SlideShare a Scribd company logo
1 of 99
การใช้เครื่องมือต่างๆ ของระบบอินเตอร์เน็ต
FTP  การถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล FTPเป็นคำย่อมาจากภาษาอังกฤษว่า Flie Transfer Protocol เป็นการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ 2 เครื่อง ซึ่งอยู่บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ในระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต มีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูลเป็นสาธารณะ มีอยู่เป็นจำนวนมาก เรียกเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูลนี้ว่า FTP Server
คำจำกัดความที่ควรทราบ Host Computer เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการเป็นเครือข่าย Local Host Computer เครื่องคอมพิวเตอร์ต้นทางที่เรียกใช้คำสั่ง ftp Remote Host Computer เครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางที่ถูกเปิด (open) เรียกใช้งานจากคำสั่ง ftp
เมื่อ login เข้าสู่ระบบเครื่องนนทรี (nontri) ซึ่งมีระบบปฏิบัติการเป็นยูนิกส์ (unix) สามารถทำการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล ได้โดยใช้คำสั่ง ftp ตามด้วยชื่อคอมพิวเตอร์ที่ต้องการถ่ายโอน ย้ายข้อมูล $ftp ftp . Cpc .ku.ac.thftp เป็นคำสั่งftp.cpc.ku.ac.th เป็นชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ให้บริการโอนย้ายข้อมูล หรือทำหน้าที่เป็น FTP Server
ให้ใส่ชื่อรหัสบัญชีที่รายการ Name: ถ้าเป็นการติดต่อกับเครื่อง FTP Server ที่ให้บริการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูลเป็นสาธารณะ (Public) ให้ใส่ชื่อบัญชีที่รายการ Name นี้ว่า anonymous จากนั้นใส่รหัสลับ (password) เป็น E-mail address ของผู้ใช้เป็นการขอเข้าสู่ระบบ FTP ได้พรอมท์ (prompt) เป็นข้อความ "FTP>" สำหรับผู้ใช้ป้อนคำสั่งต่าง ๆ ต่อไป
สรุปคำสั่งในftp ? [คำสั่ง] / help [คำสั่ง]     แสดงข้อความช่วยเหลือ อธิบายคำสั่งใน ftp asscii			คัดลอกแฟ้มข้อมูลแบบแอสกี binary			คัดลอกแฟ้มข้อมูลแบบไบนารี bell			ให้ส่งเสียงเมื่อคัดลอกแฟ้มข้อมูลเสร็จ bye			จบการทำงานและออกจาก ftp cd [ไดเรกทอรี]		เปลี่ยนไดเรคทอรี ของคอมพิวเตอร์ปลายทาง cd .. หรือ cdup	เปลี่ยนไดเรคทอรีของคอมพิวเตอร์ปลายทางขึ้นไป			หนึ่งระดับ
lcd [ไดเรคทอรี]		เปลี่ยนไดเรคทอรีของคอมพิวเตอร์ปลายทางclose หรือ disconnect	จบการเชื่อต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทางแต่ยังไม่ออกจาก ftpdir [ชื่อแฟ้ม]		แสดงรายชื่อแฟ้มของคอมพิวเตอร์ปลายทางget [ชื่อแฟ้ม] [ชื่อแฟ้ม]	คัดลอกแฟ้มจากคอมพิวเตอร์ปลายทางมาที่คอมพิวเตอร์ต้นทางmget [ชื่อแฟ้ม] [ชื่อแฟ้ม]	คัดลอกแฟ้มจากคอมพิวเตอร์ปลายทางมาที่คอมพิวเตอร์ต้นทาง			แบบหลายแฟ้มput [ชื่อแฟ้ม] [ชื่อแฟ้ม]	คัดลอกแฟ้มจากคอมพิวเตอร์ต้นทางไปไว้ที่คอมพิวเตอร์ปลายทางmput [ชื่อแฟ้ม] [ชื่อแฟ้ม]	คัดลอกแฟ้มจากคอมพิวเตอร์ต้นทางไปไว้ที่ คอมพิวเตอร์ปลายทาง			แบบหลายแฟ้มprompt [on] [off]	กำหนดให้มีการโต้ตอบกับผู้ใช้เพื่อเลือกแฟ้มเมื่อใช้ mget 			,mputpwd			แสดงไดเรคทอรีของรีโมตโฮสต์
แอสกี้(ascii)หรือไบนารี(binary) ในการโอนย้ายไฟล์เมื่อผู้ใช้พบไฟล์ที่ต้องการแล้ว  ผู้ใช้ต้องกำหนดโหมดในการโอนย้ายข้อมูลให้ถูกต้อง  ไฟล์โดยส่วนใหญ่จะมี  2  แบบ คือ แอสกี้  หรือ ไบนารีไฟล้ทั้ง 2 ประเภทจะมีความแตกต่างกันอย่างมาก  ถ้าโอนย้ายข้อมูลแบบไบนารีด้วยการกำหนดโหมดเป็นแอสกี้ข้อมูลที่ได้จะไม่สามารถทำงานหรือใช้งานได้  หรือที่เรียกว่าเป็นขยะ  หรือถ้าจะโอนย้ายข้อมูลแบบแอสกี้ด้วยการกำหนดโหมดเป็นไบนารี ข้อมูลที่ต้องการจะจัดเรียงไม่ถูกต้องโดยไม่มีการขึ้นบรรทัดใหม่ให้  ตัวกำหนดบรรทัดหนังสือ  line break  จะหายไปการที่จะทราบได้ว่าไฟล์ใดเป็นไฟล์ที่ต้องทำการโอนย้ายแบบแอสกี้ หรือ ไบนารี สามารถสังเกตได้จากส่วนขยายของชื่อไฟล์
การรับข้อมูล เมื่อพบไฟล์ที่ต้องการโอนย้ายและได้กำหนดประเภทการโอนย้ายข้อมูลเรียบร้อยแล้ว(asciiหรือ  binary)ต่อไปจะให้ทราบถึงการใช้คำสั่ง  get  ในการโอนย้ายข้อมูล ในตัวอย่างจะเป็นการโอนย้ายที่ใช้ชื่อ INDEX จากเครื่องที่เป็นเซิร์ฟเวอร์มายังเครื่องของผู้ใช้        ควรระวังไว้ด้วยว่าเครื่องเซิร์ฟเวอร์  FTP  โดยทั่วไป  การใช้ตัวอักษรใหญ่หรือเล็กจะมีความแตกต่างกัน  เช่น INDEX  จะเป็นไฟล์ที่แตกต่างกับ  index   ftp>  get INDEX200 port  command  successful. 150  opening  BINARY  mode  data  connection  for  INDEX (307370 bytes).266transfer  complete. 307370  bytes  received  in  22  seconds  ( 14 Kbytes /s) FTP>
การส่งข้อมูล โดยทั่วไปผู้ใช้งานส่วนใหญ่มักจะทำงานในลักษณะรับข้อมูลมากกว่าส่งข้อมูลแต่ในบางครั้งอาจจำเป็นจะต้องทำการส่งข้อมูลไปยังเครื่องที่เป็นเซิร์ฟเวอร์ของ  FTP  บ้างเหมือนกัน ถ้าต้องการโอนย้ายข้อมูลจากเครื่องของคุณไปยังเครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่อยู่ไกลออกไปสามารถทำได้โดยใช้คำสั่ง  PUT  ในตัวอย่างเป็นการส่งไฟล์ชื่อ  Myfile.txt     ถ้าใช้งานโดยใช้รหัสผู้ใช้เป็น  anonymous  ผู้ใช้อาจจะไม่สามารถส่งไฟล์ไปยังเครื่องเซิร์ฟเวอร์ได้ ยกเว้นแต่ว่าผู้ควบคุมระบบอนุญาตให้ทำงานเช่นนั้นได้ท่านั้น ftp>  put  myfile.txt 200  port  command successful. 150  ascii  data  connection  for  myfile.txt  (199.2.134.2.1043). 226  transfer  complete. 98  bytes  sent  in  0.0026secodes(36  Kbytes/s) ftp>    
การออกจากระบบ 	เมื่อทำการโอนย้ายข้อมูลเสร็จเรียบร้อยแล้ว  และต้องการออกจากระบบให้ใช้คำสั่ง  quit   ftp>quit221  goodbye 	รายละเอียดของftp  สามารถดูได้โดยใช้คำสั่ง  man  ftp  ที่พรอมต์ของยูนิกซ์ ซึ่งจะเป็นคู่มือการใช้งานแบบออนไลน์  หรือในขณะที่กำลังทำงานในโหมดของftp  ก็สามรถใช้คำสั่ง  help  ที่พรอมต์  ftp> ได้ หรือจะใช้คำสั่ง  help  ตามด้วยคำสั่งที่ต้องการทราบความหมาย  เพื่อดูรายละเอียดเฉพาะคำสั่งนั้นๆได้
WS-FTP Ws-ftp พัฒนาโดย  john  junod  เป็นโปรแกรมใยยุคแรกๆ  ที่พัฒนาสำหรับใช้งานบนวินโดวส์  และเป็นโปรแกรมที่ดีที่สุดในบรรดาโปรแกรมที่มีอยู่ในขณะนี้ โปรแกรมได้ถูกพัฒนาเพื่อให้ใช้งานง่ายแม้แต่กับผู้เริ่มต้นใช้งานสิ่งที่ทำให้ws-ftp น่าสนใจก็คือ  คุณสามารถเก็บข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่ติดต่อด้วยบ่อยที่สุดได้  ซึ่งข้อมูลจะประกอบด้วยชื่อของเซิร์ฟเวอร์ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้งานด้วยยูสเซอร์  anonymous  และข้อมูลเกี่ยวกับไดเรทอรีต่างๆ
WinFTP 	WinFTP  พัฒนาโดย Santanu  Lahiri  ซึ่งได้พื้นฐานมาจากโปรแกรม  WS-FTP  เวอร์ชันก่อนๆเช่นกัน  WinFTP  เวอร์ชัน 1.0  จะคล้ายกับ  WS-FTP  มาก  โดยเฉพาะการทำงานพื้นฐานต่างๆ และได้เพิ่มเติมการทำงานที่เป็นประโยชน์บางอย่างเข้าไว้ด้วยกัน  เช่น   ping  ยูทิลิตี้  ซึ่งทำให้ผู้ใช้งานสามารถส่งสัญญาณ  ping  ไปยังเซิร์ฟเวอร์ได้  ถ้าเซิรืฟเวอร์ไม่มีการตอบรับแสดงว่าเครื่องอาจจะใช้งานไม่ได้ในขณะนั้น
แหล่งข้อมูล  FTP  แบบอะโนนิมัส 	การจะค้นหาไฟล์ที่ต้องการอาจจะเป็นเรื่องไม่ง่ายนัก ดังนั้นที่ที่ควรจะค้นหาที่ดีที่สุดก็คือควรหาที่เซิร์ฟเวอร์ที่เป็นแหล่งข้อมูลใหญ่ๆ แหล่งเหล่านี้ จะมีโปรแกรมทั้งประเภทแชร์แวร์  หรือ  ฟรีแวร์ เป็นพันๆโปรแกรม  ให้เลือกตามต้องการตัวอย่างที่จะกล่าวถึงเป็นเซิร์ฟเวอร์ของแหล่งข้อมูลที่สามารถหาโปรแกรมที่ต้องการได้  ทั้งโปรแกรมที่ทำงานบนดอส  และวินโดวส์
แหล่งข้อมูลวินโดวส์  CICA  CICA  ย่อมาจาก  the  center  for  innovative  computing  applications  ตั้งอยู่ที่มหาวิทยาลัยอินเดียนา  เป็นสถาบันวิจัยแห่งแรกที่มุ่งให้ความสนใจทางด้านการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และ  Artistic  Visualization   และแอปพลิเคชันแบบHigh – end   Computing  แต่สำหรับผู้ใช้โปรแกรมบนวินโดวส์แล้ว CICA หรือที่รู้จักกันในชื่อ ftp.cica.indiana.eduเซิร์ฟเวอร์ของ  FTP แบบอะโนนิมัส ที่ใหญ่ที่สุดในเครือข่ายอินเตอร์เน็ต CICA จะมีโปรแกรมแชร์แวร์  ฟรีแวร์ หรือโปรแกรมทดลองใช้สำหรับไมโครซอฟต์วินโดวส์ทั้งหมด  ล่าสุดเมื่อต้นปี 1995 พบว่ามีโปรแกรมทั้งหมดเกือบ 5.000  โปรแกรมในเครื่องเซิร์ฟเวอร์
Simtel 	เป็นแหล่งเก็บโปรแกรมที่ทำงานบนดอสที่ใหญ่ที่สุดในเครือข่ายอินเตอร์เน็ต  (มีมากกว่า  10.000ไฟล์) นอกจากนี้ยังมีโปรแกรมบนวินโดวส์ด้วยแต่อาจจะไม่มากเท่ากับ  CICA  เครื่องเซิร์ฟเวอร์ของ  simtelเป็นของกองทัพสหรัฐอเมริกา  ดังนั้นเพื่อความปลอดภัยของข้อมูลจึงไม่มีการให้ผู้เข้าใช้ล็อกอินด้วยยูสเซอร์อะโนนิมัส  ยังไรก็ตามยังมี  Mirror  Site  ของsimtelให้ใช้งานอยู่บ้างเช่น  oak.oakland.edu ที่มหาวิทยาลัย  Oakland  ใน  Rochester , Michiganไฟล์ของ  simtelจะอยู่ในไดเรกทอรี  /simtelโดยไฟล์สำหรับดอสจะอยู่ในไดเรกทอรี /simtel/msdos/   และไฟล์สำหรับวินโดวส์  3.x จะอยู่ในไดเรกทอรี  /simtel/win3
ยูทิลิตี้แหล่งข้อมูลFTP  แบบอะโนนิมัส 	โปรแกรม Simtel  DirectoryViewerยูทิลิตี้ที่สามารถใช้งานได้ดีคือโปรแกรม Simtel  DirectoryViewer หรือ  SimView โดย George R. Torralba  เป็นยูทิลิตี้บนวินโดวส์ซึ่งสามารถเรียกดูไฟล์ประเภท  .IDX  ทั่วๆไปได้  หรือแม้แต่ค้นหาไฟล์ในลักษณะออฟไลน์ก็ได้ 	แม้ว่า  SimViewจะถูกออกแบบมาสำหรับไฟล์ดัชนีของSim Tel  แต่โปรแกรมก็สามารถใช้ดูไฟล์ของ  CICA ได้ด้วย  สิ่งที่ต้องทำเพิ่มเติมก็คือการแปลงไฟล์ดัชนีของ CICA ให้เป็นไฟล์ประเภท>IDX สามารถทำได้โดยใช้ยูทิลิตี้โปรแกรม cnvcicaซึ่งจะกล่าวถึงในภายหลัง ที่สำคัญSimView เป็นโปรแกรมประเภทฟรีแวร์
ยูทิลิตี้แหล่งข้อมูลFTP  แบบอะโนนิมัส  	CNVCICA 	ถ้าอยากต้องการใช้งานโปรแกรม SimTel Directory Viewer สำหรับการทำงานกับไฟล์ดัชนีของ CICA สิ่งที่คุณต้องทำเพิ่มเติมก็คือ การแปลงไฟล์ดัชนีที่อยู่ในรูปแบบแอสกีธรรมดาให้อยู่ในรูปแบบ .IDX ก่อนวิธีที่ง่ายที่สุดก็คือใช้โปรแกรมยูทิลิตี้ CNVCICA ของ Peter Van der Veen
ค้นพบด้วยเทลเน็ต
โดยทั่วไปเมื่อพูดถึงระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ส่วนใหญ่แล้วจะนึกถึงเฉพาะแอพลิเคชันที่ใช้งานง่าย มีลักษณะที่เป็นกราฟฟิคและมีเสียงประกอบการใช้งาน เมื่อเทียบกับการใช้โปรแกรมเทลเน็ตแบบดั้งเดิมแล้ว จะรู้สึกว่าโปรแกรมเทลเน็ตค่อนข้างจะโบราณ ไม่น่าสนใจ เช่น โปรแกรมเทอร์มินอลบนวินโดวส์ ซึ่งเป็นโปรแกรมการใช้งานเทอร์มินอลแบบพื้นฐาน
แต่โปรแกรมเทลเน็ตแบบเก่านี้มีความสามารถในการทำงานบางอย่างที่โปรแกรมตัวอื่นไม่สามารถทำได้ เช่น สามารถใช้โปรแกรมเทลเน็ตในการเข้าใช้งานฐานข้อมูลได้ทุกประเภท ใช้เล่นเกมแบบออนไลน์ ใช้เซิร์ฟเวอร์ประเภทแชต(Chat)ได้
เครื่องมือพื้นฐาน ที่ใช้สำหรับติดต่อกับเครื่อง Server ที่เป็น UNIX หรือ LINUX เพื่อใช้เข้าไปควบคุมการทำงานของเครื่อง หรือใช้อ่าน mail หรือใช้ปรับปรุง homepage หรือใช้เรียกโปรแกรมประมวลผลใด ๆ หรือใช้พัฒนาโปรแกรมและใช้งานในเครื่องนั้น เป็นต้น เพราะระบบ UNIX หรือ LINUX จะยอมให้ผู้ใช้สร้าง application ด้วย Compiler ภาษาต่าง ๆ ได้อย่างอิสระ และเชื่อมต่อกับ Internet ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะ Internet เริ่มต้นมาจากระบบ UNIX นี้เอง
ประโยชน์อย่างหนึ่งที่ผู้ใช้โปรแกรม Telnet มักคุ้นเคย คือการใช้โปรแกรม PINE ซึ่งมีอยู่ใน Telnet สำหรับรับ-ส่ง mail และมีผู้ใช้อีกมากที่ไม่รู้ตัว ว่าตนเองกำลังใช้งาน UNIX อยู่ ทั้ง ๆ ที่ใช้ PINE ติดต่องานอยู่ทุกวัน เดิมที่ระบบ UNIX ไม่มีโปรแกรม PINE แต่มีนักศึกษาที่มหาวิทยาลัย WASHINGTON University เพราะใช้ง่ายกว่าการใช้คำสั่ง mail ในการรับ-ส่งมาก
โปรแกรมเทลเน็ตบนวินโดวส์  คุณสมบัติของเทลเน็ตที่ต้องดู  คือ  ความสามารถในการเก็บเทลเน็ตเซสชันลงในแฟ้มข้อมูล  การเลื่อนหน้าจอเพื่อขอดูไฟล์  และการกำหนดเซสชันที่แตกต่างกันได้หลายๆ  เซสชัน
โปรแกรมเทลเน็ตบนวินโดวส์ 1. Comt  	โปรแกรม comtพัฒนาโดย  Performance  Designs   มีการทำงานเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ที่น่าสนใจพอสมควร  เมื่อใช้งาน  comtคุณจะสามารถใช้โปรแกรมการติดต่อสื่อสารแบบที่ต้องการได้เสมือนเป็นโปรแกรมเทลเน็ตเอง  เช่น  ถ้าใช้โปรแกรม  Procommบนวินโดวส์  แล้วเรียกใช้งาน  comtผู้ใช้จะสามารถใช้งาน procommเหมือนเป็นโปรแกรมเทลเน็ตได้   	ถ้าคุณชอบการทำงานของโปรแกรมสื่อสารที่ใช้อยู่แล้ว  และต้องการให้สามารถใช้เทลเน็ตด้วยการติดต่อแบบ  slip  หรือ  pppได้  comt เป็นโปรแกรมที่เหมาะกับการทำงานประเภทนี้ที่สุด
โปรแกรมเทลเน็ตบนวินโดวส์ 2.EWAN 	Ewan ( Emulator Without  a  name ) พัฒนาโดย  peter  Zander  เป็นโปรแกรมเทลเน็ตที่ใช้งานง่าย มีคุณสมบัติในการใช้งานที่ดี  เช่น  สามารถปรับเปลี่ยนขนาดของหน้าจอที่ใช้งานได้ตามต้องการ  รวมทั้งยังมีขนาดของบัฟเฟอร์ที่ใหญ่มาก  ทำให้สามารถเก็บข้อมูลและเลื่อนหน้าจอขึ้นลงเพื่อดูข้อมูลที่ผ่านมาแล้วได้มากขึ้นด้วย  	โปรแกรม ewan ยังสามารถเก็บเซสชันของเทลเน็ตที่ใช้งานไว้ในแฟ้มข้อมูลได้ด้วย
เทลเน็ตรุ่นทดลอง 	ในทุกวันนี้มีผู้พัฒนาแอปพลิเคชันเทลเน็ตออกมามากมายมีตัวอย่างโปรแกรมที่สามารถพบได้ในระบบอินเตอร์เน็ตและการใช้งานขณะนี้ยังไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ นอกจากค่าใช้จ่ายที่ต้องเสียจากการติดต่อกับระบบเท่านั้นแต่ควรระวังไว้ว่าการใช้แอปพลิเคชันเหล่านี้อาจจะยังมีข้อผิดพลาดเล็กๆน้อยๆ  ที่ต้องมีการแก้ไขอยู่บ้าง  ในแอปพลิเคชันเหล่านี้อาจจะกลายเป็นมาตรฐานการใช้งานของเทลเน็ตก็เป็นได้
NCSA  Wintel25 โปรแกรม  NCSA  Wintel  เป็นโปรแกรมของ  NCSA  หรือ  National  Center  for  Supercomputing  Applications ตั้งอยู่ที่มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์  โปรแกรม  wintelเป็นโปรแกรมเทลเน็ตแบบพื้นฐานทั่วไปและถูกสร้างมาเพื่อให้ทำงานร่วมกับโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ที่นิยมแพร่หลายมากก็  คือ  โมเสค(Mosaic) แต่โครงการนี้ถูกยกเลิกไปก่อน	สำหรับเวอร์ชันในปัจจุบันที่ใช้งานอยู่มีข้อผิดพลาดหลายแห่ง  เช่น  ผู้ใช้ไม่สามารถติดต่อกับเครื่องที่แน่นอนได้  การแปลงจอภาพทำได้เฉพาะประเภท  VT-100 เท่านั้น แต่ข้อดีก็คือ  สามารถใช้งานบนวินโดวส์  3.1  ได้ และยังใช้เนื้อที่ในการติดตั้งน้อย คือประมาณ  40  KB  เท่านั้น
