Sar ครู..
 
วิเคราะห์Swotเบื้องต้น
วิเคราะห์Swotเบื้องต้นวิเคราะห์Swotเบื้องต้น
วิเคราะห์Swotเบื้องต้น
 
Pisa
PisaPisa
Pisa
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
 
Scireleaseditem pisa-timss
Scireleaseditem pisa-timssScireleaseditem pisa-timss
Scireleaseditem pisa-timss
 
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSSตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
 
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
 

More from Ministry of Science and Technology

แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]
Ministry of Science and Technology
 

More from Ministry of Science and Technology (20)

ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
 
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
 
Policy24jan55
Policy24jan55Policy24jan55
Policy24jan55
 
Scius55 1-out-most
Scius55 1-out-mostScius55 1-out-most
Scius55 1-out-most
 
Semina boi
Semina boiSemina boi
Semina boi
 
S ci us54-shift-2
S ci us54-shift-2S ci us54-shift-2
S ci us54-shift-2
 
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOSTกรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
 
Gov policy-55
Gov policy-55Gov policy-55
Gov policy-55
 
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
 
V532
V532V532
V532
 
P 20101027-map60
P 20101027-map60P 20101027-map60
P 20101027-map60
 
Interview106magazine
Interview106magazineInterview106magazine
Interview106magazine
 
Interview106magazine
Interview106magazineInterview106magazine
Interview106magazine
 
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯแบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
 
กำหนดการ
กำหนดการกำหนดการ
กำหนดการ
 
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
 
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]
 
