SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
นายชวาล แข็งแรง
การติดตั้งและตั้งค่า DHCP , DNS , Http , Mysql , phpMyAdmin & Joomla
เพื่อทา Web Server บนระบบปฏิบัติการ ContOS 6.4
เมื่อติดตั้ง CentOS 6.4 เสร็จแล้ว สิ่งที่ควรทาหลังติดตั้ง CentOS 6.4 ให้ปิดการทางานของ SELinux
ตามขั้นตอนดังนี้ (การติดตั้ง CentOS 6.4 ตามนี้ >> http://linux.sothorn.org/download/CentOS6.pdf )
1. ปิดการทางานของ SELinux โดยการแก้ไขไฟล์ /etc/selinux/config ด้วยโปรแกรม vi
# vi /etc/selinux/config
# This file controls the state of SELinux on the system.
# SELINUX= can take one of these three values:
# enforcing - SELinux security policy is enforced.
# permissive - SELinux prints warnings instead of enforcing.
# disabled - No SELinux policy is loaded.
SELINUX=disabled (ตัวที่ต้องแก้ไข)
# SELINUXTYPE= can take one of these two values: # targeted - Targeted processes are protected,
# mls - Multi Level Security protection. SELINUXTYPE=targeted
กดปุ่ม ESC และพิมพ์คาสั่ง :wq เพื่อบันทึกและออกจากโปรแกรม
หลังจากแก้ไขไฟล์เรียบร้อยแล้วให้รีสตาร์ทเครื่อง ด้วยคาสั่ง # reboot
2. ปิด Firewall
ปิดการทางานของ Firewall ด้วยคาสั่ง # setup เลือก Firewall Configuration กด spacebar เอา
เครื่องหมายดอกจันออก
นายชวาล แข็งแรง
หรือ พิมพ์คาสั่ง
# service iptables stop
# chkonfig iptables off
เรื่องของการรักษาความปลอดภัยในการเริ่มคอนฟิกให้ปิดไปก่อนเพราะจะสร้างปัญหาให้กับลีนุกส์
มือใหม่ เป็นอย่างมาก คอนฟิกเสร็จแล้วค่อยมาจัดการเรื่องการรักษาความปลอดภัยทีหลังก็ได้
3. การติดตั้ง DHCP Server
3.1 เข้าไปแก้ไข ไฟล์ /etc/dhcp/dhcpd.conf ด้วยโปรแกรม vi ตามข้างล่างนี้
# vi /etc/dhcp/dhcpd.conf
กด ENTER แล้ว config ตามข้างล่างนี้
ddns-update-style interim;
ignore client-updates;
subnet 192.168.1.0 netmask 255.255.255.0 {
range 192.168.1.10 192.168.1.254;
option domain-name-servers 192.168.1.2;
option domain-name "itutc2.com";
option routers 192.168.1.1;
option broadcast-address 192.168.1.255;
default-lease-time 62100;
max-lease-time 43200;
}
คาอธิบาย คร่าวๆ (เน้นนะครับ คร่าวๆ)
(subnet คือ ค่า IP Address แรกของ Network)
(netmask คือ ซับเน็ตมาสก์ที่เรากาหนดไว้ใน Network เช่น Class C = 255.255.255.0)
นายชวาล แข็งแรง
(range คือ การกาหนดช่วง IP Address ที่ Server จะแจกให้ Client)
(option domain-name-servers คือ กาหนด IP Address ที่ใช้สาหรับทา DNS)
(option domain-name คือ กาหนดชื่อ domain-name เช่น "it2.com”)
(option routers คือ กาหนด IP Address ที่เป็น Gateway )
(option broadcast-address คือ กาหนด IP Address ที่เป็น broadcast )
(default-lease-time คือ ระยะเวลาปกติที่ Client ถือครอง IP Address )
(max-lease-time คือ ระยะเวลามากที่สุดที่ Client ถือครอง IP Address )
เมื่อเสร็จแล้ว กดปุ่ม ESC พิมพ์ :wq กดปุ่ม [Enter] เพื่อบันทึกและออกจากโปรแกรม vi
3.2 กาหนด Interface ที่ใช้แจก DHCP โดยเข้าไปแก้ไขที่ไฟล์ตามนี้
# vi /etc/sysconfig/dhcpd
# Command line options here
DHCPDARGS=eth0
คาอธิบาย eth0 คือ Card network ที่เราจะใช้ทา DHCP แจก IP Address
เมื่อเสร็จแล้ว กดปุ่ม ESC พิมพ์ :wq กดปุ่ม [Enter] เพื่อบันทึกและออกจาก
โปรแกรม vi
เชื่อมต่อสาย LAN ระหว่าง Client กับ Server
3.3 เปิดการทางานของ DHCP ด้วยคาสั่ง
# chkconfig dhcpd on
3.4 เริ่มการทางานของ DHCP ด้วยคาสั่ง
# service dhcpd start
ถ้าขึ้นว่า [OK] เป็นอันว่าเสร็จสิ้นการติดตั้ง DHCP เพื่อแจก IP Address
นายชวาล แข็งแรง
4. การติดตั้ง DNS Server
4.1 ไปแก้ไขไฟล์ named.conf ด้วยคาสั่ง # vi /etc/named.conf และแก้ไขตามนี้
# vi /etc/named.conf
// named.conf
// Provided by Red Hat bind package to configure the ISC BIND named(8) DNS
// server as a caching only nameserver (as a localhost DNS resolver only).
// See /usr/share/doc/bind*/sample/ for example named configuration files.
options {
// listen-on port 53 { 127.0.0.1; };
// listen-on-v6 port 53 { ::1; };
directory "/var/named";
dump-file "/var/named/data/cache_dump.db";
statistics-file "/var/named/data/named_stats.txt";
memstatistics-file "/var/named/data/named_mem_stats.txt";
// allow-query { localhost; };
recursion yes;
// dnssec-enable yes;
// dnssec-validation yes;
// dnssec-lookaside auto;
/* Path to ISC DLV key */
// bindkeys-file "/etc/named.iscdlv.key";
managed-keys-directory "/var/named/dynamic";
};
logging {
channel default_debug {
นายชวาล แข็งแรง
file "data/named.run";
severity dynamic;
};
};
zone "." IN {
type hint;
file “named.ca”;
};
Include “/etc/named.rfc1912.zones”;
zone “it2.com” IN {
type master;
file “db.it2.com”;
allow-update {none;};
allow-transfer {none;};
};
zone “1.168.192.in-addr.arpa” IN {
type master;
file “db.192.168.1”;
allow-update {none;};
allow-transfer {none;};
};
เมื่อเสร็จแล้ว กดปุ่ม ESC และพิมพ์:wq เพื่อออกจากโปรแกรม vi
กาหนด forword DNS domain “……….”
กาหนด ชนิดของ Server
กาหนด Zone file “……………”
เพิ่มความปลอดภัยให้ DNS
เพิ่มความปลอดภัยให้ DNS
กาหนด reverse DNS domain “……….”
กาหนด Zone fine “……….”
นายชวาล แข็งแรง
4.2 สร้าง zone file ของ Domain “…………” เข้าไปที่ Directory /var/named แล้วสร้าง File ใหม่
ขึ้นมาด้วยคาสั่งตามข้างล่างนี้
# cd /var/named
# touch db.it2.com
# chown root:named db.it2.com
# chmod 640 db.it2.com
# vi db.it2.com
แล้วพิมพ์ข้อมูลดังนี้
$TTL 8h
@ IN SOA it2.com. root.it2.com. (
2012032501 ; Serial
28800 ; Refresh
14400 ; Retry
3600000 ; Expire
28800 ) ; Minimum
IN NS ns
IN MX 10 mail
ns IN A 192.168.1.2
www IN A 192.168.1.2
mail IN A 192.168.1.3
server IN CNAME www
เสร็จแล้ว บันทึกและออกจากโปรแกรม
4.3 เข้าไปที่ Directory /var/named แล้วสร้าง File ใหม่ขึ้นมาด้วยคาสั่งตามนี้
# cd /var/named
# touch db.192.168.1
# chown root:named db.192.168.1
# chmod 640 db.192.168.1
# vi db.192.168.1
ตั้ง Chown เป็น root ที่ไฟล์ ………..
เข้าไปที่ Directory var/named
สร้างไฟล์เปล่าตั้งชื่อ …………………
กาหนดสิทธิ์ เป็น 640 ที่ไฟล์……………
แก้ไฟล์ …………..ด้วยโปรแกรม vi
TTL ของ Domain นี้กาหนดเอาไว้ 8 ชั่วโมง
SOA เรคคอร์ดของโดเมนนี้
Serial ของโดเมนนี้ต้องมีค่าเพิ่มขึ้นเสมอ
ชื่อเครื่องที่รับผิดชอบโดเมน หรือ NS เรคคอร์ด
ชื่อเครื่องที่รับผิดชอบอีเมลของโดเมนนี้
IP address ของเครื่องที่ชื่อ NS