Trumpet  Telnet ผู้พัฒนา  คือ  peter  tattamโปรแกรม Trumpet  Telnet เป็นโปรแกรมเทลเน็ตแบบพื้นฐานเช่นกัน ปัจจุบันยังเป็นโปรแกรมทดลองรุ่นอัลฟา ซึ่งดูเหมือนสามารถทำงานได้มากกว่ารุ่นเบต้าบางโปรแกรมที่เคยทดลองใช้มา  การแปลงจอภาพก็สามารถทำได้เฉพาะแบบ  VT-100 เช่นกันแต่ยังมีคุณสมบัติเพิ่มเติมบางอย่าง  เช่น สามารถทำการติดต่อได้มากกว่า 1คอนเน็กชันในเวลาเดียวกัน และสามารถเปลี่ยนพื้นสีของหน้าจอได้
Yawtel Yawtel(Yet  another  Winsock  Telnet) พัฒนาโดย Hans  Van  Oostrom  จากชื่อของโปรแกรมจะทราบทันทีว่าเป็นโปรแกรมเทลเน็ตบนวินโดวส์  โดยเป็นเวอร์ชัน  เบต้า  โปรแกรมเป็นลักษณะพื้นฐาน และยังมีการพัฒนาต่อไปอีก  โดยดูจากเมนูต่างๆที่ยังไม่สามารถทำงานได้	YAWTEL ขณะนี้ยังเป็นโปรแกรมประเภทฟรีแวร์อยู่  เมื่พัฒนาเรียบร้อยแล้วจะเป็นแชร์แวร์ต่อไป
แอปพลิเคชันเทลเน็ตแบบพิเศษ 	แอปพลิเคชันที่จะแนะนำต่อไปนี้ ไม่แนะนำให้ใช้ในงานปกติ แต่จะเป็นโปรแกรมที่ทำการแปลงจอภาคให้เป็นจอภาพแบบที่ไม่สมารถหาได้จากที่อื่นโปรแกรมเทลเน็ตโดยทั่วไปมักจะทำการแปลงจอภาพให้เป็นจอภาพแบบ VT-100และ ANSI แต่ในบางโอกาสผู้ใช้อาจต้องใช้งานจอภาพที่แตกต่างออกไป เช่น IBM 3270 หรือ Tektronics
CSMRLW CSMRLW ย่อมาจาก Computer Solfware Manufakyut Remote for Windows เป็นของบริษัทในประเทศออสเตรีย ชื่อ Solfware Manufaktur GmbH สามารถแปลงจอภาพให้เป็นแบบ SCO-ANSI, IBM HFT-5151,IBM-3151 และ AT368ได้ และไม่สามารถแปลงให้เป็นชนิด VT-100ได้ ทำให้มีปัญหาการใช้งานกับระบบโดยทั่วไป
QWS3270 โปรแกรม QWS3270 เป็นโปรแกรมใช้งานกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งต้องติดต่อโดยใช้จอภาพแบบ IBM 3270 หรือ Tektronics4010 โปรแกรมนี้พัฒนาโดย Jim Rymerson   QWS3270ใช้งานและติดตั้งง่าย และยังสามารถใช้งานเป็นจอภาพแบบ IBM 3270ได้อย่างดี ในการใช้งานกับแอปพลิเคชันโกเฟอร์และเว็บเบราเซอร์ด้วย
TekTel TekTel เป็นโปรแกรมแปลงจอภาพให้เป็นจอภาพชนิด Tektronix T 4010 ซึ่งเป็นโปรแกรมใช้งานแบบพื้นฐาน แต่ทำงานได้เป็นอย่างดี TekTel เป็นซอฟต์แวร์ที่สามารถใช้งานได้ทั่วไป และสามารถจ่ายแจกได้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
จดหมาย  เครื่องมือสำคัญของอินเทอร์เน็ต ในอดีตจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ฉบับแรกพบโดยโปรแกรมเวิร์ดโปรเซสซิงที่ใช้งานอยู่มีการต่อกับโปรแกรมเวิร์ดโปรเซสซิงในเครื่องอื่นๆ  โดยผ่านระบบอีเธอร์เน็ต(Ethernet)  ซึ่งปัจจุบันคนส่วนใหญ่ใช้งานอินเตอร์เน็ตได้กันทั้งนั้น   อีเมล์เริ่มเป็นส่วนสำคัญในชีวิตซึ่งแต่ละคนอาจอยู่ไกลจากเราหลายๆๆพันกิโลเมตรยังสามารถรับรู้ความคิดและข้อมูลต่างๆของคนมากมายทั่วโลกได้อีกด้วย
โปรแกรมเมลล์สำหรับยูนิกซ์โปรแกรมเมลล์ในการอ่านจดหมาย  โดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 3 ชนิดคือ  1. Mail  2.Elm   3. PineMailเป็นโปรแกรมพื้นฐานที่ใช้งานในการส่งจดหมาย  เพียงพิมพ์ mailusername@hostname  ที่พรอมต์ของยูนิกซ์     usrename  หมายถึง  ชื่อของผู้ใช้ที่ต้องการส่งจดหมายไปให้hostname   หมายถึงชื่อของเครื่องที่รับจดหมายอยู่  หลังจากนั้นจะมีพรอมต์  Subject:สำหรับใส่หัวข้อของเรื่องที่จะส่ง(ถ้าไม่ใส่ตอนนี้อาจใส่เพิ่มทีหลังได้
Elmเป็นโปรแกรมที่ใช้งานง่ายกว่าโปรแกรมเมลล์  โปรแกรมจะแสดงรายการโดยสรุปของจดหมายทั้งหมดและสามารถเลื่อนเคอร์เซอร์ขึ้นลงตลอดรายการได้   Elm  ยังสามารถสร้างรายการของข้อมูลที่แตกต่างกันออกไปได้ด้วย  เช่น  สามารถเรียงลำดับจดหมายตามที่คุณต้องการได้Pineโดยไฟล์ใหม่ที่สร้างขึ้นมาจะถูกเก็บไว้ในไดเรกทอรี/mail เป็นโปรแกรมที่มีการทำงานลักษณะต้นไม้ (tree) และเป็นอินเตอร์เฟซของเมลล์ซึ่งใช้งานง่าย  ถูกออกแบบมาเพื่อผู้เริ่มต้นใช้งานยูนิกซ์และมีการใช้กันมากบนระบบทั่วๆไปด้วย   โปรแกรมPine  มีคุณสมบัติหลายอย่างคล้ายโปรแกรม  Elm แต่โปรแกรม Pine ไม่มีการย้ายข้อมูลที่ได้อ่านแล้วไปไว้ยังไฟล์อื่นแบบอัตโนมัติเหมือนโปรแกรม Mail และ Elm ถ้าต้องการจะย้ายจดหมายไปยังไฟล์อื่นที่ต้องการก็สามารถทำได้เช่นกัน
การส่งจดหมาย เนื่องจากเครือข่ายอินเตอร์เน็ตประกอบด้วยเครือข่ายย่อยมากมายเมื่อเราส่งจดหมายไปให้ใครสักคนบนเครือข่ายที่แตกต่างไป    เราจะต้องระบุแอดเดรสของผู้รับจดหมายแบบเจาะจงมิฉะนั้นจดหมายที่ส่งอาจไม่ถึงผู้รับ  การใช้งาน  Eudoraเป็นโปรแกรมที่ทำงานอย่างง่ายๆจดหมายที่มีเข้าจะถูกเก็บไว้ในตู้จดหมายเข้า(In)และจดหมายที่ต้องการส่งจะอยู่ในตู้จดหมายออก(Out)คุณสามารถสร้างตู้จดหมายและเก็บจดหมายเพิ่มเติมได้ตามต้องการที่เก็บจดหมายแต่ละไฟล์จะประกอบด้วยตู้จดหมายหลายๆไฟล์
การใช้งาน  Eudoraเป็นโปรแกรมที่ทำงานอย่างง่ายๆจดหมายที่มีเข้าจะถูกเก็บไว้ในตู้จดหมายเข้า(In)และจดหมายที่ต้องการส่งจะอยู่ในตู้จดหมายออก(Out)คุณสามารถสร้างตู้จดหมายและเก็บจดหมายเพิ่มเติมได้ตามต้องการที่เก็บจดหมายแต่ละไฟล์จะประกอบด้วยตู้จดหมายหลายๆไฟล์การใช้ FTP ทางเมลล์	ในอดีตเมื่อใช้งานในจดหมายอิเล็กทรอนิกส์อยู่  หากต้องการทำการโอนย้ายข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต  จะต้องทำการล็อกอินเข้าใช้งานในเครื่องก่อนจึงจะสามารถรับไฟล์ที่ต้องการได้แต่ขณะนี้คุณสามารถโอนย้ายข้อมูลจากการใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ได้การใช้งานโปรแกรมเมลล์  Pegasusการใช้งานโปรแกรม Pegasus  มีส่วนคล้ายกับ Eudora  คือสามารถสร้างที่เก็บจดหมายได้หลายไฟล์และยังสามารถสร้างกลุ่มของที่เก็บจดหมายหรือโฟลเดอร์(floder)ได้อีกด้วย เมื่อโปรแกรมทำการตรวจสอบในเซิร์ฟเว่อร์แล้วพบว่ามีจดหมายใหม่เข้ามา  โปรแกรมจะนำจดหมายไปไว้ในโฟลเดอร์  New  mail และจากโฟลเดอร์นี้  คุณสามารถอ่าน  เคลื่อนย้าย  ลบทิ้ง  ก็อปปี้  และตอบจดหมายได้
เมลิงลิสต์เมลิงลิสต์เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูลหลายอย่างที่เป็นประโยชน์  และยังสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกับบุคคลที่มีความสนใจในเรื่องเดียวกันได้ในเมลิงลิสต์มีทุกอย่างที่ต้องการตั้งแต่ข้อมูลของแอคคอร์เดียน(accordion)ถึง(zeppelin-1)  (เรียงตามตัวอักษรภาษาอังกฤษ)เป็นพันๆๆรายการสรุปจากที่กล่าวมาทั้งหมดจะเห็นได้ว่าอีเมล์เป็นเครื่องมือสำคัญและเป็นประโยชน์อย่างมากในการใช้งานบนอินเทอร์เน็ต  ซึ่งนอกจากจะใช้งานได้ง่ายแล้วยังเป็นวิธีการติดต่อกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นเครื่องมือที่สามารถรับข้อมูลข่าวสารได้เป็นอย่างดีอีกด้วย
การอ่านข่าว ยูสเน็ต  คือแหล่งข้อมูลที่มีขนาดใหญ่และมีการใช้งานกันอย่างขว้างขวางมากที่สุด การใช้งานโปรแกรม  rn     1.  เรียกใช้งาน  rn  ที่พรอมต์ของยูนิกส์  ในการใช้งานโปรแกรมครั้งแรกจะมีข้อมูลเกี่ยวกับโปรแกรมแสดงบนหน้าจอ  พร้อมทั้งนำคุณเข้าเครื่องเซิร์ฟเว่อร์นิวส์ 	2.  ถ้าคุณไม่เคยใช้งานโปรแกรมการอ่านข่าวมาก่อน  โปรแกรม rn จะทำให้การสร้างไฟล์  .newsrc  ให้ไฟล์จะประกอบด้วยข้อมูลเกี่ยวกับนิวส์กรุ๊ปที่มีอยู่ในระบบของคุณ  	rn  จะแสดงรายชื่อของนิวส์กรุ๊ปที่คุณเป็นสมาชิกอยู่ตามลำดับในไฟล์  .newscr ในแต่ละกลุ่มจะแสดงข้อมูลโดยย่อสำหรับแต่ละข้อมูลตามลำดับ  ถ้าต้องการอ่านข้อมูลทั้งหมดที่แสดงในรายการให้กดปุ่ม  Spacebar
การใช้งานโปรแกรม  trn1. เรียกใช้งานโปรแกรมโดยพิมพ์  trn  ที่พรอมต์ของยูนิกส์  ในการใช้ปรแกรม  trn   ครั้งแรก         หน้าจอจะแสดงข้อมูลเกี่ยวกับโปรแกรมและนำคุณเข้าสู่เครื่องเซิร์ฟเวอร์        2. ถ้าหากเป็นการใช้งานโปรแกรม  trn  ในครั้งแรก  โปรแกรมจะสร้างไฟล์ .newsrc  ให้โดยจะมีรายชื่อของนิวส์กรุ๊ปที่สามารถติดต่อได้ในระบบของคุณ        3.  เมื่อต้องการอ่านข้อความในนิวส์กรุ๊ป  trn จะทำการแสดงเทร็ดโดยย่อซึ่งคุณสามารถเลือกเทร็ดที่ต้องการดูได้  การเลือกเทร็ดให้เลื่อนเคอร์เซอร์ไปยังเทร็ดที่ต้องการ  แล้วกด  Enter
การใช้งานโปรแกรม  nn1.  เรียกใช้งานโปรแกรมโดยพิมพ์  nn  ที่พรอมต์ของยูนิกซ์  เมื่อใช้งานครั้งแรกโปรแกรมจะแสดงข้อมูลเกี่ยวกับโปรแกรมและติดต่อเข้าเครื่องเซิร์ฟเวอร์นิวส์2.  ถ้าหากไม่เคยใช้งานมาก่อน  โปรแกรมจะสร้างไฟล์  .newsrc  ซึ่งมีรายชื่อของนิวส์กรุ๊ปที่สามารใช้งานได้ในระบบ3.  เมื่อคุณเรียกใช้งานโปรแกรมจะเห็นข้อมูลโดยสรุปของ  19  ข้อความแรกในแต่ละนิวส์กรุ๊ป  ในแต่ละข้อความจะมีตัวอักษรภาษาอังกฤษที่ด้านซ้ายของรายการ4.  ถ้าต้องการเปิดดูข้อความ  ให้พิมพ์อักษรที่แสดงไว้ด้านซ้าย  โปรแกรมจะทำเครื่องหมายที่ข้อความนั้นเมื่อถึงตอนท้ายของนิวส์กรุ๊ป  ให้กด  Spacebar  อีกครั้ง โปรแกรมจะแสดงข้อความ5.  ถ้าต้องการดูหน้าถัดไปของข้อมูลสรุปให้กด  Spacebar  ที่ต้องการอ่านทั้งหมด
การใช้งานโปรแกรม   tin 1. เรียกใช้งานโปรแกรมโดยพิมพ์  tin ที่พรอมต์ของยูนิกซ์  การทำงานครั้งแรกหน้าจอจะแสดงข้อมูลเกี่ยวกับโปรแกรมและติดต่อเข้ากับเครื่องเซิร์ฟเวอร์นิวส์ 2.  ถ้าเป็นการใช้งานครั้งแรกโปรแกรมจะสร้างไฟล์  .newrc  ให้ซึ่งประกอบด้วยรายชื่อของนิวส์กรุ๊ปที่สามารถติดต่อได้ในระบบของคุณ 3.  เมื่อเรียกใช้งานโปรแกรม  จะพบหน้าจอ  GroupSelection  โปรแกรมจะแสดงรายชื่อของนิวส์กรุ๊ปที่คุณเข้าใช้งานอยู่และจะแสดงรายการคำสั่งโดยย่อที่ตอนล่างของหน้าจอ
WinTrumpet WinTrumpet  เป็นโปรแกรมที่ได้รับความนิยมมากและใช้งานง่าย WinTrumpet เป็นโปรแกรมประเภทซอฟแวร์  โดยจะเสียค่าใช้จ่ายในการขอใช้งาน 	การติดตั้งโปรแกรม WinTrumpet   1.  สร้างไดเรกทอรี  WINTRUMP  ในเครื่องของคุณ 2.  ทำการอันคอมเพรสไฟล์ซิปในไดเรกทอรีนั้น 3.  สร้างไอคอนบนวินโดว์สำหรับไฟล์  WT_WSK.EXE
การคอนฟิเกอร์โปรแกรม  WinTrumpet 1.  เรียกใช้งาน  WinTrumpet 		2.  ในการใช้งานโปรแกรมครั้งแรกจะมีพรอมต์สำหรับใส่ข้อมูลการติดตั้งประกอบด้วยชื่อของเซิร์ฟเวอร์  เมล์  และนิวส์  ชื่อและที่อยู่ของคุณ  ถ้าคุณใช้งาน  WinTrumpet โดยใช้การติดต่อแบบ  Slip หรือ  PPP  และต้องการใช้งานกับเครื่องเซิร์ฟเวอร์เมล์แบบ  POP3  เพื่อให้โปรแกรม WinTrumpet  เป็นโปรแกรมจดหมายด้วย  คุณจะต้องใส่ชื่อของ 	รหัสผู้ใช้แบบPOP3  หรือชื่อรหัสผู้ใช้งานเพื่อล็อกอินและรหัสผ่านด้วย 		3.  เมื่อเสร็จเรียบร้อยให้คลิกที่  OK  โปรแกรมจะทำการติดต่อเข้ากับเครื่องเซิร์ฟเวอร์นิวส์ของคุณ 					WinVN 		โปรแกรม WinVN  เป็นโปรแกรมที่ใช้งานง่าย  ชื่อนิวส์กรุ๊ปที่คุณใช้งานจะแสดงที่ส่วนบนสุดของรายชื่อ  และกลุ่มอื่นจะแสดงในตอนล่าง  ตัวเลขที่แสดงต่อจากแต่ละกลุ่มหมายถึงจำนวนหัวข้อในกลุ่มนั้นๆที่ยังไม่ได้อ่าน 				การอ่านข่าวแบบออฟไลน์ 		โปรแกรมอ่านข่าวแบบออฟไลน์เป็นการติดต่อกับเซิฟเวอร์นิวส์อีกวิธีหนึ่ง  คุณสามารถจะดาวน์โหลด  ข้อมูลเป็นจำนวนมากๆแล้วเลือกเอาต์(log out) ออกจากระบบ  หลังจากนั้นจึงอ่านข้อมูลทั้งหมดที่ดาวน์โหลดไว้ได้ในขณะที่ไม่ได้ติดต่อกับเครื่อง
FreeAgentโปรแกรม FreeAgent  เป็นโปรแกรมอ่านข่าวที่ใหม่ที่สุดและมีการทำงานที่น่าสนใจมากมาย  เช่น การทำงานแบบมัลติทาสกิง(Multi-tasking)  คือสามารถทำงานหลายงานได้พร้อมๆกันมีความสามารถในการค้นหาและเก็บข้อมูลที่ต้องการไว้อ่านในภายหลังได้  FreeAgent  ยังสามารถอ่านข่าวแบบออนไลน์ได้ด้วยWinQVTโปรแกรม  WinQVT  ประกอบด้วยโปรแกรมอ่านข่าว  โปรแกรมเมล์  เทลเน็ต   และ FTP ทั้งหมดรวมอยู่ในโปรแกรมเดียวกันซึ่งจะเหมาะกับผู้ใช้ที่ต้องการโปรแกรมแบบ  All-in-one  Solution   ปัญหาของโปรแกรมนี้คือ  ในบางครั้งอาจจะทำงานได้ไม่ดีทั้งหมด
โกเฟอร์บนยูนิกซ์โกเฟอร์ดั้งเดิมบนยูนิกซ์นั้นเป็นโปรแกรมที่ใช้งานง่าย เพียงแค่คุณพิมพ์gopherที่พรอมต์ของยูนิกซ์ โปรแกรมก็จะทำงานโดยจะเข้าสู่หน้าจอเมนูของโกเฟอร์โฮมเซิร์ฟเวอร์ เป็นอันดันแรก โกเฟอร์บนวินโดวส์ ปัจจุบันมีโปรแกรมโกเฟอร์สำหรับวินโดวส์อยู่หลายโปรแกรม ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นโปรแกรมที่ใช้งานง่ายลักษณะชี้คลิก (Point-and-Click) และเป็นแอปพลิเคชันสำหรับวินซ๊อกอีกด้วย
BCGopherสามารถติดต่อกับโกเฟอร์เซิร์ฟเวอร์ได้ทั่วโลก HGopher เป็นโปรแกรมในยุคแรกที่ใช้วินซ๊อกและมีคุณสมบัติที่เด่นมากมาย เช่น สามารถสลัปไปมาระหว่างเมนูของโกเฟอร์ปัจจุบันกับรายการของบุ๊คมาร์กได้โดยใช้การคลิกเมาส์ PNLInfo Browser เป็นโปรมแกรมที่ใช้ง่ายและมีประสิทธิภาพในการทำงานบนวินโดวส์
WGopherเป็นโปรแกรมที่ใช้งานแบบพื้นฐานบนวินโดวส์ซึ่งไม่มีคุณสมบัติมากนัก ขณะนี้โปรแกรมยังมีการพัฒนาเพิ่มเติมอีก
การเรียกอ่านข้อมูลโดยใช้เบราเซอร์บนระบบยูนิกซ์ ที่ยูนิกซ์เซลล์ คุณสามารถเข้าสู่ฐานข้อมูลเว็บได้  2  วิธี คือ การเรียกใช้ลินซ์ (Lynx) ซึ่งเป็นการเรียกอ่านข้อมูลแบบข้อความยูนิกซ์ การเรียกใช้สลิปน๊อต (Slipknot) ซึ่งเป็นการเรียกอ่านข้อมูลที่ปรากฎจอภาพภายใต้วินโดวส์โดยไม่ต้องมีวินซ๊อก
ลินซ์ (Lynx)การเข้าสู่ฐานข้อมูลโดยการเรียกใช้ลินซ์ ซึ่งเป็นวิธีที่ง่ายที่สุดและเร็วที่สุด ซึ่งเป็น   การค้นหาข้อมูลประเภทตัวอักษร ไม่สามารถดูเป็นรูปภาพได้แต่สามารถเก็บฐานข้อมูลต่างๆที่เรียกมาบันทึกเป็นไฟล์ที่ต้องการได้ในโฮมไดเรกทอรีบนเครื่องยูนิกส์ของคุณสามารถดาวน์โหลดไฟล์นั้นลงเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ และดูข้อมูลรูปภาพหรือเสียง หรือภาพเคลื่อนไหวต่างตามที่ต้องการ   วิธีการใช้ลินซ์    เริ่มต้นพิมพ์คำว่า ที่ยูนิกส์พอรมต์ตามด้วยแอดเดรสของฐานข้อมูลเว็บที่ต้องกาค้นหา ยกตัวอย่างเช่น การเรียกดูฐานข้อมูลโฮมที่ ในประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ให้พิมพ์ ก้สามารถเข้าสู่หน้าเวิลด์เว็บโฮม
สลิปน๊อต (Snipknot)ถูกคิดค้นโดย  Peter Brooks  ซึ่งสามารถใช้เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ภายใต้ระบบวินโดว์เป็นตัวเชื่อมต่อไปยังฐานข้อมูลเว็บ   โดยผ่านลินซ์บนเครื่องยูนิกส์ที่มีอยู่  สามารถเรียกดูข้อมูล  รูปภาพ เ สียงและภาพเคลื่อนไหวได้ตามต้องการ    วิธีการใช้สลิปน๊อต       ถ้ายังไม่ได้ติดต่อกับระบบ ให้กดปุ่ม Connect ที่ด้านล่างสุดของจอภาพ สลิปน๊อต ถ้าติดต่อระบบแล้ว สามารถกดปุ่ม World Wide Web
เซลโล (Cello)โปรแกรมนี้เป็นการค้นหาฐานข้อมูลเว็บแบบง่ายๆ ภายใต้ระบบวินโดว์ อินเตอร์เน็ตเวิร์ก    อินเตอร์เน็ตเวิร์กถูกเขียนขึ้นโดยบุ๊คลิงก์ เป็นโปรแกรมที่มีจุดเด่นหรือมีลักษณะเฉพาะของการค้นหาโดยใช้เว็บเบราเซอร์ ซึ่งอินเตอร์เน็ตเวิร์กสามารถส่งเมลล์ได้ในตัวเอง
