SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่องเรขาคณิตวิเคราะห์ 
ขาคณิตวิเคราะห์ (Analytic Geometry) เป็นวิชาที่เป็นพื้นฐานที่สาคัญวิชาหนึ่งของ 
คณิตศาสตร์ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการนาความรู้ทางพีชคณิตมาช่วยในการแก้ปัญหาที่ 
เกี่ยวกับเรขาคณิต ดังนั้นวิชาเรขาคณิตวิเคราะห์จึงเน้นการแก้ปัญหาด้วยวิธีการทางพีชคณิต ทาให้ 
การศึกษาเรขาคณิตง่ายและน่าสนใจขึ้น 
1. ระยะทางระหว่างจุดสองจุด 
1.1 บนเส้นจานวน 
ถ้า A และ B เป็นจุดบนเส้นจานวนที่แทนด้วนจานวนจริง a และ b ตามลาดับแล้ว 
ระยะทางระหว่าง A และ B เท่ากับ a - b 
สัญลักษณ์ ระยะทางระหว่าง A และ B เขียนแทนด้วย AB หรือ AB ดังนั้น 
AB = a - b 
1.2 บนระนาบ 
ให้ P(x1, y1 ) และ Q(x2 , y2 ) เป็นจุดใด ๆ บนระนาบ ระยะทางระหว่างจุด P และ Q จะหาได้ 
โดย 
กรณี 1 : PQ ขนานกับแกน X (y1 = y2) 
PQ = x1 – x2 = x2 – x1 
กรณี 2 : PQ ขนานกับแกน Y (x1 = x2) 
PQ = y1 – y2 = y2 – y1 
กรณี 3 : PQ ไม่ขนานกับทั้งแกน X และแกน Y 
จากรูป PR = 
QR = 
จากทฤษฎีบทปีทาโกรัส จะได้ 
PQ2 = หรือ PQ = 
ดังนั้น PQ = หรือ PQ = 
เร 
R( ) 
Q(x2, y2) 
P(x1, y1)
ทฤษฎีบท 1 ถ้า P(x1, y1) และ Q(x2, y2) เป็นจุดสองจุดใด ๆ บนระนาบ แล้ว 
PQ = 2 
1 2 
2 
( x1 x2 ) ( y  y ) 
แบบฝึกหัด 
1. จงหาระยะทางระหว่างจุดสองจุดที่กาหนดให้ในข้อต่อไปนี้ 
1) A(5, 0), B(-4, 0) 
2) A(0, 6), B(0, 1) 
3) A(4, -2), B(-5-2) 
4) A(-1, 3) , B(-1, -4) 
5) A(-6, -6) , B(-6, 6) 
6) A(8, -5) , B(-8, -5) 
7) A(4, 1) , B(3, -2) 
8) A(-7, 4) , B(1, -11) 
9) A(0, 3) , B(-4, 1) 
10) A(-1, -5) , B(2, -3) 
11) A(2, -6), B(2, -2) 
12) A(-3, 1), B(3, -1) 
2. จงหาความยาวรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดมุมดังนี้ 
1) A(1, 2) , B(4, 3) , D(2, 4) 
2) A(2, -1) , B(4, 7) , D(5, 2)
3. จงแสดงว่ารูปสามเหลี่ยม ABC ซึ่งมีจุดยอดมุมตามที่กาหนดให้ในแต่ละข้อต่อไปนี้เป็นรูปสามเหลี่ยม มุมฉาก พร้อมทั้งหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม 
1) A(0, 9) , B(-4, -1) , C(3, 2) 
2) A(10, 5) , B(3, 2) , C(6, -5) 
3) A(3, -2) , B(-2, 3) , C(6, -5) 
4) A(-2, 8) , B(-6, 1) , C(0, 4) 
3. จงหาพิกัดของจุดที่สมาชิกตัวหน้าเป็น 3 และอยู่ห่างจาก A(-3, 6) เป็นระยะทาง 10 หน่วย 
4. วงกลมวงหนึ่งมีจุดศูนย์กลางที่จุด (6, 4) และผ่านจุด (3, 8) จงหารัศมีของวงกลมนี้
การหาพื้นที่ของรูปสามหลายเหลี่ยม 
พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดเป็น A(x1, y1), B(x2, y2), C(x3, y3) 
พื้นที่สามเหลี่ยม ABC = 2 
1 
1 1 
3 3 
2 2 
1 1 
x y 
x y 
x y 
x y 
= 2 
1 x1y2 + x2y3 + x3y1 – y1x2 – y2x3 – y3x1 
ถ้ากาหนดรูป n เหลี่ยมที่มีจุดยอดมุมเป็น A1(x1, y1), A2(x2, y2), A3(x3, y3), …, An(xn, yn) 
พื้นที่ของรูป n เหลี่ยม = 2 
1 
1 1 
n n 
3 3 
2 2 
1 1 
x y 
x y 
x y 
x y 
x y 
  
= 2 
1 
x1y2 + x2y3 + x3y4 + … + xny1 - y1x2 – y2x3 – y3x4 - … - ynx1 
หมายเหตุ การหาพื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยมต้องวาดรูปประกอบการหาด้วย แล้วเรียงจุดในทิศทาง 
ทวนเข็มนาฬิกา 
แบบฝึกหัด 
จงหาพื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยมที่มีจุดยอดมุมดังต่อไปนี้ 
1) A(2, -3) , B(4, 2) , C(-5, -2) 
2) A(-3, 4) , B(6, 2) , C(4, -3)
3) A(-8, -2) , B(-4, -6) , C(-1, 5) 
4) A(2, 5) , B(7, 1) , C(3, -4) , D(-2, 3) 
5) A(0, 4) , B(1, -6) , C(-2, -3) , D(-4, 2) 
6) A(1, 5) , B(2, 4) , C(-3, -1) , D(2, -3) , E(5, 1)
2. จุดกึ่งกลางระหว่างจุดสองจุด 
ทฤษฎีบท 2 กาหนด AB โดยมีจุดปลายที่จุด A(x1, y1) และ B(x2, y2) 
P(x, y) เป็นจุดบน AB โดยมีอัตราส่วนการแบ่ง PB 
AP = r จะได้ 
x = r 
x rx 
 