IP address ของ Host ชื่อ www
IP address ของ Host ชื่อ mail
กาหนดชื่อสมมติของ Host
นายชวาล แข็งแรง
แล้วพิมพ์ข้อมูลดังนี้
$TTL 8h
@ IN SOA it2.com. root.it2.com. (
2012032601 ; Serial
28800 ; Refresh
14400 ; Retry
3600000 ; Expire
86400 ) ; Minimum
IN NS ns.it2.com.
1 IN PTR ns.it2.com.
2 IN PTR mail.it2.com.
เสร็จแล้ว บันทึกและออกจากโปรแกรม
4.4 ทดสอบ config file bind ด้วยคาสั่ง
# named-checkconf /etc/named.conf
ถ้า config ถูกต้อง จะไม่มีข้อความแสดงออกมาข้างล่าง เป็นอันว่าเสร็จ
4.5 ตรวจสอบโซนไฟล์ it2.com ด้วยคาสั่ง
# named-checkzone it2.com /var/named /it2.com
ถ้ามีข้อความข้างล่างขึ้นว่า OK ถือว่าถูกต้อง
4.6 ตรวจสอบโซนไฟล์ 1.168.192.in……. ด้วยคาสั่ง
# named-checkzone 1.168.192.in-addr.arpa /var/named / db.192.168.1
ถ้ามีข้อความข้างล่างขึ้นว่า OK ถือว่าถูกต้อง
4.7 สั่ง Start service named และ เปิดการใช้งานทุกครั้งที่ Boot ด้วยคาสั่ง
# service named start
# chkconfig named on
ชื่อเครื่อง Server เมื่อถามแบบ Reverse DNS
นายชวาล แข็งแรง
5. ติดตั้ง Web Server
5.1 เปิดการใช้งาน Service httpd ด้วยคาสั่ง
# service httpd start
กด Enter ถ้าขึ้น OK เป็นว่าใช้งานได้
5.2 ทดสอบการทางานของ Apache ดังนี้
- เชื่อมต่อสาย LAN ที่เครื่อง Server กับ Client
- เปิดโปรแกรม Web Browser แล้วใส่หมายเลข IP Address ของ Server หรือ พิมพ์
Domain ของ Server ที่ได้สร้างไว้ในหัวข้อที่ 4. ในที่นี้คือ www.it2.com ที่ช่อง URL
และกด ENTER
- จะปรากฏหน้าเว็บดังภาพข้างล่างนี้ เป็นว่าใช้งาน Apache Web Server ได้
5.3 ปรับแต่งคุณสมบัติของ Web Server ที่ File /etc/httpd/conf/httpd.conf ตามนี้
# vi /etc/httpd/conf/httpd.conf
5.3.1 กาหนดช่วงเวลาที่ sever รอการติดต่อจาก client ปรับค่าจากเดิม 60 ให้เป็น 120 (ประ
มานบรรทัดที่ 68)
นายชวาล แข็งแรง
5.3.2 กาหนดให้ server รับคาร้องกับ client มากกว่า หนึ่งชุด ภายในคอนเน็กชั่นเดียวกัน จาก
ค่าเดิม off เปลี่ยนเป็น on (ประมานบรรทัดที่ 74)
5.3.3 ไดเรกทีฟที่กาหนดอีเมลล์ของผู้ดูแล server (ประมานบรรทัดที่ 251)
5.3.4 ใช้กาหนด Domain name ของ Web server ในที่นี้คือ www.it2.com:80 (ประมาณบรรทัด
ที่ 265)
นายชวาล แข็งแรง
5.3.5 กาหนดไดเรกทีฟแสดงข้อมูลเกี่ยวกับ web server ตอนที่เบราเซอร์ไม่สามารถแสดง
หน้าเว็บเพจได้ เพื่อความปลอดภัย ให้กาหนดเป็น off (ประมาณบรรทัดที่ 524)
5.3.6 แก้ไขไดเรกทีฟประมาณบรรทัดที่ 281 หัวข้อ DirectoryIndex โดย เพิ่มคาว่า
Index.htm และ Index.php ลงไป ตามภาพ
5.3.7 แก้ไขไดเรกทีฟประมาณบรรทัดที่ 673 DefaultLanguage nl โดย ใส่เครื่องหมาย #
ข้างหน้า และเพิ่มไดเรกทีฟเข้าไปบรรทัดใหม่ คือ DefaultLanguage th ดังภาพ
นายชวาล แข็งแรง
5.3.8 เพิ่มไดเรกทีฟภาษาไทย ประมาณบรรทัดที่ 697 ตามภาพข้างล่าง
5.3.9 เพิ่มไดเรกทีฟภาษาไทย ประมาณบรรทัดที่ 731 ตามภาพข้างล่าง
5.3.10 แก้ไดเรกทีฟ AddDefalutCharset ประมาณบรรทัดที่ 747 โดยใส่เครื่องหมาย #
นาหน้า AddDefalutCharset UTF-8 และเพิ่ม AddDefalutCharset TIS-620 กับ AddCharset TIS-620 .tis-
620.th ตามภาพข้างล่าง
5.311 กดปุ่ม ESC และพิมพ์คาสั่ง :wq เพื่อบันทึกและออกจากโปรแกรม vi
5.312 ตรวจสอบความถูกต้องของไฟล์ /etc/httpd/conf/httpd.conf ด้วยคาสั่ง
# apachectl configtest
Syntax OK
ถ้าขึ้น OK เป็นว่าใช้งานได้
นายชวาล แข็งแรง
6. ทดสอบการทางานจากเครื่อง Client ผ่าน Port FTP ด้วยโปรแกรม SSH Secure File Transfer
Client ดังนี้
6.1 ติดตั้งโปรแกรม SSH Secure File Transfer Client
6.2 ทดสอบการเชื่อมต่อโดยเปิดโปรแกรม SSH Secure File Transfer Client และ Connect โดยใส่
หมายเลข IP Address : User : Password ของ Server ให้ถูกต้อง
6.3 ถ้าเข้าไปใช้งานได้จะมีลักษณะดังภาพข้างล่างนี้
6.4 ทดสอบสร้างเว็บไซต์แรก ด้วยโปรแกรมตามความถนัดของนักศึกษา ในที่นี้จะใช้ Notepad
สร้างดังนี้
<html>
<head>
<title>Test Apache</title>
</head>
<body> Test Apache </body>
</html>
Save File ที่สร้างขึ้นและตั้งชื่อว่า index.html
6.5 จากนั้นอัพโหลดไฟล์ index.html ด้วยโปรแกรม SSH Secure File Transfer Client ไปไว้ที่
เครื่อง server >> /var/www/html ตามภาพข้างล่าง
นายชวาล แข็งแรง
6.6 เปิดโปรแกรมเว็บเบราเซอร์ที่เครื่อง Client และพิมพ์domain name หรือ IP Address ของ
เครื่อง server ลงไปที่ช่อง URL กด ENTER จะได้ดังภาพ เป็นว่าติดตั้ง DNS สาเร็จ
7. ติดตั้ง Mysql และ phpMyAdmin
7.1 ใช้คาสั่ง rpm -q mysql เพื่อทดสอบดูว่าได้ติดตั้ง Packet mysql แล้วหรือยัง
ถ้าได้ดังภาพข้างล่างแสดงว่าติดตั้งแล้ว
7.2 ปิดการทางานของ mysql ด้วยคาสั่ง service mysqld stop ดังภาพข้างล่าง
นายชวาล แข็งแรง
7.3 Start MySQL in safe mode ด้วยคาสั่ง
# mysqld_safe --skip-grant-tables &
7.4 แก้ไข MySQL root ด้วยคาสั่ง
mysql -u root
7.5 แก้ไข password mysql โดยพิมพ์ตามข้างล่างนี้
mysql> update mysql.user set password=PASSWORD("YourNewPassW0RD") where
User='root'; กด ENTER
พิมพ์ flush privileges; exit;
mysql> flush privileges; exit;
7.6 สั่ง Log out of MySQL and stop the Safe Mode: ด้วยคาสั่ง service mysqld stop
# service mysqld stop
7.7 สั่ง Start MySQL in the normal mode: ด้วยคาสั่ง service mysqld start
# service mysqld start
สั่ง MySQL on ด้วยคาสั่ง chkconfig mysqld on
# chkconfig mysqld on
*** เสร็จสิ้นการตั้งรหัสผ่าน Mysql root ***
8. ติดตั้ง phpMyAdmin
8.1 ดาวน์โหลด phpMyAdmin จาก http://www.phpmyadmin.net
8.2 แยกไฟล์ ออกมาจากการบีบอัด และเปลี่ยนชื่อ directory ของ phpMyAdmin เป็น phpmyadmin
(ให้เป็นตัวเล็กทั้งหมดเพื่อความสะดวกเมื่อเรียกใช้งาน)
ใส่ Password ที่เราต้องการ
นายชวาล แข็งแรง
8.3 จะได้ดังภาพ
8.4 เปิดโปรแกรม SSH Secure File Transfer Client และ Connect ไปที่ Server จะได้ดังภาพ
8.5 ที่ช่องด้านขวามือ คือไฟล์ทั้งหมดของ Server แล้วให้คลิก ปุ่ม Up เพื่อกลับไป directory ราก
ของ Server
นายชวาล แข็งแรง
จะได้ดังนี้
8.6 แล้วให้ไปที่ directory :: /var/www/html
8.7 อัพโหลด directory phpmyadmin เครื่อง Client ที่อยู่ฝั่งซ้ายมือ ไปที่เครื่อง Server ฝั่งขวามือ
และรอ Upload จนเสร็จจะได้ดังภาพ
8.8 เปิดโปรแกรม Web Browser ที่ช่อง URL ให้ใส่หมายเลข IP Address หรือชื่อ Domaim ของ
Server และตามด้วย /phpmyadmin จะได้หน้า Login phpmyadmin ดังตัวอย่างจากภาพข้างล่าง
นายชวาล แข็งแรง
8.9 ใส่ Username Password ที่เรากาหนดไว้ตอนแก้ไข Mysql root และกด ปุ่ม GO หรือ ENTER
8.10 จะเข้าสู่หน้าบริหารจัดการ ฐานข้อมูล phpmyadmin
นายชวาล แข็งแรง
8.10 ทดสอบสร้างฐานข้อมูล โดยเลือกเมนู Databases ที่ช่อง Create database ให้ใส่ชื่อ database (