Policy Drkalaya
Policy DrkalayaPolicy Drkalaya
Policy Drkalaya
 
Concept Goverment
Concept GovermentConcept Goverment
Concept Goverment
 
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
 

Gmo in-usa

  • 1. รายงานการสืบค้นข้อมูลความก้าวหน้ าและสถานะทาง เทคโนโลยีชีวภาพของสิ่งมีชีวิตดัดแปลงทางพันธุกรรม (GMOs) ในประเทศสหรัฐอเมริกา โดย นาย นรินทร์ เรืองพานิช ทีปรึกษาโครงการ ่ เสนอต่อสํานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี .) 30 ธันวาคม 2553
  • 2. รายงานการสืบค้นข้อมูลความก้าวหน้าและสถานะทางเทคโนโลยีชวภาพของสิงมีชวตดัดแปลงทาง ี ่ ีิ พันธุกรรมในประเทศสหรัฐอเมริกา ภายใต้โครงการการดําเนินภารกิจ ) ประจําปีงบประมาณ 2553 (มกราคม 2553 - ธันวาคม 2553) สํานักงานทีปรึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจํากรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ่ _________________________________________________________________________________________ รายงานฉบับนี้เป็ นลิขสิทธิของสํานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ์ .) หากนําไปใช้ประโยชน์โปรดอ้างอิงชื่อ สํานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี .) ด้วย
  • 3. คานา รายงานการสืบค้นข้อมูลความก้าวหน้าและสถานะทางเทคโนโลยีชวภาพของสิงมีชวตดัดแปลง ี ่ ีิ ทางพันธุกรรมในประเทศสหรัฐอเมริกา มีวตถุประสงค์การจัดทําเพื่อติดตามความรูและความก้าวหน้าทาง ั ้ เทคโนโลยีของจีเอ็มโอในประเทศสหรัฐอเมริกาเพื่อใช้เป็ นข้อมูลสนับสนุ นการดําเนินงานวิจยและพัฒนา ั ของหน่ ว ยงานภาครัฐ สถาบัน การศึก ษา และภาคเอกชน ให้ม ีข ีด ความสามารถในการแข่ ง ขัน กับ ต่างประเทศ อีกทัง เพิมความรูและความเข้าใจให้แก่ประชาชน วัตถุประสงค์ดงกล่าวเป็ นส่วนหนึ่งของ ้ ่ ้ ั ภารกิจ ของสํ า นัก งานที่ป รึก ษาด้า นวิท ยาศาสตร์แ ละเทคโนโลยี ประจํา ก รุง วอชิง ตัน ดี. ซี. อัน เป็ น หน่วยงานภายใต้สานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ํ คณะผู้จดทําหวังว่ารายงานฉบับนี้จะเป็ นประโยชน์และช่วยให้ผู้อ่านมีความรูทางด้านเทคโนโลยี ั ้ จีเอ็มโอเพิมมากยิงขึน เพื่อนําไปใช้พจารณาถึงประโยชน์และโทษของจีเอ็มโอและใช้ในการตัด สินใจให้การ ่ ่ ้ ิ สนับสนุ นหรือคัดค้านการพัฒนาจีเอ็มโอในประเทศไทยต่อไป ทังนี้รายงานฉบับนี้สามารถสืบค้นได้ทาง ้ เว๊ปไซด์ http://www.ostc.thaiembdc.org สํานักงานทีปรึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ่ ประจํากรุงวอชิงตัน ดี.ซี. 30 ธันวาคม 2553
  • 4. สารบัญ เนื้ อหา หน้ า บทสรุปผูบริหาร................................................................................................................................. 1 ้ บทนํา................................................................................................................................................ 3 บทที่ 1 ความสําคัญของเทคโนโลยีจเี อ็มโอ 1.1 ประวัตความเป็นมาของจีเอ็มโอ............................................................................. 4 ิ 1.2 จีเอ็มโอคืออะไร..................................................................................................... 5 1.3 เทคนิคทีใช้ในการปรับปรุงพันธุกรรม..................................................................... 6 ่ 1.4 การแบ่งประเภทของจีเอ็มโอ - จุลนทรียดดแปลงทางพันธุกรรม......................................................................... 8 ิ ์ ั - พืชดัดแปลงทางพันธุกรรม................................................................................. 8 - สัตว์ดดแปลงทางพันธุกรรม.............................................................................. 15 ั บทที่ 2 สถานะทางเทคโนโลยีจเี อ็มโอในประเทศสหรัฐฯ 2.1 สถานะทางเทคโนโลยีของจุลนทรีย์ GM................................................................ 24 ิ - จุลนทรีย์ GM ิ ................... 24 - จุลนทรีย์ GM ิ ................................................................ 28 - จุลนทรีย์ GM ิ ........................................................................... 37 - จุลนทรีย์ GMิ …...................................................... 42 - ประโยชน์ดานอื่นๆ ของจุลนทรีย์ GM…………………………………………… .. 50 ้ ิ - การยอมรับและโอกาสทางการค้า....................................................................... 51 - แนวโน้มการพัฒนาจุลนทรีย์ GM …………………………………………………..52 ิ - สรุป.................................................................................................................. 52 - ข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็น................................................................................ 53 2.2 สถานะทางเทคโนโลยีของพืช GM…………………………………………………….54 - พืช GM เพื่อประโยชน์ดานการเกษตรและอาหารของมนุษย์............................... 54 ้ - การวิเคราะห์ภาพรวมการปลูกพืช GM ระหว่างปี 1996-2008....................................................................................... 70 - พืช GM (Bio-Pharming)……………………………….. 78 - พืช GM สําหรับเป็ นอาหารสัตว์......................................................................... 87 i