 
1 
1 2 , y = r 
y ry 
 
 
1 
1 2 
ตัวอย่าง 1 AB เป็นเส้นตรงที่มีจุดปลายที่ A(2, 4), B(3, -6) โดยมีอัตราส่วนการแบ่งเป็น 
3 
2 
จงหา 
จุดแบ่งของ AB 
วิธีทา ให้ P(x, y) เป็นจุดแบ่งของ AB 
x = = = 
y = = = 
ดังนั้น พิกัดของจุดแบ่ง คือ 
บทแทรก กาหนด AB เป็นเส้นตรงที่มีจุดปลายที่ A(x1, y1), B(x2, y2) 
ถ้า P(x, y) เป็นจุดกึ่งกลางของ AB แล้ว 
x = 2 
x1  x2 
, y = 2 
y1  y2 
ตัวอย่าง 2 จงหาจุดกึ่งกลางระหว่าง A(-2, 5) และ B(6, -3) 
วิธีทา ให้ P(x, y) เป็นจุดกึ่งกลางของ AB แล้ว 
x = = = 
y = = = 
ดังนั้น จุดกึ่งกลางของ AB คือ 
ตัวอย่าง 3 จุดปลายของเส้นผ่านศูนย์กลางเป็น (1, 3) และ (7, 11) จงหา 
1) จุดศูนย์กลายของวงกลมนี้ 
2) ความยาวของรัศมีของวงกลมนี้
พิกัดของจุดตัดของเส้นมัธยฐานของรูปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดมุมเป็น (x1, y1), (x2, y2) และ 
(x3, y3) คือ ( 3 
x1  x2  x3 
, 3 
y1  y2  y3 
) 
ตัวอย่าง 4 จงหาพิกัดของจุดตัดของเส้นมัธยฐานของรูปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดมุมเป็น A(2, 6), 
B(-3, -1) และ C(7, 4) 
วิธีทา ให้ P(x, y) เป็นจุดตัดของเส้นมัธยฐาน ดังนั้น 
x = 
= 
y = 
= 
ดังนั้นพิกัดของ P คือ 
แบบฝึกหัด 
1. จงหาจุดกึ่งกลางของ AB เมื่อกาหนดจุด A และ B ดังต่อไปนี้ 
1) A(2, 3), B(4, 7) 
2) A(-2, -3), B(4, -5) 
3) A(-2, 4), B(1, -1) 
4) A(0, 0), B(4, -6) 
2. จุดกึ่งกลางของ AB อยู่ที่จุด (-1, 2) ถ้าพิกัดของ A คือ (2, -1) จงหาพิกัดของ B 
3. จงหาความยาวของเส้นมัธยฐานทั้งสามเส้นของรูปสามเหลี่ยม ABC เมื่อกาหนดจุด A, B และ C ดังนี้ 
1) A(2, -1), B(4, 3), C(-2, 5) 
ให้ D เป็นจุดกึ่งกลางของ AB ดังนั้นพิกัดของ D คือ 
ดังนั้น CD =
ให้ E เป็นจุดกึ่งกลางของ BC ดังนั้นพิกัดของ E คือ 
ดังนั้น AE = 
ให้ F เป็นจุดกึ่งกลางของ AC ดังนั้นพิกัดของ F คือ 
ดังนั้น BF = 
2) A(0, 4), B(6, 0), C(-2, 2) 
ให้ D เป็นจุดกึ่งกลางของ AB ดังนั้นพิกัดของ D คือ 
ดังนั้น CD = 
ให้ E เป็นจุดกึ่งกลางของ BC ดังนั้นพิกัดของ E คือ 
ดังนั้น AE = 
ให้ F เป็นจุดกึ่งกลางของ AC ดังนั้นพิกัดของ F คือ 
ดังนั้น BF = 
4. จงหาจุดตัดของเส้นมัธยฐานของรูปสามเหลี่ยม ABC ดังต่อไปนี้ 
1) A(5, 7), B(1, -3), C(-5, 1) 
จุดตัดของเส้นมัธยฐาน = 
= 
2) A(2, -1), B(6, 7), C(-4, -3) 
จุดตัดของเส้นมัธยฐาน = 
= 
3) A(3, 6), B(-5, 2), C(7, -6) 
จุดตัดของเส้นมัธยฐาน = 
= 
4) A(7, 4), B(3, -6), C(-5, 2) 
จุดตัดของเส้นมัธยฐาน = 
= 
4. จงหาพิกัดของจุดแบ่ง C ของ AB โดยที่แบ่ง AB ออกเป็นอัตราส่วน 
CD 
AB 
= r ดังต่อไปนี้ 
1) A(-2, 8), B(5, -6), r = 
4 
3
2) A(-3, -1), B(6 2) , r = 
2 
5 
3) A(0, 0), B(7, 5), r = 
2 
5 
4) A(1, 7), B(6, -3) , r = 
3 
2 
5) A(4, -3), B(1, 4) , r = 2 
6) A(2, -5), B(6, 3) , r = 
7 
3 
6. กาหนดจุด A(-4, -2) และ B(8, 6) จงหาจุดบน AB ซึ่งแบ่ง AB ออกเป็น 4 ส่วน แต่ละส่วนมีความยาว 
เท่า ๆ กัน
3. ความชันของเส้นตรง 
บทนิยาม 1 กาหนดให้  เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุด A(x1, y1) และ B(x2, y2) โดยที่ x1  x2 ความชันของ 
เส้นตรง  คือ จานวนจริงที่มีค่าเท่ากับ 
1 2 
1 2 
x x 
y y 
 
 
หรือ 
2 1 
2 1 
x x 
y y 
 
 
สัญลักษณ์ ให้ m แทนความชัดของเส้นตรง  ดังนั้น 
m = 
1 2 
1 2 
x x 
y y 
 
 
= 
2 1 
2 1 
x x 
y y 
 
 
โดยที่ x1  x2 
ถ้า x1 = x2 แล้วเส้นตรง จะไม่มีความชัน 
ความชันของเส้นตรง  แบ่งเป็น 3 ลักษณะ 
ลักษณะที่ 1 m = 0 
m = 0 ก็ต่อเมื่อ y1 – y2 = 0 
ก็ต่อเมื่อ y1 = y2 
ก็ต่อเมื่อ เส้นตรง  ขนานกับแกน X 
ลักษณะที่ 2 m > 0 
m > 0 ก็ต่อเมื่อ (y1 – y2 > 0 และ x1 – x2 > 0) หรือ (y1 – y2 < 0 และ x1 – x2 < 0) 
ก็ต่อเมื่อ (y1 > y2 และ x1 > x2) หรือ (y1 < y2 และ x1 < x2) 
ลักษณะที่ 3 m < 0 
m < 0 ก็ต่อเมื่อ (y1 – y2 < 0 และ x1 – x2 > 0) หรือ (y1 – y2 > 0 และ x1 – x2 < 0) 
ก็ต่อเมื่อ (y1 < y2 และ x1 > x2) หรือ (y1 > y2 และ x1 < x2) 
บทแทรก จุด A, B และ C จะอยู่บนเส้นตรงเดียวกันก็ต่อเมื่อ 
ความชันของ AB = ความชันของ AC 
แบบฝึกหัด 
1. จงหาความชันของเส้นตรง  ที่ผ่านจุดสองจุดในแต่ละข้อต่อไปนี้ 
1) (3, 4), (1, -2) 
2) (-5, 3), (2, -3) 
3) (6, 0), (6, 3 ) 
4) (1, 3), (7, 1)
5) (2, 4), (-2, 4) 
6) (5, 7), (8, 4) 
2. จงหาจานวนจริง x ที่ทาให้เส้นตรงที่ผ่านจุด A และ B มีความชัน m ตามที่กาหนดให้ต่อไปนี้ 
1) A(3, x), B(2, 5) และ m = -2 
2) A(-4, 3), B(x, 1) และ m = 
4 
1 
3) A(x, x), B(2, 3) และ m = 5 
4) A(2x, -4), B(2, x) และ m = 5 
5) A(1 + x, 3), B(2x – 1, 5) และ m = 
4 
3 
 