(เป็นภาษาอังกฤษเท่านั้น) ที่ช่องซ้ายมือให้เลือก ชนิด ของฐานข้อมูล เมื่อเสร็จแล้วกดปุ่ม
Create
จะได้ฐานข้อมูลขึ้นมาใหม่ ดังภาพ
ถือว่าเสร็จสิ้นสาหรับการติดตั้ง phpmyadmin ให้พร้อมใช้งาน
9. การอัพโหลดไฟล์ Joomla to Server
9.1 Export Database Joomla ที่ได้สร้างไว้ใน Appserv ดังนี้
9.1.1 เปิดเว็บเบราเซอร์ เข้าไปที่ http://localhost/phpMyAdmin/ เลือก ฐานข้อมูลทางเมนู
ด้านซ้ายมือที่เราจะส่งออกดังภาพข้างล่าง
นายชวาล แข็งแรง
เลือกเมนู ส่งออก (Export)
9.1.2 จะเข้ามาหน้า ดูโครงสร้างของฐานข้อมูล…… แล้วคลิกที่เมนู เลือกทั้งหมด และ
คลิกใส่เครื่องหมายถูกที่ช่องส่งมาเป็นไฟล์ และคลิกที่ปุ่ม ลงมือ
นายชวาล แข็งแรง
9.1.3 ให้เราบันทึกไฟล์ลงพื้นที่ที่เราต้องการ และกด Save
เป็นว่าเสร็จสิ้นแล้วครับ สาหรับการส่งออก (Export) ฐานข้อมูล Joomla ที่เราต้องการ
9.2 เปิดโปรแกรม SSH Secure File Transfer Client ที่เครื่อง Client (ฝั่งซ้าย) ไปที่ Drive
C:AppServwww ทางฝั่ง Server ไปที่ /var/www/html และคลิกเลือก Folder ที่เราสร้าง
เว็บไซต์ค้างไว้แล้วลากมาที่ฝั่ง Server จากนั้นรอจนกระบวนการ Upload เสร็จสิ้น
นายชวาล แข็งแรง
9.3 การนาข้อมูลที่ส่งออกจากฐานข้อมูลในโปรแกรม Appserv นาเข้า (Import) ไปที่
Mysql ฝั่ง Server โดยมีวิธีการดังนี้
9.3.1 เปิดเว็บเบราเซอร์ แล้วพิมพ์ IP Address หรือ Domain name ของ Server
/phpmyadmin และ Login ให้เรียบร้อย จะเข้าสู่หน้าจอบริหารจัดการฐานข้อมูล จากนั้น
ให้เลือก เมนู Databases และสร้างฐานข้อมูลขึ้นมา โดยตั้งชื่อให้เหมือนกับฐานข้อมูลที่
สร้างไว้ใน Appserv และเลือกชนิดแบบ utf8_unicode_ci เมื่อสร้างเสร็จแล้วให้กดปุ่ม
Create
9.3.2 คลิกเลือก ฐานข้อมูลของเราที่สร้างขึ้นจะอยู่ที่ฝั่งซ้ายมือ ในที่นี้ผมสร้างชื่อ
ว่า chawankang
นายชวาล แข็งแรง
9.3.3 เลือก เมนู Import
9.3.4 คลิกที่ปุ่มเลือกไฟล์
9.3.5 ให้เราเลือกไฟล์ที่เราได้ส่งออกจาก Appserv phpmyadmin ในหัวข้อที่ 9.1
ในที่นี้คือ localhost.sql เมื่อเลือกแล้วกด Open
นายชวาล แข็งแรง
9.3.6 คลิกที่ปุ่ม GO
9.3.7 ปรากฏหน้าจอดังภาพ เป็นอันว่าเสร็จสิ้นกระบวนการ Import Database
9.4 การแก้ไขไฟล์ configuration.php ใน Directory joomla ทาตามขั้นตอนดังนี้
9.4.1 เปิดโปรแกรม SSH และ Connect เข้าไปที่ เครื่อง Server โดยเข้าไปที่
/var/www/html แล้วเข้าไปใน Folder ที่เราได้ Upload Joomla ขึ้นไป ในหัวข้อ 9.2 และไปคัดลอกไฟล์
configuration.php ออกมาไว้ฝั่ง Client (ซ้ายมือ)
นายชวาล แข็งแรง
9.4.2 เปิดไฟล์ configuration.php
แก้ไขตามนี้
<?php
class JConfig {
public $offline = '0';
public $offline_message = '???????????????????????<br /> ???????????????????';
public $display_offline_message = '1';
public $offline_image = '';
public $sitename = 'it2';
public $editor = 'tinymce';
public $captcha = '0';
public $list_limit = '20';
public $access = '1';
public $debug = '0';
public $debug_lang = '0';
public $dbtype = 'mysqli';
public $host = 'localhost';
public $user = 'root';
public $password = '123456';
public $db = 'chawan';
ใส่ Password ที่เรากาหนดใน Mysql Server
ใส่ชื่อฐานข้อมูลที่สร้างขึ้นบน Mysql Server ให้ถูกต้อง
ใส่ชื่อเจ้าของฐานข้อมูล ที่เรากาหนดใน Mysql
Server
นายชวาล แข็งแรง
public $dbprefix = 'cm3g8_';
public $live_site = '';
public $secret = 'YCEfadKoG68ijEfr';
public $gzip = '0';
public $error_reporting = 'default';
public $helpurl =
'http://help.joomla.org/proxy/index.php?option=com_help&keyref=Help{major}{minor}:{keyref}';
public $ftp_host = '127.0.0.1';
public $ftp_port = '21';
public $ftp_user = '';
public $ftp_pass = '';
public $ftp_root = '';
public $ftp_enable = '0';
public $offset = 'UTC';
public $mailer = 'mail';
public $mailfrom = 'chawah@hotmail.com';
public $fromname = 'it2';
public $sendmail = '/usr/sbin/sendmail';
public $smtpauth = '0';
public $smtpuser = '';
นายชวาล แข็งแรง
public $smtppass = '';
public $smtphost = 'localhost';
public $smtpsecure = 'none';
public $smtpport = '25';
public $caching = '0';
public $cache_handler = 'file';
public $cachetime = '15';
public $MetaDesc = '';
public $MetaKeys = '';
public $MetaTitle = '1';
public $MetaAuthor = '1';
public $MetaVersion = '0';
public $robots = '';
public $sef = '1';
public $sef_rewrite = '0';
public $sef_suffix = '0';
public $unicodeslugs = '0';
public $feed_limit = '10';
public $log_path = '/var/www/html/uu/logs';
นายชวาล แข็งแรง
public $tmp_path = '/var/www/html/uu/tmp';
public $lifetime = '15';
public $session_handler = 'database';
}
เมื่อแก้ไขเสร็จแล้วให้บันทึกและปิด
9.4.3 จากนั้นเปิดโปรแกรม SSH และ Connect เข้าไปที่ เครื่อง Server โดยเข้าไปที่
/var/www/html ที่ฝั่ง Client ให้นาไฟล์ configuration.php ที่แก้ไขไว้ข้างต้น Upload ขึ้นไป ฝั่ง Server
ใน /var/www/html/Directory joomla ทับไฟล์เก่าลงไป
9.4.4 สร้างไฟล์ redirect เพื่อย้ายที่อยู่ของ Webpage ไปที่ Directory ที่เราต้องการโดย สร้างไฟล์
ด้วยโปรแกรมสร้างไฟล์ ตามความถนัด ในที่นี้ผมจะสร้างด้วยโปรแกรม Notepad และใส่ Code ดังนี้
<html>
<head>
<META HTTP-EQUIV="Refresh" CONTENT="0;URL=http://www.it2.com/oop">
</head>
</html>
Save File ชื่อ Index.html
คือที่อยู่ของเว็บไซต์ที่เรากาหนดจะให้ redirect ไป
ที่ Domain Name ไหน และ Directory อะไร ใน Server
นายชวาล แข็งแรง
9.4.5 นาไฟล์ Index.html ที่สร้างไว้ข้างต้น Upload ขึ้นไป ฝั่ง Server ใน /var/www/html/
9.4.5 ทดสอบจากเครื่อง Client ให้เปิดโปรแกรม Web Browser และพิมพ์Domain name หรือ IP
Address Server ที่ช่อง URL ในที่นี้คือ www.it2.com กด ENTER จะได้ดังภาพข้างล่าง
*** เสร็จสิ้นขั้นตอนการทา Web Server with CentOS 6.4 เบื้องต้นแล้วครับ ***
หมายเหตุ :: ถ้าพิมพ์ตัวอักษรตกหล่นและใช้คาผิดไวยากรณ์ก็ขออภัย ณ ที่นี้ด้วยนะครับ
เพราะไม่ค่อยมีเวลาตรวจคา แต่การ Config Packet เพื่อทา Web Server with CentOS 6.4 นั้น ถูกต้องทุก
ประการครับ เพราะผมคัดลอกจากการทางานจริงและสามารถใช้งานได้จริง
ในการทดสอบนี้ ผมใช้ Card Network ใบเดียว เป็นแบบ LAN หรือ Local ภายใน
องค์กรเฉยๆ นะครับ ไม่ได้เป็นแบบ WAN หรือ Internet ถ้าจะทาแบบ WAN ต้องเพิ่ม Card Network อีกใบ
และศึกษาการ config เพิ่มเติมอีกเล็กน้อยครับ และ Packet ทุกตัวที่ใช้ทา Server ในครั้งนี้ ผมติดตั้งจากตอน
Install CentOS 6.4 (หรือจากแผ่น DVD CentOS 6.4 อย่างเดียวนั่นเอง)

