SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
หลักการและเทคนิคการเขียนโครงการ
                                                                       หทัยรัตน์ ลิ่มอรุ ณวงศ์
                                                                       เจ้าหน้าที่บริ หารงาน กองแผนงาน
                                                                       มหาวิทยาลัยทักษิณ



บทนํา
            เรามักจะได้ยนหน่วยงานหรื อผูที่เกี่ยวข้องกับการเขียนโครงการพูดอยูเ่ สมอว่า เขียนโครงการไม่เป็ น
                        ิ               ้
เขียนโครงการไม่ชดเจน เขียนโครงการไม่สอดคล้องกับแผนงานและกรอบนโยบาย มีขอมูลสําหรับการ
                     ั                                                                       ้
ตัดสิ นใจในการเขียนโครงการน้อย และที่สาคัญช่วงเวลาที่ให้เขียนโครงการนั้นสั้น จึงทําให้เขียนโครงการ
                                            ํ
แบบขอไปที ห รื อ นํา เอาโครงการเดิ ม ๆ ที่ เ คยทํา อยู่ม าปรั บ เสี ย ใหม่ ปรั บ เปลี่ ย นบางประเด็ น เท่ า นั้น
โครงการจึงไม่ผ่านการวิเคราะห์ความเป็ นไปได้ในด้านต่าง ๆ ขาดการวิเคราะห์ตามหลัก “SWOT” และ
ขาดการกลันกรองโครงการก่ อนที่ จะเสนอให้หน่ วยงานระดับสู งได้หลอมรวมโครงการและงานต่อไป
             ่
ดังนั้นในปั จจุบนหลายหน่วยงานจึงให้ความสําคัญกับการจัดทําแผนและการเขียนโครงการมาก โดยมีการ
                ั
ฝึ กอบรมเชิ งปฏิบติการเขียนแผนหรื อเขียนโครงการขึ้นมา ภายใต้ความเชื่ อที่ว่า ถ้าเราเข้าใจองค์ความรู ้
                   ั
เกี่ ยวกับการจัดทําแผนและการจัดทําโครงการ ตลอดจนเทคนิ คและวิธีการเขียนโครงการแล้ว จะทําให้
เขียนโครงการได้ถูกต้อง ครอบคลุมชัดเจน และสามารถนําไปปฏิบติได้ง่าย      ั

ความหมายของโครงการ
            คําว่า “โครงการ” ภาษาอังกฤษใช้คาว่า “Project” ซึ่ งหมายถึง แผนงานย่อยที่ประกอบด้วย
                                             ํ
กิจกรรม หรื องานหลายงานที่ระบุรายละเอียดชัดเจน อาทิ วัตถุประสงค์ เป้ าหมาย ระยะเวลาดําเนิ นการ
วิธีการหรื อขั้นตอนในการดําเนิ นงาน พื้นที่ในการดําเนิ นงาน งบประมาณที่ใช้ในการดําเนินงานตลอดจน
ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ
            แผนงานที่ปราศจากโครงการย่อมเป็ นแผนงานที่ไม่สมบูรณ์ ไม่สามารถนําไปปฏิ บติให้เป็ น
                                                                                            ั
รู ปธรรมได้ ดังนั้นการเขียนโครงการขึ้นมารองรับแผนงาน ย่อมเป็ นสิ่ งสําคัญและจําเป็ นยิงเพราะจะทําให้
                                                                                      ่
ง่ายในการปฏิบติ และง่ายต่อการติดตามและประเมินผลเพราะถ้าโครงการบรรลุผลสําเร็ จ นั้นหมายความว่า
                 ั
แผนงาน และนโยบายนั้นบรรลุผลสําเร็ จด้วย
            โครงการจึงเปรี ยบเสมือนพาหนะที่นาแผนปฏิบติการไปสู่ การดําเนิ นงานให้เกิดผล เพื่อไปสู่
                                               ํ          ั
จุดหมายปลายทางตามที่ตองการ อีกทั้งยังเป็ นจุดเชื่อมโยงจากแผนงานไปสู่ แผนเงิน และแผนคนอีกด้วย
                          ้
                                 ั
ดังนั้นโครงการจึงมีความสัมพันธ์กบแผนงาน (Program) และนโยบาย (Policy)
ลักษณะสําคัญของโครงการ
  กษณะสํ
                โครงการหนึ่ง ๆ จะต้องประกอบด้วยคุณลักษณะสําคัญ คือ
                1. ประกอบด้วยกิจกรรมย่อย ๆ ที่เกี่ยวข้องพึ่งพิงและสอดคล้องกันภายใต้วตถุประสงค์เดียวกัน
                                                                                                 ั
                2. มีการกําหนดวัตถุประสงค์ (Objective) ที่ชดเจน วัดได้ และปฏิบติได้ ทั้งนี้ เพื่อเป็ นแนวทาง
                                                             ั                             ั
ในการดําเนินงานและติดตามประเมินผลได้ โครงการหนึ่ง ๆ อาจมีมากกว่าหนึ่งวัตถุประสงค์ก็ได้ กล่าวคือ
มี ว ัต ถุ ป ระสงค์ห ลัก และวัต ถุ ป ระสงค์ร อง และต้อ งกํา หนดวัต ถุ ป ระสงค์ที่ ส มารถปฏิ บ ัติ ไ ด้ มิ ใ ช่
วัตถุประสงค์ที่เลื่อนลอย/เพ้อฝันหรื อเกินความเป็ นจริ ง
                3. มีการกําหนดจุดเริ่ มต้นและจุดสิ้ นสุ ดของกิจกรรม (Scheduled Beginning and Terminal
Points) การเขียนโครงการโดยทัวไปจะต้องมีการกําหนดระยะเวลาว่าจะเริ่ มต้นเมื่อไรและสิ้ นสุ ดเมื่อไร ถ้า
                                      ่
หากมีการดําเนินกิจกรรมไปเรื่ อย ๆ ไม่มีการกําหนดขอบเขตของเวลา (Time Boundary) ไว้จะไม่ถือว่าเป็ น
งานโครงการ เพราะมีลกษณะเป็ นงานประจํา (Routine) หรื องานปกติ
                            ั
                4. มีสถานที่ต้ ง (Location) ของโครงการ ผูเ้ ขียนโครงการต้องระบุให้ชดเจนว่าโครงการนี้ พ้ืนที่
                               ั                                                               ั
                                 ่
ดําเนิ นการหรื อหัวงานอยูที่ใด เพื่อสะดวกในการดําเนิ นงาน ถ้าเลือกสถานที่ต้ งโครงการไม่เหมาะสมแล้ว
                                                                                         ั
ย่อมทําให้เ สี ย ค่ าใช้จ่ ายหรื อลงทุ นมาก ผลประโยชน์ตอบแทนที่ ไ ด้อาจไม่คุมค่ า การติ ดตามและการ
                                                                                             ้
ประเมินผลโครงการก็อาจทําได้ยาก
                5. มีบุคลากรหรื อองค์กรที่เฉพาะเจาะจง (Organization) งานโครงการจะต้องมีหน่วยงานหลัก
รั บผิด ชอบ ส่ ว นหน่ ว ยงานอื่ น ถื อว่า เป็ นหน่ ว ยงานเสริ ม หรื อ ร่ ว มมื อดํา เนิ น งานเท่ า นั้น และควรระบุ
บุคลากรผูรับผิดชอบโครงการนั้นให้ชดเจน เพื่อเป็ นหลักประกันว่าบุคคล/องค์กรนั้นจะปฏิบติอย่างจริ งจัง
              ้                             ั                                                           ั
และจริ งใจ
                6. มีการใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์ (Resource) การเขียนโครงการจะต้องระบุแหล่ง
ทรัพยากร โดยเฉพาะแหล่งงบประมาณให้ชดเจน เช่น งบประมาณแผ่นดิน หรื อเงินกู้ หรื อเงินทุนสํารอง
                                                ั
หรื อเงินบริ จาค เป็ นต้น และจะต้องระบุเงินที่ใช้ว่าเป็ นหมวดวัสดุ หมวดค่าใช้สอย หมวดค่าตอบแทน
หมวดค่าครุ ภณฑ์ หมวดค่าที่ดินและสิ่ งก่อสร้าง เป็ นต้น ทั้งนี้ จะทําให้ง่ายในการดําเนิ นการและควบคุม
                  ั
ตรวจสอบการใช้งบประมาณให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดได้