3. จงตรวจสอบดูว่าจุด A, B และ C ในข้อต่อไปนี้อยู่บนเส้นตรงเดียวกันหรือไม่ 
1) A(2, 3), B(-4, 7), C(5, 8)
2) A(4, 1), B(5, -2), C(6, -5) 
3) A(-1, -4), B(2, 5), C(7, -2) 
4) A(0, 5), B(5, 0), C(6, -1) 
5) A(a, 0), B(2a, -b), C(-2, b) 
6) A(-3, 4), B(3, 2), C(6, 1)
4. เส้นขนาน 
ทฤษฎีบท 4 กาหนดให้ 1 และ 2 เป็นเส้นตรงที่ไม่ขนานกับแกน Y และให้ m1 และ m2 แทนความ ชันของ 1 และ 2 ตามลาดับ จะได้ว่า 
1) ถ้า m1 = m2 แล้ว 1  2 
2) ถ้า 1  2 แล้ว m1 = m2 
แบบฝึกหัด 
1. ในโจทย์ข้อต่อไปนี้กาหนดจุด A, B, C และ D ให้ 1 เป็นเส้นตรงที่ผ่าน A และ B และ 2 เป็น เส้นตรงที่ผ่าน C และ D จงตรวจดูว่า 1  2 หรือไม่ 
1) A(-3, 2), B(5, -1), C(2, 3) และ D(10, 0) 
2) A(1, -3), B(4, 0), C(2, 2) และ D(3, 1) 
3) A(9, 5), B(1, 5), C(5, 2) และ D(-4, 2) 
4) A(5, 1), B(0, 7), C(4, 3) และ D(1, -2) 
5) A(-6, 5), B(12, 2), C(5, 0) และ D(8, -4) 
6) A(3, 3), B(3, 6), C(6, 5) และ D(6, -3)
2. ในโจทย์ข้อต่อไปนี้ กาหนดจุด A, B, C และ D จงตรวจสอบดูว่ารูปสี่เหลี่ยม ABCD เป็นสี่เหลี่ยมด้าน ขนานหรือสี่เหลี่ยมคางหมู หรือไม่เป็นทั้งสองอย่าง 
1) A(-5, 3), B(-4, -2), C(1, -1) และ D(0, 4) 
2) A(1, 3), B(2, 5), C(6, 17) และ D(5, 15) 
3) A(2, 3), B(4, 1), C(0, -8) และ D(-5, -3) 
4) A(3, -1), B(2, -6), C(1, 7) และ D(0, -8) 
5) A(3, 0), B(3, 5), C(0, 9) และ D(0, 4)
3. จุด A(-2, -3), B(-1, -1), C(3, 11) และ D(x, y) เป็นจุดยอดมุมของสี่เหลี่ยมด้านขนาน จงหาพิกัดของ 
D 
5. เส้นตั้งฉาก 
ทฤษฎีบท 5 กาหนดให้ 1 และ 2 เป็นเส้นตรงที่ไม่ขนานกับแกน Y โดยมีความชันเท่ากับ m1 และ 
m2 ตามลาดับ จะได้ว่า 
1) ถ้า 1 ตั้งฉากกับ 2 แล้ว m1m2 = -1 
2) ถ้า m1m2 = -1 แล้ว 1 ตั้งฉากกับ 2 
หมายเหตุ ถ้ากาหนดความชันของเส้นตรง 1 = m1  0 และ 2 เป็นเส้นตั้งฉากกับ 1 จะได้ว่า 
ถ้า m2 เป็นความชันของ 2 แล้ว 
m2 = 
1 
1 
 m 
แบบฝึกหัด 
1. ในโจทย์ข้อต่อไปนี้ จงตรวจสอบดูว่าเส้นตรง 1 ที่ผ่านจุด A และ B ตั้งฉากกับ 2 ที่ผ่านจุด C และ 
D หรือไม่ 
1) A(-5, 2), B(3, -1), C(4, 2) และ D(7, 10) 
2) A(5, 3), B(8, 3), C(7 ,4) และ D(7, -4)
3) A(2, -3), B(-5, 1), C(7, -1) และ D(0, 3) 
4) A(2, -3), B(-5, 0), C(4, 5) และ D(0, 2) 
2. ในโจทย์ข้อต่อไปนี้จงตรวจสอบดูว่ารูปสามเหลี่ยม ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไม่ พร้อมทั้ง หาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม 
1) A(8, 6), B(4, 8), C(2, 4) 
2) A(0, 9), B(-4, -1), C(3, 2) 
3) A(3, -2), B(-2, 3), C(0, 4) 
4) A(-2, 8), B(-6, 1), C(0, 4)
3. ให้ A(3, -1), B(6, 0), C(7, 3) และ D(4, 2) เป็นจุดยอดมุมของสี่เหลี่ยมรูปหนึ่ง จงแสดงว่าเส้นทแยง มุมทั้งสองเส้นจะตั้งฉากและแบ่งครึ่งซึ่งกันและกัน 
4. จงแสดงว่ารูปสี่เหลี่ยม ABCD ซึ่งมีจุดยอดมุมอยู่ที่ A(-5, 3), B(-4, -2), C(1, -1) และ D(0, 4) เป็น สี่เหลี่ยมจัตุรัส พร้อมทั้งแสดงด้วยว่าเส้นทแยงมุมทั้งสองเส้นจะตั้งฉากและแบ่งครึ่งซึ่งกันและกัน 
6. ความสัมพันธ์ซึ่งมีกราฟเป็นเส้นตรง 
1. ความสัมพันธ์ซึ่งมีกราฟเป็นเส้นตรงที่ขนานกับแกน Y 
r = {(x, y)  R  R  x = a} 
เรียกเงื่อนไข “x = a” ว่าเป็นสมการขนานแกน Y 
2. ความสัมพันธ์ซึ่งมีกราฟเป็นเส้นตรงที่ขนานกับแกน X 
r = {(x, y)  R  R  y = b} 
เรียกเงื่อนไข “y = b” ว่าเป็นสมการขนานแกน X
ตัวอย่าง 5 จงหาความสัมพันธ์ในเซตของจานวนจริงซึ่งมีกราฟเส้นตรงที่ขนานแกน X และขนาน 
แกน Y และผ่านจุด A ต่อไปนี้ 
ขนานแกน Y 
1) A(-3, 0) 
r1 = {(x, y)  R  R  x = -3} 
2) A(3, 4) 
r3 = 
3) A(0, 4) 
r5 = 
ขนานแกน X 
r2 = {(x, y)  R  R  y = 0} 
r4 = 
r6 = 
3. ความสัมพันธ์ซึ่งมีกราฟเป็นเส้นตรงที่ไม่ขนานกับแกน X และไม่ขนานกับแกน Y 
3.1 รูปแบบจุด – ความชัน 
เส้นตรง  ผ่านจุด P(x1, y1) และ m เป็นความชันของ l 
r = {(x, y)  R  R  y – y1 = m(x – x1)} 
3.2 รูปแบบจุดสองจุด 
เส้นตรง  ผ่านจุดสองจุดคือ P(x1, y1) และ Q(x2, y2) 
กรณี 1 x1 = x2 
r = {(x, y)  R  R  x = x1} 
กรณี 2 x1  x2 
r = {(x, y)  R  R  y y 1  =  
  
 
 
 
1 2 
1 2 
x x 
y y 
( x  x1 )} 
= {(x, y)  R  R  
x  x1 
y y1 = 
1 2 
1 2 
x x 
y y 
 
 
} 
หรือ r = {(x, y)  R  R  y y 2  =  
  
 
 
 
1 2 
1 2 
x x 
y y 
( x  x2 )} 
= {(x, y)  R  R  
x x2 
y y2 = 
1 2 
1 2 
x x 
y y 
 
 
} 
บทนิยาม 2 1) ถ้า  เป็นเส้นตรงที่ตัดแกน Y ที่จุด (0, b) จะเรียกจานวนจริง b ว่าระยะตัดแกน Y 
2) ถ้า  เป็นเส้นตรงที่ตัดแกน X ที่จุด (a, 0) จะเรียกจานวนจริง a ว่าระยะตัดแกน X 
กรณี 3 รูปแบบความชัน – ระยะตัดแกน 
ให้  เป็นเส้นตรงที่ไม่ขนานกับแกน Y 
m เป็นความชันของ  
b คือระยะตัดแกน Y ของ 
สมการของเส้นตรงในรูปแบบความชัน – ระยะตัดแกน คือ 
y = mx + b 
กรณี 4 รูปแบบระยะตัดแกนทั้งสอง 
ให้  เป็นเส้นตรงที่มีระยะตัดแกน X เท่ากับ a 
และมีระยะตัดแกน Y เท่ากับ b โดยที่ a  0 และ b  0 
จะได้สมการของ  เป็น  b 1 
y 
a x 
ทฤษฎีบท 6 เส้นตรงทุกเส้นในระบบพิกัดฉากจะมีสมการอยู่ในรูป 
Ax + By + C = 0 
เมื่อ A, B และ C เป็นค่าคงตัวซึ่ง A  0 หรือ B  0 
ทฤษฎีบท 7 ความสัมพันธ์ของสมการในรูป Ax + By + C = 0 เมื่อ A, B และ C เป็นค่าคงตัวซึ่ง 
A  0 หรือ B  0 จะมีกราฟเป็นรูปเส้นตรง 
หมายเหตุ สมการที่อยู่ในรูป รูป Ax + By + C = 0 เมื่อ A, B และ C เป็นค่าคงตัวซึ่ง A  0 หรือ B 
 0 เรียงว่าสมการเชิงเส้นของ x และ y 
ตัวอย่าง 6 จงหาความชัน และระยะตัดแกน Y ของเส้นตราที่มีสมการดังต่อไปนี้ 
1) 3x + 2y –10 = 0 2) 4x – 3y –9 = 0 
วิธีทา จัดสมการให้อยู่ในรูป y = mx + b 
1) 3x + 2y –10 = 0 2) 4x – 3y –9 = 0 
ความชันของเส้นตรงเมื่อกาหนดสมการเส้นตรงให้ 
1. ความชันของเส้นตรงใด ๆ เมื่อกาหนดสมการในรูป y = mx + c จะได้ m เป็นความชัน 
ของเส้นตรงนั้น 
2. ถ้าสมการของเส้นตรงกาหนดในรูป รูป Ax + By + C = 0 เมื่อ A, B และ C เป็นค่าคงตัว 
ซึ่ง A  0 หรือ B  0 แล้ว m = B 
A  เป็นความชันของเส้นตรงนั้น 
กาหนดเส้นตรง  ที่มีสมการ Ax + By + C = 0 
1. เส้นตรงแต่ละเส้นที่ขนานกับเส้นตรง  จะมีสมการอยู่ในรูป 
Ax + By + k = 0 เมื่อ k เป็นค่าคงตัว 
2. เส้นตรงแต่ละเส้นที่ตั้งฉากกับเส้นตรง  จะมีสมการอยู่ในรูป 
-Bx + Ay + k = 0 00000 
หรือ Bx - Ay + k = 0 เมื่อ k เป็นค่าคงตัว
แบบฝึกหัด 
1. ในโจทย์ข้อต่อไปนี้จงหาความสัมพันธ์ซึ่งมีกราฟเป็นเส้นตรงที่มีเงื่อนไขตามที่กาหนดให้ 
1) ขนานแกน X และผ่านจุด (1, 2) 
2) ขนานแกน Y และผ่านจุด (2, 3) 
3) ขนานแกน X และอยู่เหนือแกน X 5 หน่วย 
4) ขนานแกน Y และอยู่เหนือแกน Y 10 หน่วย 
5) ผ่านจุดกาเนิดและมีความชันเท่ากับ -2 
6) ผ่านจุด (1, 3) และมีความชันเท่ากับ 2 
7) ผ่านจุด (-3, 4) และ (2, -3) 
8) มีความชันเท่ากับ 
2 
1 
และมีระยะตัดแกน Y เท่ากับ 2 
9) มีความชันเท่ากับ 
2 
1 
และมีระยะตัดแกน X เท่ากับ 2 
10) ระยะตัดแกน X เท่ากับ –3 และระยะตัดแกน Y เท่ากับ –4
2. ในโจทย์ข้อต่อไปนี้จงหาความสัมพันธ์ซึ่งมีกราฟเป็นเส้นตรงที่มีเงื่อนไขตามที่กาหนดให้ 
1) ขนานแกน Y และอยู่ห่างจากจุด (1, -1) เป็นระยะทาง 2 หน่วย 
2) ขนานแกน X และอยู่ห่างจากเส้นตรงที่มีสมการ y = 2 เป็นระยะทาง 5 หน่วย 
3) ความชันเท่ากับ 2 และผ่านจุด (-1, 4) 
4) ความชันเท่ากับ 
3 
2 
 และผ่านจุด (2, -5) 
5) ความชันเท่ากับ 0 และผ่านจุด (2, -3) 
6) ไม่มีความชันและผ่านจุด (3, -2) 
7) ผ่านจุด (4, -2) และ (2, -4) 
8) ผ่านจุ (-4, -3) และ (5, 6) 
9) ความชันเท่ากับ 
3 
2 
และระยะตัดแกน Y เท่ากับ 3 
10) ความชันเท่ากับ - 
2 
3 
และระยะตัดแกน X เท่ากับ –4 
11) ระยะตัดแกน X เท่ากับระยะตัดแกน Y เท่ากับ 2
12) ระยะตัดแกน X เท่ากับ –3 และระยะตัดแกน Y เท่ากับ 5 
3. จงหาความชันของเส้นตรง และจุดที่เส้นตรงในข้อต่อไปนี้ตัดแกน X และ แกน Y 
ข้อ สมการ ความชัน ตัดแกน Xที่จุด ตัดแกน Y ที่จุด 
1) y = 3 8 
2 x  
2) y = 6 15 
5  x  
3) 3y = 4x – 9 
4) 5x + 2y – 7 = 0 
5) 3x – 7y +4 = 0 
6) 5 4 
x y  = 0 
7) 1 + 3 y 
= 4 x 
 