  • 5. สารบัญ (ต่อ) เนื้ อหา หน้ า บทที่ 2 - การยอมรับพืช GM …............................................ 89 - แนวโน้มการพัฒนาพืช GM …........................................... 94 - แนวโน้มการพัฒนาพืช GM ................................... 96 - สรุป..............................................................................................................100 - ข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็น............................................................................100 2.3 สถานะทางเทคโนโลยีของสัตว์ GM……………………………………………… .102 - การแบ่งประเภทสัตว์ GM……………………………………………………… 103 - ประโยชน์ทางการแพทย์................................................................................105 - ประโยชน์ทางการเกษตรและสิงแวดล้อม........................................................113 ่ ั - ปญหาและอุปสรรค........................................................................................119 - สัตว์ GM …..................................................................................121 - ความปลอดภัยของอาหารจากสัตว์ GM……………………………………… ..124 - แนวโน้มการพัฒนาสัตว์ GM..........................................................................124 - สรุป..............................................................................................................124 - ข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็น............................................................................125 2.4 ตลาดการส่งออกสินค้าจีเอ็มโอของประเทศสหรัฐฯ................................................127 2.5 ประโยชน์และข้อกังวลของผูบริโภคต่อจีเอ็มโอ......................................................132 ้ 2.6 กฎหมาย นโยบายและหน่วยงานทีควบคุมจีเอ็มโอ……………………………… ...135 ่ 2.7 การรับรูและการยอมรับจีเอ็มโอของประชาชน.......................................................153 ้ ้ ิ ั 2.8 การคุมครองทรัพย์สนทางปญญาและสิทธิบตร......................................................167 ั 2.9 หน่วยงานทีเกียวข้องกับการวิจยและพัฒนาจีเอ็มโอ ่ ่ ั - หน่วยงานรัฐบาล สมาคม และองค์กรอิสระต่างๆ..............................................176 - สถาบันวิจยและพัฒนา ในสถาบันการศึกษา..................................................... 186 ั - บริษทและภาคเอกชน..................................................................................... 192 ั 2.10 สรุป................................................................................................................... 222 ii
  • 6. สารบัญ (ต่อ) เนื้ อหา หน้ า บทที่ 3 สถานะทางเทคโนโลยีจเี อ็มโอ …......................................................... 224 3.1 นโยบายจีเอ็มโอ …............................................................................ 224 3.2 ลําดับเหตุการณ์เทคโนโลยีจเี อ็มโอ …........................................... 227 3.3 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีจเี อ็มโอในประเทศไทย............................................ 230 3.4 ความช่วยเหลือจากประเทศสหรัฐฯ...................................................................... 236 3.5 การรับรูของประชาชน และการยอมรับ.................................................................238 ้ 3.6 กฎหมายควบคุม................................................................................................. 238 3.7 การคัดค้านจีเอ็มโอ ….................................................................. 242 3.8 หน่วยงานรัฐบาลทีเกียวข้อง................................................................................ 246 ่ ่ 3.9 โอกาสทางการค้า............................................................................................... 250 3.10 หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และสมาคมต่างๆ ทีเกียวข้อง............................... 251 ่ ่ 3.11 แนวโน้มการพัฒนาจีเอ็มโอ ….................................................... 254 3.12 สรุป................................................................................................................ 254 3.13 ข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็น............................................................................... 255 อภิธานศัพท์.................................................................................................................................. 257 ภาคผนวก 1 แหล่งข้อมูลทีเกียวข้องกับจีเอ็มโอ............................................................................. 261 ่ ่ ภาคผนวก 2 หน่วยงานรัฐบาลและสถานทีตดต่อทีเกียวข้องกับการดําเนินงานด้านจีเอ็มโอ.............. 267 ่ ิ ่ ่ เอกสารอ้างอิง................................................................................................................................. 271 iii