More Related Content

What's hot

การใช้เครื่องมือต่างๆ1
การใช้เครื่องมือต่างๆ1การใช้เครื่องมือต่างๆ1
การใช้เครื่องมือต่างๆ1guestdfabcfa
 
Basic Linux
Basic LinuxBasic Linux
Basic Linuxminafaw2
 
Set up rubytech fgs 2924 r กับ tacacs
Set up rubytech fgs 2924 r กับ tacacsSet up rubytech fgs 2924 r กับ tacacs
Set up rubytech fgs 2924 r กับ tacacsAlkornn Tanomjitvimol
 

What's hot (6)

การใช้เครื่องมือต่างๆ1
การใช้เครื่องมือต่างๆ1การใช้เครื่องมือต่างๆ1
การใช้เครื่องมือต่างๆ1
 
NETWORK SERVICEOPENSSH + NTP + SQUID
NETWORK SERVICEOPENSSH + NTP + SQUIDNETWORK SERVICEOPENSSH + NTP + SQUID
NETWORK SERVICEOPENSSH + NTP + SQUID
 
Basic Linux
Basic LinuxBasic Linux
Basic Linux
 
Unix
UnixUnix
Unix
 
Hsbc cs1 k_7_0_2
Hsbc cs1 k_7_0_2Hsbc cs1 k_7_0_2
Hsbc cs1 k_7_0_2
 
Set up rubytech fgs 2924 r กับ tacacs
Set up rubytech fgs 2924 r กับ tacacsSet up rubytech fgs 2924 r กับ tacacs
Set up rubytech fgs 2924 r กับ tacacs
 

Similar to Cent os

การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05Jenchoke Tachagomain
 
Server2Go เว็บพกพาตัวจริง
Server2Go เว็บพกพาตัวจริงServer2Go เว็บพกพาตัวจริง
Server2Go เว็บพกพาตัวจริงBoonlert Aroonpiboon
 
คู่มือการติดตั้ง Cent os
คู่มือการติดตั้ง  Cent osคู่มือการติดตั้ง  Cent os
คู่มือการติดตั้ง Cent osPacharin Ngowpradit
 