โครงการที่ดีควรมีลักษณะอย่างไร
        โครงการที่ดีจะต้องมีลกษณะดังนี้
                             ั
        1. สามารถแก้ไขปั ญหาของหน่วยงานหรื อองค์กรได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
        2. สามารถสนองตอบต่อความต้องการของกลุ่ม ชุมชน นโยบายของหน่วยงาน และนโยบาย
ของประเทศชาติได้ดี
        3. รายละเอียดของโครงการต้องเข้าใจง่ายมีการใช้ภาษาที่เข้าใจกันทัวไป
                                                                       ่
4.   มีวตถุประสงค์และเป้ าหมายที่ชดเจน และมีลกษณะเฉพาะเจาะจง
                    ั                        ั            ั
           5.   รายละเอียดของโครงการต้องเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กน ตั้งแต่ประเด็นแรกถึงประเด็นสุ ดท้าย
                                                             ั
           6.   กําหนดการใช้ทรัพยากรอย่างชัดเจนและเหมาะสม
           7.   มีวิธีการติดตามและประเมินผลที่ชดเจน
                                                ั

โครงสร้างของโครงการ
                การเขียนโครงการจะต้องรู ้และเข้าใจโครงสร้างของโครงการเสี ยก่อนว่าประกอบไปด้วยส่ วน
ใดบ้าง ซึ่งโดยทัวไปโครงสร้างของโครงการ ประกอบด้วย
                         ่
                1. ชื่ อโครงการ ส่ วนใหญ่มาจากงานที่ตองการปฏิบติ โดยจะต้องมีความชัดเจนเหมาะสม
                                                                 ้              ั
เฉพาะเจาะจง กะทัดรัด และสื่ อความหมายได้อย่างชัดเจน
                2. หลักการและเหตุผล เป็ นการกล่าวถึงปั ญหาและสาเหตุและความจําเป็ นที่ตองมีการจัดทํา ้
โครงการ โดยผูเ้ ขียนโครงการจะต้องพยายามพรรณนาความ โดยหาเหตุผล หลักการ ทฤษฎี แนวทาง
นโยบายของรั ฐบาล นโยบายของกระทรวง/กรม ตลอดจนความต้องการในการพัฒนา ทั้งนี้ เพื่อแสดง
ข้อมูลที่มีน้ าหนักน่าเชื่อถือและให้เห็นความสําคัญของสถานการณ์ที่เกิดขึ้น โดยมีการอ้างอิงแหล่งที่มาของ
              ํ
ข้อมูลด้วย เพื่อที่ผอนุมติโครงการจะได้ตดสิ นใจสนับสนุนโครงการต่อไป
                            ู้ ั                  ั
                3. วัตถุประสงค์ เป็ นการระบุถึงเจตจํานงในการดําเนิ นงานของโครงการ โดยแสดงให้เห็นถึง
ผลที่ตองการจะบรรลุไว้อย่างกว้าง ๆ มีลกษณะเป็ นนามธรรมแต่ชดเจนและไม่คลุมเครื อ โดยโครงการ
        ้                                           ั                             ั
หนึ่ ง ๆ อาจมีวตถุประสงค์มากกว่า 1
                      ั                               ข้อก็ได้ คือ มีวตถุประสงค์หลักและวัตถุประสงค์รองหรื อ
                                                                        ั
วัตถุประสงค์ทวไป และวัตถุประสงค์เฉพาะก็ได้
                   ั่
                หลักการเขียนวัตถุประสงค์ ทดี ซึ่งในทีนีจะเรียกว่ า หลัก SMART คือ
                                               ี่          ่ ้
                           Sensible and Specific คือ ต้องมีความเป็ นไปได้และมีความเฉพาะเจาะจงในการ
ดําเนินการโครงการ
                        Measurable คือ ต้องสามารถวัดและประเมินผลระดับของความสําเร็ จได้
                        Attainable คือ ต้องระบุถึงการกระทําที่สามรถปฏิบติได้ มิใช่สิ่งเพ้อฝัน
                                                                              ั
                        Reasonable and Realistic คือ ต้องระบุให้มีความเป็ นเหตุเป็ นผลและสอดคล้องกับความ
เป็ นจริ ง
                        Time ต้องมีการกําหนดขอบเขตของเวลาที่จะกระทําให้สาเร็ จได้อย่างชัดเจน
                                                                                     ํ
                นอกจากนั้นการเขียนวัตถุประสงค์ ยงต้ องคํานึงถึงสิ่ งต่ อไปนี้ คือ
                                                       ั
                        ใช้คากริ ยาที่แสดงถึงความตั้งใจจริ ง เช่น เพื่อเพิ่ม... เพื่อลด… เพื่อส่ งเสริ ม… เพื่อ
                              ํ
ปรับปรุ ง… เพื่อขยาย… เพื่อรณรงค์… เพื่อเผยแพร่ … เป็ นต้น
ระบุผลผลิต (Output) หรื อระบุผลลัพธ์ (Outcome) ที่ตองการให้เกิดขึ้นเพียงประการเดียว
                                                                           ้