  • 7. สารบัญตาราง ตารางที่ หน้ า 1 แสดงโปรตีนทีเป็ นประโยชน์ทางการแพทย์ทได้จากนํ้านมของสัตว์เลียงลูกด้วยนม ่ ่ี ้ ทีถูกดัดแปลงทางพันธุกรรม Mammals transgenic)………………………………………20 ่ 2 จุลนทรีย์ GM ทีสามารถย่อยสลายสารพิษทีปนเปื้อนอยู่ตามธรรมชาติ……………………28 ิ ่ ่ 3 ตัวอย่างมาตรฐานการผลิตเอนไซม์เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร………………………… 36 4 ผลิตภัณฑ์ป๋ ยชีวภาพทีวางจําหน่ ายในท้องตลาด……………………………………………42 ุ ่ 5 สรุปภาพรวม Therapeutic proteins GM…….. 49 6 สายพันธุถวเหลือง GM ทีปลูกเป็นการค้าในประเทศสหรัฐฯ และสายพันธุทกําลังอยู่ ์ ั่ ่ ์ ่ี ในขันตอนการพัฒนาในต่างประเทศ………………………………………………………… 58 ้ 7 สายพันธุถวเหลือง GM ์ ั่ เป็นการค้าได้ภายในอีก 5 ปี ข้างหน้า……………………………………………………… 58 8 สายพันธุขาวโพด GM ์ ้ ธุขาวโพด GM ์ ้ ทีกําลังปลูกเป็ นการค้าในประเทศต่างๆ ทัวโลก…………………………………………… 59 ่ ่ 9 สายพันธุขาวโพด GM ์ ้ Regulatory Pipeline …………………… 59 10 สายพันธุขาวโพด GM ์ ้ dvance R ต่างประเทศ……………………………………………………………………………………61 11 สายพันธุ์ Rapeseed GM ใน Regulatory dvanced R ……………………………………………………………………………… 61 12 สายพันธุฝ้าย GM ทีปลูกเป็ นการค้าในประเทศสหรัฐฯ และต่างประเทศ………………… 63 ์ ่ 13 สายพันธุฝ้าย GM ์ Regulatory Pipeline…… 63 14 สายพันธุฝ้าย GM ทีอยูในขันตอน Advanced R&D ในประเทศสหรัฐฯ และต่างประเทศ ์ ่ ่ ้ ซึงคาดว่าจะปลูกเป็นการค้าได้ภายในปี 2013……………………………………………… 64 ่ 15 สายพันธุขาว GM ์ ้ สายพันธุขาว GM ์ ้ Regulatory pipeline ………………… 65 16 สายพันธุขาว GM ์ ้ dvanced R …66 17 สายพันธุมนฝรัง่ GM ์ ั Regulatory dvanced R สหรัฐฯ และต่างประเทศ………………………………………………………………………66 18 สายพันธุ์ alfalfa GM Regulatory pipeline……………………………… 68 iv
  • 8. สารบัญตาราง ) ตารางที่ หน้ า 19 พืช GM ……………….…69 20 พืช GM dvanced R เป็ นการค้าได้ภายใน 5 ปี ข้างหน้า………………………………………………… 69 21 ต้นทุนในการผลิตยารักษาโรคจากสิงมีชวตต่างๆ ………………………………………… 78 ่ ีิ 22 พืนทีปลูกทดลองพืช GM ้ ่ APHIS ระหว่างปี 1991-2004……………………………………………………………………… 81 23 การพัฒนาพืช GM เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ของหน่ วยงานภาครัฐและเอกชน ในประเทศสหรัฐฯ และประเทศแคนาดา…………………………………………………… 82 24 แสดงการเปรียบเทียบการผลิตยารักษาโรคจากสิงมีชวตชนิดต่างๆ……………………… 106 ่ ีิ 25 แสดงผลิตภัณฑ์โปรตีนทีเป็ นประโยชน์ทางการแพทย์ทกําลังพัฒนาเพื่อการค้า ………… 110 ่ ่ี 26 แสดงการพัฒนาเทคโนโลยี Xenotransplantation ……………………… 112 27 แสดงต้นทุนการผลิตโปรตีนทีเป็นประโยชน์ทางการแพทย์……………………………… 113 ่ 28 แสดงตัวอย่างการพัฒนาสัตว์ GM ………………………………………… 118 29 แสดงประสิทธิภาพ หรือความสําเร็จของการดัดแปลงพันธุกรรมในสัตว์ชนิดต่างๆ……… 120 30 แสดงมูลค่าทางเศรษฐกิจของผลิตภัณฑ์ยารักษาโรค……………………………………… 120 31 ตลาดส่งออกสินค้าเกษตรจีเอ็มโอทีสาคัญของประเทศสหรัฐฯ ในปี 2003………………… 127 ่ํ 32 หน่วยงานและกฎหมายควบคุมจีเอ็มโอของประเทศสหรัฐฯ……………………………… 138 33 หน่วยงานและกฎหมายควบคุมผลิตภัณฑ์ทได้จากจีเอ็มโอของประเทศสหรัฐฯ.......………139 ่ี 34 แสดงการรับรูของประชาชนชาวอเมริกนต่อพืช GM และสัตว์ GM……………………… 153 ้ ั 35 แสดงแหล่งข่าวสารสําคัญทีผบริโภคใช้ในการรับทราบหรือเรียนรูถงเทคโนโลยีจเี อ็มโอ… 155 ่ ู้ ้ ึ 36 แสดงการเปรียบเทียบการเชื่อถือของประชาชนต่อกลุ่มบุคคลต่างๆ เกียวกับจีเอ็มโอ…… 155 ่ 37 แสดงการเปรียบเทียบการยอมรับของผูบริโภคต่อสิงมีชวตดัดแปลงพันธุกรรม ้ ่ ีิ ชนิดต่างๆ…………………………………………………………………………………… 156 38 การยอมรับของผูบริโภคต่อพืช GM และ สัตว์ GM จําแนกตามเพศ อายุ และ ้ ระดับการศึกษา… ........................................................................................................ 157 39 ความคิดเห็นของผูบริโภคทีตองการให้ FDA ออกข้อบังคับการติดฉลาก ้ ่ ้ ผลิตภัณฑ์จเี อ็มโอ…………………………………………………………………………… 163 v
  • 9. สารบัญตาราง ) ตารางที่ หน้ า 40 ตัวอย่างพันธุพชทีได้รบความคุมครอง……………………………………………………..174 ์ ื ่ ั ้ 41 รายชื่อพืชดัดแปลงพันธุกรรมทีนําเข้ามาทดลองปลูกในประเทศไทย ่ ระหว่างปีพ.ศ. 2537-2542……………………………………………………………… 231 42 แสดงสถานะการวิจยและพัฒนาเทคโนโลยีของพืช GM ในประเทศไทย………………… 234 ั vi
  • 10. สารบัญภาพ ภาพที่ หน้ า 1 หน่วยพันธุกรรมในเซลล์ของสิงมีชวต……………………………………………………... 5 ่ ีิ 2 วิธเี ทคนิครีคอมบิแนนท์ดเี อ็นเอ (recombinant DNA) ในเซลล์แบคทีเรีย……………….. 7 3 แสดงวิธการถ่ายยีนเข้าสู่พชโดยวิธ ี Agrobacterium และวิธการใช้ Gene gun…………. 9 ี ื ี 4 การถ่ายยีนด้วยวิธ ี Microinjection………………………………………………………… 16 5 การถ่ายยีนด้วยวิธ ี Embryonic stem cell-mediated transfer…………………………… 17 6 การถ่ายยีนด้วยวิธ ี Retrovirus-mediated transfer……………………………………… 18 7 แสดงการสร้างแบคทีเรีย Pseudomonas สายพันธุ์ “Superbug”………………………… 25 8 สัดส่วนการทดลองพืช GM ในแปลงทดลองของภาครัฐและเอกชน ระหว่างปี 1987 ถึง 2008………………………………………………………………… . 71 9 จํานวนแปลงทดลองปลูกพืช GM ระหว่างปี 1987 ถึง 2008…………………………… 72 10 จํานวนลักษณะโดยเฉลียของพืช GM ่ …………………………………… 74 11 จํานวนพืนที่ ้ ) ช GM………………………………… 74 12 จํานวนลักษณะของพืช GM ในแปลงทดลอง……………………………………………… 75 13 จํานวนแปลงทดลองปลูกพืช GM ในลักษณะต่างๆ……………………………………… 75 14 จํานวนแปลงทดลองปลูกของพืช GM ทีมความสําคัญทางเศรษฐกิจ.....………………… 76 ่ ี 15 จํานวนแปลงทดลองปลูกของพืช GM ชนิดอื่นๆ..………………………………………… 76 16 พืนทีปลูก (เอเคอร์) ้ ่ GM …………………………………… 77 17 ลําดับเหตุการณ์ของการปลูกพืช GM อย่างเป็นการค้าของประเทศสหรัฐฯ……………… 77 18 แสดงขันตอนการพัฒนาพืช PMPs………………………………………………………… 80 ้ 19 จํานวนพันธุพช GM์ ื APHIS น แปลงทดลองได้ระหว่างปี 1987 ถึง 2003..................................................................... 90 20 จํานวนพันธุพช GM ์ ื APHIS 2005...................... 91 21 จํานวนลักษณะทีสําคัญของพืช GM ่ 2005.................................. 91 22 แสดงขันตอนการสร้างสัตว์ GM ้ .............109 23 แสดงกระบวนการผลิตและทําให้บริสุทธิ ์ของ ATryn นํ้านม GM ...................... 122 vii