Portable Moodle : Moodle & Server2Go
Portable Moodle  : Moodle & Server2GoPortable Moodle  : Moodle & Server2Go
Portable Moodle : Moodle & Server2GoBoonlert Aroonpiboon
 
คู่มือ Joomla
คู่มือ Joomlaคู่มือ Joomla
คู่มือ JoomlaJatupon Panjoi
 
20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 gotaweesit doh
 
20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 govongboonrod
 
20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 govongboonrod
 
wordpress-server2
wordpress-server2 wordpress-server2
wordpress-server2 Nan Anan
 
20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 goarchitechture
 

Similar to Cent os (20)

Hotspotubuntu8
Hotspotubuntu8Hotspotubuntu8
Hotspotubuntu8
 
Ch07 bind9-part2
Ch07 bind9-part2Ch07 bind9-part2
Ch07 bind9-part2
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
 
Server2Go เว็บพกพาตัวจริง
Server2Go เว็บพกพาตัวจริงServer2Go เว็บพกพาตัวจริง
Server2Go เว็บพกพาตัวจริง
 
คู่มือการติดตั้ง Cent os
คู่มือการติดตั้ง  Cent osคู่มือการติดตั้ง  Cent os
คู่มือการติดตั้ง Cent os
 
Portable Moodle : Moodle & Server2Go
Portable Moodle  : Moodle & Server2GoPortable Moodle  : Moodle & Server2Go
Portable Moodle : Moodle & Server2Go
 