NCSA โมเสค (Mosaic)เป็นโปรแกรมเว็บเบราเซอร์ตัวแรกที่ใช้กันอย่างแพร่หลายบนระบบวินโดวส์ทั้งๆที่มีเว็บเบราเซอร์ตัวใหม่ๆเกิดขึ้นตลอดเวลา   เน็ตสเคป (Netscape) ถูกคิดโดยเน็ตเสคปคอมมิวนิเคชันคอเปอเรชัน ซึ่งทีมที่พัฒนาเน็ตเสคปเป็นทีมที่เคยพัฒนา NCSA โมเสคและลินซ์
วินเว็บ (Winweb)วินเว็บเป็นเบราเซอร์ใหม่ล่าสุดซึ่งคิดค้นโดย ElNet แต่ว่าขาดคุณสมบัติบางอย่างที่เว็บเบราเซอร์ตัวอื่นๆ มี
อินเทอร์เน็ตรีเลย์แซต IRC  หรือ Internet  Relay  Chat เป็นที่นิยมมากในหมู่ ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเขียนขึ้นโดย  Jarkko  Oikarinen  ชาวฟินแลนด์  คุณสามารถติดต่อสื่อสารข้อความโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นไคลเอนต์ และใช้ IRC   โปรโตคอลผ่านCB-channels
คำสั่งต่างๆสำหรับการเลือกใช้งาน / nicknickname   เปลี่ยนชื่อจากชื่อเดิม เป็นชื่อใหม่ที่ต้องการ /name –min n     แสดงรายชื่อผู้ที่อยู่ในช่องทางปัจจุบันทั้งหมด /join #channel    การอนุญาตให้เข้าสู่ช่องทางที่ต้องการโดยระบุ                      เครื่องหมาย#ตามด้วยชื่อช่องทาง
คำสั่งIRCทั่วๆไป  /clear                           การเคลียร์หน้าจอ        /lastlog                        แสดงข้อความที่ข้ามมา                                     จากช่องทางอื่น           /notify nickname         เพื่อให้ทราบว่ามีใคร                                                   บ้างที่เข้ามาหรือออก /query  nickname      การเข้าไปสนทนากับ                         บุคลอื่น
คำสั่ง  IRC เพื่อดูข้อมูลต่างๆ /help command            ดูคำแนะนำการใช้คำสั่งแต่ละคำสั่ง /who #channel              แสดงรายชื่อบุคคลที่อยู่ในช่องทาง /whois  nickname         แสดงข้อมูลทั่วไปของบุคคลโดย                                          ระบุชื่อเล่น /admin                           แสดงข้อมูลของเซิร์ฟเวอร์IRC /date หรือ  /time                แสดงวันที่และเวลา
WinTalk WinTalk  คิดขึ้นโดย  Glen Daniels เป็นโปรแกรมเวอร์ชันวินโดวส์ที่ สามารถใช้บนเครื่องยูนิกซ์ โดยใช้โปรโตคอลเดียวกับเวอร์ชันที่ใช้พูดคุยกันบนเครื่องยูนิกซ์ ดังนั้คุณสามารถเปิด Talk channel  บนเครื่องทั่วไปที่มีโปรแกรม  Talkติดตั้งอยู่  โดยหน้าจอจะแบ่งออกเป็น 2ส่วน
              โปรแกรมวิวเวอร์สำหรับอ่านเอกสาร          ถ้าคุณกำลังมองหาเอกสารคู่มือที่มีฟอร์แมตต่างๆ กัน ในอินเทอร์เน็ตมีฟอร์แมต เป็นที่นิยมอยู่2แบบคือ AcrobatและPostscriptในAdobeโดยใช้ ASCII ACROATเป็นฟอร์แมตที่เป็นที่รู้จักเมื่อเร็วๆนี้ แต่POSTSCRIPTเริ่มมีมาตั้งแต่มีเดสก์ทอปคอมพิวเตอร์  ซึ่งส่วนใหญ่มักจะเป็น  non-ASCII text
WPlany WPlany พัฒนาโดยBill Neisius เป็นโปรแกรมสำหรับการเล่น ไฟล์ข้อมูลที่เก็บ เสียงวินโดวส์ ซึ่งโปรแกรม นี้สามารถเล่นเสียงได้อย่างเดียว โดยไม่ต้องกดปุ่มใดๆ ไม่มีจอภาพแสดง แต่ทำให้เสียงที่ออกมาดีเยี่ยม  ซึ่งสามารถใช้ได้กับโปรแกรมโกเฟอร์  และเว็บเบราเซอร์ WPlanny สามารถใช้ได้กับไฟล์ที่มีฟอร์แมต .VOC,.AU,.WAV,.SNDและ.IFF
การค้นหาข้อมูลในเว็บ
ไลคอส(Lycos) ไลคอสเป็นเว็บไซต์เสิร์ชเอนจิน (Search Engine)  ซึ่งเป็นเครื่องมือช่วยค้นหาข้อมูลบนอินเตอร์เน็ต     เสิร์ชเอนจินมีองค์ประกอบพื้นฐาน 3 ส่วนคือ ตัวค้นหาไซต์อันโนมัติ ดัชนีข้อมูล และซอฟต์แวร์ค้นหา ทั้งสามส่วนนี้ทำงานร่วมกันเหมือนกับบัตรรายการหนังสือห้องสมุด สำหรับเว็บไซต์ เสิร์ชเอนจินได้รับการบรรจุไว้ด้วยข้อมูลเว็บไซต์จำนวนมากมายมหาศาลหลายล้านเว็บไซต์ ผู้ใช้สามารถเข้าไปค้นหาข้อมูลเหล่านี้ได้โดยใช้คำสำคัญ (keyword) ในการค้นหา การเก็บข้อมูลของเว็บไซต์ต่างๆลงในฐานข้อมูลของเสิร์ชเอนจิน
WWWW.เวิลด์ไวด์เว็บเวิร์ม เวิลด์ไวด์เว็บเวิร์มเป็นเว็บเสิร์ซเอ็นจินที่ดีตัวหนึ่ง ถูกคิดขึ้นโดย Oliver McBryan แห่งมหาวิทยาลัยโคโลลาโดที่บลูเดอร์ เว็บเวิร์มทำงานต่างจากไลคอสเล็กน้อย โดยที่สามารถค้นหาคำที่ระบุในหน้าไตเติลของเว็บหรือในหน้าที่เป็นข้อความของ WWWW
โกเฟอร์เสิร์ซทูล วีโรนีก้า VERONICA ย่อมาจากคำว่า Very Easy Rodent-Oriented Net-wide lndex to Computerized Archives เป็นโกเฟอร์เบสเสิร์ซเอ็นจินที่สามารถค้นหาข้อมูลทั่งโลกได้อย่างง่าย จักเฮด JUGHEAD ย่อมาจากคำว่า Jonzy’s Universal Gopher Hierarchy Excavation And Display   จักเฮดมีลักษณะคล้ายๆ กับวีโรนีก้าต่างกันตรงที่จักเฮดค้นหาเฉพาะคำที่ระบุ แต่วีโรนีก้าค้นหาเกือบทุกคำในโกเฟอร์สเปซทั้งหมด
ไวส์ (WAIS) WAIS   คือ distributed system ในอินเตอร์เน็ต ที่มีการจัดแบ่งเก็บข้อมูลลงบนเครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่องในระบบ ต่างจากระบบทั่วๆ ไป ซึ่งจะมีการเก็บข้อมูลทั้งหมด ในเครื่องคอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียว ผู้ใช้ระบบ WAIS สามารถค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้จากทุกคอมพิวเตอร์ ที่เก็บข้อมูลในระบบ โดยใช้คำสั่งง่ายๆ ที่ไม่ซับซ้อน ผู้ใช้สามารถเลือกค้นหาข้อมูลจากระบบฐานข้อมูล มากกว่า 1 ระบบได้ในเวลาเดียวกัน และ เก็บลงบนเครื่องคอมพิวเตอร์ของตนเอง
ไวส์เกต ไวส์เกตเป็นโปรแกรมฟรอนต์ง่ายๆ ที่ใช้กับไวส์แสดงการทำงานของไวส์เซิร์ฟเวอร์กับโปรแกรมเว็บเกตเวย์ ไอเน็ตวินไวส์ ถ้าคุณใช้ไวส์บ่อยๆ คุณอาจต้องการใช้ไอเน็ตวินไวส์ วินไวส์เป็นวินไวส์เป็นฟรอนต์เอนด์วินโดว์ที่สามารถค้นหาข้อมูลในฐานข้อมูลไวส์ได้อย่างมากมาย
การค้นหาไฟล์ต่างๆ ด้วยอาร์ชี (Archie) อาร์ชีช่วยค้นหาไฟล์ที่ต้องการโดยใช้ยูสเซอร์อะโนนิมัส ทำการโอนย้ายไฟล์ได้จากฐานข้อมูลในอินเตอร์เน็ต อาร์ชีมีระบบควบคุมผู้ใช้ที่ลงทะเบียนการขอใช้อาร์ชีเซิร์ฟเวอร์อยู่ทั่วโลก ซึ่งข้อมูลจะถูกปรับปรุงทุกเดือนๆ และแสดงจำนวนตัวเลขของสถานที่ที่ลงทะเบียนไว้กับอาร์ชี
ฟิงเกอร์ ฟิงเกอร์ช่วยค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลซึ่งผู้จดทะเบียนการใช้ในเครื่องยูนิกส์เซิร์ฟเวอร์ จะปรากฎรายละเอียดแอดเดรสของอีเมล์ ชื่อจริง ฯ โปรแกรมฟิงเกอร์ที่ดีอีกโปรแกรมหนึ่งคือ Finger by Zoran Dukic ซึ่งสามารถเซฟชื่อโฮสต์ และชื่อผู้ใช้ระบบแยกกัน ทำให้สามารถค้นหาบุคคลได้หลายบุคคลในโลเคชันเดียวกัน
รู้จักไฟล์ในอินเตอร์เน็ต
วินโค้ด โปรแกรมวินโค้ดเป็นโปรแกรมที่ใช้สำหรับการเอ็นโค้ดและดีโค้ด สำหรับผู้ที่ใช้วินโดว์ถูกคิดขึ้นโดย George Silva ซึ่งสามารถใช้ได้กับไฟล์ที่มีฟอร์แมต UUEncode หรือไฟล์ที่มีฟอร์แมต MIME Base64
เอ็กซ์เฟอร์โปร (XFERPro) 	XFERPro  ย่อมาจากคำว่า  Information Transfer Professional   มีวิธีการใช้งานเหมือนวินโค้ด วึ่งใช้เมาส์แดรกและดรอป สำหรับการเอ็นโค้ดและดีโค้ดและใช้ได้ทั้งฟอร์แมต UUEncode และ MIME Base64
เครื่องมือที่ช่วยในการดึงไฟล์ และการคอมเพรสไฟล์ GUNZip ถ้าพบไฟล์ประเภท Z ไฟล์ในระบบยูนิกส์ (.gz, .z หรือ .Z) จะใช้ไฟล์ GUNZip สำหรับการอันคอมเพรส ความแตกต่างระหว่างฟอร์แมต Z คอมเพรสชันกับไฟล์ฟอร์แมตดอสคอมเพรสชัน Z คอมเพรสชัน คือ การคอมเพรสไฟล์ที่ไม่ได้รวมไฟล์ประเภทอาร์ชีไฟล์หลายไฟล์มาอยู่ในไฟล์เดียวกัน ควรใช้ TAR เพื่อทำให้ไฟล์ที่ดึงมาหลายไฟล์รวมกัลป์อยู่ในไฟล์เดียว
LHA LHAเป็นโปรแกรมสำหรับการคอมเพรสไฟล์อาร์ชีที่ใช้บนระบบดอส ExTAR       ถ้ามีไฟล์ TAR ในระบบยูนิกส์จำเป็นต้องมี GisbertW.Selke’s ExTAR ในดอส เพราะ ExTAR  เป็นโปรแกรมสำหรับไฟล์อาร์ชี และสามารถเปลี่ยนชื่อที่ยาวๆ ในระบบยูนิกส์มาเป็นชื่อที่สามารถใช้ได้ในดอส เช่น .txt, .doc, etc.
InfoZip เป็นโปรแกรมฟรีแวร์ที่อยู่ในดอสยูทิลิตี้ InfoZip ‘s UnZip เป็นโปรแกรมที่สามารถอันคอมเพรส .Zip ทั้งหมด และสามารถสร้างซับไดเรกทอรี เมื่ออันคอมเพรสเสร็จ โดยที่ไม่ต้องใส่พารามิเตอร์อื่นๆ เพิ่มเติม วินซิป(WinZip) เป็นโปรแกรมสำหรับการคอมเพรสและอันคอมเพรสเพียงใช้แดรกและดรอปจากหน้าเมนูวินซิปและไฟล์เมเนเจอร์ วินซิปสามารถใช้ได้กับไฟล์ฟอร์แมต .Zip ทั้งหมด รวมทั้งฟอร์แมต arc และฟอร์แมต LHarc
รู้จักวินซ็อกให้ลึกซึ้ง
เครื่องมือไดอัล และ ไทม์แอกเคาต์ ไดอัลและไทม์แอกเคาต์เป็นเครื่องมือที่ออกแบบมาช่วยในการจัดการการติดต่อเชื่อมโยงแบบ SLIP หรือ PPP ให้ดีขึ้น โดยโปรแกรมไดอัลจะทำหน้าที่หมุนโทรศัพท์ให้โดยอัตโนมัติ  จนกว่าสายจะว่างจากนั้นก็เปิดแอปพลิเคชันโดยอัตโนมัติเมื่อติดต่อได้แล้ว
เน็ตไดอัล เน็ตไดอัลคิดขึ้นโดย James A. Sanders  เป็นโปรแกรมไดอัลที่ดีที่สุดตัวหนึ่งสามารถช่วยต่อโทรศัพท์อัตโนมัติ ถ้าสายไม่ว่างก็จะต่อให้จนกว่าจะติด ซึ่งง่ายต่อการใช้และการคอนฟิกซ์
SLIP db SLIP db คิดขึ้นโดย Derrick R. Webber คือโปรแกรมบันทึกเวลาโดยอัตโนมัติตั้งแต่เริ่มต้นการล็อกอินจนกระทั่งล็อกเอาต์ และเก็บรายละเอียดของจำนวนครั้งที่ล็อกอิน เวลาทั้งหมดที่ใช้ และค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในการออนไลน์
WS-Timer WS-Timer คิดขึ้นโดย Louis Aube คือโปรแกรมบันทึกเวลาแบบง่ายๆ โดยใช้กับโปรแกรมวินซ็อกไดเลอร์ WS-Timer สามารถเก็บการสะสมเวลาสำหรับการใช้งานในออนไลน์ได้
Nullsock เมื่อคุณไม่สามารถติดต่อกับเน็ตเวิร์กได้ และจำเป็นต้องใช้งานแอปพลิเคชันในอินเทอร์เน็ต ดังนั้น คุณจำเป็นต้องมี nullsock ไฟล์แทน WINSOCK.DLL จะทำให้คุณสามารถใช้งานแอปพลิเคชันบนอินเทอร์เน็ตได้เสมือนมีโปรแกรมวินซ็อก และเหมาะสำหรับการทำ Presentation บนเว็บเบราเซอร์
เครื่องมือ DNS Lookup และ Route Tracing โปรแกรม DNS Lookup เป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งของอินเทอร์เน็ตทูลคิตโปรแกรมนี้สามารถพูดคุยโดยตรงกับ DNS (Domain Name Server) และดึงฐานข้อมูลต่างๆ จากเซิร์ฟเวอร์ได้
Trumpet Hopcheck Hopcheck คิดขึ้นโดย Peter Tattam  เป็นโปรแกรมที่ติดมากับทรัมเพ็ตวินซ็อก (Trumpet Winsock)  ส่วนใหญ่โปรแกรมที่มากับ Winapps จะเป็นโปรแกรมพื้นฐาน  และสามารถทำงานได้ดี ไม่ซับซ้อนเหมือนโปรแกรมอื่นๆ Hopcheck มีลักษณะคล้ายกับโปรแกรม Ping utility ยกเว้นจะบอกขั้นตอนการติดต่อตั้งแต่จุดเริ่มต้นจนถึงปลายทาง
การใช้ Hopcheck เรียกใช้งาน Hopcheck ใส่ชื่อโฮสต์ปลายทาง Host: พรอมต์ และกด Enter การดึงข้อมูลต้องรู้ด้วยว่าอยู่ที่โฮสต์ใด เช่น ถ้าคุณดึงข้อมูลจาก trum  pet.com.au จะไม่พบต้องดึงจาก ftp.trumpet.com.au
เครื่องมือ Dianostic      เมื่อการทำงานที่ไม่ถูกต้องเกิดขึ้น จำเป็นต้องมีเครื่องมือที่ช่วยวินิจฉัยปัญหาและหาสาเหตุของปัญหา เช่น ถ้าไม่สามารถติดต่อกับเซิร์ฟเวอร์ได้ อาจจะเกิดจากหลายสาเหตุ เช่น อาจเกิดการขัดข้องที่ผู้ให้บริการ หรือเกิดจากคอนฟิกซ์ก็ได้ เพื่อให้ค้นหาสาเหตุได้ถูกต้องจึงต้องมีทูลช่วยวินิจฉัย
Trace Plus Trace Plus หรือที่เรียกว่า วินซ็อกเอ็กเรย์ เป็นของซิสเต็มซอฟแวร์เทคโนโลยี เป็นทูลที่ช่วยบันทึกข้อมูลทั้งหมดของวินซ็อก API ที่ถูกเรียกจากวินซ็อกแอปพลิเคชัน (CAPI Calls) คุณสามารถเริ่มและหยุดการใช้งานได้เหมือนกับการบันทึกเทปได้
เครื่องมือปรับประสิทธิภาพ เกี่ยวกับทูลที่ช่วยทดสอบและปรับวินซ็อกให้มีประสิทธิภาพดีขึ้น การปรับวินซ็อกและโมเด็มจะช่วยให้ติดต่อได้รวดเร็วขึ้น สำหรับการปรับวินซ็อกก็โดยการใช้ทรัมเพ็ตวินซ็อก ส่วนโมเด็มก็คงต้องใช้วิธีการอัปเกรดโมเด็มให้มีคงามเร็วสูงขึ้น
Time Synchronizers Time Synchronizers เป็นโปรแกรมช่วยจัดการและตรวจสอบให้เวลาที่ในเครื่องเซิร์ฟเวอร์บนอินเทอร์เน็ตและปรับเวลาของเครื่องพีซีที่คุณใช้อยู่ให้ตรงกัน อีกทั้งยังสามารถรายงานเวลากลับมาบอกคุณทางหน้าจออีกด้วย
Tardis Tardis คิดขึ้นโดย H.C.  .Mingham-Smith คือโปรแกรมยูทิลีตี้ที่ดีสำหรับการตรวจสอบเวลาซึ่งทำงานร่วมกับโปรแกรมวินซ็อก Tardis จะปรับให้เวลาในเครื่องพีซีของคุณให้ตรงกับเวลาในเครื่องเซิร์ฟเวอร์ใดๆก็ได้ที่คุณต้องการโดยอัตโนมัติ คุณสามารถกำหนดเขตแบ่งเวลา(Timezone) และDaylight saving time ได้
การใช้ Tardis ก่อนอื่นให้ตรวจสอบดูว่ามีวินซ็อกหรือไม่ และให้ล็อกอินอยู่ในอินเทอร์เน็ต เรียกใช้งาน Tardis หลังจากตั้งเวลาต่างๆ ที่ต้องการแล้ว ให้ปิด Tardis
ลูกเล่นสำหรับการเรียงพิมพ์ในเว็บ
HTML เอดิเตอร์ ถ้าคุณพบเนื้อที่ว่างในเว็บเซิร์ฟเวอร์และต้องการจะทำให้ที่ว่างเปล่าเหล่านั้นมารวมกันในเว็บเพจ คุณจำเป็นต้องมีโปรแกรม HTML (Hyper Text Markup Language) เป็น Coding Language สำหรับการแก้ไข ปรับแต่ง เพื่อให้การใช้งานในเว็บเพจง่ายขึ้น
WEB Wizard WEB Wizard คิดขึ้นโดย ARTA ซอฟต์แวร์กรุ๊ปและ Davis Geller 	ซึ่งเป็น getstared-quick ทูลของ HTML ที่ดีที่สุดตัวหนึ่ง WEB Wizard จะมีพรอมต์ให้เติมข้อความในช่องว่าง ซึ่งจะทำให้สร้างเว็บเพจหน้าแรกโดยอัตโนมัติและได้โปรแกรมHTML ที่ถูกต้อง
วิธีการใช้ WEB Wizard เรียกใช้งาน WEB Wizard จากหน้าจอคลิกตัวเลือก Begin > จะปรากฏข้อความยินดีต้อนรับเข้าสู่ WEB Wizard คลิกที่ Next > to get started จากนั้นจะมีหน้าจอให้ใส่ชื่อเรื่อง เลือกไฟล์รูตปภาพ (.GIF หรือ .JPG) ข้อความ ลิงก์ไปยังหน้าเว็บอื่น และชื่อไฟล์สำหรับไฟล์นั้น
HoTMetal HOTMetal คิดขึ้นโดย SoftQuad เป็น HTML    เอดิเตอร์ที่ได้รับความนิยมมากที่สุด มีการป้องกันการพิมพ์ผิดโดยจะมีบูลเล็ตกำหนด ถ้ามีการพิมพ์ตัวอักษรในที่ที่ไม่อนุญาตให้พิมพ์จะมีเสียงเตือน และไม่สามารถพิมพ์ต่อได้
เอดิเตอร์ Word for Windows HTML มี HTML เอดิเตอร์ 3ตัวที่ต้องติดตั้งโปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดสำหรับวินโดวส์บนเครื่องพีซีก่อนการใช้งาน  ซึ่งโปรแกรมทั้งสามโปรแกรมนั้นมี Word Basic macros ทำหน้าที่โค้ดดิงโปรแกรม HTML  ได้แก่ CU-HTML GT-HTML Word Internet Assistant
GT-HTML          GT-HTML พัฒนาโดย Jeffrey  L. Grover, John H. Davis  III ของสถาบันวิจัยแห่งจอร์เจียเป็นโปรแกรมที่ต้องใช้เวิร์ดสำหรับวินโดวส์อีกโปรแกรมหนึ่งในการสร้าง HTML เพจ CU-HTML          CU-HTML คิดขึ้นโดย Kenneth Wong และ Anton Lam เป็น HTML เอดิเตอร์ตัวแรกที่สามารถเรียกใช้งานได้ในเวิร์ด Word Internet Assistant      Microsoft Word Internet Assistant คือความคิดสร้างสรรค์ที่ดีในการช่วยส่งไฟล์ที่อยู่ในเวิร์ดของวินโดวส์ไปที่ทูลเอดิเตอร์ และเว็บเบราเซอร์ได้อย่างง่ายดาย