ในวัตถุประสงค์หนึ่ งข้อ ถ้าเขียนวัตถุประสงค์ไว้หลายข้อ ข้อใดทําไม่สาเร็ จเราสามารถประเมินผลได้ ซึ่ ง
                                                                             ํ
อาจกําหนดเป็ น วัตถุประสงค์หลัก 1 ข้อ และวัตถุประสงค์รอง 1 - 2 ข้อ โดยมีเงื่อนไขว่า
                     ถ้าบรรลุวตถุประสงค์หลัก แต่ไม่บรรลุวตถุประสงค์รอง ควรทําต่อไป
                                  ั                            ั
                     ถ้าบรรลุวตถุประสงค์รอง แต่ไม่บรรลุวตถุประสงค์หลัก อาจยุติโครงการ
                                    ั                        ั
                   กําหนดเกณฑ์มาตรฐานของความสําเร็ จที่วดได้ในเชิงปริ มาณและเชิงคุณภาพ
                                                                 ั
                   กําหนดช่วงเวลา พื้นที่หรื อกลุ่มเป้ าหมาย
              4. เปาหมาย หมายถึง ระบุถึงผลลัพธ์สุดท้ายที่คาดว่าจะได้จากการดําเนินโครงการ โดยจะระบุ
                   ้
ทั้งผลที่เป็ นเชิ งปริ มาณและผลเชิ งคุณภาพ เป้ าหมายจึงคล้ายกับวัตถุประสงค์ แต่มีลกษณะเฉพาะเจาะจง
                                                                                      ั
มากกว่า มีการระบุสิ่งที่ตองการทําได้ชดเจนและระบุเวลาที่ตองการจะบรรลุ
                              ้             ั                        ้
              5. วิธีการดําเนินงาน เป็ นการให้รายละเอียดในการปฏิบติ โดยปกติจะแยกเป็ นกิจกรรมย่อย ๆ
                                                                         ั
หลายกิจกรรม แต่เป็ นกิจกรรมเด่น ๆ ซึ่ งจะแสดงให้เห็นความเด่นชัดตั้งแต่กิจกรรมเริ่ มต้นจนถึงกิจกรรม
สุ ดท้ายว่ามีกิจกรรมใดที่ตองทําบ้าง ถ้าเป็ นโครงการที่ไม่ซับซ้อนมากนักก็มกจะนิ ยมใช้แผนภูมิแกนท์
                                      ้                                        ั
(Gantt chart) หรื อแผนภูมิแท่ง (Bar chart)
              6. ผู้รับผิดชอบโครงการ เป็ นการระบุว่าใครหรื อหน่วยงานใดเป็ นผูรับผิดชอบและมีขอบเขต
                                                                                  ้
ความรับผิดชอบอย่างไรบ้าง ทั้งนี้เพื่อว่ามีปัญหาจะได้ติดต่อประสานงานได้ง่าย
              7. งบประมาณ เป็ นการระบุค่าใช้จ่ายที่ตองใช้ในการดําเนิ นกิจกรรมขั้นต่าง ๆ โดยทัวไปจะ
                                                           ้                                       ่
แจกแจงเป็ นหมวดย่อย ๆ เช่น หมวดค่าวัสดุ หมวดค่าใช้สอย หมวดค่าตอบแทน หมวดค่าครุ ภณฑ์ ซึ่ ง        ั
การแจกแจงงบประมาณจะมีประโยชน์ในการตรวจสอบความเป็ นไปได้ และตรวจสอบความเหมาะสมใน
สถานการณ์ ต่าง ๆ นอกจากนั้นควรระบุแหล่งที่มาของงบประมาณด้วยว่าเป็ นงบประมาณแผ่นดิ น งบ
ช่วยเหลือจากประเทศต่างประเทศ เงินกู้ หรื องบบริ จาค เป็ นต้น
              8. สถานที่ดําเนินการ เป็ นการระบุสถานที่ต้ งของโครงการหรื อระบุว่ากิจกรรมนั้นจะทํา ณ
                                                                   ั
สถานที่แห่งใด เพื่อสะดวกต่อการจัดเตรี ยมสถานที่ให้พร้อมก่อนที่จะทํากิจกรรมนั้น ๆ
              9. ระยะเวลาในการดําเนินการ เป็ นการระบุระยะเวลาเริ่ มต้นโครงการและระยะเวลาสิ้ นสุ ด
โครงการโดยจะต้องระบุวน เดือน ปี เช่นเดียวกับการแสดงแผนภูมิแกนท์ (Gantt Chart)
                                ั
              10. ผลประโยชน์ ที่คาดว่ าจะได้ รับ เป็ นการระบุถึงผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดําเนินโครงการ
ประกอบด้วย ผลทางตรงและผลทางอ้อม นอกจากนั้นต้องระบุดวยว่าใครจะได้รับประโยชน์จากโครงการบ้าง
                                                                       ้
ได้รับประโยชน์อย่างใด ระบุท้ งเชิงปริ มาณและเชิงคุณภาพ
                                        ั
              11.         การประเมินผลโครงการ เป็ นการแสดงรายละเอียดว่าจะมีวิธีการควบคุมติดตามและ
ประเมินผลโครงการอย่างไร ใช้เครื่ องมืออะไรในการประเมินผล ระยะเวลาในการประเมินผล และใคร
เป็ นผูประเมินผล เป็ นต้น ดัชนีช้ ีวดความสําเร็ จของโครงการคืออะไร
       ้                                  ั
                       วิธีประเมินผลโครงการ…
ระยะเวลาประเมินผลโครงการ…
                   ผูประเมินผลโครงการ…
                     ้