  • 11. สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่ หน้ า 24 ปลา GloFish®............................................................................................................. 123 25 ประเทศคู่คาทีสาคัญ 5 อันดับแรก ทีนําเข้าสินค้าการเกษตรจากประเทศสหรัฐฯ............ 128 ้ ่ํ ่ 26 มูลค่าการนําเข้าสินค้าและส่วนแบ่งตลาดสินค้าการเกษตรของประเทศสหรัฐฯ ในสหภาพยุโรป........................................................................................................... 129 27 ปริมาณการส่งออกสินค้าเกษตรของประเทศสหรัฐฯ ไปยังสหภาพยุโรป ระหว่างปี 1990-2003................................................................................................... 130 28 หน่วยงานและกฎหมายควบคุมผลิตภัณฑ์จากจีเอ็มโอ................................................... 145 29 ความคิดเห็นของประชาชนถึงประโยชน์ของเทคโนโลยีจเี อ็มโอ...................................... 154 30 การรับรูถงผลิตภัณฑ์จเี อ็มโอทีวางขายในท้องตลาด..................................................... 154 ้ ึ ่ 31 การยอมรับของประชาชนต่อพืช GM (PMPs)....................156 32 ตัวอย่างแนวโน้มการยอมรับสิงมีชวตดัดแปลงพันธุกรรม............................................... 158 ่ ีิ 33 แนวโน้มการรับรูถงอาหาร GM ้ ึ ............................................ 159 34 ความคิดเห็นของประชาชนต่อการควบคุมอาหาร GM FDA.................... 159 35 การสนับสนุ นของประชาชนชาวอเมริกนต่ออาหาร GM.................................................. 161 ั 36 แสดงข้อมูลการตัดสินใจบริโภคอาหาร GM ระหว่างผูชายและผูหญิง.............................. 161 ้ ้ 37 แสดงจํานวนร้อยละความคิดเห็นของผูบริโภคถึงความปลอดภัยของอาหาร GM............. 162 ้ 38 การสนับสนุ นเทคโนโลยีจเี อ็มโอในแต่ละประเทศ........................................................... 165 39 แสดงความเห็นการสนับสนุ นการพัฒนาเทคโนโลยีจเี อ็มโอ อื่นๆ ทัวโลก.............................................................................................. 166 ่ 40 แสดงร้อยละการตัดสินใจซืออาหาร GM ้ ......................................................................................................... 166 41 แนวโน้มการจดสิทธิบตรด้านเทคโนโลยีชวภาพทางการเกษตรในปี 1976-2000............. 169 ั ี 42 เทคโนโลยีต่างๆ ด้านเทคโนโลยีชวภาพทางการเกษตรทีได้ขอจดสิทธิบตร.................... 170 ี ่ ั 43 การแบ่งตามหน่วยงานทีจดสิทธิบตรด้านเทคโนโลยีชวภาพทางการเกษตร.................... 171 ่ ั ี viii
  • 12. บทสรุปผูบริ หาร ้ ั ั ปจจุบน ความก้าวหน้ าด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยเฉพาะอย่างยิงในสาขาเทคโนโลยี ่ ด้านต่างๆ เช่น เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีพลังงาน นาโนเทคโนโลยี ตลอดจนความก้าวหน้าใน ด้านวิศวกรรมได้ช่วยสร้างความสะดวกสบายในชีวตประจําวันและส่งเสริมคุณภาพชีวตให้ดยงขึน และ ิ ิ ี ิ่ ้ ั กลายเป็ นส่วนหนึ่งในชีวตประจําวัน อย่างไรก็ตาม ปจจัยทางด้านอาหารและยารักษาโรค ยังเป็ นปจจัย ิ ั สําคัญ ที่มนุ ษย์ต้องพึ่งพา และเทคโนโลยีชว ภาพเป็ นเทคโนโลยีหนึ่งที่มการนํ ามาใช้ประโยชน์ ใ นการ ี ี พัฒนาด้านอาหารและด้านการแพทย์เพื่อประชากรของโลก โดยเฉพาะอย่างยิงเทคโนโลยีด้านดัดแปลง่ พันธุกรรมสิงมีชวต หรือทีเรียกกันว่า จีเอ็มโอ (Genetically Modified Organisms; GMOs) ่ ีิ ่ มีการพั แล้วกว่า เพื่อรองรับการเพิมขึนของประชากร ่ ้ โลกที่คาดว่าจะส่งผลกระทบถึงปริมาณการผลิตด้านอาหารและยารักษาโรคที่ยงมีไม่เพี ยงพอต่อความ ั ต้องการ และที่ผ่านมาประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้รบการยกย่องว่าเป็ นประเทศต้นกําเนิดและผู้นําด้าน ั เทคโนโลยีจเอ็มโอของโลก ได้ทําการวิจย ค้นคว้า และพัฒนาเทคโนโลยีจเี อ็มโอมาอย่างต่อเนื่อง ทังใน ี ั ้ พืช สัตว์ และจุลนทรีย์ โดยมุ่งเน้ นประโยชน์ ทางด้านอาหารและทางการแพทย์ เนื่องจากเทคโนโลยี ิ จีเอ็มโอมีศกยภาพที่จะปรับปรุงสิงมีชวตได้ทงด้านคุณภาพและปริมาณตามที่เราต้องการ เช่น การเพิม ั ่ ีิ ั้ ่ ปริมาณผลผลิตของพืชเศรษฐกิจที่สําคัญ การเพิมคุณค่าทางอาหาร การผลิตโปรตีนทีเป็ นประโยชน์ทาง ่ ่ การแพทย์ การพัฒนาวัคซีนและวิธการรักษาโรคร้ายแรง การเพิมความสามารถของจุลนทรียในการกําจัด ี ่ ิ ์ สารพิษในสิงแวดล้อม และการปรับปรุงคุณภาพดิน เป็นต้น ่ ั ั ในปจจุบน ได้พ บว่าพืชดัดแปลงพันธุ กรรมมีค วามก้าวหน้ าในการพัฒนามากที่สุ ด และได้รบ ั อนุ ญาตให้ผลิตเป็ นการค้าได้เมื่อเปรียบเทียบกับการพัฒนาในจุลนทรีย์และสัตว์ จึงส่งผลให้ประเทศ ิ สหรัฐอเมริกาสามารถขยายพืนทีเพาะปลูกและสามารถส่งออกพืชจีเอ็มโอมากที่สุดในโลก นอกจากนัน ้ ่ ้ ยังพบว่าประเทศอื่นๆ ได้ให้ความสนใจพัฒนาและเพาะปลูกพืชจีเอ็มโอมากขึ้น เช่น ประเทศแคนาดา ประเทศเม็กซิโก ประเทศอินเดีย ประเทศจีน และประเทศฟิลปปินส์ เป็นต้น ิ อย่างไรก็ตาม ได้พบว่าการตระหนักรูของผูบริโภคในคุณประโยชน์ของเทคโนโลยีจเี อ็มโอยังมีไม่ ้ ้ มาก รวมถึงยังขาดความรู้ค วามเข้าใจในเทคโนโลยีจเ อ็มโอ ทําให้ผู้บริโภคเกิดความกังวลถึงความ ี ปลอดภัยของผลิตภัณฑ์อาหารทีมจเี อ็มโอเป็ นส่วนประกอบ และมีการต่อต้านจีเอ็มโอขึนในหลายประเทศ ่ ี ้ โดยเฉพาะอย่างยิงในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรปและประเทศญี่ปุ่นทีมนโยบายไม่อนุ ญาตให้นําเข้าสินค้าที่ ่ ่ ี มีจเอ็มโอเป็ นส่วนประกอบ หรือมีการจํากัดปริมาณการนํ าเข้า แม้แต่ในประเทศสหรัฐอเมริกาก็ยงมีการ ี ั ต่อต้านจากหลายกลุ่ม ไม่ว่าจะเป็ นนักวิชาการ ประชาชน และองค์กรอิสระต่างๆ นอกจากนี้ ยังมีคําถาม ถึงความจําเป็ นในการดัดแปลงพันธุกรรมของสิงมีชวต โดยเฉพาะอย่างยิ่งการดัดแปลงพันธุกรรมในสัตว์ ่ ีิ ที่ผู้บริโภคมีความรู้สกว่าเป็ นการทรมานสัตว์และขาดจริยธรรม และเทคโนโลยีจเอ็มโอสามารถที่จะลด ึ ี ั ั ปญหาความอดอยากของประชากรโลกได้จริงหรือไม่ ปญหาความอดอยากทีแท้จริงเกิดจากปริมาณอาหาร ่ -1-