More Related Content

What's hot (12)

Ftp rss mashup gedget widget ai phishing
Ftp rss mashup gedget widget ai phishingFtp rss mashup gedget widget ai phishing
Ftp rss mashup gedget widget ai phishing
 
Basic linux
Basic linuxBasic linux
Basic linux
 
โปรโตคอล
โปรโตคอลโปรโตคอล
โปรโตคอล
 
หน่วยที่ 2 โปรโตคอล
หน่วยที่ 2 โปรโตคอลหน่วยที่ 2 โปรโตคอล
หน่วยที่ 2 โปรโตคอล
 
การทำงานของอินเทอร์เน็ต
การทำงานของอินเทอร์เน็ตการทำงานของอินเทอร์เน็ต
การทำงานของอินเทอร์เน็ต
 
งานกลุ่มอาจารนพ
งานกลุ่มอาจารนพงานกลุ่มอาจารนพ
งานกลุ่มอาจารนพ
 
2.โพรโตคอล
2.โพรโตคอล2.โพรโตคอล
2.โพรโตคอล
 
5630504331
56305043315630504331
5630504331
 
Basic Linux
Basic LinuxBasic Linux
Basic Linux
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
Cent os
Cent osCent os
Cent os
 
Linux diskless
Linux disklessLinux diskless
Linux diskless
 

Viewers also liked

Information Technology for Business
Information Technology for BusinessInformation Technology for Business
Information Technology for Business
Chairat Jussapalo
 
4 makarak
4 makarak4 makarak
4 makarak
yim2009
 
Digital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardDigital Content and Website Standard
Digital Content and Website Standard
Boonlert Aroonpiboon
 
Introduction to digitalart
Introduction to digitalartIntroduction to digitalart
Introduction to digitalart
Pises Tantimala
 
รายงานเข้าร่วมสัมมนา Social media
รายงานเข้าร่วมสัมมนา Social mediaรายงานเข้าร่วมสัมมนา Social media
รายงานเข้าร่วมสัมมนา Social media
Kobwit Piriyawat
 
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
Nattapon
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
Kobwit Piriyawat
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในศตวรรษที่ 21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในศตวรรษที่ 21เหตุการณ์สำคัญของโลกในศตวรรษที่ 21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในศตวรรษที่ 21
pareboon
 

Viewers also liked (20)

STAGR Technology
STAGR TechnologySTAGR Technology
STAGR Technology
 
ทดสอบการอัพโหลดครั้งที่3
ทดสอบการอัพโหลดครั้งที่3ทดสอบการอัพโหลดครั้งที่3
ทดสอบการอัพโหลดครั้งที่3
 
Information Technology for Business
Information Technology for BusinessInformation Technology for Business
Information Technology for Business
 
4 makarak
4 makarak4 makarak
4 makarak
 
Act411 3งบดุล
Act411 3งบดุลAct411 3งบดุล
Act411 3งบดุล
 
Service Google Analytics / Report / S.E.O. No 1.
Service Google Analytics / Report / S.E.O. No 1.Service Google Analytics / Report / S.E.O. No 1.
Service Google Analytics / Report / S.E.O. No 1.
 