4. จงหาสมการเส้นตรงที่แบ่งครึ่งและตั้งฉากกับส่วนของเส้นตรงที่เชื่อมระหว่างจุด A(-3, 2) และ 
B(5, 6) 
5. จงหาสมการเส้นตรงที่ผ่านจุด (0, 0) และแบ่งครึ่งเส้นตรงที่เชื่อมระหว่างจุด A(-7, -4) และ B(1, -2) 
6. จงหาสมการของเส้นตรงที่ผ่านจุด (2, -3) และขนานกับเส้นตรงซึ่งผ่านจุด A4, 1) B(-2, 2)
7. จงหาสมการเส้นตรงที่ผ่านจุด (2, 1) และตั้งฉากกับเส้นตรงที่ผ่านจุด A(1, 1) และ B(-4, 3) 
8. ในโจทย์ข้อต่อไปนี้จงหาความชันและจุดที่เส้นตรงตัดแกน X และตัดกับแกน Y เมื่อกาหนดสมการ 
ของเส้นตรงมาให้ 
ข้อ สมการ ความชัน จุดตัดแกน X จุดตัดแกน Y 
1) x - 2y + 10 = 0 
2) 3x – 4y – 6 = 0 
3) 5x – 6y – 8 = 0 
4) 3x – 5y – 15 = 0 
5) 2x + 3y – 7 = 0 
6) x + 6y + 16 = 0 
7) 4x + 3y – 15 = 0 
8) 3x + 4y + 24 = 0 
9) 2 x 
+ 3 y 
- 1 = 0 
10) 3 x 
2 - y 5 
4 + 1 = 0 
9. จงหาสมการเส้นตรง  ที่ผ่านจุด (-2, 3) และตั้งฉากกับเส้นตรงที่มีสมการ 2x – 3y + 6 = 0 
10. จงหาสมการเส้นตรง  ที่ผ่านจุด (2, 3) และขนานกับเส้นตรงที่มีสมการ 2x + 3y - 6 = 0
11. จงหาสมการเส้นตรง  ที่ผ่านจุด (2, 1) และผ่านจุดตัดของสมการ 3x – 4y - 2 = 0 และ 2x – y = 0 
12. จงหาสมการเส้นตรง  ที่มีความชันเท่ากับ 4 
3 และผ่านจุดตัดของสมการ 2x + 3y - 10 = 0 และ 
2x – y – 2 = 0 
7. ระยะระหว่างเส้นตรงกับจุด 
ทฤษฎีบท 9 ระยะระหว่างเส้นตรง Ax + By + C = 0 กับจุด P(x1, y1) เท่ากับ 
d = 2 2 
1 1 
A B 
Ax By C 
 
  
ทฤษฎีบท 10 ระยะห่างระหว่างเส้นขนานที่มีสมการ Ax + By + C = 0 และ Ax + By + D = 0 เท่ากับ 
d = A2 B2 
C D 
 
 = A2 B2 
D C 
 
 
แบบฝึกหัด 
1. จงหาระยะทางระหว่างเส้นตรงกับจุดที่กาหนดให้ 
1) 2x + 4y – 4 = 0 และ (3, 2) 
2) –2x + 3y –6 = 0 และ (-1, -4) 
3) 4x + 3y + 12 = 0 และ (1, -2)
4) 5x + 12y + 13 = 0 และ (2, -1) 
5) y + 2 = 0 และ (-2, 2) 
6) 3x + 4y = 5 และ (2, -1) 
7) 3x + 2y + 6 = 0 และ (2, 1) 
2. จงหาระยะระหว่างเส้นขนานที่มีสมการ 
1) 4x – 3y – 12 = 0 และ 4x – 3y – 2 = 0 
2) 2x – y – 2 = 0 และ 4x – 2y + 7 = 0 
3) 4x + 5y = 0 และ 4x + 5y = 8 
4) 3x – 4y + 15 = 0 และ 3x – 4y + 24 = 0 
5) x + 2y – 5 = 0 และ 2x + 4y + 20 = 0 
3. จงหาจุดบนแกน X ซึ่งอยู่ห่างจากเส้นตรง 3x – 4y – 6 = 0 เป็นระยะทาง 2 หน่วย
4. จงหาจุดบนแกน Y ซึ่งอยู่ห่างจากเส้นตรง 4x + 3y – 6 = 0 เป็นระยะทาง 3 หน่วย 
5. จงหาจุดบนเส้นตรง 2x + 3y – 6 = 0 ซึ่งอยู่ห่างจากจุดบนเส้นตรง 3x – 4y + 12 = 0 เป็นระยะทาง 3 หน่วย 
6. จงหาสมการของเส้นตรงที่ขนานกับเส้นตรง 4x + 3y – 12 = 0 และอยู่ห่างจากเส้นตรงนี้เป็นระยะทาง 5 หน่วย 
7. จงหาสมการของเส้นตรงที่ขนานกับเส้นตรง x + 2y – 3 = 0 และอยู่ห่างจากเส้นตรงนี้เป็นระยะทาง 2 หน่วย 
8. จงหาสมการของเส้นตรงที่ตั้งฉากกับ 12x + 5y + 3 = 0 และอยู่ห่างจากจุด (1, 2) เป็นระยะทาง 1 หน่วย 
9. ถ้าเส้นตรง 4x – 3y + 1 = 0 เป็นเส้นตรงที่อยู่กึ่งกลางระหว่างเส้นคู่ขนานคู่หนึ่งซึ่งห่างกัน 6 หน่วย จงหาสมการของเส้นตรงที่ขนานกันคู่นี้

More Related Content

What's hot

แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
kroojaja
 
59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลา
59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลา59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลา
59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลา
Sutthi Kunwatananon
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
Aon Narinchoti
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
Prang Donal
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
Sathuta luamsai
 
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
nongyao9
 
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
พัน พัน
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
คุณครูพี่อั๋น
 
ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1
Inmylove Nupad
 

What's hot (20)

แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
 
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
 
work1
work1work1
work1
 
59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลา
59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลา59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลา
59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลา
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริงแบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
 
ข้อสอบปลายภาคม4เทอม1
ข้อสอบปลายภาคม4เทอม1ข้อสอบปลายภาคม4เทอม1
ข้อสอบปลายภาคม4เทอม1
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
 