สรุป
           การเขียนโครงการเป็ นเรื่ องที่ไม่ง่ายและไม่ยากเกิ นความสามารถของนักวางแผน หรื อผูที่มี        ้
หน้าที่รับผิดชอบในการจัดทําแผนและโครงการของหน่ วยงานต่าง ๆ ทั้งนี้ จะต้องมี ความรู ้ ความเข้าใจ
เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง นโยบาย แผนงาน และโครงการ เพื่อที่จะได้เขียนโครงการได้สอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์ของแผนงานและนโยบายต่อไป นอกจากนั้นการจะเป็ นผูเ้ ขียนโครงการได้ดี ท่านก็จะต้อง
หมั่น ฝึ กฝน และเขี ย นโครงการบ่ อ ย ๆ มี ข อ มู ล มาก ข้อ มู ล ถู ก ต้อ ง เพี ย งพอ และทัน สมัย วิ เ คราะห์
                                             ้
                                                                            ่
สถานการณ์อย่างถ่องแท้ ก่อนเขียนโครงการและหลังจากนั้นก็นาข้อมูลที่ผานการวิเคราะห์แล้วมาเขียนตาม
                                                                ํ
แบบฟอร์มการเขียนโครงการของแต่ละหน่วยงาน




อ้ างอิ ง
ประสิ ทธิ์ ตงยิงศิริ. (ม.ป.ป.) การจัดทําแผนและโครงการ. ม.ป.ท.
               ่
เยาวดี รางชัยกุล วิบูลย์ศรี . (2542). การประเมินผลโครงการ แนวคิดและแนวปฏิบัต.ิ กรุ งเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วัฒนา วงศ์เกียรติรัตน์ และสุ ริยา วีรวงศ์. (2543). คู่มอการประเมินผลโครงการ. กรุ งเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
                                                       ื
สมพิศ สุ ขแสน. (2542). นโยบายสาธารณะและการวางแผน. อุตรดิตถ์ : สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์
สุ วมล ติรกานันท์. (2543). การประเมินโครงการ : แนวทางสู่ การปฏิบัต.ิ กรุ งเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง.
    ิ

More Related Content

What's hot

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
poms0077
 
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือการเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
usaneetoi
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บท
Kannika Kerdsiri
 
ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)
ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)
ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)
Alongkorn WP
 
งานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนงานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียน
Sukanya Polratanamonkol
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
kand-2539
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
peter dontoom
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ดตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
Nattakorn Sunkdon
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
แวมไพร์ แวมไพร์
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
Thida Noodaeng
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
nurmedia
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
kkrunuch
 

What's hot (20)

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือการเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บท
 
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรมบันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
 
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษาเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)
ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)
ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)
 
งานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนงานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียน
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ดตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
 
ตัวอย่างใบ เบิกค่าเดินทาง
ตัวอย่างใบ เบิกค่าเดินทางตัวอย่างใบ เบิกค่าเดินทาง
ตัวอย่างใบ เบิกค่าเดินทาง
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
 
Thai1
Thai1Thai1
Thai1
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
 

Similar to หลัการเขียนโครงการ

โครงการ
โครงการโครงการ
โครงการ
guest2824fef
 
โครงการ
โครงการโครงการ
โครงการ
guest3b08dd
 
11 การเขียนโครงการ
11 การเขียนโครงการ11 การเขียนโครงการ
11 การเขียนโครงการ
Watcharin Chongkonsatit
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
praphol
 