Digital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardDigital Content and Website Standard
Digital Content and Website Standard
 
Introduction to digitalart
Introduction to digitalartIntroduction to digitalart
Introduction to digitalart
 
Webnatics th seminar Kay
Webnatics th seminar KayWebnatics th seminar Kay
Webnatics th seminar Kay
 
Googleplus thailand
Googleplus thailandGoogleplus thailand
Googleplus thailand
 
รายงานเข้าร่วมสัมมนา Social media
รายงานเข้าร่วมสัมมนา Social mediaรายงานเข้าร่วมสัมมนา Social media
รายงานเข้าร่วมสัมมนา Social media
 
Presentation 2013-01-20 Supply Chain Capacity Building
Presentation 2013-01-20 Supply Chain Capacity BuildingPresentation 2013-01-20 Supply Chain Capacity Building
Presentation 2013-01-20 Supply Chain Capacity Building
 
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
 
Home Work Marketing Strategy Mobile Brand Marketing
Home Work Marketing Strategy Mobile Brand MarketingHome Work Marketing Strategy Mobile Brand Marketing
Home Work Marketing Strategy Mobile Brand Marketing
 
สื่ออินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์
สื่ออินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์สื่ออินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์
สื่ออินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์
 
Social Media For PR
Social Media For PRSocial Media For PR
Social Media For PR
 
Innovation roadmap for rubber industry@Chaing Mai 20.11.2014
Innovation roadmap for rubber industry@Chaing Mai 20.11.2014Innovation roadmap for rubber industry@Chaing Mai 20.11.2014
Innovation roadmap for rubber industry@Chaing Mai 20.11.2014
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
 
Sales Compensation: Tips and Tricks to Building a Powerful Plan
Sales Compensation: Tips and Tricks to Building a Powerful PlanSales Compensation: Tips and Tricks to Building a Powerful Plan
Sales Compensation: Tips and Tricks to Building a Powerful Plan
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในศตวรรษที่ 21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในศตวรรษที่ 21เหตุการณ์สำคัญของโลกในศตวรรษที่ 21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในศตวรรษที่ 21
 

Similar to การใช้เครื่องมือต่างๆ1

ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
Sakonwan947
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
Sakonwan947
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
Sakonwan947
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
Sakonwan947
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
Rawiwan Kashornchan
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
wannuka24
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
wannuka24
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
wannuka24
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
nattarikaii
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
nattarikaii
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นสำหรับครูยุคใหม่
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นสำหรับครูยุคใหม่อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นสำหรับครูยุคใหม่
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นสำหรับครูยุคใหม่
Kobwit Piriyawat
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
Pp'dan Phuengkun
 

Similar to การใช้เครื่องมือต่างๆ1 (20)

Protocol
ProtocolProtocol
Protocol
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internetความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
Ftp
FtpFtp
Ftp
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
การโอนย้ายข้อมูล
การโอนย้ายข้อมูลการโอนย้ายข้อมูล
การโอนย้ายข้อมูล
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นสำหรับครูยุคใหม่
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นสำหรับครูยุคใหม่อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นสำหรับครูยุคใหม่
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นสำหรับครูยุคใหม่
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
นางสาวชุติกาญจน์ แฉล้มล้ำ
นางสาวชุติกาญจน์ แฉล้มล้ำนางสาวชุติกาญจน์ แฉล้มล้ำ
นางสาวชุติกาญจน์ แฉล้มล้ำ
 