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
G6 Maths Circle
G6 Maths CircleG6 Maths Circle
G6 Maths Circle
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.นบทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
 
ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 

Similar to 46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์

Final เตรียมสอบ
Final เตรียมสอบFinal เตรียมสอบ
Final เตรียมสอบ
Te'tee Pudcha
 
Pre 7 วิชา ครั้งที่ 1
Pre  7 วิชา ครั้งที่ 1Pre  7 วิชา ครั้งที่ 1
Pre 7 วิชา ครั้งที่ 1
Wanutchai Janplung
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
Beer Aksornsart
 
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
Unity' Aing
 
แผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯ
แผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯแผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯ
แผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯ
ทับทิม เจริญตา
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
Jiraprapa Suwannajak
 
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
Destiny Nooppynuchy
 

Similar to 46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์ (20)

Final เตรียมสอบ
Final เตรียมสอบFinal เตรียมสอบ
Final เตรียมสอบ
 
01
0101
01
 
Pre 7 วิชา ครั้งที่ 1
Pre  7 วิชา ครั้งที่ 1Pre  7 วิชา ครั้งที่ 1
Pre 7 วิชา ครั้งที่ 1
 
Calculus
CalculusCalculus
Calculus
 
Ans_TME54_jh3
Ans_TME54_jh3Ans_TME54_jh3
Ans_TME54_jh3
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
 
Matrix53
Matrix53Matrix53
Matrix53
 
Analytic geometry1
Analytic geometry1Analytic geometry1
Analytic geometry1
 
Per o-net math3
Per o-net math3Per o-net math3
Per o-net math3
 
1.pdf
1.pdf1.pdf
1.pdf
 
Matrix1
Matrix1Matrix1
Matrix1
 
Math2
Math2Math2
Math2
 
Ans_TME54_jh2
Ans_TME54_jh2Ans_TME54_jh2
Ans_TME54_jh2
 
Matrix
MatrixMatrix
Matrix
 
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
 
แผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯ
แผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯแผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯ
แผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯ
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
 