  • 13. ไม่เพียงพอหรือเกิดจากความยากจน คําถามเหล่านี้เป็ นสิ่งที่นักวิทยาศาสตร์และผู้เกี่ยวข้องต้องนํ ามา ั วิเคราะห์และพิจารณาเพือหาแนวทางแก้ปญหาให้ถูกต้องต่อไป ่ ในประเทศไทย เทคโนโลยีดดแปลงพันธุกรรมได้รบความสนใจมานานกว่า 20 ปีมาแล้ว และได้ม ี ั ั ั ่ ั ั การศึกษาและวิจยมาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิงในพืช แต่ในปจจุบน ยังไม่มพชจีเอ็มโอชนิดใด ี ื ได้รบอนุ ญาตให้ปลูกเพื่อการค้าได้ และพบว่า ถึงแม้ว่ามะละกอและฝ้ายเป็ นพืชทีมความก้าวหน้าในการ ั ่ ี พัฒนามากทีสุดและมีศกยภาพทีจะผลิตเพื่อการค้าได้กตาม แต่การพัฒนาดังกล่าวยังไม่สามารถพัฒนาไป ่ ั ่ ็ ได้เนื่องจากมีการต่อต้านการพัฒนาพืชจีเอ็มโออย่างมากจากกลุ่มองค์กรอิสระ (NGO) อาทิ กลุ่มกรีนพีช และกลุ่มเกษตรอินทรีย์ ในปี 2546 ในเรืองความปลอดภัย มาตรการการควบคุมจากหน่วยงานของรัฐบาล ่ ทีไม่มประสิทธิภาพ และผลกระทบต่อการส่งออกสินค้าทางการเกษตรของประเทศ อีกทัง ไม่มกฎหมาย ่ ี ้ ี ควบคุมจีเอ็มโอโดยเฉพาะ ทําให้รฐบาลมีคาสังห้ามปลูกทดลองพืชจีเอ็มโอ อย่างไรก็ตาม อาจกล่าวได้ว่า ั ํ ่ ประเทศไทยมีความพร้อมในการพัฒนาจีเอ็มโอ ทังด้านบุคลากร เครืองมือและอุปกรณ์ หน่วยงาน ้ ่ ควบคุม และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี อีกทัง กําลังมีการดําเนินการออกกฎหมายเพื่อควบคุมจีเอ็มโอ ้ มาบังคับใช้ในไม่ชานี้ ้ ถึงแม้ว่า ประเทศไทยจะมีความพร้อมในหลายด้านก็ตาม จากหลักฐานเชิงประจักษ์ ได้พบว่า ความรู้และความเข้าใจเทคโนโลยีจเอ็มโอของประชาชนหรือผู้บริโภคชาวไทยยังมีอ ยู่จํากัด ซึ่งจะเป็ น ี อุปสรรคสําคัญของการพัฒนาจีเอ็มโอในประเทศไทย หากรัฐบาลต้องการผลักดันการพัฒนาจีเ อ็มโอใน ประเทศไทย ผู้ศกษามีความเห็นว่า รัฐบาลต้องมุ่งเน้ นการประชาสัมพันธ์เชิงรุกเพื่อให้ความรูและความ ึ ้ เข้าใจเกี่ยวกับข้อดีและข้อเสียของจีเอ็มโอแก่ประชาชนให้มากยิงขึน รวมถึงการแสวงหาวิธการแก้ไข ่ ้ ี ั ั ปญหาการส่ งออก ซึ่ง เป็ นปญหาสําคัญ ที่จะส่ งผลกระทบต่ อ เกษตรกรโดยตรง เมื่อใดที่ประชาชนหรือ ผูบริโภคมีความเข้าใจและเล็งเห็นถึงประโยชน์ของจีเอ็มโอมากกว่าโทษแล้ว ประชาชนจะให้การสนับสนุ น ้ การพัฒนาจีเอ็มโอเพิมมากขึน และส่งผลให้การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทยมี ่ ้ ความก้าวหน้าเพิมขึนอีกแขนงหนึ่ง ่ ้ -2-
  • 14. บทนา ิ ั ั การดําเนินชีวตในปจจุบนก้าวหน้าไปพร้อมกับการพัฒนาเทคโนโลยีและวิทยาการใหม่ๆ ทีเกิดขึน ่ ้ อย่างรวดเร็ว ทําให้ม ีเ ทคโนโลยีด้านใหม่ๆ ขึ้น มารับ ใช้มนุ ษ ย์อ ย่างต่ อ เนื่อ ง ไม่ว่าจะเป็ น เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีนาโน เทคโนโลยีดานวัสดุใหม่ ฯลฯ แต่กระนันเมื่อประชากรของโลก ้ ้ มีจานวนเพิมสูงขึนและภาวะความต้องการอาหารเพิมขึน อีกทัง มีภาวะโรคภัยอุบตใหม่ทมนุ ษย์ต้องเผชิญ ํ ่ ้ ่ ้ ้ ั ิ ่ี มากยิงขึน ทําให้มนุ ษย์ดนรนค้นคว้าหาวิทยาการใหม่ขนมาเพื่อเอาชนะอุปสรรคทีเกิดขึน และเทคโนโลยี ่ ้ ้ิ ้ึ ่ ้ ดัดแปลงพันธุกรรมของสิงมีชวต หรือเรียกโดยย่ อว่า “จีเอ็มโอ” Genetically Modified Organism: GMO) ่ ีิ จึงได้รบการค้นคว้า และนําออกเผยแพร่เพื่อเป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ ั ในทศวรรษทีผ่านมา จีเอ็มโอ มีบทบาทต่อมนุ ษย์โลกในฐานะทีเป็ นเครื่องมือช่วยปรับปรุงผลผลิต ่ ่ ด้านอาหารให้เพียงพอต่อปากท้องของมนุ ษย์หรือช่วยพัฒนาเทคนิคการรักษาพยาบาล ในวงการแพทย์ ได้มการกล่าวขานถึงพืชดัดแปลงทางพันธุกรรมอย่างต่อเนื่อง ทังในแง่บวกและแง่ลบ และได้มขอมูลด้าน ี ้ ี้ การดัดแปลงพันธุกรรมพืชเพื่อเป็ นอาหารของมนุ ษย์ออกมาเผยแพร่อยู่เนือ งๆ อย่างเช่น การพัฒนาให้ม ี ผลผลิตที่สูงขึน มีความต้านทานต่อโรคและแมลง แต่ความก้าวหน้าในเทคโนโลยีน้ี ยังคลอบคลุมไปถึง ้ ิ ์ ่ ั ั จีเอ็มโอในจุลนทรียและสัตว์ ซึงปจจุบนประเทศสหรัฐอเมริกา กําลังพัฒนาสิงมีชวตทังสองอย่างต่อเนื่อง ่ ีิ ้ และยังมีขอมูลไม่แพร่หลายมากนัก สํานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (โดยสํานักงานที่ ้ ปรึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจํากรุงวอชิงตัน) จึงให้มโครงการสืบค้นข้อมูลความก้าวหน้า ี และสถานะเทคโนโลยีชวภาพด้าน GMOs (Genetically Modified Organisms) ในประเทศสหรัฐอเมริกา ี เพื่อ นํ าออกเผยแพร่แ ละเป็ น ฐานข้อ มูล ในการสนับสนุ นและส่ งเสริมการพัฒ นาด้า นวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี รวมถึงพัฒนากระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมอาหารของประเทศไทยให้มประสิทธิภาพอย่าง ี ยังยืน เพื่อช่วยเพิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยในระยะยาวต่อไป ่ ่ รายงานสถานะเทคโนโลยีชวภาพด้าน GMOs (Genetically Modified Organisms) ในประเทศ ี สหรัฐอเมริกาฉบับนี้ประกอบไปด้วยผลการศึกษาจํานวน 3 บท โดยบทที่ 1 กล่าวถึงความสําคัญของ เทคโนโลยีจเี อ็มโอ บทที่ 2 แสดงผลการศึกษาสถานะทางเทคโนโลยีจเี อ็มโอในประเทศสหรัฐอเมริกา โดย ศึกษาสถานะทางเทคโนโลยีชวภาพของจุลนทรียดดแปลงทางพันธุกรรม สถานะทางเทคโนโลยีของพืช ี ิ ์ ั ดัดแปลงทางพันธุกรรม และสถานะทางเทคโนโลยีของสัตว์ดดแปลงพันธุกรรม บทที่ 3 ศึกษาสถานะทาง ั เทคโนโลยีสงมีชวตดัดแปลงพันธุกรรมในประเทศไทย และบทสรุปและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการ ิ่ ี ิ พัฒนาเทคโนโลยีชวภาพด้านจีเอ็มโอในประเทศไทย ี -3-