การใช้เครื่องมือต่างๆ1

  • 2. FTP การถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล FTPเป็นคำย่อมาจากภาษาอังกฤษว่า Flie Transfer Protocol เป็นการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ 2 เครื่อง ซึ่งอยู่บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ในระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต มีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูลเป็นสาธารณะ มีอยู่เป็นจำนวนมาก เรียกเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูลนี้ว่า FTP Server
  • 3. คำจำกัดความที่ควรทราบ Host Computer เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการเป็นเครือข่าย Local Host Computer เครื่องคอมพิวเตอร์ต้นทางที่เรียกใช้คำสั่ง ftp Remote Host Computer เครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางที่ถูกเปิด (open) เรียกใช้งานจากคำสั่ง ftp
  • 4. เมื่อ login เข้าสู่ระบบเครื่องนนทรี (nontri) ซึ่งมีระบบปฏิบัติการเป็นยูนิกส์ (unix) สามารถทำการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล ได้โดยใช้คำสั่ง ftp ตามด้วยชื่อคอมพิวเตอร์ที่ต้องการถ่ายโอน ย้ายข้อมูล $ftp ftp . Cpc .ku.ac.thftp เป็นคำสั่งftp.cpc.ku.ac.th เป็นชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ให้บริการโอนย้ายข้อมูล หรือทำหน้าที่เป็น FTP Server
  • 5. ให้ใส่ชื่อรหัสบัญชีที่รายการ Name: ถ้าเป็นการติดต่อกับเครื่อง FTP Server ที่ให้บริการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูลเป็นสาธารณะ (Public) ให้ใส่ชื่อบัญชีที่รายการ Name นี้ว่า anonymous จากนั้นใส่รหัสลับ (password) เป็น E-mail address ของผู้ใช้เป็นการขอเข้าสู่ระบบ FTP ได้พรอมท์ (prompt) เป็นข้อความ "FTP>" สำหรับผู้ใช้ป้อนคำสั่งต่าง ๆ ต่อไป
  • 6. สรุปคำสั่งในftp ? [คำสั่ง] / help [คำสั่ง] แสดงข้อความช่วยเหลือ อธิบายคำสั่งใน ftp asscii คัดลอกแฟ้มข้อมูลแบบแอสกี binary คัดลอกแฟ้มข้อมูลแบบไบนารี bell ให้ส่งเสียงเมื่อคัดลอกแฟ้มข้อมูลเสร็จ bye จบการทำงานและออกจาก ftp cd [ไดเรกทอรี] เปลี่ยนไดเรคทอรี ของคอมพิวเตอร์ปลายทาง cd .. หรือ cdup เปลี่ยนไดเรคทอรีของคอมพิวเตอร์ปลายทางขึ้นไป หนึ่งระดับ
  • 7. lcd [ไดเรคทอรี] เปลี่ยนไดเรคทอรีของคอมพิวเตอร์ปลายทางclose หรือ disconnect จบการเชื่อต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทางแต่ยังไม่ออกจาก ftpdir [ชื่อแฟ้ม] แสดงรายชื่อแฟ้มของคอมพิวเตอร์ปลายทางget [ชื่อแฟ้ม] [ชื่อแฟ้ม] คัดลอกแฟ้มจากคอมพิวเตอร์ปลายทางมาที่คอมพิวเตอร์ต้นทางmget [ชื่อแฟ้ม] [ชื่อแฟ้ม] คัดลอกแฟ้มจากคอมพิวเตอร์ปลายทางมาที่คอมพิวเตอร์ต้นทาง แบบหลายแฟ้มput [ชื่อแฟ้ม] [ชื่อแฟ้ม] คัดลอกแฟ้มจากคอมพิวเตอร์ต้นทางไปไว้ที่คอมพิวเตอร์ปลายทางmput [ชื่อแฟ้ม] [ชื่อแฟ้ม] คัดลอกแฟ้มจากคอมพิวเตอร์ต้นทางไปไว้ที่ คอมพิวเตอร์ปลายทาง แบบหลายแฟ้มprompt [on] [off] กำหนดให้มีการโต้ตอบกับผู้ใช้เพื่อเลือกแฟ้มเมื่อใช้ mget ,mputpwd แสดงไดเรคทอรีของรีโมตโฮสต์
  • 8. แอสกี้(ascii)หรือไบนารี(binary) ในการโอนย้ายไฟล์เมื่อผู้ใช้พบไฟล์ที่ต้องการแล้ว ผู้ใช้ต้องกำหนดโหมดในการโอนย้ายข้อมูลให้ถูกต้อง ไฟล์โดยส่วนใหญ่จะมี 2 แบบ คือ แอสกี้ หรือ ไบนารีไฟล้ทั้ง 2 ประเภทจะมีความแตกต่างกันอย่างมาก ถ้าโอนย้ายข้อมูลแบบไบนารีด้วยการกำหนดโหมดเป็นแอสกี้ข้อมูลที่ได้จะไม่สามารถทำงานหรือใช้งานได้ หรือที่เรียกว่าเป็นขยะ หรือถ้าจะโอนย้ายข้อมูลแบบแอสกี้ด้วยการกำหนดโหมดเป็นไบนารี ข้อมูลที่ต้องการจะจัดเรียงไม่ถูกต้องโดยไม่มีการขึ้นบรรทัดใหม่ให้ ตัวกำหนดบรรทัดหนังสือ line break จะหายไปการที่จะทราบได้ว่าไฟล์ใดเป็นไฟล์ที่ต้องทำการโอนย้ายแบบแอสกี้ หรือ ไบนารี สามารถสังเกตได้จากส่วนขยายของชื่อไฟล์
  • 9. การรับข้อมูล เมื่อพบไฟล์ที่ต้องการโอนย้ายและได้กำหนดประเภทการโอนย้ายข้อมูลเรียบร้อยแล้ว(asciiหรือ binary)ต่อไปจะให้ทราบถึงการใช้คำสั่ง get ในการโอนย้ายข้อมูล ในตัวอย่างจะเป็นการโอนย้ายที่ใช้ชื่อ INDEX จากเครื่องที่เป็นเซิร์ฟเวอร์มายังเครื่องของผู้ใช้        ควรระวังไว้ด้วยว่าเครื่องเซิร์ฟเวอร์ FTP โดยทั่วไป การใช้ตัวอักษรใหญ่หรือเล็กจะมีความแตกต่างกัน เช่น INDEX จะเป็นไฟล์ที่แตกต่างกับ index ftp> get INDEX200 port command successful. 150 opening BINARY mode data connection for INDEX (307370 bytes).266transfer complete. 307370 bytes received in 22 seconds ( 14 Kbytes /s) FTP>
  • 10. การส่งข้อมูล โดยทั่วไปผู้ใช้งานส่วนใหญ่มักจะทำงานในลักษณะรับข้อมูลมากกว่าส่งข้อมูลแต่ในบางครั้งอาจจำเป็นจะต้องทำการส่งข้อมูลไปยังเครื่องที่เป็นเซิร์ฟเวอร์ของ FTP บ้างเหมือนกัน ถ้าต้องการโอนย้ายข้อมูลจากเครื่องของคุณไปยังเครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่อยู่ไกลออกไปสามารถทำได้โดยใช้คำสั่ง PUT ในตัวอย่างเป็นการส่งไฟล์ชื่อ Myfile.txt     ถ้าใช้งานโดยใช้รหัสผู้ใช้เป็น anonymous ผู้ใช้อาจจะไม่สามารถส่งไฟล์ไปยังเครื่องเซิร์ฟเวอร์ได้ ยกเว้นแต่ว่าผู้ควบคุมระบบอนุญาตให้ทำงานเช่นนั้นได้ท่านั้น ftp> put myfile.txt 200 port command successful. 150 ascii data connection for myfile.txt (199.2.134.2.1043). 226 transfer complete. 98 bytes sent in 0.0026secodes(36 Kbytes/s) ftp>    
  • 11. การออกจากระบบ เมื่อทำการโอนย้ายข้อมูลเสร็จเรียบร้อยแล้ว และต้องการออกจากระบบให้ใช้คำสั่ง quit ftp>quit221 goodbye รายละเอียดของftp สามารถดูได้โดยใช้คำสั่ง man ftp ที่พรอมต์ของยูนิกซ์ ซึ่งจะเป็นคู่มือการใช้งานแบบออนไลน์ หรือในขณะที่กำลังทำงานในโหมดของftp ก็สามรถใช้คำสั่ง help ที่พรอมต์ ftp> ได้ หรือจะใช้คำสั่ง help ตามด้วยคำสั่งที่ต้องการทราบความหมาย เพื่อดูรายละเอียดเฉพาะคำสั่งนั้นๆได้
  • 12. WS-FTP Ws-ftp พัฒนาโดย john junod เป็นโปรแกรมใยยุคแรกๆ ที่พัฒนาสำหรับใช้งานบนวินโดวส์ และเป็นโปรแกรมที่ดีที่สุดในบรรดาโปรแกรมที่มีอยู่ในขณะนี้ โปรแกรมได้ถูกพัฒนาเพื่อให้ใช้งานง่ายแม้แต่กับผู้เริ่มต้นใช้งานสิ่งที่ทำให้ws-ftp น่าสนใจก็คือ คุณสามารถเก็บข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่ติดต่อด้วยบ่อยที่สุดได้ ซึ่งข้อมูลจะประกอบด้วยชื่อของเซิร์ฟเวอร์ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้งานด้วยยูสเซอร์ anonymous และข้อมูลเกี่ยวกับไดเรทอรีต่างๆ
  • 13. WinFTP WinFTP พัฒนาโดย Santanu Lahiri ซึ่งได้พื้นฐานมาจากโปรแกรม WS-FTP เวอร์ชันก่อนๆเช่นกัน WinFTP เวอร์ชัน 1.0 จะคล้ายกับ WS-FTP มาก โดยเฉพาะการทำงานพื้นฐานต่างๆ และได้เพิ่มเติมการทำงานที่เป็นประโยชน์บางอย่างเข้าไว้ด้วยกัน เช่น ping ยูทิลิตี้ ซึ่งทำให้ผู้ใช้งานสามารถส่งสัญญาณ ping ไปยังเซิร์ฟเวอร์ได้ ถ้าเซิรืฟเวอร์ไม่มีการตอบรับแสดงว่าเครื่องอาจจะใช้งานไม่ได้ในขณะนั้น
  • 14. แหล่งข้อมูล FTP แบบอะโนนิมัส การจะค้นหาไฟล์ที่ต้องการอาจจะเป็นเรื่องไม่ง่ายนัก ดังนั้นที่ที่ควรจะค้นหาที่ดีที่สุดก็คือควรหาที่เซิร์ฟเวอร์ที่เป็นแหล่งข้อมูลใหญ่ๆ แหล่งเหล่านี้ จะมีโปรแกรมทั้งประเภทแชร์แวร์ หรือ ฟรีแวร์ เป็นพันๆโปรแกรม ให้เลือกตามต้องการตัวอย่างที่จะกล่าวถึงเป็นเซิร์ฟเวอร์ของแหล่งข้อมูลที่สามารถหาโปรแกรมที่ต้องการได้ ทั้งโปรแกรมที่ทำงานบนดอส และวินโดวส์
  • 15. แหล่งข้อมูลวินโดวส์ CICA CICA ย่อมาจาก the center for innovative computing applications ตั้งอยู่ที่มหาวิทยาลัยอินเดียนา เป็นสถาบันวิจัยแห่งแรกที่มุ่งให้ความสนใจทางด้านการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และ Artistic Visualization และแอปพลิเคชันแบบHigh – end Computing แต่สำหรับผู้ใช้โปรแกรมบนวินโดวส์แล้ว CICA หรือที่รู้จักกันในชื่อ ftp.cica.indiana.eduเซิร์ฟเวอร์ของ FTP แบบอะโนนิมัส ที่ใหญ่ที่สุดในเครือข่ายอินเตอร์เน็ต CICA จะมีโปรแกรมแชร์แวร์ ฟรีแวร์ หรือโปรแกรมทดลองใช้สำหรับไมโครซอฟต์วินโดวส์ทั้งหมด ล่าสุดเมื่อต้นปี 1995 พบว่ามีโปรแกรมทั้งหมดเกือบ 5.000 โปรแกรมในเครื่องเซิร์ฟเวอร์
  • 16. Simtel เป็นแหล่งเก็บโปรแกรมที่ทำงานบนดอสที่ใหญ่ที่สุดในเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (มีมากกว่า 10.000ไฟล์) นอกจากนี้ยังมีโปรแกรมบนวินโดวส์ด้วยแต่อาจจะไม่มากเท่ากับ CICA เครื่องเซิร์ฟเวอร์ของ simtelเป็นของกองทัพสหรัฐอเมริกา ดังนั้นเพื่อความปลอดภัยของข้อมูลจึงไม่มีการให้ผู้เข้าใช้ล็อกอินด้วยยูสเซอร์อะโนนิมัส ยังไรก็ตามยังมี Mirror Site ของsimtelให้ใช้งานอยู่บ้างเช่น oak.oakland.edu ที่มหาวิทยาลัย Oakland ใน Rochester , Michiganไฟล์ของ simtelจะอยู่ในไดเรกทอรี /simtelโดยไฟล์สำหรับดอสจะอยู่ในไดเรกทอรี /simtel/msdos/ และไฟล์สำหรับวินโดวส์ 3.x จะอยู่ในไดเรกทอรี /simtel/win3
  • 17. ยูทิลิตี้แหล่งข้อมูลFTP แบบอะโนนิมัส โปรแกรม Simtel DirectoryViewerยูทิลิตี้ที่สามารถใช้งานได้ดีคือโปรแกรม Simtel DirectoryViewer หรือ SimView โดย George R. Torralba เป็นยูทิลิตี้บนวินโดวส์ซึ่งสามารถเรียกดูไฟล์ประเภท .IDX ทั่วๆไปได้ หรือแม้แต่ค้นหาไฟล์ในลักษณะออฟไลน์ก็ได้ แม้ว่า SimViewจะถูกออกแบบมาสำหรับไฟล์ดัชนีของSim Tel แต่โปรแกรมก็สามารถใช้ดูไฟล์ของ CICA ได้ด้วย สิ่งที่ต้องทำเพิ่มเติมก็คือการแปลงไฟล์ดัชนีของ CICA ให้เป็นไฟล์ประเภท>IDX สามารถทำได้โดยใช้ยูทิลิตี้โปรแกรม cnvcicaซึ่งจะกล่าวถึงในภายหลัง ที่สำคัญSimView เป็นโปรแกรมประเภทฟรีแวร์
  • 18. ยูทิลิตี้แหล่งข้อมูลFTP แบบอะโนนิมัส CNVCICA ถ้าอยากต้องการใช้งานโปรแกรม SimTel Directory Viewer สำหรับการทำงานกับไฟล์ดัชนีของ CICA สิ่งที่คุณต้องทำเพิ่มเติมก็คือ การแปลงไฟล์ดัชนีที่อยู่ในรูปแบบแอสกีธรรมดาให้อยู่ในรูปแบบ .IDX ก่อนวิธีที่ง่ายที่สุดก็คือใช้โปรแกรมยูทิลิตี้ CNVCICA ของ Peter Van der Veen
  • 20. โดยทั่วไปเมื่อพูดถึงระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ส่วนใหญ่แล้วจะนึกถึงเฉพาะแอพลิเคชันที่ใช้งานง่าย มีลักษณะที่เป็นกราฟฟิคและมีเสียงประกอบการใช้งาน เมื่อเทียบกับการใช้โปรแกรมเทลเน็ตแบบดั้งเดิมแล้ว จะรู้สึกว่าโปรแกรมเทลเน็ตค่อนข้างจะโบราณ ไม่น่าสนใจ เช่น โปรแกรมเทอร์มินอลบนวินโดวส์ ซึ่งเป็นโปรแกรมการใช้งานเทอร์มินอลแบบพื้นฐาน
  • 22. เครื่องมือพื้นฐาน ที่ใช้สำหรับติดต่อกับเครื่อง Server ที่เป็น UNIX หรือ LINUX เพื่อใช้เข้าไปควบคุมการทำงานของเครื่อง หรือใช้อ่าน mail หรือใช้ปรับปรุง homepage หรือใช้เรียกโปรแกรมประมวลผลใด ๆ หรือใช้พัฒนาโปรแกรมและใช้งานในเครื่องนั้น เป็นต้น เพราะระบบ UNIX หรือ LINUX จะยอมให้ผู้ใช้สร้าง application ด้วย Compiler ภาษาต่าง ๆ ได้อย่างอิสระ และเชื่อมต่อกับ Internet ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะ Internet เริ่มต้นมาจากระบบ UNIX นี้เอง
  • 23. ประโยชน์อย่างหนึ่งที่ผู้ใช้โปรแกรม Telnet มักคุ้นเคย คือการใช้โปรแกรม PINE ซึ่งมีอยู่ใน Telnet สำหรับรับ-ส่ง mail และมีผู้ใช้อีกมากที่ไม่รู้ตัว ว่าตนเองกำลังใช้งาน UNIX อยู่ ทั้ง ๆ ที่ใช้ PINE ติดต่องานอยู่ทุกวัน เดิมที่ระบบ UNIX ไม่มีโปรแกรม PINE แต่มีนักศึกษาที่มหาวิทยาลัย WASHINGTON University เพราะใช้ง่ายกว่าการใช้คำสั่ง mail ในการรับ-ส่งมาก
  • 24. โปรแกรมเทลเน็ตบนวินโดวส์ คุณสมบัติของเทลเน็ตที่ต้องดู คือ ความสามารถในการเก็บเทลเน็ตเซสชันลงในแฟ้มข้อมูล การเลื่อนหน้าจอเพื่อขอดูไฟล์ และการกำหนดเซสชันที่แตกต่างกันได้หลายๆ เซสชัน
  • 25. โปรแกรมเทลเน็ตบนวินโดวส์ 1. Comt โปรแกรม comtพัฒนาโดย Performance Designs มีการทำงานเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ที่น่าสนใจพอสมควร เมื่อใช้งาน comtคุณจะสามารถใช้โปรแกรมการติดต่อสื่อสารแบบที่ต้องการได้เสมือนเป็นโปรแกรมเทลเน็ตเอง เช่น ถ้าใช้โปรแกรม Procommบนวินโดวส์ แล้วเรียกใช้งาน comtผู้ใช้จะสามารถใช้งาน procommเหมือนเป็นโปรแกรมเทลเน็ตได้ ถ้าคุณชอบการทำงานของโปรแกรมสื่อสารที่ใช้อยู่แล้ว และต้องการให้สามารถใช้เทลเน็ตด้วยการติดต่อแบบ slip หรือ pppได้ comt เป็นโปรแกรมที่เหมาะกับการทำงานประเภทนี้ที่สุด
  • 26. โปรแกรมเทลเน็ตบนวินโดวส์ 2.EWAN Ewan ( Emulator Without a name ) พัฒนาโดย peter Zander เป็นโปรแกรมเทลเน็ตที่ใช้งานง่าย มีคุณสมบัติในการใช้งานที่ดี เช่น สามารถปรับเปลี่ยนขนาดของหน้าจอที่ใช้งานได้ตามต้องการ รวมทั้งยังมีขนาดของบัฟเฟอร์ที่ใหญ่มาก ทำให้สามารถเก็บข้อมูลและเลื่อนหน้าจอขึ้นลงเพื่อดูข้อมูลที่ผ่านมาแล้วได้มากขึ้นด้วย โปรแกรม ewan ยังสามารถเก็บเซสชันของเทลเน็ตที่ใช้งานไว้ในแฟ้มข้อมูลได้ด้วย
  • 27. เทลเน็ตรุ่นทดลอง ในทุกวันนี้มีผู้พัฒนาแอปพลิเคชันเทลเน็ตออกมามากมายมีตัวอย่างโปรแกรมที่สามารถพบได้ในระบบอินเตอร์เน็ตและการใช้งานขณะนี้ยังไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ นอกจากค่าใช้จ่ายที่ต้องเสียจากการติดต่อกับระบบเท่านั้นแต่ควรระวังไว้ว่าการใช้แอปพลิเคชันเหล่านี้อาจจะยังมีข้อผิดพลาดเล็กๆน้อยๆ ที่ต้องมีการแก้ไขอยู่บ้าง ในแอปพลิเคชันเหล่านี้อาจจะกลายเป็นมาตรฐานการใช้งานของเทลเน็ตก็เป็นได้
  • 28. NCSA Wintel25 โปรแกรม NCSA Wintel เป็นโปรแกรมของ NCSA หรือ National Center for Supercomputing Applications ตั้งอยู่ที่มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ โปรแกรม wintelเป็นโปรแกรมเทลเน็ตแบบพื้นฐานทั่วไปและถูกสร้างมาเพื่อให้ทำงานร่วมกับโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ที่นิยมแพร่หลายมากก็ คือ โมเสค(Mosaic) แต่โครงการนี้ถูกยกเลิกไปก่อน สำหรับเวอร์ชันในปัจจุบันที่ใช้งานอยู่มีข้อผิดพลาดหลายแห่ง เช่น ผู้ใช้ไม่สามารถติดต่อกับเครื่องที่แน่นอนได้ การแปลงจอภาพทำได้เฉพาะประเภท VT-100 เท่านั้น แต่ข้อดีก็คือ สามารถใช้งานบนวินโดวส์ 3.1 ได้ และยังใช้เนื้อที่ในการติดตั้งน้อย คือประมาณ 40 KB เท่านั้น