Pre O-Net
Pre O-NetPre O-Net
Pre O-Net
 

46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์

  • 1. สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่องเรขาคณิตวิเคราะห์ ขาคณิตวิเคราะห์ (Analytic Geometry) เป็นวิชาที่เป็นพื้นฐานที่สาคัญวิชาหนึ่งของ คณิตศาสตร์ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการนาความรู้ทางพีชคณิตมาช่วยในการแก้ปัญหาที่ เกี่ยวกับเรขาคณิต ดังนั้นวิชาเรขาคณิตวิเคราะห์จึงเน้นการแก้ปัญหาด้วยวิธีการทางพีชคณิต ทาให้ การศึกษาเรขาคณิตง่ายและน่าสนใจขึ้น 1. ระยะทางระหว่างจุดสองจุด 1.1 บนเส้นจานวน ถ้า A และ B เป็นจุดบนเส้นจานวนที่แทนด้วนจานวนจริง a และ b ตามลาดับแล้ว ระยะทางระหว่าง A และ B เท่ากับ a - b สัญลักษณ์ ระยะทางระหว่าง A และ B เขียนแทนด้วย AB หรือ AB ดังนั้น AB = a - b 1.2 บนระนาบ ให้ P(x1, y1 ) และ Q(x2 , y2 ) เป็นจุดใด ๆ บนระนาบ ระยะทางระหว่างจุด P และ Q จะหาได้ โดย กรณี 1 : PQ ขนานกับแกน X (y1 = y2) PQ = x1 – x2 = x2 – x1 กรณี 2 : PQ ขนานกับแกน Y (x1 = x2) PQ = y1 – y2 = y2 – y1 กรณี 3 : PQ ไม่ขนานกับทั้งแกน X และแกน Y จากรูป PR = QR = จากทฤษฎีบทปีทาโกรัส จะได้ PQ2 = หรือ PQ = ดังนั้น PQ = หรือ PQ = เร R( ) Q(x2, y2) P(x1, y1)
  • 2. ทฤษฎีบท 1 ถ้า P(x1, y1) และ Q(x2, y2) เป็นจุดสองจุดใด ๆ บนระนาบ แล้ว PQ = 2 1 2 2 ( x1 x2 ) ( y  y ) แบบฝึกหัด 1. จงหาระยะทางระหว่างจุดสองจุดที่กาหนดให้ในข้อต่อไปนี้ 1) A(5, 0), B(-4, 0) 2) A(0, 6), B(0, 1) 3) A(4, -2), B(-5-2) 4) A(-1, 3) , B(-1, -4) 5) A(-6, -6) , B(-6, 6) 6) A(8, -5) , B(-8, -5) 7) A(4, 1) , B(3, -2) 8) A(-7, 4) , B(1, -11) 9) A(0, 3) , B(-4, 1) 10) A(-1, -5) , B(2, -3) 11) A(2, -6), B(2, -2) 12) A(-3, 1), B(3, -1) 2. จงหาความยาวรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดมุมดังนี้ 1) A(1, 2) , B(4, 3) , D(2, 4) 2) A(2, -1) , B(4, 7) , D(5, 2)
  • 3. 3. จงแสดงว่ารูปสามเหลี่ยม ABC ซึ่งมีจุดยอดมุมตามที่กาหนดให้ในแต่ละข้อต่อไปนี้เป็นรูปสามเหลี่ยม มุมฉาก พร้อมทั้งหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม 1) A(0, 9) , B(-4, -1) , C(3, 2) 2) A(10, 5) , B(3, 2) , C(6, -5) 3) A(3, -2) , B(-2, 3) , C(6, -5) 4) A(-2, 8) , B(-6, 1) , C(0, 4) 3. จงหาพิกัดของจุดที่สมาชิกตัวหน้าเป็น 3 และอยู่ห่างจาก A(-3, 6) เป็นระยะทาง 10 หน่วย 4. วงกลมวงหนึ่งมีจุดศูนย์กลางที่จุด (6, 4) และผ่านจุด (3, 8) จงหารัศมีของวงกลมนี้
  • 4. การหาพื้นที่ของรูปสามหลายเหลี่ยม พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดเป็น A(x1, y1), B(x2, y2), C(x3, y3) พื้นที่สามเหลี่ยม ABC = 2 1 1 1 3 3 2 2 1 1 x y x y x y x y = 2 1 x1y2 + x2y3 + x3y1 – y1x2 – y2x3 – y3x1 ถ้ากาหนดรูป n เหลี่ยมที่มีจุดยอดมุมเป็น A1(x1, y1), A2(x2, y2), A3(x3, y3), …, An(xn, yn) พื้นที่ของรูป n เหลี่ยม = 2 1 1 1 n n 3 3 2 2 1 1 x y x y x y x y x y   = 2 1 x1y2 + x2y3 + x3y4 + … + xny1 - y1x2 – y2x3 – y3x4 - … - ynx1 หมายเหตุ การหาพื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยมต้องวาดรูปประกอบการหาด้วย แล้วเรียงจุดในทิศทาง ทวนเข็มนาฬิกา แบบฝึกหัด จงหาพื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยมที่มีจุดยอดมุมดังต่อไปนี้ 1) A(2, -3) , B(4, 2) , C(-5, -2) 2) A(-3, 4) , B(6, 2) , C(4, -3)
  • 5. 3) A(-8, -2) , B(-4, -6) , C(-1, 5) 4) A(2, 5) , B(7, 1) , C(3, -4) , D(-2, 3) 5) A(0, 4) , B(1, -6) , C(-2, -3) , D(-4, 2) 6) A(1, 5) , B(2, 4) , C(-3, -1) , D(2, -3) , E(5, 1)
  • 6. 2. จุดกึ่งกลางระหว่างจุดสองจุด ทฤษฎีบท 2 กาหนด AB โดยมีจุดปลายที่จุด A(x1, y1) และ B(x2, y2) P(x, y) เป็นจุดบน AB โดยมีอัตราส่วนการแบ่ง PB AP = r จะได้ x = r x rx   1 1 2 , y = r y ry   1 1 2 ตัวอย่าง 1 AB เป็นเส้นตรงที่มีจุดปลายที่ A(2, 4), B(3, -6) โดยมีอัตราส่วนการแบ่งเป็น 3 2 จงหา จุดแบ่งของ AB วิธีทา ให้ P(x, y) เป็นจุดแบ่งของ AB x = = = y = = = ดังนั้น พิกัดของจุดแบ่ง คือ บทแทรก กาหนด AB เป็นเส้นตรงที่มีจุดปลายที่ A(x1, y1), B(x2, y2) ถ้า P(x, y) เป็นจุดกึ่งกลางของ AB แล้ว x = 2 x1  x2 , y = 2 y1  y2 ตัวอย่าง 2 จงหาจุดกึ่งกลางระหว่าง A(-2, 5) และ B(6, -3) วิธีทา ให้ P(x, y) เป็นจุดกึ่งกลางของ AB แล้ว x = = = y = = = ดังนั้น จุดกึ่งกลางของ AB คือ ตัวอย่าง 3 จุดปลายของเส้นผ่านศูนย์กลางเป็น (1, 3) และ (7, 11) จงหา 1) จุดศูนย์กลายของวงกลมนี้ 2) ความยาวของรัศมีของวงกลมนี้
  • 7. พิกัดของจุดตัดของเส้นมัธยฐานของรูปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดมุมเป็น (x1, y1), (x2, y2) และ (x3, y3) คือ ( 3 x1  x2  x3 , 3 y1  y2  y3 ) ตัวอย่าง 4 จงหาพิกัดของจุดตัดของเส้นมัธยฐานของรูปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดมุมเป็น A(2, 6), B(-3, -1) และ C(7, 4) วิธีทา ให้ P(x, y) เป็นจุดตัดของเส้นมัธยฐาน ดังนั้น x = = y = = ดังนั้นพิกัดของ P คือ แบบฝึกหัด 1. จงหาจุดกึ่งกลางของ AB เมื่อกาหนดจุด A และ B ดังต่อไปนี้ 1) A(2, 3), B(4, 7) 2) A(-2, -3), B(4, -5) 3) A(-2, 4), B(1, -1) 4) A(0, 0), B(4, -6) 2. จุดกึ่งกลางของ AB อยู่ที่จุด (-1, 2) ถ้าพิกัดของ A คือ (2, -1) จงหาพิกัดของ B 3. จงหาความยาวของเส้นมัธยฐานทั้งสามเส้นของรูปสามเหลี่ยม ABC เมื่อกาหนดจุด A, B และ C ดังนี้ 1) A(2, -1), B(4, 3), C(-2, 5) ให้ D เป็นจุดกึ่งกลางของ AB ดังนั้นพิกัดของ D คือ ดังนั้น CD =
  • 8. ให้ E เป็นจุดกึ่งกลางของ BC ดังนั้นพิกัดของ E คือ ดังนั้น AE = ให้ F เป็นจุดกึ่งกลางของ AC ดังนั้นพิกัดของ F คือ ดังนั้น BF = 2) A(0, 4), B(6, 0), C(-2, 2) ให้ D เป็นจุดกึ่งกลางของ AB ดังนั้นพิกัดของ D คือ ดังนั้น CD = ให้ E เป็นจุดกึ่งกลางของ BC ดังนั้นพิกัดของ E คือ ดังนั้น AE = ให้ F เป็นจุดกึ่งกลางของ AC ดังนั้นพิกัดของ F คือ ดังนั้น BF = 4. จงหาจุดตัดของเส้นมัธยฐานของรูปสามเหลี่ยม ABC ดังต่อไปนี้ 1) A(5, 7), B(1, -3), C(-5, 1) จุดตัดของเส้นมัธยฐาน = = 2) A(2, -1), B(6, 7), C(-4, -3) จุดตัดของเส้นมัธยฐาน = = 3) A(3, 6), B(-5, 2), C(7, -6) จุดตัดของเส้นมัธยฐาน = = 4) A(7, 4), B(3, -6), C(-5, 2) จุดตัดของเส้นมัธยฐาน = = 4. จงหาพิกัดของจุดแบ่ง C ของ AB โดยที่แบ่ง AB ออกเป็นอัตราส่วน CD AB = r ดังต่อไปนี้ 1) A(-2, 8), B(5, -6), r = 4 3