บรรยาย Vehicle Khaoyai 2 การเขียนโครงการ
บรรยาย Vehicle Khaoyai 2 การเขียนโครงการบรรยาย Vehicle Khaoyai 2 การเขียนโครงการ
บรรยาย Vehicle Khaoyai 2 การเขียนโครงการ
Phusit Dontree
 

Similar to หลัการเขียนโครงการ (20)

9789740330325
97897403303259789740330325
9789740330325
 
@@@การจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปี
@@@การจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปี@@@การจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปี
@@@การจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปี
 
โครงการ
โครงการโครงการ
โครงการ
 
Present
PresentPresent
Present
 
Present
PresentPresent
Present
 
Present
PresentPresent
Present
 
presentation
presentationpresentation
presentation
 
Present
PresentPresent
Present
 
Present
PresentPresent
Present
 
Present
PresentPresent
Present
 
Present
PresentPresent
Present
 
Present
PresentPresent
Present
 
โครงการ
โครงการโครงการ
โครงการ
 
Implementation_Methodology by Alex 2023 แปลโดย ธนเดช รันดิลก ณ ภูเก็ต.pdf
Implementation_Methodology by Alex 2023 แปลโดย ธนเดช รันดิลก ณ ภูเก็ต.pdfImplementation_Methodology by Alex 2023 แปลโดย ธนเดช รันดิลก ณ ภูเก็ต.pdf
Implementation_Methodology by Alex 2023 แปลโดย ธนเดช รันดิลก ณ ภูเก็ต.pdf
 
11 การเขียนโครงการ
11 การเขียนโครงการ11 การเขียนโครงการ
11 การเขียนโครงการ
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
Checklist
ChecklistChecklist
Checklist
 
บรรยาย Vehicle Khaoyai 2 การเขียนโครงการ
บรรยาย Vehicle Khaoyai 2 การเขียนโครงการบรรยาย Vehicle Khaoyai 2 การเขียนโครงการ
บรรยาย Vehicle Khaoyai 2 การเขียนโครงการ
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 