  • 29. Trumpet Telnet ผู้พัฒนา คือ peter tattamโปรแกรม Trumpet Telnet เป็นโปรแกรมเทลเน็ตแบบพื้นฐานเช่นกัน ปัจจุบันยังเป็นโปรแกรมทดลองรุ่นอัลฟา ซึ่งดูเหมือนสามารถทำงานได้มากกว่ารุ่นเบต้าบางโปรแกรมที่เคยทดลองใช้มา การแปลงจอภาพก็สามารถทำได้เฉพาะแบบ VT-100 เช่นกันแต่ยังมีคุณสมบัติเพิ่มเติมบางอย่าง เช่น สามารถทำการติดต่อได้มากกว่า 1คอนเน็กชันในเวลาเดียวกัน และสามารถเปลี่ยนพื้นสีของหน้าจอได้
  • 30. Yawtel Yawtel(Yet another Winsock Telnet) พัฒนาโดย Hans Van Oostrom จากชื่อของโปรแกรมจะทราบทันทีว่าเป็นโปรแกรมเทลเน็ตบนวินโดวส์ โดยเป็นเวอร์ชัน เบต้า โปรแกรมเป็นลักษณะพื้นฐาน และยังมีการพัฒนาต่อไปอีก โดยดูจากเมนูต่างๆที่ยังไม่สามารถทำงานได้ YAWTEL ขณะนี้ยังเป็นโปรแกรมประเภทฟรีแวร์อยู่ เมื่พัฒนาเรียบร้อยแล้วจะเป็นแชร์แวร์ต่อไป
  • 31. แอปพลิเคชันเทลเน็ตแบบพิเศษ แอปพลิเคชันที่จะแนะนำต่อไปนี้ ไม่แนะนำให้ใช้ในงานปกติ แต่จะเป็นโปรแกรมที่ทำการแปลงจอภาคให้เป็นจอภาพแบบที่ไม่สมารถหาได้จากที่อื่นโปรแกรมเทลเน็ตโดยทั่วไปมักจะทำการแปลงจอภาพให้เป็นจอภาพแบบ VT-100และ ANSI แต่ในบางโอกาสผู้ใช้อาจต้องใช้งานจอภาพที่แตกต่างออกไป เช่น IBM 3270 หรือ Tektronics
  • 32. CSMRLW CSMRLW ย่อมาจาก Computer Solfware Manufakyut Remote for Windows เป็นของบริษัทในประเทศออสเตรีย ชื่อ Solfware Manufaktur GmbH สามารถแปลงจอภาพให้เป็นแบบ SCO-ANSI, IBM HFT-5151,IBM-3151 และ AT368ได้ และไม่สามารถแปลงให้เป็นชนิด VT-100ได้ ทำให้มีปัญหาการใช้งานกับระบบโดยทั่วไป
  • 33. QWS3270 โปรแกรม QWS3270 เป็นโปรแกรมใช้งานกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งต้องติดต่อโดยใช้จอภาพแบบ IBM 3270 หรือ Tektronics4010 โปรแกรมนี้พัฒนาโดย Jim Rymerson QWS3270ใช้งานและติดตั้งง่าย และยังสามารถใช้งานเป็นจอภาพแบบ IBM 3270ได้อย่างดี ในการใช้งานกับแอปพลิเคชันโกเฟอร์และเว็บเบราเซอร์ด้วย
  • 34. TekTel TekTel เป็นโปรแกรมแปลงจอภาพให้เป็นจอภาพชนิด Tektronix T 4010 ซึ่งเป็นโปรแกรมใช้งานแบบพื้นฐาน แต่ทำงานได้เป็นอย่างดี TekTel เป็นซอฟต์แวร์ที่สามารถใช้งานได้ทั่วไป และสามารถจ่ายแจกได้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
  • 35. จดหมาย เครื่องมือสำคัญของอินเทอร์เน็ต ในอดีตจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ฉบับแรกพบโดยโปรแกรมเวิร์ดโปรเซสซิงที่ใช้งานอยู่มีการต่อกับโปรแกรมเวิร์ดโปรเซสซิงในเครื่องอื่นๆ โดยผ่านระบบอีเธอร์เน็ต(Ethernet) ซึ่งปัจจุบันคนส่วนใหญ่ใช้งานอินเตอร์เน็ตได้กันทั้งนั้น อีเมล์เริ่มเป็นส่วนสำคัญในชีวิตซึ่งแต่ละคนอาจอยู่ไกลจากเราหลายๆๆพันกิโลเมตรยังสามารถรับรู้ความคิดและข้อมูลต่างๆของคนมากมายทั่วโลกได้อีกด้วย
  • 36. โปรแกรมเมลล์สำหรับยูนิกซ์โปรแกรมเมลล์ในการอ่านจดหมาย โดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 3 ชนิดคือ 1. Mail 2.Elm 3. PineMailเป็นโปรแกรมพื้นฐานที่ใช้งานในการส่งจดหมาย เพียงพิมพ์ mailusername@hostname ที่พรอมต์ของยูนิกซ์ usrename หมายถึง ชื่อของผู้ใช้ที่ต้องการส่งจดหมายไปให้hostname หมายถึงชื่อของเครื่องที่รับจดหมายอยู่ หลังจากนั้นจะมีพรอมต์ Subject:สำหรับใส่หัวข้อของเรื่องที่จะส่ง(ถ้าไม่ใส่ตอนนี้อาจใส่เพิ่มทีหลังได้
  • 37. Elmเป็นโปรแกรมที่ใช้งานง่ายกว่าโปรแกรมเมลล์ โปรแกรมจะแสดงรายการโดยสรุปของจดหมายทั้งหมดและสามารถเลื่อนเคอร์เซอร์ขึ้นลงตลอดรายการได้ Elm ยังสามารถสร้างรายการของข้อมูลที่แตกต่างกันออกไปได้ด้วย เช่น สามารถเรียงลำดับจดหมายตามที่คุณต้องการได้Pineโดยไฟล์ใหม่ที่สร้างขึ้นมาจะถูกเก็บไว้ในไดเรกทอรี/mail เป็นโปรแกรมที่มีการทำงานลักษณะต้นไม้ (tree) และเป็นอินเตอร์เฟซของเมลล์ซึ่งใช้งานง่าย ถูกออกแบบมาเพื่อผู้เริ่มต้นใช้งานยูนิกซ์และมีการใช้กันมากบนระบบทั่วๆไปด้วย โปรแกรมPine มีคุณสมบัติหลายอย่างคล้ายโปรแกรม Elm แต่โปรแกรม Pine ไม่มีการย้ายข้อมูลที่ได้อ่านแล้วไปไว้ยังไฟล์อื่นแบบอัตโนมัติเหมือนโปรแกรม Mail และ Elm ถ้าต้องการจะย้ายจดหมายไปยังไฟล์อื่นที่ต้องการก็สามารถทำได้เช่นกัน
  • 38. การส่งจดหมาย เนื่องจากเครือข่ายอินเตอร์เน็ตประกอบด้วยเครือข่ายย่อยมากมายเมื่อเราส่งจดหมายไปให้ใครสักคนบนเครือข่ายที่แตกต่างไป เราจะต้องระบุแอดเดรสของผู้รับจดหมายแบบเจาะจงมิฉะนั้นจดหมายที่ส่งอาจไม่ถึงผู้รับ การใช้งาน Eudoraเป็นโปรแกรมที่ทำงานอย่างง่ายๆจดหมายที่มีเข้าจะถูกเก็บไว้ในตู้จดหมายเข้า(In)และจดหมายที่ต้องการส่งจะอยู่ในตู้จดหมายออก(Out)คุณสามารถสร้างตู้จดหมายและเก็บจดหมายเพิ่มเติมได้ตามต้องการที่เก็บจดหมายแต่ละไฟล์จะประกอบด้วยตู้จดหมายหลายๆไฟล์
  • 39. การใช้งาน Eudoraเป็นโปรแกรมที่ทำงานอย่างง่ายๆจดหมายที่มีเข้าจะถูกเก็บไว้ในตู้จดหมายเข้า(In)และจดหมายที่ต้องการส่งจะอยู่ในตู้จดหมายออก(Out)คุณสามารถสร้างตู้จดหมายและเก็บจดหมายเพิ่มเติมได้ตามต้องการที่เก็บจดหมายแต่ละไฟล์จะประกอบด้วยตู้จดหมายหลายๆไฟล์การใช้ FTP ทางเมลล์ ในอดีตเมื่อใช้งานในจดหมายอิเล็กทรอนิกส์อยู่ หากต้องการทำการโอนย้ายข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต จะต้องทำการล็อกอินเข้าใช้งานในเครื่องก่อนจึงจะสามารถรับไฟล์ที่ต้องการได้แต่ขณะนี้คุณสามารถโอนย้ายข้อมูลจากการใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ได้การใช้งานโปรแกรมเมลล์ Pegasusการใช้งานโปรแกรม Pegasus มีส่วนคล้ายกับ Eudora คือสามารถสร้างที่เก็บจดหมายได้หลายไฟล์และยังสามารถสร้างกลุ่มของที่เก็บจดหมายหรือโฟลเดอร์(floder)ได้อีกด้วย เมื่อโปรแกรมทำการตรวจสอบในเซิร์ฟเว่อร์แล้วพบว่ามีจดหมายใหม่เข้ามา โปรแกรมจะนำจดหมายไปไว้ในโฟลเดอร์ New mail และจากโฟลเดอร์นี้ คุณสามารถอ่าน เคลื่อนย้าย ลบทิ้ง ก็อปปี้ และตอบจดหมายได้
  • 40. เมลิงลิสต์เมลิงลิสต์เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูลหลายอย่างที่เป็นประโยชน์ และยังสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกับบุคคลที่มีความสนใจในเรื่องเดียวกันได้ในเมลิงลิสต์มีทุกอย่างที่ต้องการตั้งแต่ข้อมูลของแอคคอร์เดียน(accordion)ถึง(zeppelin-1) (เรียงตามตัวอักษรภาษาอังกฤษ)เป็นพันๆๆรายการสรุปจากที่กล่าวมาทั้งหมดจะเห็นได้ว่าอีเมล์เป็นเครื่องมือสำคัญและเป็นประโยชน์อย่างมากในการใช้งานบนอินเทอร์เน็ต ซึ่งนอกจากจะใช้งานได้ง่ายแล้วยังเป็นวิธีการติดต่อกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นเครื่องมือที่สามารถรับข้อมูลข่าวสารได้เป็นอย่างดีอีกด้วย
  • 41. การอ่านข่าว ยูสเน็ต คือแหล่งข้อมูลที่มีขนาดใหญ่และมีการใช้งานกันอย่างขว้างขวางมากที่สุด การใช้งานโปรแกรม rn 1. เรียกใช้งาน rn ที่พรอมต์ของยูนิกส์ ในการใช้งานโปรแกรมครั้งแรกจะมีข้อมูลเกี่ยวกับโปรแกรมแสดงบนหน้าจอ พร้อมทั้งนำคุณเข้าเครื่องเซิร์ฟเว่อร์นิวส์ 2. ถ้าคุณไม่เคยใช้งานโปรแกรมการอ่านข่าวมาก่อน โปรแกรม rn จะทำให้การสร้างไฟล์ .newsrc ให้ไฟล์จะประกอบด้วยข้อมูลเกี่ยวกับนิวส์กรุ๊ปที่มีอยู่ในระบบของคุณ rn จะแสดงรายชื่อของนิวส์กรุ๊ปที่คุณเป็นสมาชิกอยู่ตามลำดับในไฟล์ .newscr ในแต่ละกลุ่มจะแสดงข้อมูลโดยย่อสำหรับแต่ละข้อมูลตามลำดับ ถ้าต้องการอ่านข้อมูลทั้งหมดที่แสดงในรายการให้กดปุ่ม Spacebar
  • 42. การใช้งานโปรแกรม trn1. เรียกใช้งานโปรแกรมโดยพิมพ์ trn ที่พรอมต์ของยูนิกส์ ในการใช้ปรแกรม trn ครั้งแรก หน้าจอจะแสดงข้อมูลเกี่ยวกับโปรแกรมและนำคุณเข้าสู่เครื่องเซิร์ฟเวอร์ 2. ถ้าหากเป็นการใช้งานโปรแกรม trn ในครั้งแรก โปรแกรมจะสร้างไฟล์ .newsrc ให้โดยจะมีรายชื่อของนิวส์กรุ๊ปที่สามารถติดต่อได้ในระบบของคุณ 3. เมื่อต้องการอ่านข้อความในนิวส์กรุ๊ป trn จะทำการแสดงเทร็ดโดยย่อซึ่งคุณสามารถเลือกเทร็ดที่ต้องการดูได้ การเลือกเทร็ดให้เลื่อนเคอร์เซอร์ไปยังเทร็ดที่ต้องการ แล้วกด Enter
  • 43. การใช้งานโปรแกรม nn1. เรียกใช้งานโปรแกรมโดยพิมพ์ nn ที่พรอมต์ของยูนิกซ์ เมื่อใช้งานครั้งแรกโปรแกรมจะแสดงข้อมูลเกี่ยวกับโปรแกรมและติดต่อเข้าเครื่องเซิร์ฟเวอร์นิวส์2. ถ้าหากไม่เคยใช้งานมาก่อน โปรแกรมจะสร้างไฟล์ .newsrc ซึ่งมีรายชื่อของนิวส์กรุ๊ปที่สามารใช้งานได้ในระบบ3. เมื่อคุณเรียกใช้งานโปรแกรมจะเห็นข้อมูลโดยสรุปของ 19 ข้อความแรกในแต่ละนิวส์กรุ๊ป ในแต่ละข้อความจะมีตัวอักษรภาษาอังกฤษที่ด้านซ้ายของรายการ4. ถ้าต้องการเปิดดูข้อความ ให้พิมพ์อักษรที่แสดงไว้ด้านซ้าย โปรแกรมจะทำเครื่องหมายที่ข้อความนั้นเมื่อถึงตอนท้ายของนิวส์กรุ๊ป ให้กด Spacebar อีกครั้ง โปรแกรมจะแสดงข้อความ5. ถ้าต้องการดูหน้าถัดไปของข้อมูลสรุปให้กด Spacebar ที่ต้องการอ่านทั้งหมด
  • 44. การใช้งานโปรแกรม tin 1. เรียกใช้งานโปรแกรมโดยพิมพ์ tin ที่พรอมต์ของยูนิกซ์ การทำงานครั้งแรกหน้าจอจะแสดงข้อมูลเกี่ยวกับโปรแกรมและติดต่อเข้ากับเครื่องเซิร์ฟเวอร์นิวส์ 2. ถ้าเป็นการใช้งานครั้งแรกโปรแกรมจะสร้างไฟล์ .newrc ให้ซึ่งประกอบด้วยรายชื่อของนิวส์กรุ๊ปที่สามารถติดต่อได้ในระบบของคุณ 3. เมื่อเรียกใช้งานโปรแกรม จะพบหน้าจอ GroupSelection โปรแกรมจะแสดงรายชื่อของนิวส์กรุ๊ปที่คุณเข้าใช้งานอยู่และจะแสดงรายการคำสั่งโดยย่อที่ตอนล่างของหน้าจอ
  • 45. WinTrumpet WinTrumpet เป็นโปรแกรมที่ได้รับความนิยมมากและใช้งานง่าย WinTrumpet เป็นโปรแกรมประเภทซอฟแวร์ โดยจะเสียค่าใช้จ่ายในการขอใช้งาน การติดตั้งโปรแกรม WinTrumpet 1. สร้างไดเรกทอรี WINTRUMP ในเครื่องของคุณ 2. ทำการอันคอมเพรสไฟล์ซิปในไดเรกทอรีนั้น 3. สร้างไอคอนบนวินโดว์สำหรับไฟล์ WT_WSK.EXE
  • 46. การคอนฟิเกอร์โปรแกรม WinTrumpet 1. เรียกใช้งาน WinTrumpet 2. ในการใช้งานโปรแกรมครั้งแรกจะมีพรอมต์สำหรับใส่ข้อมูลการติดตั้งประกอบด้วยชื่อของเซิร์ฟเวอร์ เมล์ และนิวส์ ชื่อและที่อยู่ของคุณ ถ้าคุณใช้งาน WinTrumpet โดยใช้การติดต่อแบบ Slip หรือ PPP และต้องการใช้งานกับเครื่องเซิร์ฟเวอร์เมล์แบบ POP3 เพื่อให้โปรแกรม WinTrumpet เป็นโปรแกรมจดหมายด้วย คุณจะต้องใส่ชื่อของ รหัสผู้ใช้แบบPOP3 หรือชื่อรหัสผู้ใช้งานเพื่อล็อกอินและรหัสผ่านด้วย 3. เมื่อเสร็จเรียบร้อยให้คลิกที่ OK โปรแกรมจะทำการติดต่อเข้ากับเครื่องเซิร์ฟเวอร์นิวส์ของคุณ WinVN โปรแกรม WinVN เป็นโปรแกรมที่ใช้งานง่าย ชื่อนิวส์กรุ๊ปที่คุณใช้งานจะแสดงที่ส่วนบนสุดของรายชื่อ และกลุ่มอื่นจะแสดงในตอนล่าง ตัวเลขที่แสดงต่อจากแต่ละกลุ่มหมายถึงจำนวนหัวข้อในกลุ่มนั้นๆที่ยังไม่ได้อ่าน การอ่านข่าวแบบออฟไลน์ โปรแกรมอ่านข่าวแบบออฟไลน์เป็นการติดต่อกับเซิฟเวอร์นิวส์อีกวิธีหนึ่ง คุณสามารถจะดาวน์โหลด ข้อมูลเป็นจำนวนมากๆแล้วเลือกเอาต์(log out) ออกจากระบบ หลังจากนั้นจึงอ่านข้อมูลทั้งหมดที่ดาวน์โหลดไว้ได้ในขณะที่ไม่ได้ติดต่อกับเครื่อง
  • 47. FreeAgentโปรแกรม FreeAgent เป็นโปรแกรมอ่านข่าวที่ใหม่ที่สุดและมีการทำงานที่น่าสนใจมากมาย เช่น การทำงานแบบมัลติทาสกิง(Multi-tasking) คือสามารถทำงานหลายงานได้พร้อมๆกันมีความสามารถในการค้นหาและเก็บข้อมูลที่ต้องการไว้อ่านในภายหลังได้ FreeAgent ยังสามารถอ่านข่าวแบบออนไลน์ได้ด้วยWinQVTโปรแกรม WinQVT ประกอบด้วยโปรแกรมอ่านข่าว โปรแกรมเมล์ เทลเน็ต และ FTP ทั้งหมดรวมอยู่ในโปรแกรมเดียวกันซึ่งจะเหมาะกับผู้ใช้ที่ต้องการโปรแกรมแบบ All-in-one Solution ปัญหาของโปรแกรมนี้คือ ในบางครั้งอาจจะทำงานได้ไม่ดีทั้งหมด
  • 48. โกเฟอร์บนยูนิกซ์โกเฟอร์ดั้งเดิมบนยูนิกซ์นั้นเป็นโปรแกรมที่ใช้งานง่าย เพียงแค่คุณพิมพ์gopherที่พรอมต์ของยูนิกซ์ โปรแกรมก็จะทำงานโดยจะเข้าสู่หน้าจอเมนูของโกเฟอร์โฮมเซิร์ฟเวอร์ เป็นอันดันแรก โกเฟอร์บนวินโดวส์ ปัจจุบันมีโปรแกรมโกเฟอร์สำหรับวินโดวส์อยู่หลายโปรแกรม ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นโปรแกรมที่ใช้งานง่ายลักษณะชี้คลิก (Point-and-Click) และเป็นแอปพลิเคชันสำหรับวินซ๊อกอีกด้วย
  • 49. BCGopherสามารถติดต่อกับโกเฟอร์เซิร์ฟเวอร์ได้ทั่วโลก HGopher เป็นโปรแกรมในยุคแรกที่ใช้วินซ๊อกและมีคุณสมบัติที่เด่นมากมาย เช่น สามารถสลัปไปมาระหว่างเมนูของโกเฟอร์ปัจจุบันกับรายการของบุ๊คมาร์กได้โดยใช้การคลิกเมาส์ PNLInfo Browser เป็นโปรมแกรมที่ใช้ง่ายและมีประสิทธิภาพในการทำงานบนวินโดวส์
  • 51. การเรียกอ่านข้อมูลโดยใช้เบราเซอร์บนระบบยูนิกซ์ ที่ยูนิกซ์เซลล์ คุณสามารถเข้าสู่ฐานข้อมูลเว็บได้ 2 วิธี คือ การเรียกใช้ลินซ์ (Lynx) ซึ่งเป็นการเรียกอ่านข้อมูลแบบข้อความยูนิกซ์ การเรียกใช้สลิปน๊อต (Slipknot) ซึ่งเป็นการเรียกอ่านข้อมูลที่ปรากฎจอภาพภายใต้วินโดวส์โดยไม่ต้องมีวินซ๊อก
  • 52. ลินซ์ (Lynx)การเข้าสู่ฐานข้อมูลโดยการเรียกใช้ลินซ์ ซึ่งเป็นวิธีที่ง่ายที่สุดและเร็วที่สุด ซึ่งเป็น การค้นหาข้อมูลประเภทตัวอักษร ไม่สามารถดูเป็นรูปภาพได้แต่สามารถเก็บฐานข้อมูลต่างๆที่เรียกมาบันทึกเป็นไฟล์ที่ต้องการได้ในโฮมไดเรกทอรีบนเครื่องยูนิกส์ของคุณสามารถดาวน์โหลดไฟล์นั้นลงเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ และดูข้อมูลรูปภาพหรือเสียง หรือภาพเคลื่อนไหวต่างตามที่ต้องการ วิธีการใช้ลินซ์ เริ่มต้นพิมพ์คำว่า ที่ยูนิกส์พอรมต์ตามด้วยแอดเดรสของฐานข้อมูลเว็บที่ต้องกาค้นหา ยกตัวอย่างเช่น การเรียกดูฐานข้อมูลโฮมที่ ในประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ให้พิมพ์ ก้สามารถเข้าสู่หน้าเวิลด์เว็บโฮม
  • 53. สลิปน๊อต (Snipknot)ถูกคิดค้นโดย Peter Brooks ซึ่งสามารถใช้เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ภายใต้ระบบวินโดว์เป็นตัวเชื่อมต่อไปยังฐานข้อมูลเว็บ โดยผ่านลินซ์บนเครื่องยูนิกส์ที่มีอยู่ สามารถเรียกดูข้อมูล รูปภาพ เ สียงและภาพเคลื่อนไหวได้ตามต้องการ วิธีการใช้สลิปน๊อต ถ้ายังไม่ได้ติดต่อกับระบบ ให้กดปุ่ม Connect ที่ด้านล่างสุดของจอภาพ สลิปน๊อต ถ้าติดต่อระบบแล้ว สามารถกดปุ่ม World Wide Web
  • 54. เซลโล (Cello)โปรแกรมนี้เป็นการค้นหาฐานข้อมูลเว็บแบบง่ายๆ ภายใต้ระบบวินโดว์ อินเตอร์เน็ตเวิร์ก อินเตอร์เน็ตเวิร์กถูกเขียนขึ้นโดยบุ๊คลิงก์ เป็นโปรแกรมที่มีจุดเด่นหรือมีลักษณะเฉพาะของการค้นหาโดยใช้เว็บเบราเซอร์ ซึ่งอินเตอร์เน็ตเวิร์กสามารถส่งเมลล์ได้ในตัวเอง