  • 9. 2) A(-3, -1), B(6 2) , r = 2 5 3) A(0, 0), B(7, 5), r = 2 5 4) A(1, 7), B(6, -3) , r = 3 2 5) A(4, -3), B(1, 4) , r = 2 6) A(2, -5), B(6, 3) , r = 7 3 6. กาหนดจุด A(-4, -2) และ B(8, 6) จงหาจุดบน AB ซึ่งแบ่ง AB ออกเป็น 4 ส่วน แต่ละส่วนมีความยาว เท่า ๆ กัน
  • 10. 3. ความชันของเส้นตรง บทนิยาม 1 กาหนดให้  เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุด A(x1, y1) และ B(x2, y2) โดยที่ x1  x2 ความชันของ เส้นตรง  คือ จานวนจริงที่มีค่าเท่ากับ 1 2 1 2 x x y y   หรือ 2 1 2 1 x x y y   สัญลักษณ์ ให้ m แทนความชัดของเส้นตรง  ดังนั้น m = 1 2 1 2 x x y y   = 2 1 2 1 x x y y   โดยที่ x1  x2 ถ้า x1 = x2 แล้วเส้นตรง จะไม่มีความชัน ความชันของเส้นตรง  แบ่งเป็น 3 ลักษณะ ลักษณะที่ 1 m = 0 m = 0 ก็ต่อเมื่อ y1 – y2 = 0 ก็ต่อเมื่อ y1 = y2 ก็ต่อเมื่อ เส้นตรง  ขนานกับแกน X ลักษณะที่ 2 m > 0 m > 0 ก็ต่อเมื่อ (y1 – y2 > 0 และ x1 – x2 > 0) หรือ (y1 – y2 < 0 และ x1 – x2 < 0) ก็ต่อเมื่อ (y1 > y2 และ x1 > x2) หรือ (y1 < y2 และ x1 < x2) ลักษณะที่ 3 m < 0 m < 0 ก็ต่อเมื่อ (y1 – y2 < 0 และ x1 – x2 > 0) หรือ (y1 – y2 > 0 และ x1 – x2 < 0) ก็ต่อเมื่อ (y1 < y2 และ x1 > x2) หรือ (y1 > y2 และ x1 < x2) บทแทรก จุด A, B และ C จะอยู่บนเส้นตรงเดียวกันก็ต่อเมื่อ ความชันของ AB = ความชันของ AC แบบฝึกหัด 1. จงหาความชันของเส้นตรง  ที่ผ่านจุดสองจุดในแต่ละข้อต่อไปนี้ 1) (3, 4), (1, -2) 2) (-5, 3), (2, -3) 3) (6, 0), (6, 3 ) 4) (1, 3), (7, 1)
  • 11. 5) (2, 4), (-2, 4) 6) (5, 7), (8, 4) 2. จงหาจานวนจริง x ที่ทาให้เส้นตรงที่ผ่านจุด A และ B มีความชัน m ตามที่กาหนดให้ต่อไปนี้ 1) A(3, x), B(2, 5) และ m = -2 2) A(-4, 3), B(x, 1) และ m = 4 1 3) A(x, x), B(2, 3) และ m = 5 4) A(2x, -4), B(2, x) และ m = 5 5) A(1 + x, 3), B(2x – 1, 5) และ m = 4 3  3. จงตรวจสอบดูว่าจุด A, B และ C ในข้อต่อไปนี้อยู่บนเส้นตรงเดียวกันหรือไม่ 1) A(2, 3), B(-4, 7), C(5, 8)
  • 12. 2) A(4, 1), B(5, -2), C(6, -5) 3) A(-1, -4), B(2, 5), C(7, -2) 4) A(0, 5), B(5, 0), C(6, -1) 5) A(a, 0), B(2a, -b), C(-2, b) 6) A(-3, 4), B(3, 2), C(6, 1)
  • 13. 4. เส้นขนาน ทฤษฎีบท 4 กาหนดให้ 1 และ 2 เป็นเส้นตรงที่ไม่ขนานกับแกน Y และให้ m1 และ m2 แทนความ ชันของ 1 และ 2 ตามลาดับ จะได้ว่า 1) ถ้า m1 = m2 แล้ว 1  2 2) ถ้า 1  2 แล้ว m1 = m2 แบบฝึกหัด 1. ในโจทย์ข้อต่อไปนี้กาหนดจุด A, B, C และ D ให้ 1 เป็นเส้นตรงที่ผ่าน A และ B และ 2 เป็น เส้นตรงที่ผ่าน C และ D จงตรวจดูว่า 1  2 หรือไม่ 1) A(-3, 2), B(5, -1), C(2, 3) และ D(10, 0) 2) A(1, -3), B(4, 0), C(2, 2) และ D(3, 1) 3) A(9, 5), B(1, 5), C(5, 2) และ D(-4, 2) 4) A(5, 1), B(0, 7), C(4, 3) และ D(1, -2) 5) A(-6, 5), B(12, 2), C(5, 0) และ D(8, -4) 6) A(3, 3), B(3, 6), C(6, 5) และ D(6, -3)
  • 14. 2. ในโจทย์ข้อต่อไปนี้ กาหนดจุด A, B, C และ D จงตรวจสอบดูว่ารูปสี่เหลี่ยม ABCD เป็นสี่เหลี่ยมด้าน ขนานหรือสี่เหลี่ยมคางหมู หรือไม่เป็นทั้งสองอย่าง 1) A(-5, 3), B(-4, -2), C(1, -1) และ D(0, 4) 2) A(1, 3), B(2, 5), C(6, 17) และ D(5, 15) 3) A(2, 3), B(4, 1), C(0, -8) และ D(-5, -3) 4) A(3, -1), B(2, -6), C(1, 7) และ D(0, -8) 5) A(3, 0), B(3, 5), C(0, 9) และ D(0, 4)
  • 15. 3. จุด A(-2, -3), B(-1, -1), C(3, 11) และ D(x, y) เป็นจุดยอดมุมของสี่เหลี่ยมด้านขนาน จงหาพิกัดของ D 5. เส้นตั้งฉาก ทฤษฎีบท 5 กาหนดให้ 1 และ 2 เป็นเส้นตรงที่ไม่ขนานกับแกน Y โดยมีความชันเท่ากับ m1 และ m2 ตามลาดับ จะได้ว่า 1) ถ้า 1 ตั้งฉากกับ 2 แล้ว m1m2 = -1 2) ถ้า m1m2 = -1 แล้ว 1 ตั้งฉากกับ 2 หมายเหตุ ถ้ากาหนดความชันของเส้นตรง 1 = m1  0 และ 2 เป็นเส้นตั้งฉากกับ 1 จะได้ว่า ถ้า m2 เป็นความชันของ 2 แล้ว m2 = 1 1  m แบบฝึกหัด 1. ในโจทย์ข้อต่อไปนี้ จงตรวจสอบดูว่าเส้นตรง 1 ที่ผ่านจุด A และ B ตั้งฉากกับ 2 ที่ผ่านจุด C และ D หรือไม่ 1) A(-5, 2), B(3, -1), C(4, 2) และ D(7, 10) 2) A(5, 3), B(8, 3), C(7 ,4) และ D(7, -4)
  • 16. 3) A(2, -3), B(-5, 1), C(7, -1) และ D(0, 3) 4) A(2, -3), B(-5, 0), C(4, 5) และ D(0, 2) 2. ในโจทย์ข้อต่อไปนี้จงตรวจสอบดูว่ารูปสามเหลี่ยม ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไม่ พร้อมทั้ง หาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม 1) A(8, 6), B(4, 8), C(2, 4) 2) A(0, 9), B(-4, -1), C(3, 2) 3) A(3, -2), B(-2, 3), C(0, 4) 4) A(-2, 8), B(-6, 1), C(0, 4)
  • 17. 3. ให้ A(3, -1), B(6, 0), C(7, 3) และ D(4, 2) เป็นจุดยอดมุมของสี่เหลี่ยมรูปหนึ่ง จงแสดงว่าเส้นทแยง มุมทั้งสองเส้นจะตั้งฉากและแบ่งครึ่งซึ่งกันและกัน 4. จงแสดงว่ารูปสี่เหลี่ยม ABCD ซึ่งมีจุดยอดมุมอยู่ที่ A(-5, 3), B(-4, -2), C(1, -1) และ D(0, 4) เป็น สี่เหลี่ยมจัตุรัส พร้อมทั้งแสดงด้วยว่าเส้นทแยงมุมทั้งสองเส้นจะตั้งฉากและแบ่งครึ่งซึ่งกันและกัน 6. ความสัมพันธ์ซึ่งมีกราฟเป็นเส้นตรง 1. ความสัมพันธ์ซึ่งมีกราฟเป็นเส้นตรงที่ขนานกับแกน Y r = {(x, y)  R  R  x = a} เรียกเงื่อนไข “x = a” ว่าเป็นสมการขนานแกน Y 2. ความสัมพันธ์ซึ่งมีกราฟเป็นเส้นตรงที่ขนานกับแกน X r = {(x, y)  R  R  y = b} เรียกเงื่อนไข “y = b” ว่าเป็นสมการขนานแกน X
  • 18. ตัวอย่าง 5 จงหาความสัมพันธ์ในเซตของจานวนจริงซึ่งมีกราฟเส้นตรงที่ขนานแกน X และขนาน แกน Y และผ่านจุด A ต่อไปนี้ ขนานแกน Y 1) A(-3, 0) r1 = {(x, y)  R  R  x = -3} 2) A(3, 4) r3 = 3) A(0, 4) r5 = ขนานแกน X r2 = {(x, y)  R  R  y = 0} r4 = r6 = 3. ความสัมพันธ์ซึ่งมีกราฟเป็นเส้นตรงที่ไม่ขนานกับแกน X และไม่ขนานกับแกน Y 3.1 รูปแบบจุด – ความชัน เส้นตรง  ผ่านจุด P(x1, y1) และ m เป็นความชันของ l r = {(x, y)  R  R  y – y1 = m(x – x1)} 3.2 รูปแบบจุดสองจุด เส้นตรง  ผ่านจุดสองจุดคือ P(x1, y1) และ Q(x2, y2) กรณี 1 x1 = x2 r = {(x, y)  R  R  x = x1} กรณี 2 x1  x2 r = {(x, y)  R  R  y y 1  =       1 2 1 2 x x y y ( x  x1 )} = {(x, y)  R  R  x  x1 y y1 = 1 2 1 2 x x y y   } หรือ r = {(x, y)  R  R  y y 2  =       1 2 1 2 x x y y ( x  x2 )} = {(x, y)  R  R  x x2 y y2 = 1 2 1 2 x x y y   } บทนิยาม 2 1) ถ้า  เป็นเส้นตรงที่ตัดแกน Y ที่จุด (0, b) จะเรียกจานวนจริง b ว่าระยะตัดแกน Y 2) ถ้า  เป็นเส้นตรงที่ตัดแกน X ที่จุด (a, 0) จะเรียกจานวนจริง a ว่าระยะตัดแกน X กรณี 3 รูปแบบความชัน – ระยะตัดแกน ให้  เป็นเส้นตรงที่ไม่ขนานกับแกน Y m เป็นความชันของ  b คือระยะตัดแกน Y ของ 