หลัการเขียนโครงการ

  • 1. หลักการและเทคนิคการเขียนโครงการ หทัยรัตน์ ลิ่มอรุ ณวงศ์ เจ้าหน้าที่บริ หารงาน กองแผนงาน มหาวิทยาลัยทักษิณ บทนํา เรามักจะได้ยนหน่วยงานหรื อผูที่เกี่ยวข้องกับการเขียนโครงการพูดอยูเ่ สมอว่า เขียนโครงการไม่เป็ น ิ ้ เขียนโครงการไม่ชดเจน เขียนโครงการไม่สอดคล้องกับแผนงานและกรอบนโยบาย มีขอมูลสําหรับการ ั ้ ตัดสิ นใจในการเขียนโครงการน้อย และที่สาคัญช่วงเวลาที่ให้เขียนโครงการนั้นสั้น จึงทําให้เขียนโครงการ ํ แบบขอไปที ห รื อ นํา เอาโครงการเดิ ม ๆ ที่ เ คยทํา อยู่ม าปรั บ เสี ย ใหม่ ปรั บ เปลี่ ย นบางประเด็ น เท่ า นั้น โครงการจึงไม่ผ่านการวิเคราะห์ความเป็ นไปได้ในด้านต่าง ๆ ขาดการวิเคราะห์ตามหลัก “SWOT” และ ขาดการกลันกรองโครงการก่ อนที่ จะเสนอให้หน่ วยงานระดับสู งได้หลอมรวมโครงการและงานต่อไป ่ ดังนั้นในปั จจุบนหลายหน่วยงานจึงให้ความสําคัญกับการจัดทําแผนและการเขียนโครงการมาก โดยมีการ ั ฝึ กอบรมเชิ งปฏิบติการเขียนแผนหรื อเขียนโครงการขึ้นมา ภายใต้ความเชื่ อที่ว่า ถ้าเราเข้าใจองค์ความรู ้ ั เกี่ ยวกับการจัดทําแผนและการจัดทําโครงการ ตลอดจนเทคนิ คและวิธีการเขียนโครงการแล้ว จะทําให้ เขียนโครงการได้ถูกต้อง ครอบคลุมชัดเจน และสามารถนําไปปฏิบติได้ง่าย ั ความหมายของโครงการ คําว่า “โครงการ” ภาษาอังกฤษใช้คาว่า “Project” ซึ่ งหมายถึง แผนงานย่อยที่ประกอบด้วย ํ กิจกรรม หรื องานหลายงานที่ระบุรายละเอียดชัดเจน อาทิ วัตถุประสงค์ เป้ าหมาย ระยะเวลาดําเนิ นการ วิธีการหรื อขั้นตอนในการดําเนิ นงาน พื้นที่ในการดําเนิ นงาน งบประมาณที่ใช้ในการดําเนินงานตลอดจน ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ แผนงานที่ปราศจากโครงการย่อมเป็ นแผนงานที่ไม่สมบูรณ์ ไม่สามารถนําไปปฏิ บติให้เป็ น ั รู ปธรรมได้ ดังนั้นการเขียนโครงการขึ้นมารองรับแผนงาน ย่อมเป็ นสิ่ งสําคัญและจําเป็ นยิงเพราะจะทําให้ ่ ง่ายในการปฏิบติ และง่ายต่อการติดตามและประเมินผลเพราะถ้าโครงการบรรลุผลสําเร็ จ นั้นหมายความว่า ั แผนงาน และนโยบายนั้นบรรลุผลสําเร็ จด้วย โครงการจึงเปรี ยบเสมือนพาหนะที่นาแผนปฏิบติการไปสู่ การดําเนิ นงานให้เกิดผล เพื่อไปสู่ ํ ั จุดหมายปลายทางตามที่ตองการ อีกทั้งยังเป็ นจุดเชื่อมโยงจากแผนงานไปสู่ แผนเงิน และแผนคนอีกด้วย ้ ั ดังนั้นโครงการจึงมีความสัมพันธ์กบแผนงาน (Program) และนโยบาย (Policy)
  • 2. ลักษณะสําคัญของโครงการ กษณะสํ โครงการหนึ่ง ๆ จะต้องประกอบด้วยคุณลักษณะสําคัญ คือ 1. ประกอบด้วยกิจกรรมย่อย ๆ ที่เกี่ยวข้องพึ่งพิงและสอดคล้องกันภายใต้วตถุประสงค์เดียวกัน ั 2. มีการกําหนดวัตถุประสงค์ (Objective) ที่ชดเจน วัดได้ และปฏิบติได้ ทั้งนี้ เพื่อเป็ นแนวทาง ั ั ในการดําเนินงานและติดตามประเมินผลได้ โครงการหนึ่ง ๆ อาจมีมากกว่าหนึ่งวัตถุประสงค์ก็ได้ กล่าวคือ มี ว ัต ถุ ป ระสงค์ห ลัก และวัต ถุ ป ระสงค์ร อง และต้อ งกํา หนดวัต ถุ ป ระสงค์ที่ ส มารถปฏิ บ ัติ ไ ด้ มิ ใ ช่ วัตถุประสงค์ที่เลื่อนลอย/เพ้อฝันหรื อเกินความเป็ นจริ ง 3. มีการกําหนดจุดเริ่ มต้นและจุดสิ้ นสุ ดของกิจกรรม (Scheduled Beginning and Terminal Points) การเขียนโครงการโดยทัวไปจะต้องมีการกําหนดระยะเวลาว่าจะเริ่ มต้นเมื่อไรและสิ้ นสุ ดเมื่อไร ถ้า ่ หากมีการดําเนินกิจกรรมไปเรื่ อย ๆ ไม่มีการกําหนดขอบเขตของเวลา (Time Boundary) ไว้จะไม่ถือว่าเป็ น งานโครงการ เพราะมีลกษณะเป็ นงานประจํา (Routine) หรื องานปกติ ั 4. มีสถานที่ต้ ง (Location) ของโครงการ ผูเ้ ขียนโครงการต้องระบุให้ชดเจนว่าโครงการนี้ พ้ืนที่ ั ั ่ ดําเนิ นการหรื อหัวงานอยูที่ใด เพื่อสะดวกในการดําเนิ นงาน ถ้าเลือกสถานที่ต้ งโครงการไม่เหมาะสมแล้ว ั ย่อมทําให้เ สี ย ค่ าใช้จ่ ายหรื อลงทุ นมาก ผลประโยชน์ตอบแทนที่ ไ ด้อาจไม่คุมค่ า การติ ดตามและการ ้ ประเมินผลโครงการก็อาจทําได้ยาก 5. มีบุคลากรหรื อองค์กรที่เฉพาะเจาะจง (Organization) งานโครงการจะต้องมีหน่วยงานหลัก รั บผิด ชอบ ส่ ว นหน่ ว ยงานอื่ น ถื อว่า เป็ นหน่ ว ยงานเสริ ม หรื อ ร่ ว มมื อดํา เนิ น งานเท่ า นั้น และควรระบุ บุคลากรผูรับผิดชอบโครงการนั้นให้ชดเจน เพื่อเป็ นหลักประกันว่าบุคคล/องค์กรนั้นจะปฏิบติอย่างจริ งจัง ้ ั ั และจริ งใจ 6. มีการใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์ (Resource) การเขียนโครงการจะต้องระบุแหล่ง ทรัพยากร โดยเฉพาะแหล่งงบประมาณให้ชดเจน เช่น งบประมาณแผ่นดิน หรื อเงินกู้ หรื อเงินทุนสํารอง ั หรื อเงินบริ จาค เป็ นต้น และจะต้องระบุเงินที่ใช้ว่าเป็ นหมวดวัสดุ หมวดค่าใช้สอย หมวดค่าตอบแทน หมวดค่าครุ ภณฑ์ หมวดค่าที่ดินและสิ่ งก่อสร้าง เป็ นต้น ทั้งนี้ จะทําให้ง่ายในการดําเนิ นการและควบคุม ั ตรวจสอบการใช้งบประมาณให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดได้ โครงการที่ดีควรมีลักษณะอย่างไร โครงการที่ดีจะต้องมีลกษณะดังนี้ ั 1. สามารถแก้ไขปั ญหาของหน่วยงานหรื อองค์กรได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ 2. สามารถสนองตอบต่อความต้องการของกลุ่ม ชุมชน นโยบายของหน่วยงาน และนโยบาย ของประเทศชาติได้ดี 3. รายละเอียดของโครงการต้องเข้าใจง่ายมีการใช้ภาษาที่เข้าใจกันทัวไป ่
  • 3. 4. มีวตถุประสงค์และเป้ าหมายที่ชดเจน และมีลกษณะเฉพาะเจาะจง ั ั ั 5. รายละเอียดของโครงการต้องเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กน ตั้งแต่ประเด็นแรกถึงประเด็นสุ ดท้าย ั 6. กําหนดการใช้ทรัพยากรอย่างชัดเจนและเหมาะสม 7. มีวิธีการติดตามและประเมินผลที่ชดเจน ั โครงสร้างของโครงการ การเขียนโครงการจะต้องรู ้และเข้าใจโครงสร้างของโครงการเสี ยก่อนว่าประกอบไปด้วยส่ วน ใดบ้าง ซึ่งโดยทัวไปโครงสร้างของโครงการ ประกอบด้วย ่ 1. ชื่ อโครงการ ส่ วนใหญ่มาจากงานที่ตองการปฏิบติ โดยจะต้องมีความชัดเจนเหมาะสม ้ ั เฉพาะเจาะจง กะทัดรัด และสื่ อความหมายได้อย่างชัดเจน 2. หลักการและเหตุผล เป็ นการกล่าวถึงปั ญหาและสาเหตุและความจําเป็ นที่ตองมีการจัดทํา ้ โครงการ โดยผูเ้ ขียนโครงการจะต้องพยายามพรรณนาความ โดยหาเหตุผล หลักการ ทฤษฎี แนวทาง นโยบายของรั ฐบาล นโยบายของกระทรวง/กรม ตลอดจนความต้องการในการพัฒนา ทั้งนี้ เพื่อแสดง ข้อมูลที่มีน้ าหนักน่าเชื่อถือและให้เห็นความสําคัญของสถานการณ์ที่เกิดขึ้น โดยมีการอ้างอิงแหล่งที่มาของ ํ ข้อมูลด้วย เพื่อที่ผอนุมติโครงการจะได้ตดสิ นใจสนับสนุนโครงการต่อไป ู้ ั ั 3. วัตถุประสงค์ เป็ นการระบุถึงเจตจํานงในการดําเนิ นงานของโครงการ โดยแสดงให้เห็นถึง ผลที่ตองการจะบรรลุไว้อย่างกว้าง ๆ มีลกษณะเป็ นนามธรรมแต่ชดเจนและไม่คลุมเครื อ โดยโครงการ ้ ั ั หนึ่ ง ๆ อาจมีวตถุประสงค์มากกว่า 1 ั ข้อก็ได้ คือ มีวตถุประสงค์หลักและวัตถุประสงค์รองหรื อ ั วัตถุประสงค์ทวไป และวัตถุประสงค์เฉพาะก็ได้ ั่ หลักการเขียนวัตถุประสงค์ ทดี ซึ่งในทีนีจะเรียกว่ า หลัก SMART คือ ี่ ่ ้ Sensible and Specific คือ ต้องมีความเป็ นไปได้และมีความเฉพาะเจาะจงในการ ดําเนินการโครงการ Measurable คือ ต้องสามารถวัดและประเมินผลระดับของความสําเร็ จได้ Attainable คือ ต้องระบุถึงการกระทําที่สามรถปฏิบติได้ มิใช่สิ่งเพ้อฝัน ั Reasonable and Realistic คือ ต้องระบุให้มีความเป็ นเหตุเป็ นผลและสอดคล้องกับความ เป็ นจริ ง Time ต้องมีการกําหนดขอบเขตของเวลาที่จะกระทําให้สาเร็ จได้อย่างชัดเจน ํ นอกจากนั้นการเขียนวัตถุประสงค์ ยงต้ องคํานึงถึงสิ่ งต่ อไปนี้ คือ ั ใช้คากริ ยาที่แสดงถึงความตั้งใจจริ ง เช่น เพื่อเพิ่ม... เพื่อลด… เพื่อส่ งเสริ ม… เพื่อ ํ ปรับปรุ ง… เพื่อขยาย… เพื่อรณรงค์… เพื่อเผยแพร่ … เป็ นต้น