  • 15. บทที่ 1 ความสาคัญของเทคโนโลยีจีเอ็มโอ จํานวนประชากรโลกทีเพิมสูงขึน ทําให้พนทีเพาะปลูกเพื่อใช้ในการผลิตอาหารของมนุษย์มจากัด ่ ่ ้ ้ื ่ ีํ และมนุษย์มการบริโภคในปริมาณทีมากขึน ผูผลิตอาหารจึงจําเป็ นทีตองหาเทคโนโลยีทช่วยเพิมผลผลิต ี ่ ้ ้ ่ ้ ่ี ่ ให้เพียงพอต่อความต้องการของประชากรโลก GMOs หรือ จีเอ็มโอ (ต่อไปนี้จะใช้คําว่าจีเอ็มโอ เมือ ่ กล่าวถึงสิงมีชวตดัดแปลงทางพันธุกรรม) จึงเป็ นอีกทางเลือกหนึ่ง ทีหลายประเทศให้ความสนใจและเฝ้า ่ ีิ ่ ั ั ่ ีิ ่ ี ศึกษาค้นคว้าถึงข้อดีและข้อเสียของเทคโนโลยีน้ี ปจจุบนสิงมีชวตทีมการวิจยและพัฒนาปรับปรุงพันธุให้ ั ์ ได้ลกษณะตามต้องการมากทีสุด คือ พืช เนื่องจากพืชเป็ นอาหารหลักของมนุษย์ นอกจากนี้ สัตว์และ ั ่ จุลนทรียได้รบความสนใจในการปรับปรุงพันธุดวยเช่นกันแต่อยูในวงจํากัด โดยมุงเน้นด้านการแพทย์เป็ น ิ ์ ั ์ ้ ่ ่ หลัก ประเทศไทยเป็ นประเทศเกษตรกรรมจึงยากทีจะหลีกเลียงการเข้ามาของจีเอ็มโอ ดังนันจึงจําเป็ น ่ ่ ้ อย่างยิงทีคนไทยจะต้องตื่นตัวศึกษาและเรียนรูให้เท่าทันเทคโนโลยีจเี อ็มโอ เพื่อสามารถนําไปปรับใช้ให้ ่ ่ ้ เป็นประโยชน์ต่อประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ั ั จีเอ็มโอมีความสําคัญอย่างยิงในปจจุบน และเพื่อทราบความเป็ นมาและความสําคัญของจีเอ็มโอ ่ ในบทนี้ จะสรุปให้ท ราบถึงความเป็ นมาของการพัฒนาจีเ อ็ม โอ อธิบ ายให้ท ราบว่ าจีเ อ็มโอคือ อะไร ี ั ั เทคโนโลยีท่ใช้ในการปรับปรุงพันธุกรรมในปจจุบน การแบ่งประเภทของจีเอ็มโอ และประโยชน์ท่ได้รบ ี ั จากจีเอ็มโอ 1.1 ประวัติความเป็ นมาของจีเอ็มโอ ในปี 1973 สิงมีชวตดัดแปลงทางพันธุกรรมทีถูกสร้างขึนมาครังแรก คือ แบคทีเรีย E. coli โดย ่ ีิ ่ ้ ้ Stanley Cohen และ Herbet Boyer แบคทีเรีย E. coli นี้ มีการแสดงออกทางลักษณะของยีนทีได้จาก่ เชื้อแบคทีเรีย Salmonella หลังจากนันไม่นานในเดือนกุมภาพันธ์ปี 1975 ได้มการจัดประชุมเกี่ยวกับ ้ ี เทคโนโลยีใหม่น้ีและประเมินความเสียงต่างๆ ทีอาจจะเกิดขึน ณ ศูนย์ประชุม Asilomar เมือง Monterey ่ ่ ้ มลรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ผลการประชุมสรุปว่าเทคโนโลยีน้ีสามารถดําเนินการต่อไปได้ แต่ต้องอยู่ภายใต้การดูแลอย่างใกล้ชดโดยสถาบันวิจยสุขภาพของประเทศสหรัฐฯ จนกว่าจะพิสูจน์ได้ว่า ิ ั เทคโนโลยีน้ีปลอดภัย ต่อมา Herbet Boyer จัดตังบริษท Genentech ซึงเป็ นบริษทแรกทีใช้เทคโนโลยี ้ ั ่ ั ่ Recombinant DNA และในปี 1978 บริษทนี้ได้ประกาศความสําเร็จในการผลิตอินซูลน (Insulin) จาก ั ิ E. coli ภายหลังจากนันในราวปี 1986 มีการต่อต้านเทคโนโลยีชวภาพในการสร้างพืชที่ต้านทานความ ้ ี หนาวเย็นจากการถ่ายยีนของแบคทีเรียทีทนอุณ หภูมต่ําได้ (ice-minus bacteria) ที่พฒนาโดยบริษท ่ ิ ั ั Advanced Genetic Sciences of Oakland มลรัฐแคลิฟอร์เนีย และในปีเดียวกันได้มการต่อต้านการตัด ี แต่งทางพันธุกรรมของจุลนทรียทสร้างโปรตีนทีตานทานต่อยาฆ่าแมลงของบริษท Monsanto จะเห็นได้ว่า ิ ์ ่ี ่ ้ ั -4-
  • 16. การพัฒนาจีเอ็มโอเกิดขึนมาประมาณ 30 กว่าปีมาแล้ว จากนี้เรามาดูความหมายของจีเอ็มโอ และวิธการ ้ ี หรือเทคนิคการสร้างจีเอ็มโอว่ามีอะไรบ้าง 1.2 จีเอ็มโอคืออะไร จีเอ็มโอ (GMOs) หรือย่อมาจากคําว่า Genetically Modified Organisms เป็ นสิงมีชวตดัดแปลง ่ ีิ ทางพันธุกรรมทีได้จากความก้าวหน้าของวิทยาการทางด้านเทคโนโลยีชวภาพและชีววิทยาระดับโมเลกุล ่ ี (Molecular Biology) โดยการตัดต่อยีนจากสิงมีชวตหนึ่ง ใส่เข้าไปในสิงมีชวตอีกชนิดหนึ่งเพื่อให้เกิด ่ ีิ ่ ีิ ลักษณะหรือคุณสมบัตใหม่ตามต้องการ หรือทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปจากพันธุ์ท่มอยู่ในธรรมชาติ ิ ี ี โดยอาศัยเทคนิคทางพันธุวศวกรรมทีเรียกว่า รีคอมบ์บแนนท์ดเี อ็นเอ (Recombinant DNA) ิ ่ ิ ก่อนที่จะอธิบายถึงการสร้างจีเอ็มโอ ขอทําความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับยีน (gene) กันก่อน สิ่งมีชีว ิต ทุก ชนิด มีห น่ ว ยพันธุ ก รรมหรือ ยีน (Gene) ที่เ ป็ น ตัว กําหนดหรือ ควบคุ มการแสดงออกของ ลักษณะต่างๆ ของสิงมีชวตทุกชนิด โดยยีนเหล่านันอยู่บนสายดีเอ็นเอ (DNA: Deoxyribonucleic acid) ่ ีิ ้ หรือลายพิมพ์ดเอ็นเอ (ดังแสดงไว้ในภาพที่ 1) ยีนจะอยู่ในนิวเคลียสของทุกเซลล์ในสิงมีชวต เช่น เลือด ี ่ ีิ ผิวหนัง ขน ชินเนื้อ ฯลฯ คุณสมบัตทสาคัญของยีน คือ ยีนสามารถเก็บและถ่ายทอดข้อมูลทางพันธุกรรม ้ ิ ่ี ํ ภาพที่ 1 หน่วยพันธุกรรมในเซลล์ของสิงมีชวต ่ ีิ ที่มา: http://articles.directorym.net/Recombinant_DNA_San_Francisco_CA-r1051910-San_ Francisco_CA.html -5-