  • 19. สมการของเส้นตรงในรูปแบบความชัน – ระยะตัดแกน คือ y = mx + b กรณี 4 รูปแบบระยะตัดแกนทั้งสอง ให้  เป็นเส้นตรงที่มีระยะตัดแกน X เท่ากับ a และมีระยะตัดแกน Y เท่ากับ b โดยที่ a  0 และ b  0 จะได้สมการของ  เป็น  b 1 y a x ทฤษฎีบท 6 เส้นตรงทุกเส้นในระบบพิกัดฉากจะมีสมการอยู่ในรูป Ax + By + C = 0 เมื่อ A, B และ C เป็นค่าคงตัวซึ่ง A  0 หรือ B  0 ทฤษฎีบท 7 ความสัมพันธ์ของสมการในรูป Ax + By + C = 0 เมื่อ A, B และ C เป็นค่าคงตัวซึ่ง A  0 หรือ B  0 จะมีกราฟเป็นรูปเส้นตรง หมายเหตุ สมการที่อยู่ในรูป รูป Ax + By + C = 0 เมื่อ A, B และ C เป็นค่าคงตัวซึ่ง A  0 หรือ B  0 เรียงว่าสมการเชิงเส้นของ x และ y ตัวอย่าง 6 จงหาความชัน และระยะตัดแกน Y ของเส้นตราที่มีสมการดังต่อไปนี้ 1) 3x + 2y –10 = 0 2) 4x – 3y –9 = 0 วิธีทา จัดสมการให้อยู่ในรูป y = mx + b 1) 3x + 2y –10 = 0 2) 4x – 3y –9 = 0 ความชันของเส้นตรงเมื่อกาหนดสมการเส้นตรงให้ 1. ความชันของเส้นตรงใด ๆ เมื่อกาหนดสมการในรูป y = mx + c จะได้ m เป็นความชัน ของเส้นตรงนั้น 2. ถ้าสมการของเส้นตรงกาหนดในรูป รูป Ax + By + C = 0 เมื่อ A, B และ C เป็นค่าคงตัว ซึ่ง A  0 หรือ B  0 แล้ว m = B A  เป็นความชันของเส้นตรงนั้น กาหนดเส้นตรง  ที่มีสมการ Ax + By + C = 0 1. เส้นตรงแต่ละเส้นที่ขนานกับเส้นตรง  จะมีสมการอยู่ในรูป Ax + By + k = 0 เมื่อ k เป็นค่าคงตัว 2. เส้นตรงแต่ละเส้นที่ตั้งฉากกับเส้นตรง  จะมีสมการอยู่ในรูป -Bx + Ay + k = 0 00000 หรือ Bx - Ay + k = 0 เมื่อ k เป็นค่าคงตัว
  • 20. แบบฝึกหัด 1. ในโจทย์ข้อต่อไปนี้จงหาความสัมพันธ์ซึ่งมีกราฟเป็นเส้นตรงที่มีเงื่อนไขตามที่กาหนดให้ 1) ขนานแกน X และผ่านจุด (1, 2) 2) ขนานแกน Y และผ่านจุด (2, 3) 3) ขนานแกน X และอยู่เหนือแกน X 5 หน่วย 4) ขนานแกน Y และอยู่เหนือแกน Y 10 หน่วย 5) ผ่านจุดกาเนิดและมีความชันเท่ากับ -2 6) ผ่านจุด (1, 3) และมีความชันเท่ากับ 2 7) ผ่านจุด (-3, 4) และ (2, -3) 8) มีความชันเท่ากับ 2 1 และมีระยะตัดแกน Y เท่ากับ 2 9) มีความชันเท่ากับ 2 1 และมีระยะตัดแกน X เท่ากับ 2 10) ระยะตัดแกน X เท่ากับ –3 และระยะตัดแกน Y เท่ากับ –4
  • 21. 2. ในโจทย์ข้อต่อไปนี้จงหาความสัมพันธ์ซึ่งมีกราฟเป็นเส้นตรงที่มีเงื่อนไขตามที่กาหนดให้ 1) ขนานแกน Y และอยู่ห่างจากจุด (1, -1) เป็นระยะทาง 2 หน่วย 2) ขนานแกน X และอยู่ห่างจากเส้นตรงที่มีสมการ y = 2 เป็นระยะทาง 5 หน่วย 3) ความชันเท่ากับ 2 และผ่านจุด (-1, 4) 4) ความชันเท่ากับ 3 2  และผ่านจุด (2, -5) 5) ความชันเท่ากับ 0 และผ่านจุด (2, -3) 6) ไม่มีความชันและผ่านจุด (3, -2) 7) ผ่านจุด (4, -2) และ (2, -4) 8) ผ่านจุ (-4, -3) และ (5, 6) 9) ความชันเท่ากับ 3 2 และระยะตัดแกน Y เท่ากับ 3 10) ความชันเท่ากับ - 2 3 และระยะตัดแกน X เท่ากับ –4 11) ระยะตัดแกน X เท่ากับระยะตัดแกน Y เท่ากับ 2
  • 22. 12) ระยะตัดแกน X เท่ากับ –3 และระยะตัดแกน Y เท่ากับ 5 3. จงหาความชันของเส้นตรง และจุดที่เส้นตรงในข้อต่อไปนี้ตัดแกน X และ แกน Y ข้อ สมการ ความชัน ตัดแกน Xที่จุด ตัดแกน Y ที่จุด 1) y = 3 8 2 x  2) y = 6 15 5  x  3) 3y = 4x – 9 4) 5x + 2y – 7 = 0 5) 3x – 7y +4 = 0 6) 5 4 x y  = 0 7) 1 + 3 y = 4 x  4. จงหาสมการเส้นตรงที่แบ่งครึ่งและตั้งฉากกับส่วนของเส้นตรงที่เชื่อมระหว่างจุด A(-3, 2) และ B(5, 6) 5. จงหาสมการเส้นตรงที่ผ่านจุด (0, 0) และแบ่งครึ่งเส้นตรงที่เชื่อมระหว่างจุด A(-7, -4) และ B(1, -2) 6. จงหาสมการของเส้นตรงที่ผ่านจุด (2, -3) และขนานกับเส้นตรงซึ่งผ่านจุด A4, 1) B(-2, 2)
  • 23. 7. จงหาสมการเส้นตรงที่ผ่านจุด (2, 1) และตั้งฉากกับเส้นตรงที่ผ่านจุด A(1, 1) และ B(-4, 3) 8. ในโจทย์ข้อต่อไปนี้จงหาความชันและจุดที่เส้นตรงตัดแกน X และตัดกับแกน Y เมื่อกาหนดสมการ ของเส้นตรงมาให้ ข้อ สมการ ความชัน จุดตัดแกน X จุดตัดแกน Y 1) x - 2y + 10 = 0 2) 3x – 4y – 6 = 0 3) 5x – 6y – 8 = 0 4) 3x – 5y – 15 = 0 5) 2x + 3y – 7 = 0 6) x + 6y + 16 = 0 7) 4x + 3y – 15 = 0 8) 3x + 4y + 24 = 0 9) 2 x + 3 y - 1 = 0 10) 3 x 2 - y 5 4 + 1 = 0 9. จงหาสมการเส้นตรง  ที่ผ่านจุด (-2, 3) และตั้งฉากกับเส้นตรงที่มีสมการ 2x – 3y + 6 = 0 10. จงหาสมการเส้นตรง  ที่ผ่านจุด (2, 3) และขนานกับเส้นตรงที่มีสมการ 2x + 3y - 6 = 0
  • 24. 11. จงหาสมการเส้นตรง  ที่ผ่านจุด (2, 1) และผ่านจุดตัดของสมการ 3x – 4y - 2 = 0 และ 2x – y = 0 12. จงหาสมการเส้นตรง  ที่มีความชันเท่ากับ 4 3 และผ่านจุดตัดของสมการ 2x + 3y - 10 = 0 และ 2x – y – 2 = 0 7. ระยะระหว่างเส้นตรงกับจุด ทฤษฎีบท 9 ระยะระหว่างเส้นตรง Ax + By + C = 0 กับจุด P(x1, y1) เท่ากับ d = 2 2 1 1 A B Ax By C    ทฤษฎีบท 10 ระยะห่างระหว่างเส้นขนานที่มีสมการ Ax + By + C = 0 และ Ax + By + D = 0 เท่ากับ d = A2 B2 C D   = A2 B2 D C   แบบฝึกหัด 1. จงหาระยะทางระหว่างเส้นตรงกับจุดที่กาหนดให้ 1) 2x + 4y – 4 = 0 และ (3, 2) 2) –2x + 3y –6 = 0 และ (-1, -4) 3) 4x + 3y + 12 = 0 และ (1, -2)
  • 25. 4) 5x + 12y + 13 = 0 และ (2, -1) 5) y + 2 = 0 และ (-2, 2) 6) 3x + 4y = 5 และ (2, -1) 7) 3x + 2y + 6 = 0 และ (2, 1) 2. จงหาระยะระหว่างเส้นขนานที่มีสมการ 1) 4x – 3y – 12 = 0 และ 4x – 3y – 2 = 0 2) 2x – y – 2 = 0 และ 4x – 2y + 7 = 0 3) 4x + 5y = 0 และ 4x + 5y = 8 4) 3x – 4y + 15 = 0 และ 3x – 4y + 24 = 0 5) x + 2y – 5 = 0 และ 2x + 4y + 20 = 0 3. จงหาจุดบนแกน X ซึ่งอยู่ห่างจากเส้นตรง 3x – 4y – 6 = 0 เป็นระยะทาง 2 หน่วย
  • 26. 4. จงหาจุดบนแกน Y ซึ่งอยู่ห่างจากเส้นตรง 4x + 3y – 6 = 0 เป็นระยะทาง 3 หน่วย 5. จงหาจุดบนเส้นตรง 2x + 3y – 6 = 0 ซึ่งอยู่ห่างจากจุดบนเส้นตรง 3x – 4y + 12 = 0 เป็นระยะทาง 3 หน่วย 6. จงหาสมการของเส้นตรงที่ขนานกับเส้นตรง 4x + 3y – 12 = 0 และอยู่ห่างจากเส้นตรงนี้เป็นระยะทาง 5 หน่วย 7. จงหาสมการของเส้นตรงที่ขนานกับเส้นตรง x + 2y – 3 = 0 และอยู่ห่างจากเส้นตรงนี้เป็นระยะทาง 2 หน่วย 8. จงหาสมการของเส้นตรงที่ตั้งฉากกับ 12x + 5y + 3 = 0 และอยู่ห่างจากจุด (1, 2) เป็นระยะทาง 1 หน่วย 9. ถ้าเส้นตรง 4x – 3y + 1 = 0 เป็นเส้นตรงที่อยู่กึ่งกลางระหว่างเส้นคู่ขนานคู่หนึ่งซึ่งห่างกัน 6 หน่วย จงหาสมการของเส้นตรงที่ขนานกันคู่นี้