Ch06 bind9
Ch06 bind9Ch06 bind9
Ch06 bind9
 
Ch12 web-app-part2
Ch12 web-app-part2Ch12 web-app-part2
Ch12 web-app-part2
 
Coovaubuntu904
Coovaubuntu904Coovaubuntu904
Coovaubuntu904
 
คู่มือ Joomla
คู่มือ Joomlaคู่มือ Joomla
คู่มือ Joomla
 
Joomla
JoomlaJoomla
Joomla
 
20121102 joomla2-5
20121102 joomla2-520121102 joomla2-5
20121102 joomla2-5
 
Ch05 name-services
Ch05 name-servicesCh05 name-services
Ch05 name-services
 
20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go
 
20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go
 
20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go
 
20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go
 
20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go
 
wordpress-server2
wordpress-server2 wordpress-server2
wordpress-server2
 
20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go
 

Cent os

  • 1. นายชวาล แข็งแรง การติดตั้งและตั้งค่า DHCP , DNS , Http , Mysql , phpMyAdmin & Joomla เพื่อทา Web Server บนระบบปฏิบัติการ ContOS 6.4 เมื่อติดตั้ง CentOS 6.4 เสร็จแล้ว สิ่งที่ควรทาหลังติดตั้ง CentOS 6.4 ให้ปิดการทางานของ SELinux ตามขั้นตอนดังนี้ (การติดตั้ง CentOS 6.4 ตามนี้ >> http://linux.sothorn.org/download/CentOS6.pdf ) 1. ปิดการทางานของ SELinux โดยการแก้ไขไฟล์ /etc/selinux/config ด้วยโปรแกรม vi # vi /etc/selinux/config # This file controls the state of SELinux on the system. # SELINUX= can take one of these three values: # enforcing - SELinux security policy is enforced. # permissive - SELinux prints warnings instead of enforcing. # disabled - No SELinux policy is loaded. SELINUX=disabled (ตัวที่ต้องแก้ไข) # SELINUXTYPE= can take one of these two values: # targeted - Targeted processes are protected, # mls - Multi Level Security protection. SELINUXTYPE=targeted กดปุ่ม ESC และพิมพ์คาสั่ง :wq เพื่อบันทึกและออกจากโปรแกรม หลังจากแก้ไขไฟล์เรียบร้อยแล้วให้รีสตาร์ทเครื่อง ด้วยคาสั่ง # reboot 2. ปิด Firewall ปิดการทางานของ Firewall ด้วยคาสั่ง # setup เลือก Firewall Configuration กด spacebar เอา เครื่องหมายดอกจันออก
  • 2. นายชวาล แข็งแรง หรือ พิมพ์คาสั่ง # service iptables stop # chkonfig iptables off เรื่องของการรักษาความปลอดภัยในการเริ่มคอนฟิกให้ปิดไปก่อนเพราะจะสร้างปัญหาให้กับลีนุกส์ มือใหม่ เป็นอย่างมาก คอนฟิกเสร็จแล้วค่อยมาจัดการเรื่องการรักษาความปลอดภัยทีหลังก็ได้ 3. การติดตั้ง DHCP Server 3.1 เข้าไปแก้ไข ไฟล์ /etc/dhcp/dhcpd.conf ด้วยโปรแกรม vi ตามข้างล่างนี้ # vi /etc/dhcp/dhcpd.conf กด ENTER แล้ว config ตามข้างล่างนี้ ddns-update-style interim; ignore client-updates; subnet 192.168.1.0 netmask 255.255.255.0 { range 192.168.1.10 192.168.1.254; option domain-name-servers 192.168.1.2; option domain-name "itutc2.com"; option routers 192.168.1.1; option broadcast-address 192.168.1.255; default-lease-time 62100; max-lease-time 43200; } คาอธิบาย คร่าวๆ (เน้นนะครับ คร่าวๆ) (subnet คือ ค่า IP Address แรกของ Network) (netmask คือ ซับเน็ตมาสก์ที่เรากาหนดไว้ใน Network เช่น Class C = 255.255.255.0)
  • 3. นายชวาล แข็งแรง (range คือ การกาหนดช่วง IP Address ที่ Server จะแจกให้ Client) (option domain-name-servers คือ กาหนด IP Address ที่ใช้สาหรับทา DNS) (option domain-name คือ กาหนดชื่อ domain-name เช่น "it2.com”) (option routers คือ กาหนด IP Address ที่เป็น Gateway ) (option broadcast-address คือ กาหนด IP Address ที่เป็น broadcast ) (default-lease-time คือ ระยะเวลาปกติที่ Client ถือครอง IP Address ) (max-lease-time คือ ระยะเวลามากที่สุดที่ Client ถือครอง IP Address ) เมื่อเสร็จแล้ว กดปุ่ม ESC พิมพ์ :wq กดปุ่ม [Enter] เพื่อบันทึกและออกจากโปรแกรม vi 3.2 กาหนด Interface ที่ใช้แจก DHCP โดยเข้าไปแก้ไขที่ไฟล์ตามนี้ # vi /etc/sysconfig/dhcpd # Command line options here DHCPDARGS=eth0 คาอธิบาย eth0 คือ Card network ที่เราจะใช้ทา DHCP แจก IP Address เมื่อเสร็จแล้ว กดปุ่ม ESC พิมพ์ :wq กดปุ่ม [Enter] เพื่อบันทึกและออกจาก โปรแกรม vi เชื่อมต่อสาย LAN ระหว่าง Client กับ Server 3.3 เปิดการทางานของ DHCP ด้วยคาสั่ง # chkconfig dhcpd on 3.4 เริ่มการทางานของ DHCP ด้วยคาสั่ง # service dhcpd start ถ้าขึ้นว่า [OK] เป็นอันว่าเสร็จสิ้นการติดตั้ง DHCP เพื่อแจก IP Address
  • 4. นายชวาล แข็งแรง 4. การติดตั้ง DNS Server 4.1 ไปแก้ไขไฟล์ named.conf ด้วยคาสั่ง # vi /etc/named.conf และแก้ไขตามนี้ # vi /etc/named.conf // named.conf // Provided by Red Hat bind package to configure the ISC BIND named(8) DNS // server as a caching only nameserver (as a localhost DNS resolver only). // See /usr/share/doc/bind*/sample/ for example named configuration files. options { // listen-on port 53 { 127.0.0.1; }; // listen-on-v6 port 53 { ::1; }; directory "/var/named"; dump-file "/var/named/data/cache_dump.db"; statistics-file "/var/named/data/named_stats.txt"; memstatistics-file "/var/named/data/named_mem_stats.txt"; // allow-query { localhost; }; recursion yes; // dnssec-enable yes; // dnssec-validation yes; // dnssec-lookaside auto; /* Path to ISC DLV key */ // bindkeys-file "/etc/named.iscdlv.key"; managed-keys-directory "/var/named/dynamic"; }; logging { channel default_debug {
  • 5. นายชวาล แข็งแรง file "data/named.run"; severity dynamic; }; }; zone "." IN { type hint; file “named.ca”; }; Include “/etc/named.rfc1912.zones”; zone “it2.com” IN { type master; file “db.it2.com”; allow-update {none;}; allow-transfer {none;}; }; zone “1.168.192.in-addr.arpa” IN { type master; file “db.192.168.1”; allow-update {none;}; allow-transfer {none;}; }; เมื่อเสร็จแล้ว กดปุ่ม ESC และพิมพ์:wq เพื่อออกจากโปรแกรม vi กาหนด forword DNS domain “……….” กาหนด ชนิดของ Server กาหนด Zone file “……………” เพิ่มความปลอดภัยให้ DNS เพิ่มความปลอดภัยให้ DNS กาหนด reverse DNS domain “……….” กาหนด Zone fine “……….”