  • 4. ระบุผลผลิต (Output) หรื อระบุผลลัพธ์ (Outcome) ที่ตองการให้เกิดขึ้นเพียงประการเดียว ้ ในวัตถุประสงค์หนึ่ งข้อ ถ้าเขียนวัตถุประสงค์ไว้หลายข้อ ข้อใดทําไม่สาเร็ จเราสามารถประเมินผลได้ ซึ่ ง ํ อาจกําหนดเป็ น วัตถุประสงค์หลัก 1 ข้อ และวัตถุประสงค์รอง 1 - 2 ข้อ โดยมีเงื่อนไขว่า ถ้าบรรลุวตถุประสงค์หลัก แต่ไม่บรรลุวตถุประสงค์รอง ควรทําต่อไป ั ั ถ้าบรรลุวตถุประสงค์รอง แต่ไม่บรรลุวตถุประสงค์หลัก อาจยุติโครงการ ั ั กําหนดเกณฑ์มาตรฐานของความสําเร็ จที่วดได้ในเชิงปริ มาณและเชิงคุณภาพ ั กําหนดช่วงเวลา พื้นที่หรื อกลุ่มเป้ าหมาย 4. เปาหมาย หมายถึง ระบุถึงผลลัพธ์สุดท้ายที่คาดว่าจะได้จากการดําเนินโครงการ โดยจะระบุ ้ ทั้งผลที่เป็ นเชิ งปริ มาณและผลเชิ งคุณภาพ เป้ าหมายจึงคล้ายกับวัตถุประสงค์ แต่มีลกษณะเฉพาะเจาะจง ั มากกว่า มีการระบุสิ่งที่ตองการทําได้ชดเจนและระบุเวลาที่ตองการจะบรรลุ ้ ั ้ 5. วิธีการดําเนินงาน เป็ นการให้รายละเอียดในการปฏิบติ โดยปกติจะแยกเป็ นกิจกรรมย่อย ๆ ั หลายกิจกรรม แต่เป็ นกิจกรรมเด่น ๆ ซึ่ งจะแสดงให้เห็นความเด่นชัดตั้งแต่กิจกรรมเริ่ มต้นจนถึงกิจกรรม สุ ดท้ายว่ามีกิจกรรมใดที่ตองทําบ้าง ถ้าเป็ นโครงการที่ไม่ซับซ้อนมากนักก็มกจะนิ ยมใช้แผนภูมิแกนท์ ้ ั (Gantt chart) หรื อแผนภูมิแท่ง (Bar chart) 6. ผู้รับผิดชอบโครงการ เป็ นการระบุว่าใครหรื อหน่วยงานใดเป็ นผูรับผิดชอบและมีขอบเขต ้ ความรับผิดชอบอย่างไรบ้าง ทั้งนี้เพื่อว่ามีปัญหาจะได้ติดต่อประสานงานได้ง่าย 7. งบประมาณ เป็ นการระบุค่าใช้จ่ายที่ตองใช้ในการดําเนิ นกิจกรรมขั้นต่าง ๆ โดยทัวไปจะ ้ ่ แจกแจงเป็ นหมวดย่อย ๆ เช่น หมวดค่าวัสดุ หมวดค่าใช้สอย หมวดค่าตอบแทน หมวดค่าครุ ภณฑ์ ซึ่ ง ั การแจกแจงงบประมาณจะมีประโยชน์ในการตรวจสอบความเป็ นไปได้ และตรวจสอบความเหมาะสมใน สถานการณ์ ต่าง ๆ นอกจากนั้นควรระบุแหล่งที่มาของงบประมาณด้วยว่าเป็ นงบประมาณแผ่นดิ น งบ ช่วยเหลือจากประเทศต่างประเทศ เงินกู้ หรื องบบริ จาค เป็ นต้น 8. สถานที่ดําเนินการ เป็ นการระบุสถานที่ต้ งของโครงการหรื อระบุว่ากิจกรรมนั้นจะทํา ณ ั สถานที่แห่งใด เพื่อสะดวกต่อการจัดเตรี ยมสถานที่ให้พร้อมก่อนที่จะทํากิจกรรมนั้น ๆ 9. ระยะเวลาในการดําเนินการ เป็ นการระบุระยะเวลาเริ่ มต้นโครงการและระยะเวลาสิ้ นสุ ด โครงการโดยจะต้องระบุวน เดือน ปี เช่นเดียวกับการแสดงแผนภูมิแกนท์ (Gantt Chart) ั 10. ผลประโยชน์ ที่คาดว่ าจะได้ รับ เป็ นการระบุถึงผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดําเนินโครงการ ประกอบด้วย ผลทางตรงและผลทางอ้อม นอกจากนั้นต้องระบุดวยว่าใครจะได้รับประโยชน์จากโครงการบ้าง ้ ได้รับประโยชน์อย่างใด ระบุท้ งเชิงปริ มาณและเชิงคุณภาพ ั 11. การประเมินผลโครงการ เป็ นการแสดงรายละเอียดว่าจะมีวิธีการควบคุมติดตามและ ประเมินผลโครงการอย่างไร ใช้เครื่ องมืออะไรในการประเมินผล ระยะเวลาในการประเมินผล และใคร เป็ นผูประเมินผล เป็ นต้น ดัชนีช้ ีวดความสําเร็ จของโครงการคืออะไร ้ ั วิธีประเมินผลโครงการ…
  • 5. ระยะเวลาประเมินผลโครงการ… ผูประเมินผลโครงการ… ้ สรุป การเขียนโครงการเป็ นเรื่ องที่ไม่ง่ายและไม่ยากเกิ นความสามารถของนักวางแผน หรื อผูที่มี ้ หน้าที่รับผิดชอบในการจัดทําแผนและโครงการของหน่ วยงานต่าง ๆ ทั้งนี้ จะต้องมี ความรู ้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง นโยบาย แผนงาน และโครงการ เพื่อที่จะได้เขียนโครงการได้สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ของแผนงานและนโยบายต่อไป นอกจากนั้นการจะเป็ นผูเ้ ขียนโครงการได้ดี ท่านก็จะต้อง หมั่น ฝึ กฝน และเขี ย นโครงการบ่ อ ย ๆ มี ข อ มู ล มาก ข้อ มู ล ถู ก ต้อ ง เพี ย งพอ และทัน สมัย วิ เ คราะห์ ้ ่ สถานการณ์อย่างถ่องแท้ ก่อนเขียนโครงการและหลังจากนั้นก็นาข้อมูลที่ผานการวิเคราะห์แล้วมาเขียนตาม ํ แบบฟอร์มการเขียนโครงการของแต่ละหน่วยงาน อ้ างอิ ง ประสิ ทธิ์ ตงยิงศิริ. (ม.ป.ป.) การจัดทําแผนและโครงการ. ม.ป.ท. ่ เยาวดี รางชัยกุล วิบูลย์ศรี . (2542). การประเมินผลโครงการ แนวคิดและแนวปฏิบัต.ิ กรุ งเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วัฒนา วงศ์เกียรติรัตน์ และสุ ริยา วีรวงศ์. (2543). คู่มอการประเมินผลโครงการ. กรุ งเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ื สมพิศ สุ ขแสน. (2542). นโยบายสาธารณะและการวางแผน. อุตรดิตถ์ : สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์ สุ วมล ติรกานันท์. (2543). การประเมินโครงการ : แนวทางสู่ การปฏิบัต.ิ กรุ งเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง. ิ