  • 55. NCSA โมเสค (Mosaic)เป็นโปรแกรมเว็บเบราเซอร์ตัวแรกที่ใช้กันอย่างแพร่หลายบนระบบวินโดวส์ทั้งๆที่มีเว็บเบราเซอร์ตัวใหม่ๆเกิดขึ้นตลอดเวลา เน็ตสเคป (Netscape) ถูกคิดโดยเน็ตเสคปคอมมิวนิเคชันคอเปอเรชัน ซึ่งทีมที่พัฒนาเน็ตเสคปเป็นทีมที่เคยพัฒนา NCSA โมเสคและลินซ์
  • 56. วินเว็บ (Winweb)วินเว็บเป็นเบราเซอร์ใหม่ล่าสุดซึ่งคิดค้นโดย ElNet แต่ว่าขาดคุณสมบัติบางอย่างที่เว็บเบราเซอร์ตัวอื่นๆ มี
  • 57. อินเทอร์เน็ตรีเลย์แซต IRC หรือ Internet Relay Chat เป็นที่นิยมมากในหมู่ ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเขียนขึ้นโดย Jarkko Oikarinen ชาวฟินแลนด์ คุณสามารถติดต่อสื่อสารข้อความโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นไคลเอนต์ และใช้ IRC โปรโตคอลผ่านCB-channels
  • 58. คำสั่งต่างๆสำหรับการเลือกใช้งาน / nicknickname เปลี่ยนชื่อจากชื่อเดิม เป็นชื่อใหม่ที่ต้องการ /name –min n แสดงรายชื่อผู้ที่อยู่ในช่องทางปัจจุบันทั้งหมด /join #channel การอนุญาตให้เข้าสู่ช่องทางที่ต้องการโดยระบุ เครื่องหมาย#ตามด้วยชื่อช่องทาง
  • 59. คำสั่งIRCทั่วๆไป /clear การเคลียร์หน้าจอ /lastlog แสดงข้อความที่ข้ามมา จากช่องทางอื่น /notify nickname เพื่อให้ทราบว่ามีใคร บ้างที่เข้ามาหรือออก /query nickname การเข้าไปสนทนากับ บุคลอื่น
  • 60. คำสั่ง IRC เพื่อดูข้อมูลต่างๆ /help command ดูคำแนะนำการใช้คำสั่งแต่ละคำสั่ง /who #channel แสดงรายชื่อบุคคลที่อยู่ในช่องทาง /whois nickname แสดงข้อมูลทั่วไปของบุคคลโดย ระบุชื่อเล่น /admin แสดงข้อมูลของเซิร์ฟเวอร์IRC /date หรือ /time แสดงวันที่และเวลา
  • 61. WinTalk WinTalk คิดขึ้นโดย Glen Daniels เป็นโปรแกรมเวอร์ชันวินโดวส์ที่ สามารถใช้บนเครื่องยูนิกซ์ โดยใช้โปรโตคอลเดียวกับเวอร์ชันที่ใช้พูดคุยกันบนเครื่องยูนิกซ์ ดังนั้คุณสามารถเปิด Talk channel บนเครื่องทั่วไปที่มีโปรแกรม Talkติดตั้งอยู่ โดยหน้าจอจะแบ่งออกเป็น 2ส่วน
  • 62. โปรแกรมวิวเวอร์สำหรับอ่านเอกสาร ถ้าคุณกำลังมองหาเอกสารคู่มือที่มีฟอร์แมตต่างๆ กัน ในอินเทอร์เน็ตมีฟอร์แมต เป็นที่นิยมอยู่2แบบคือ AcrobatและPostscriptในAdobeโดยใช้ ASCII ACROATเป็นฟอร์แมตที่เป็นที่รู้จักเมื่อเร็วๆนี้ แต่POSTSCRIPTเริ่มมีมาตั้งแต่มีเดสก์ทอปคอมพิวเตอร์ ซึ่งส่วนใหญ่มักจะเป็น non-ASCII text
  • 63. WPlany WPlany พัฒนาโดยBill Neisius เป็นโปรแกรมสำหรับการเล่น ไฟล์ข้อมูลที่เก็บ เสียงวินโดวส์ ซึ่งโปรแกรม นี้สามารถเล่นเสียงได้อย่างเดียว โดยไม่ต้องกดปุ่มใดๆ ไม่มีจอภาพแสดง แต่ทำให้เสียงที่ออกมาดีเยี่ยม ซึ่งสามารถใช้ได้กับโปรแกรมโกเฟอร์ และเว็บเบราเซอร์ WPlanny สามารถใช้ได้กับไฟล์ที่มีฟอร์แมต .VOC,.AU,.WAV,.SNDและ.IFF
  • 65. ไลคอส(Lycos) ไลคอสเป็นเว็บไซต์เสิร์ชเอนจิน (Search Engine) ซึ่งเป็นเครื่องมือช่วยค้นหาข้อมูลบนอินเตอร์เน็ต เสิร์ชเอนจินมีองค์ประกอบพื้นฐาน 3 ส่วนคือ ตัวค้นหาไซต์อันโนมัติ ดัชนีข้อมูล และซอฟต์แวร์ค้นหา ทั้งสามส่วนนี้ทำงานร่วมกันเหมือนกับบัตรรายการหนังสือห้องสมุด สำหรับเว็บไซต์ เสิร์ชเอนจินได้รับการบรรจุไว้ด้วยข้อมูลเว็บไซต์จำนวนมากมายมหาศาลหลายล้านเว็บไซต์ ผู้ใช้สามารถเข้าไปค้นหาข้อมูลเหล่านี้ได้โดยใช้คำสำคัญ (keyword) ในการค้นหา การเก็บข้อมูลของเว็บไซต์ต่างๆลงในฐานข้อมูลของเสิร์ชเอนจิน
  • 66. WWWW.เวิลด์ไวด์เว็บเวิร์ม เวิลด์ไวด์เว็บเวิร์มเป็นเว็บเสิร์ซเอ็นจินที่ดีตัวหนึ่ง ถูกคิดขึ้นโดย Oliver McBryan แห่งมหาวิทยาลัยโคโลลาโดที่บลูเดอร์ เว็บเวิร์มทำงานต่างจากไลคอสเล็กน้อย โดยที่สามารถค้นหาคำที่ระบุในหน้าไตเติลของเว็บหรือในหน้าที่เป็นข้อความของ WWWW
  • 67. โกเฟอร์เสิร์ซทูล วีโรนีก้า VERONICA ย่อมาจากคำว่า Very Easy Rodent-Oriented Net-wide lndex to Computerized Archives เป็นโกเฟอร์เบสเสิร์ซเอ็นจินที่สามารถค้นหาข้อมูลทั่งโลกได้อย่างง่าย จักเฮด JUGHEAD ย่อมาจากคำว่า Jonzy’s Universal Gopher Hierarchy Excavation And Display จักเฮดมีลักษณะคล้ายๆ กับวีโรนีก้าต่างกันตรงที่จักเฮดค้นหาเฉพาะคำที่ระบุ แต่วีโรนีก้าค้นหาเกือบทุกคำในโกเฟอร์สเปซทั้งหมด
  • 68. ไวส์ (WAIS) WAIS คือ distributed system ในอินเตอร์เน็ต ที่มีการจัดแบ่งเก็บข้อมูลลงบนเครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่องในระบบ ต่างจากระบบทั่วๆ ไป ซึ่งจะมีการเก็บข้อมูลทั้งหมด ในเครื่องคอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียว ผู้ใช้ระบบ WAIS สามารถค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้จากทุกคอมพิวเตอร์ ที่เก็บข้อมูลในระบบ โดยใช้คำสั่งง่ายๆ ที่ไม่ซับซ้อน ผู้ใช้สามารถเลือกค้นหาข้อมูลจากระบบฐานข้อมูล มากกว่า 1 ระบบได้ในเวลาเดียวกัน และ เก็บลงบนเครื่องคอมพิวเตอร์ของตนเอง
  • 69. ไวส์เกต ไวส์เกตเป็นโปรแกรมฟรอนต์ง่ายๆ ที่ใช้กับไวส์แสดงการทำงานของไวส์เซิร์ฟเวอร์กับโปรแกรมเว็บเกตเวย์ ไอเน็ตวินไวส์ ถ้าคุณใช้ไวส์บ่อยๆ คุณอาจต้องการใช้ไอเน็ตวินไวส์ วินไวส์เป็นวินไวส์เป็นฟรอนต์เอนด์วินโดว์ที่สามารถค้นหาข้อมูลในฐานข้อมูลไวส์ได้อย่างมากมาย
  • 70. การค้นหาไฟล์ต่างๆ ด้วยอาร์ชี (Archie) อาร์ชีช่วยค้นหาไฟล์ที่ต้องการโดยใช้ยูสเซอร์อะโนนิมัส ทำการโอนย้ายไฟล์ได้จากฐานข้อมูลในอินเตอร์เน็ต อาร์ชีมีระบบควบคุมผู้ใช้ที่ลงทะเบียนการขอใช้อาร์ชีเซิร์ฟเวอร์อยู่ทั่วโลก ซึ่งข้อมูลจะถูกปรับปรุงทุกเดือนๆ และแสดงจำนวนตัวเลขของสถานที่ที่ลงทะเบียนไว้กับอาร์ชี
  • 71. ฟิงเกอร์ ฟิงเกอร์ช่วยค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลซึ่งผู้จดทะเบียนการใช้ในเครื่องยูนิกส์เซิร์ฟเวอร์ จะปรากฎรายละเอียดแอดเดรสของอีเมล์ ชื่อจริง ฯ โปรแกรมฟิงเกอร์ที่ดีอีกโปรแกรมหนึ่งคือ Finger by Zoran Dukic ซึ่งสามารถเซฟชื่อโฮสต์ และชื่อผู้ใช้ระบบแยกกัน ทำให้สามารถค้นหาบุคคลได้หลายบุคคลในโลเคชันเดียวกัน
  • 73. วินโค้ด โปรแกรมวินโค้ดเป็นโปรแกรมที่ใช้สำหรับการเอ็นโค้ดและดีโค้ด สำหรับผู้ที่ใช้วินโดว์ถูกคิดขึ้นโดย George Silva ซึ่งสามารถใช้ได้กับไฟล์ที่มีฟอร์แมต UUEncode หรือไฟล์ที่มีฟอร์แมต MIME Base64
  • 74. เอ็กซ์เฟอร์โปร (XFERPro) XFERPro ย่อมาจากคำว่า Information Transfer Professional มีวิธีการใช้งานเหมือนวินโค้ด วึ่งใช้เมาส์แดรกและดรอป สำหรับการเอ็นโค้ดและดีโค้ดและใช้ได้ทั้งฟอร์แมต UUEncode และ MIME Base64
  • 75. เครื่องมือที่ช่วยในการดึงไฟล์ และการคอมเพรสไฟล์ GUNZip ถ้าพบไฟล์ประเภท Z ไฟล์ในระบบยูนิกส์ (.gz, .z หรือ .Z) จะใช้ไฟล์ GUNZip สำหรับการอันคอมเพรส ความแตกต่างระหว่างฟอร์แมต Z คอมเพรสชันกับไฟล์ฟอร์แมตดอสคอมเพรสชัน Z คอมเพรสชัน คือ การคอมเพรสไฟล์ที่ไม่ได้รวมไฟล์ประเภทอาร์ชีไฟล์หลายไฟล์มาอยู่ในไฟล์เดียวกัน ควรใช้ TAR เพื่อทำให้ไฟล์ที่ดึงมาหลายไฟล์รวมกัลป์อยู่ในไฟล์เดียว
  • 76. LHA LHAเป็นโปรแกรมสำหรับการคอมเพรสไฟล์อาร์ชีที่ใช้บนระบบดอส ExTAR ถ้ามีไฟล์ TAR ในระบบยูนิกส์จำเป็นต้องมี GisbertW.Selke’s ExTAR ในดอส เพราะ ExTAR เป็นโปรแกรมสำหรับไฟล์อาร์ชี และสามารถเปลี่ยนชื่อที่ยาวๆ ในระบบยูนิกส์มาเป็นชื่อที่สามารถใช้ได้ในดอส เช่น .txt, .doc, etc.
  • 77. InfoZip เป็นโปรแกรมฟรีแวร์ที่อยู่ในดอสยูทิลิตี้ InfoZip ‘s UnZip เป็นโปรแกรมที่สามารถอันคอมเพรส .Zip ทั้งหมด และสามารถสร้างซับไดเรกทอรี เมื่ออันคอมเพรสเสร็จ โดยที่ไม่ต้องใส่พารามิเตอร์อื่นๆ เพิ่มเติม วินซิป(WinZip) เป็นโปรแกรมสำหรับการคอมเพรสและอันคอมเพรสเพียงใช้แดรกและดรอปจากหน้าเมนูวินซิปและไฟล์เมเนเจอร์ วินซิปสามารถใช้ได้กับไฟล์ฟอร์แมต .Zip ทั้งหมด รวมทั้งฟอร์แมต arc และฟอร์แมต LHarc
  • 79. เครื่องมือไดอัล และ ไทม์แอกเคาต์ ไดอัลและไทม์แอกเคาต์เป็นเครื่องมือที่ออกแบบมาช่วยในการจัดการการติดต่อเชื่อมโยงแบบ SLIP หรือ PPP ให้ดีขึ้น โดยโปรแกรมไดอัลจะทำหน้าที่หมุนโทรศัพท์ให้โดยอัตโนมัติ จนกว่าสายจะว่างจากนั้นก็เปิดแอปพลิเคชันโดยอัตโนมัติเมื่อติดต่อได้แล้ว
  • 80. เน็ตไดอัล เน็ตไดอัลคิดขึ้นโดย James A. Sanders เป็นโปรแกรมไดอัลที่ดีที่สุดตัวหนึ่งสามารถช่วยต่อโทรศัพท์อัตโนมัติ ถ้าสายไม่ว่างก็จะต่อให้จนกว่าจะติด ซึ่งง่ายต่อการใช้และการคอนฟิกซ์
  • 81. SLIP db SLIP db คิดขึ้นโดย Derrick R. Webber คือโปรแกรมบันทึกเวลาโดยอัตโนมัติตั้งแต่เริ่มต้นการล็อกอินจนกระทั่งล็อกเอาต์ และเก็บรายละเอียดของจำนวนครั้งที่ล็อกอิน เวลาทั้งหมดที่ใช้ และค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในการออนไลน์
  • 82. WS-Timer WS-Timer คิดขึ้นโดย Louis Aube คือโปรแกรมบันทึกเวลาแบบง่ายๆ โดยใช้กับโปรแกรมวินซ็อกไดเลอร์ WS-Timer สามารถเก็บการสะสมเวลาสำหรับการใช้งานในออนไลน์ได้
  • 83. Nullsock เมื่อคุณไม่สามารถติดต่อกับเน็ตเวิร์กได้ และจำเป็นต้องใช้งานแอปพลิเคชันในอินเทอร์เน็ต ดังนั้น คุณจำเป็นต้องมี nullsock ไฟล์แทน WINSOCK.DLL จะทำให้คุณสามารถใช้งานแอปพลิเคชันบนอินเทอร์เน็ตได้เสมือนมีโปรแกรมวินซ็อก และเหมาะสำหรับการทำ Presentation บนเว็บเบราเซอร์
  • 84. เครื่องมือ DNS Lookup และ Route Tracing โปรแกรม DNS Lookup เป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งของอินเทอร์เน็ตทูลคิตโปรแกรมนี้สามารถพูดคุยโดยตรงกับ DNS (Domain Name Server) และดึงฐานข้อมูลต่างๆ จากเซิร์ฟเวอร์ได้
  • 85. Trumpet Hopcheck Hopcheck คิดขึ้นโดย Peter Tattam เป็นโปรแกรมที่ติดมากับทรัมเพ็ตวินซ็อก (Trumpet Winsock) ส่วนใหญ่โปรแกรมที่มากับ Winapps จะเป็นโปรแกรมพื้นฐาน และสามารถทำงานได้ดี ไม่ซับซ้อนเหมือนโปรแกรมอื่นๆ Hopcheck มีลักษณะคล้ายกับโปรแกรม Ping utility ยกเว้นจะบอกขั้นตอนการติดต่อตั้งแต่จุดเริ่มต้นจนถึงปลายทาง
  • 86. การใช้ Hopcheck เรียกใช้งาน Hopcheck ใส่ชื่อโฮสต์ปลายทาง Host: พรอมต์ และกด Enter การดึงข้อมูลต้องรู้ด้วยว่าอยู่ที่โฮสต์ใด เช่น ถ้าคุณดึงข้อมูลจาก trum pet.com.au จะไม่พบต้องดึงจาก ftp.trumpet.com.au
  • 87. เครื่องมือ Dianostic เมื่อการทำงานที่ไม่ถูกต้องเกิดขึ้น จำเป็นต้องมีเครื่องมือที่ช่วยวินิจฉัยปัญหาและหาสาเหตุของปัญหา เช่น ถ้าไม่สามารถติดต่อกับเซิร์ฟเวอร์ได้ อาจจะเกิดจากหลายสาเหตุ เช่น อาจเกิดการขัดข้องที่ผู้ให้บริการ หรือเกิดจากคอนฟิกซ์ก็ได้ เพื่อให้ค้นหาสาเหตุได้ถูกต้องจึงต้องมีทูลช่วยวินิจฉัย
  • 88. Trace Plus Trace Plus หรือที่เรียกว่า วินซ็อกเอ็กเรย์ เป็นของซิสเต็มซอฟแวร์เทคโนโลยี เป็นทูลที่ช่วยบันทึกข้อมูลทั้งหมดของวินซ็อก API ที่ถูกเรียกจากวินซ็อกแอปพลิเคชัน (CAPI Calls) คุณสามารถเริ่มและหยุดการใช้งานได้เหมือนกับการบันทึกเทปได้
  • 89. เครื่องมือปรับประสิทธิภาพ เกี่ยวกับทูลที่ช่วยทดสอบและปรับวินซ็อกให้มีประสิทธิภาพดีขึ้น การปรับวินซ็อกและโมเด็มจะช่วยให้ติดต่อได้รวดเร็วขึ้น สำหรับการปรับวินซ็อกก็โดยการใช้ทรัมเพ็ตวินซ็อก ส่วนโมเด็มก็คงต้องใช้วิธีการอัปเกรดโมเด็มให้มีคงามเร็วสูงขึ้น
  • 90. Time Synchronizers Time Synchronizers เป็นโปรแกรมช่วยจัดการและตรวจสอบให้เวลาที่ในเครื่องเซิร์ฟเวอร์บนอินเทอร์เน็ตและปรับเวลาของเครื่องพีซีที่คุณใช้อยู่ให้ตรงกัน อีกทั้งยังสามารถรายงานเวลากลับมาบอกคุณทางหน้าจออีกด้วย
  • 91. Tardis Tardis คิดขึ้นโดย H.C. .Mingham-Smith คือโปรแกรมยูทิลีตี้ที่ดีสำหรับการตรวจสอบเวลาซึ่งทำงานร่วมกับโปรแกรมวินซ็อก Tardis จะปรับให้เวลาในเครื่องพีซีของคุณให้ตรงกับเวลาในเครื่องเซิร์ฟเวอร์ใดๆก็ได้ที่คุณต้องการโดยอัตโนมัติ คุณสามารถกำหนดเขตแบ่งเวลา(Timezone) และDaylight saving time ได้
  • 92. การใช้ Tardis ก่อนอื่นให้ตรวจสอบดูว่ามีวินซ็อกหรือไม่ และให้ล็อกอินอยู่ในอินเทอร์เน็ต เรียกใช้งาน Tardis หลังจากตั้งเวลาต่างๆ ที่ต้องการแล้ว ให้ปิด Tardis
  • 94. HTML เอดิเตอร์ ถ้าคุณพบเนื้อที่ว่างในเว็บเซิร์ฟเวอร์และต้องการจะทำให้ที่ว่างเปล่าเหล่านั้นมารวมกันในเว็บเพจ คุณจำเป็นต้องมีโปรแกรม HTML (Hyper Text Markup Language) เป็น Coding Language สำหรับการแก้ไข ปรับแต่ง เพื่อให้การใช้งานในเว็บเพจง่ายขึ้น
  • 95. WEB Wizard WEB Wizard คิดขึ้นโดย ARTA ซอฟต์แวร์กรุ๊ปและ Davis Geller ซึ่งเป็น getstared-quick ทูลของ HTML ที่ดีที่สุดตัวหนึ่ง WEB Wizard จะมีพรอมต์ให้เติมข้อความในช่องว่าง ซึ่งจะทำให้สร้างเว็บเพจหน้าแรกโดยอัตโนมัติและได้โปรแกรมHTML ที่ถูกต้อง
  • 96. วิธีการใช้ WEB Wizard เรียกใช้งาน WEB Wizard จากหน้าจอคลิกตัวเลือก Begin > จะปรากฏข้อความยินดีต้อนรับเข้าสู่ WEB Wizard คลิกที่ Next > to get started จากนั้นจะมีหน้าจอให้ใส่ชื่อเรื่อง เลือกไฟล์รูตปภาพ (.GIF หรือ .JPG) ข้อความ ลิงก์ไปยังหน้าเว็บอื่น และชื่อไฟล์สำหรับไฟล์นั้น
  • 97. HoTMetal HOTMetal คิดขึ้นโดย SoftQuad เป็น HTML เอดิเตอร์ที่ได้รับความนิยมมากที่สุด มีการป้องกันการพิมพ์ผิดโดยจะมีบูลเล็ตกำหนด ถ้ามีการพิมพ์ตัวอักษรในที่ที่ไม่อนุญาตให้พิมพ์จะมีเสียงเตือน และไม่สามารถพิมพ์ต่อได้
  • 98. เอดิเตอร์ Word for Windows HTML มี HTML เอดิเตอร์ 3ตัวที่ต้องติดตั้งโปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดสำหรับวินโดวส์บนเครื่องพีซีก่อนการใช้งาน ซึ่งโปรแกรมทั้งสามโปรแกรมนั้นมี Word Basic macros ทำหน้าที่โค้ดดิงโปรแกรม HTML ได้แก่ CU-HTML GT-HTML Word Internet Assistant
  • 99. GT-HTML GT-HTML พัฒนาโดย Jeffrey L. Grover, John H. Davis III ของสถาบันวิจัยแห่งจอร์เจียเป็นโปรแกรมที่ต้องใช้เวิร์ดสำหรับวินโดวส์อีกโปรแกรมหนึ่งในการสร้าง HTML เพจ CU-HTML CU-HTML คิดขึ้นโดย Kenneth Wong และ Anton Lam เป็น HTML เอดิเตอร์ตัวแรกที่สามารถเรียกใช้งานได้ในเวิร์ด Word Internet Assistant Microsoft Word Internet Assistant คือความคิดสร้างสรรค์ที่ดีในการช่วยส่งไฟล์ที่อยู่ในเวิร์ดของวินโดวส์ไปที่ทูลเอดิเตอร์ และเว็บเบราเซอร์ได้อย่างง่ายดาย