  • 6. นายชวาล แข็งแรง 4.2 สร้าง zone file ของ Domain “…………” เข้าไปที่ Directory /var/named แล้วสร้าง File ใหม่ ขึ้นมาด้วยคาสั่งตามข้างล่างนี้ # cd /var/named # touch db.it2.com # chown root:named db.it2.com # chmod 640 db.it2.com # vi db.it2.com แล้วพิมพ์ข้อมูลดังนี้ $TTL 8h @ IN SOA it2.com. root.it2.com. ( 2012032501 ; Serial 28800 ; Refresh 14400 ; Retry 3600000 ; Expire 28800 ) ; Minimum IN NS ns IN MX 10 mail ns IN A 192.168.1.2 www IN A 192.168.1.2 mail IN A 192.168.1.3 server IN CNAME www เสร็จแล้ว บันทึกและออกจากโปรแกรม 4.3 เข้าไปที่ Directory /var/named แล้วสร้าง File ใหม่ขึ้นมาด้วยคาสั่งตามนี้ # cd /var/named # touch db.192.168.1 # chown root:named db.192.168.1 # chmod 640 db.192.168.1 # vi db.192.168.1 ตั้ง Chown เป็น root ที่ไฟล์ ……….. เข้าไปที่ Directory var/named สร้างไฟล์เปล่าตั้งชื่อ ………………… กาหนดสิทธิ์ เป็น 640 ที่ไฟล์…………… แก้ไฟล์ …………..ด้วยโปรแกรม vi TTL ของ Domain นี้กาหนดเอาไว้ 8 ชั่วโมง SOA เรคคอร์ดของโดเมนนี้ Serial ของโดเมนนี้ต้องมีค่าเพิ่มขึ้นเสมอ ชื่อเครื่องที่รับผิดชอบโดเมน หรือ NS เรคคอร์ด ชื่อเครื่องที่รับผิดชอบอีเมลของโดเมนนี้ IP address ของเครื่องที่ชื่อ NS IP address ของ Host ชื่อ www IP address ของ Host ชื่อ mail กาหนดชื่อสมมติของ Host
  • 7. นายชวาล แข็งแรง แล้วพิมพ์ข้อมูลดังนี้ $TTL 8h @ IN SOA it2.com. root.it2.com. ( 2012032601 ; Serial 28800 ; Refresh 14400 ; Retry 3600000 ; Expire 86400 ) ; Minimum IN NS ns.it2.com. 1 IN PTR ns.it2.com. 2 IN PTR mail.it2.com. เสร็จแล้ว บันทึกและออกจากโปรแกรม 4.4 ทดสอบ config file bind ด้วยคาสั่ง # named-checkconf /etc/named.conf ถ้า config ถูกต้อง จะไม่มีข้อความแสดงออกมาข้างล่าง เป็นอันว่าเสร็จ 4.5 ตรวจสอบโซนไฟล์ it2.com ด้วยคาสั่ง # named-checkzone it2.com /var/named /it2.com ถ้ามีข้อความข้างล่างขึ้นว่า OK ถือว่าถูกต้อง 4.6 ตรวจสอบโซนไฟล์ 1.168.192.in……. ด้วยคาสั่ง # named-checkzone 1.168.192.in-addr.arpa /var/named / db.192.168.1 ถ้ามีข้อความข้างล่างขึ้นว่า OK ถือว่าถูกต้อง 4.7 สั่ง Start service named และ เปิดการใช้งานทุกครั้งที่ Boot ด้วยคาสั่ง # service named start # chkconfig named on ชื่อเครื่อง Server เมื่อถามแบบ Reverse DNS
  • 8. นายชวาล แข็งแรง 5. ติดตั้ง Web Server 5.1 เปิดการใช้งาน Service httpd ด้วยคาสั่ง # service httpd start กด Enter ถ้าขึ้น OK เป็นว่าใช้งานได้ 5.2 ทดสอบการทางานของ Apache ดังนี้ - เชื่อมต่อสาย LAN ที่เครื่อง Server กับ Client - เปิดโปรแกรม Web Browser แล้วใส่หมายเลข IP Address ของ Server หรือ พิมพ์ Domain ของ Server ที่ได้สร้างไว้ในหัวข้อที่ 4. ในที่นี้คือ www.it2.com ที่ช่อง URL และกด ENTER - จะปรากฏหน้าเว็บดังภาพข้างล่างนี้ เป็นว่าใช้งาน Apache Web Server ได้ 5.3 ปรับแต่งคุณสมบัติของ Web Server ที่ File /etc/httpd/conf/httpd.conf ตามนี้ # vi /etc/httpd/conf/httpd.conf 5.3.1 กาหนดช่วงเวลาที่ sever รอการติดต่อจาก client ปรับค่าจากเดิม 60 ให้เป็น 120 (ประ มานบรรทัดที่ 68)
  • 9. นายชวาล แข็งแรง 5.3.2 กาหนดให้ server รับคาร้องกับ client มากกว่า หนึ่งชุด ภายในคอนเน็กชั่นเดียวกัน จาก ค่าเดิม off เปลี่ยนเป็น on (ประมานบรรทัดที่ 74) 5.3.3 ไดเรกทีฟที่กาหนดอีเมลล์ของผู้ดูแล server (ประมานบรรทัดที่ 251) 5.3.4 ใช้กาหนด Domain name ของ Web server ในที่นี้คือ www.it2.com:80 (ประมาณบรรทัด ที่ 265)
  • 10. นายชวาล แข็งแรง 5.3.5 กาหนดไดเรกทีฟแสดงข้อมูลเกี่ยวกับ web server ตอนที่เบราเซอร์ไม่สามารถแสดง หน้าเว็บเพจได้ เพื่อความปลอดภัย ให้กาหนดเป็น off (ประมาณบรรทัดที่ 524) 5.3.6 แก้ไขไดเรกทีฟประมาณบรรทัดที่ 281 หัวข้อ DirectoryIndex โดย เพิ่มคาว่า Index.htm และ Index.php ลงไป ตามภาพ 5.3.7 แก้ไขไดเรกทีฟประมาณบรรทัดที่ 673 DefaultLanguage nl โดย ใส่เครื่องหมาย # ข้างหน้า และเพิ่มไดเรกทีฟเข้าไปบรรทัดใหม่ คือ DefaultLanguage th ดังภาพ
  • 11. นายชวาล แข็งแรง 5.3.8 เพิ่มไดเรกทีฟภาษาไทย ประมาณบรรทัดที่ 697 ตามภาพข้างล่าง 5.3.9 เพิ่มไดเรกทีฟภาษาไทย ประมาณบรรทัดที่ 731 ตามภาพข้างล่าง 5.3.10 แก้ไดเรกทีฟ AddDefalutCharset ประมาณบรรทัดที่ 747 โดยใส่เครื่องหมาย # นาหน้า AddDefalutCharset UTF-8 และเพิ่ม AddDefalutCharset TIS-620 กับ AddCharset TIS-620 .tis- 620.th ตามภาพข้างล่าง 5.311 กดปุ่ม ESC และพิมพ์คาสั่ง :wq เพื่อบันทึกและออกจากโปรแกรม vi 5.312 ตรวจสอบความถูกต้องของไฟล์ /etc/httpd/conf/httpd.conf ด้วยคาสั่ง # apachectl configtest Syntax OK ถ้าขึ้น OK เป็นว่าใช้งานได้
  • 12. นายชวาล แข็งแรง 6. ทดสอบการทางานจากเครื่อง Client ผ่าน Port FTP ด้วยโปรแกรม SSH Secure File Transfer Client ดังนี้ 6.1 ติดตั้งโปรแกรม SSH Secure File Transfer Client 6.2 ทดสอบการเชื่อมต่อโดยเปิดโปรแกรม SSH Secure File Transfer Client และ Connect โดยใส่ หมายเลข IP Address : User : Password ของ Server ให้ถูกต้อง 6.3 ถ้าเข้าไปใช้งานได้จะมีลักษณะดังภาพข้างล่างนี้ 6.4 ทดสอบสร้างเว็บไซต์แรก ด้วยโปรแกรมตามความถนัดของนักศึกษา ในที่นี้จะใช้ Notepad สร้างดังนี้ <html> <head> <title>Test Apache</title> </head> <body> Test Apache </body> </html> Save File ที่สร้างขึ้นและตั้งชื่อว่า index.html 6.5 จากนั้นอัพโหลดไฟล์ index.html ด้วยโปรแกรม SSH Secure File Transfer Client ไปไว้ที่ เครื่อง server >> /var/www/html ตามภาพข้างล่าง
  • 13. นายชวาล แข็งแรง 6.6 เปิดโปรแกรมเว็บเบราเซอร์ที่เครื่อง Client และพิมพ์domain name หรือ IP Address ของ เครื่อง server ลงไปที่ช่อง URL กด ENTER จะได้ดังภาพ เป็นว่าติดตั้ง DNS สาเร็จ 7. ติดตั้ง Mysql และ phpMyAdmin 7.1 ใช้คาสั่ง rpm -q mysql เพื่อทดสอบดูว่าได้ติดตั้ง Packet mysql แล้วหรือยัง ถ้าได้ดังภาพข้างล่างแสดงว่าติดตั้งแล้ว 7.2 ปิดการทางานของ mysql ด้วยคาสั่ง service mysqld stop ดังภาพข้างล่าง
  • 14. นายชวาล แข็งแรง 7.3 Start MySQL in safe mode ด้วยคาสั่ง # mysqld_safe --skip-grant-tables & 7.4 แก้ไข MySQL root ด้วยคาสั่ง mysql -u root 7.5 แก้ไข password mysql โดยพิมพ์ตามข้างล่างนี้ mysql> update mysql.user set password=PASSWORD("YourNewPassW0RD") where User='root'; กด ENTER พิมพ์ flush privileges; exit; mysql> flush privileges; exit; 7.6 สั่ง Log out of MySQL and stop the Safe Mode: ด้วยคาสั่ง service mysqld stop # service mysqld stop 7.7 สั่ง Start MySQL in the normal mode: ด้วยคาสั่ง service mysqld start # service mysqld start สั่ง MySQL on ด้วยคาสั่ง chkconfig mysqld on # chkconfig mysqld on *** เสร็จสิ้นการตั้งรหัสผ่าน Mysql root *** 8. ติดตั้ง phpMyAdmin 8.1 ดาวน์โหลด phpMyAdmin จาก http://www.phpmyadmin.net 8.2 แยกไฟล์ ออกมาจากการบีบอัด และเปลี่ยนชื่อ directory ของ phpMyAdmin เป็น phpmyadmin (ให้เป็นตัวเล็กทั้งหมดเพื่อความสะดวกเมื่อเรียกใช้งาน) ใส่ Password ที่เราต้องการ
  • 15. นายชวาล แข็งแรง 8.3 จะได้ดังภาพ 8.4 เปิดโปรแกรม SSH Secure File Transfer Client และ Connect ไปที่ Server จะได้ดังภาพ 8.5 ที่ช่องด้านขวามือ คือไฟล์ทั้งหมดของ Server แล้วให้คลิก ปุ่ม Up เพื่อกลับไป directory ราก ของ Server
  • 16. นายชวาล แข็งแรง จะได้ดังนี้ 8.6 แล้วให้ไปที่ directory :: /var/www/html 8.7 อัพโหลด directory phpmyadmin เครื่อง Client ที่อยู่ฝั่งซ้ายมือ ไปที่เครื่อง Server ฝั่งขวามือ และรอ Upload จนเสร็จจะได้ดังภาพ 8.8 เปิดโปรแกรม Web Browser ที่ช่อง URL ให้ใส่หมายเลข IP Address หรือชื่อ Domaim ของ Server และตามด้วย /phpmyadmin จะได้หน้า Login phpmyadmin ดังตัวอย่างจากภาพข้างล่าง