  • 17. จากบรรพบุรษไปยังลูกหลานได้เพื่อการดํารงเผ่าพันธุ์ ุ การถ่ายทอดพันธุกรรมนี้เป็นสิงทีเกิดขึนตาม ่ ่ ้ ธรรมชาติ และเป็ นสิงสําคัญต่อการพัฒนาสายพันธุใหม่ อีกทังเป็นวิวฒนาการของสิงมีชวตชนิดนันๆ ่ ์ ้ ั ่ ีิ ้ ความแตกต่างของสิงมีชวตแต่ละชนิดอยูทลายพิมพ์ของยีนทีอยู่บนดีเอ็นเอ หรือลายพิมพ์ดเอ็นเอ ่ ีิ ่ ่ี ่ ี ไม่มส ิ่งมีชว ิตใดหรือ มนุ ษย์คนใดที่มลายพิมพ์ดีเ อ็นเอเหมือนกัน ดังนัน ยีนสามารถเป็ นตัวบ่งบอกถึง ี ี ี ้ เอกลักษณ์เฉพาะของสิงมีชวตแต่ละชนิด หรือแต่ละบุคคลได้ นักวิทยาศาสตร์จงนําไปใช้ประโยชน์ในการ ่ ีิ ึ ตรวจสอบพันธุ์พชและสัตว์ หรือสายเลือดของมนุ ษย์ได้ โดยลายพิมพ์ดเอ็นเอของลูกมาจากพ่อครึงนึง ื ี ่ และจากแม่ครึงนึง ่ คําจํากัดความของสิงมีชวตดัดแปลงทางพันธุกรรม (GMOs) นี้ ไม่รวมถึงสิงมีชวตที่ได้รบการ ่ ีิ ่ ีิ ั ปรับปรุงทางพันธุกรรมโดยวิธการปรับปรุงพัน ธุพชแบบดังเดิม (Conventional Breeding) ที่ได้จากการ ี ์ ื ้ ผสมข้ามพันธุพชตามธรรมชาติหรือจากการผสมโดยมนุ ษย์ เพื่อให้ได้ลกษณะใหม่ทต้องการ เช่น ทนแล้ง ์ ื ั ่ี ให้ผลผลิตสูง ต้านทานแมลง เป็ นต้น ซึงวิธการนี้จะใช้เวลานานในการคัดเลือกพันธุ์ให้ได้ตามลักษณะที่ ่ ี ต้องการ นักวิทยาศาสตร์จงได้พฒนาเทคนิคทางพันธุวศวกรรมทีสามารถปรับปรุงพันธุ์สงมีชวตให้ ได้ ึ ั ิ ่ ิ่ ี ิ ลักษณะทีตองการ มีความหลากหลายและรวดเร็วขึน ่ ้ ้ 1.3 เทคนิ คทีใช้ในการปรับปรุงพันธุกรรม ่ เมือเราทราบว่าจีเอ็มโอเป็นอย่างไรแล้ว เรามาดูเทคนิคทีสาคัญทีเป็ นหัวใจของการสร้างสิงมีชวต ่ ่ํ ่ ่ ีิ ดัดแปลงทางพันธุกรรม นันคือ เทคนิครีคอมบิแนนท์ดเี อ็นเอ (Recombinant DNA) เทคนิคนี้เป็ นวิธการ ่ ี ปรับปรุงพันธุทรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากกว่าวิธการปรับปรุงพันธุกรรมของสิงมีชวตแบบดังเดิม ซึง ์ ่ี ี ่ ีิ ้ ่ เทคนิคนี้จะถ่ายยีนทีแสดงลักษณะทีน่าสนใจหรือยีนเป้าหมายจากสิงมีชวตหนึ่ง ซึงเรียกว่า Donor gene ่ ่ ่ ีิ ่ ไปสู่สงมีชวตทีตองการปรับปรุงพันธุกรรม (Recipient organism) ิ่ ี ิ ่ ้ ขันตอนและวิธการของเทคนิครีคอมบิแนนท์ดเี อ็นเอ (ดังแสดงไว้ในภาพที่ 2) มีขนตอนดังนี้ ้ ี ั้ ขันตอนแรก จะเป็นการเตรียมเซลล์ผให้ (Donor cell) ซึงแบคทีเรียทีนิยมใช้ คือ E. coli และมี ้ ู้ ่ ่ องค์ประกอบทางชีววิทยาภายในแบคทีเรียทีสาคัญในกระบวนการนี้ คือ Plasmid DNA ทีจะทําหน้าทีเป็น ่ํ ่ ่ พาหะ (vector) ขนถ่ายยีนทีสนใจหรือยีนเป้าหมาย จากนันจะสกัดแยกพลาสมิดออกจากเซลล์แบคทีเรีย ่ ้ ส่วนใหญ่จะเลือกพลาสมิดทีสามารถต้านทานต่อยาปฎิชวนะได้อย่างน้อย 1-2 ชนิด เพื่อเป็นคุณสมบัตใน ่ ี ิ การคัดแยกพลาสมิดทีมยนเป้าหมายทีเราต้องการ (recombinant DNA) ่ ี ี ่ ขันตอนต่อไปจะแยกดีเอ็นเอผูให้ (Donor DNA) ทีมยนเป้าหมาย ดีเอ็นเอผูให้จะได้มาจากหลาย ้ ้ ่ ี ี ้ แหล่ง เช่น สัตว์ พืช หรือ เซลล์มนุษย์ จากนันเป็ นกระบวนการต่อเชื่อมดีเอ็นเอเป้าหมายกับพลาสมิด ้ กลายเป็ นรีคอมบิแนนท์ดเี อ็นเอ (recombinant DNA; rDNA) นํา rDNA ทีได้ถ่ายกลับเข้าไปในเซลล์ ่ -6-
  • 18. แบคทีเรียโดยวิธการทีเรียกว่า Transformation ภายหลังจากทีได้แบคทีเรียทีมยนเป้าหมายแล้ว จะทําการ ี ่ ่ ่ ี ี เลียงแบคทีเรียเพื่อเพิมปริมาณยีนเป้าหมาย และสกัดแยก rDNA ออก เมือได้ปริมาณ rDNA ทีมยน ้ ่ ่ ่ ี ี เป้าหมายในปริมาณทีมากแล้ว ขันตอนต่อไปจะเป็ นการถ่ายยีนนี้ส่สงมีชวตต่างๆ เช่น พืช สัตว์ จุลนทรีย์ ่ ้ ู ิ่ ี ิ ิ เป็นต้น ในวิธการทีแตกต่างกัน ี ่ ภาพที่ 2 วิธเี ทคนิครีคอมบิแนนท์ดเี อนเอ (Recombinant DNA) ในเซลล์แบคทีเรีย ที่มา: http://articles.directorym.net/Recombinant_DNA_San_Francisco_CA-r1051910 San_Francisco_CA.html ั ั ในปจจุบนเราสามารถสร้างสิงมีชวตดัดแปลงทางพันธุกรรมได้ในจุลนทรีย์ พืช และสัตว์ เรามาดู ่ ีิ ิ กันว่าการสร้างจีเอ็มโอในสิงมีชวตเหล่านี้ทําอย่างไร มีชนิดใดบ้างทีนํามาทดลองสร้างจีเอ็มโอและลักษณะ ่ ีิ ่ ่ี ั ุ่ ่ ั ั สําคัญทีเป็นประโยชน์ต่อมนุ ษย์ทนกวิทยาศาสตร์มงเน้นทีจะพัฒนาในปจจุบนและในอนาคต ่ -7-
  • 19. 1.4 การแบ่งประเภทของจีเอ็มโอ จีเอ็มโอ สามารถจัดแบ่งได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1. จุลนทรียดดแปลงพันธุกรรม ิ ์ ั 2. พืชดัดแปลงพันธุกรรม 3. สัตว์ดดแปลงพันธุกรรม ั ซึงแต่ละประเภทมีรายละเอียดสรุปได้ดงนี้ ่ ั 1.4.1 จุลินทรียดดแปลงทางพันธุกรรม (Microorganism GM หรือ Transgenic ์ ั microorganism) ดังทีกล่าวไว้ขางต้น สิงมีชวตทีถูกดัดแปลงทางพันธุกรรมด้วยเทคนิคทางพันธุวศวกรรมประเภท ่ ้ ่ ีิ ่ ิ แรก คือ จุลนทรีย์ (Microorganism) ในเวลาต่อมานักวิทยาศาสตร์ได้พฒนาจุลนทรียดดแปลงพันธุกรรม ิ ั ิ ์ ั มากขึน เพื่อประโยชน์ดานอุตสาหกรรมอาหาร ทางการแพทย์ และทางด้านสิงแวดล้อม ้ ้ ่ วิธการถ่ายยีนเป้าหมายหรือยีนที่มคุณสมบัตพเศษที่เราต้องการไปสู่จุลนทรีย์ เพื่อให้จุลนทรีย์ ี ี ิ ิ ิ ิ สามารถสร้างสารหรือมีการแสดงออกเฉพาะตามที่เราต้องการนัน ทําได้โดยอาศัยเทคนิค recombinant ้ DNA ดังทีได้กล่าวมาข้างต้น และใช้เทคโนโลยีชวภาพในการผลิตและสกัดแยกสารทีเราต้องการออกมา ่ ี ่ จากกระบวนการผลิต เช่น การเลี้ยงจุลนทรีย์ท่ผลิตกรดแลกติกในถังหมักชีวภาพ (Bioreactor) ซึ่งกรด ิ ี แลกติกเป็นกรดทีสาคัญในอุตสาหกรรมอาหาร ่ํ ทังนี้ ประโยชน์ทได้รบจากจุลนทรียดดแปลงทางพันธุกรรมในด้านต่างๆ ดังตัวอย่างเช่น ้ ่ี ั ิ ์ ั 1. ไวน์ จาก ยีสต์ GM 2. โยเกิรต และ Salami จาก แบคทีเรียกรดแลกติก GM ์ 3. Blue Cheese จาก เชือรา GM ้ 4. เอนไซม์ Amylase จากแบคทีเรีย GM 5. โปรตีนทีเป็นประโยชน์ทางการแพทย์จากแบคทีเรีย GM ่ 6. แบคทีเรีย GM ทีกําจัดคราบนํ้ามัน ่ 7. แบคทีเรีย GM ทีช่วยป้องกันโรคเชือราในพืช ่ ้ 1.4.2 พืชดัดแปลงทางพันธุกรรม (Plant GM หรือ Transgenic Plants) พืชเป็นแหล่งอาหารหลักทีสําคัญของมนุ ษย์มาตังแต่ในอดีต ผลิตภัณฑ์อาหารส่วนมากมาจากพืช ่ ้ ในอดีตก่อนการสร้างพืชดัดแปลงทางพันธุกรรม มนุ ษย์ได้ปรับปรุงผลผลิตโดยใช้วธการคัดเลือกพันธุ์ตาม ิี ธรรมชาติ ซึ่งวิธการนี้มมานานหลายพันปีมาแล้ว แต่เมื่อไม่ก่รอยปีมานี้การคัดเลือกพันธุได้อาศัยความรู้ ี ี ี้ ์ ทางวิทยาศาสตร์ใ นการผสมข้ามพันธุ์ และคัดเลือ กพันธุ์ เ พื่อ ให้ได้ล กษณะที่ต้อ งการ (ให้ผ ลผลิต สูง , ั ต้านทานโรค เป็ นต้น) เราเรียกว่า การปรับปรุงพันธุแบบดังเดิม (Conventional Breeding) วิธการนี้จะใช้ ์ ้ ี -8-