  • 17. นายชวาล แข็งแรง 8.9 ใส่ Username Password ที่เรากาหนดไว้ตอนแก้ไข Mysql root และกด ปุ่ม GO หรือ ENTER 8.10 จะเข้าสู่หน้าบริหารจัดการ ฐานข้อมูล phpmyadmin
  • 18. นายชวาล แข็งแรง 8.10 ทดสอบสร้างฐานข้อมูล โดยเลือกเมนู Databases ที่ช่อง Create database ให้ใส่ชื่อ database ( (เป็นภาษาอังกฤษเท่านั้น) ที่ช่องซ้ายมือให้เลือก ชนิด ของฐานข้อมูล เมื่อเสร็จแล้วกดปุ่ม Create จะได้ฐานข้อมูลขึ้นมาใหม่ ดังภาพ ถือว่าเสร็จสิ้นสาหรับการติดตั้ง phpmyadmin ให้พร้อมใช้งาน 9. การอัพโหลดไฟล์ Joomla to Server 9.1 Export Database Joomla ที่ได้สร้างไว้ใน Appserv ดังนี้ 9.1.1 เปิดเว็บเบราเซอร์ เข้าไปที่ http://localhost/phpMyAdmin/ เลือก ฐานข้อมูลทางเมนู ด้านซ้ายมือที่เราจะส่งออกดังภาพข้างล่าง
  • 19. นายชวาล แข็งแรง เลือกเมนู ส่งออก (Export) 9.1.2 จะเข้ามาหน้า ดูโครงสร้างของฐานข้อมูล…… แล้วคลิกที่เมนู เลือกทั้งหมด และ คลิกใส่เครื่องหมายถูกที่ช่องส่งมาเป็นไฟล์ และคลิกที่ปุ่ม ลงมือ
  • 20. นายชวาล แข็งแรง 9.1.3 ให้เราบันทึกไฟล์ลงพื้นที่ที่เราต้องการ และกด Save เป็นว่าเสร็จสิ้นแล้วครับ สาหรับการส่งออก (Export) ฐานข้อมูล Joomla ที่เราต้องการ 9.2 เปิดโปรแกรม SSH Secure File Transfer Client ที่เครื่อง Client (ฝั่งซ้าย) ไปที่ Drive C:AppServwww ทางฝั่ง Server ไปที่ /var/www/html และคลิกเลือก Folder ที่เราสร้าง เว็บไซต์ค้างไว้แล้วลากมาที่ฝั่ง Server จากนั้นรอจนกระบวนการ Upload เสร็จสิ้น
  • 21. นายชวาล แข็งแรง 9.3 การนาข้อมูลที่ส่งออกจากฐานข้อมูลในโปรแกรม Appserv นาเข้า (Import) ไปที่ Mysql ฝั่ง Server โดยมีวิธีการดังนี้ 9.3.1 เปิดเว็บเบราเซอร์ แล้วพิมพ์ IP Address หรือ Domain name ของ Server /phpmyadmin และ Login ให้เรียบร้อย จะเข้าสู่หน้าจอบริหารจัดการฐานข้อมูล จากนั้น ให้เลือก เมนู Databases และสร้างฐานข้อมูลขึ้นมา โดยตั้งชื่อให้เหมือนกับฐานข้อมูลที่ สร้างไว้ใน Appserv และเลือกชนิดแบบ utf8_unicode_ci เมื่อสร้างเสร็จแล้วให้กดปุ่ม Create 9.3.2 คลิกเลือก ฐานข้อมูลของเราที่สร้างขึ้นจะอยู่ที่ฝั่งซ้ายมือ ในที่นี้ผมสร้างชื่อ ว่า chawankang
  • 22. นายชวาล แข็งแรง 9.3.3 เลือก เมนู Import 9.3.4 คลิกที่ปุ่มเลือกไฟล์ 9.3.5 ให้เราเลือกไฟล์ที่เราได้ส่งออกจาก Appserv phpmyadmin ในหัวข้อที่ 9.1 ในที่นี้คือ localhost.sql เมื่อเลือกแล้วกด Open
  • 23. นายชวาล แข็งแรง 9.3.6 คลิกที่ปุ่ม GO 9.3.7 ปรากฏหน้าจอดังภาพ เป็นอันว่าเสร็จสิ้นกระบวนการ Import Database 9.4 การแก้ไขไฟล์ configuration.php ใน Directory joomla ทาตามขั้นตอนดังนี้ 9.4.1 เปิดโปรแกรม SSH และ Connect เข้าไปที่ เครื่อง Server โดยเข้าไปที่ /var/www/html แล้วเข้าไปใน Folder ที่เราได้ Upload Joomla ขึ้นไป ในหัวข้อ 9.2 และไปคัดลอกไฟล์ configuration.php ออกมาไว้ฝั่ง Client (ซ้ายมือ)
  • 24. นายชวาล แข็งแรง 9.4.2 เปิดไฟล์ configuration.php แก้ไขตามนี้ <?php class JConfig { public $offline = '0'; public $offline_message = '???????????????????????<br /> ???????????????????'; public $display_offline_message = '1'; public $offline_image = ''; public $sitename = 'it2'; public $editor = 'tinymce'; public $captcha = '0'; public $list_limit = '20'; public $access = '1'; public $debug = '0'; public $debug_lang = '0'; public $dbtype = 'mysqli'; public $host = 'localhost'; public $user = 'root'; public $password = '123456'; public $db = 'chawan'; ใส่ Password ที่เรากาหนดใน Mysql Server ใส่ชื่อฐานข้อมูลที่สร้างขึ้นบน Mysql Server ให้ถูกต้อง ใส่ชื่อเจ้าของฐานข้อมูล ที่เรากาหนดใน Mysql Server
  • 25. นายชวาล แข็งแรง public $dbprefix = 'cm3g8_'; public $live_site = ''; public $secret = 'YCEfadKoG68ijEfr'; public $gzip = '0'; public $error_reporting = 'default'; public $helpurl = 'http://help.joomla.org/proxy/index.php?option=com_help&keyref=Help{major}{minor}:{keyref}'; public $ftp_host = '127.0.0.1'; public $ftp_port = '21'; public $ftp_user = ''; public $ftp_pass = ''; public $ftp_root = ''; public $ftp_enable = '0'; public $offset = 'UTC'; public $mailer = 'mail'; public $mailfrom = 'chawah@hotmail.com'; public $fromname = 'it2'; public $sendmail = '/usr/sbin/sendmail'; public $smtpauth = '0'; public $smtpuser = '';
  • 26. นายชวาล แข็งแรง public $smtppass = ''; public $smtphost = 'localhost'; public $smtpsecure = 'none'; public $smtpport = '25'; public $caching = '0'; public $cache_handler = 'file'; public $cachetime = '15'; public $MetaDesc = ''; public $MetaKeys = ''; public $MetaTitle = '1'; public $MetaAuthor = '1'; public $MetaVersion = '0'; public $robots = ''; public $sef = '1'; public $sef_rewrite = '0'; public $sef_suffix = '0'; public $unicodeslugs = '0'; public $feed_limit = '10'; public $log_path = '/var/www/html/uu/logs';
  • 27. นายชวาล แข็งแรง public $tmp_path = '/var/www/html/uu/tmp'; public $lifetime = '15'; public $session_handler = 'database'; } เมื่อแก้ไขเสร็จแล้วให้บันทึกและปิด 9.4.3 จากนั้นเปิดโปรแกรม SSH และ Connect เข้าไปที่ เครื่อง Server โดยเข้าไปที่ /var/www/html ที่ฝั่ง Client ให้นาไฟล์ configuration.php ที่แก้ไขไว้ข้างต้น Upload ขึ้นไป ฝั่ง Server ใน /var/www/html/Directory joomla ทับไฟล์เก่าลงไป 9.4.4 สร้างไฟล์ redirect เพื่อย้ายที่อยู่ของ Webpage ไปที่ Directory ที่เราต้องการโดย สร้างไฟล์ ด้วยโปรแกรมสร้างไฟล์ ตามความถนัด ในที่นี้ผมจะสร้างด้วยโปรแกรม Notepad และใส่ Code ดังนี้ <html> <head> <META HTTP-EQUIV="Refresh" CONTENT="0;URL=http://www.it2.com/oop"> </head> </html> Save File ชื่อ Index.html คือที่อยู่ของเว็บไซต์ที่เรากาหนดจะให้ redirect ไป ที่ Domain Name ไหน และ Directory อะไร ใน Server
  • 28. นายชวาล แข็งแรง 9.4.5 นาไฟล์ Index.html ที่สร้างไว้ข้างต้น Upload ขึ้นไป ฝั่ง Server ใน /var/www/html/ 9.4.5 ทดสอบจากเครื่อง Client ให้เปิดโปรแกรม Web Browser และพิมพ์Domain name หรือ IP Address Server ที่ช่อง URL ในที่นี้คือ www.it2.com กด ENTER จะได้ดังภาพข้างล่าง *** เสร็จสิ้นขั้นตอนการทา Web Server with CentOS 6.4 เบื้องต้นแล้วครับ *** หมายเหตุ :: ถ้าพิมพ์ตัวอักษรตกหล่นและใช้คาผิดไวยากรณ์ก็ขออภัย ณ ที่นี้ด้วยนะครับ เพราะไม่ค่อยมีเวลาตรวจคา แต่การ Config Packet เพื่อทา Web Server with CentOS 6.4 นั้น ถูกต้องทุก ประการครับ เพราะผมคัดลอกจากการทางานจริงและสามารถใช้งานได้จริง ในการทดสอบนี้ ผมใช้ Card Network ใบเดียว เป็นแบบ LAN หรือ Local ภายใน องค์กรเฉยๆ นะครับ ไม่ได้เป็นแบบ WAN หรือ Internet ถ้าจะทาแบบ WAN ต้องเพิ่ม Card Network อีกใบ และศึกษาการ config เพิ่มเติมอีกเล็กน้อยครับ และ Packet ทุกตัวที่ใช้ทา Server ในครั้งนี้ ผมติดตั้งจากตอน Install CentOS 6.4 (หรือจากแผ่น DVD CentOS 6.4 อย่างเดียวนั่นเอง)