SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
โปรโตคอลคืออะไร
ในการสื่อสารทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จำาต้องมีการสื่อสาร
ข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ในระบบ ซึ่งเครื่อง
คอมพิวเตอร์ที่ต่ออยู่ในเครือข่ายเดียวกันนี้ อาจจะมี
ฮาร์ดแวร์,ซอฟท์แวร์ที่แตกต่างกัน ดังนั้นเมื่อทำาการส่ง
ข้อมูลถึงกันและตีความหมายได้ตรงกัน จึงต้องมีการกำาหนด
ระเบียบวิธีการติดต่อให้ตรงกัน โปรโตคอล ( Protocol )
คือระเบียบวิธีที่กำาหนดขึ้นสำาหรับการสื่อสารข้อมูล โดย
สามารถส่งผ่านข้อมูลไปยังปลายทางได้อย่างถูกต้อง ซึ่งตัว
โปรโตคอลที่นิยมใช้ในปัจจุบันคือ TCP/IP นอกจากนี้ยังมี
การออกแบบโปรโตคอลตัวอื่นๆขึ้นมาใช้งานอีก เช่น
โปรโตคอล IPX/SPX,โปรโตคอล NetBEUI และ
โปรโตคอล Apple Talk
โปรโตคอล IPX/SPX
ถูกพัฒนาขึ้นโดยบริษัท Novell ซึ่งทำาการพัฒนามาจากตัว
โปรโตคอล XNS ของบริษัท Xerox Corporation ซึ่ง
โครงสร้างเมื่อทำาการเปรียบเทียบ
กับ OSI Model ดังรูป
ตัวโปรโตคอล IPX/SPX แบ่งออกเป็น 2 โปรโตคอลหลักคือ
Internetwork Packet Exchange ( IPX) และ
Sequenced Packet Exchange (SPX) โดยโปรโตคอล
IPX ทำาหน้าที่ในระดับ network layer ตามาตรฐาน OSI
Model มีกลไกการส่งผ่านข้อมูลแบบ
connectionless,unrerelible หมายความว่า เมื่อมีการส่ง
ข้อมูล โดยไม่ต้องทำาการสถาปนาการเชื่อมต่อกันระหว่าง
host กับเครื่องที่ติดต่อกันอย่างถาวร ( host , เครื่อง
เซิร์ฟเวอร์ที่ให้บริการใดๆในเครือข่าย ) และไม่ต้องการรอ
สัญญานยืนยันการรับข้อมูลจากปลายทาง โดยตัว
โปรโตคอลจะพยายามส่งข้อมูลนั้นไปยังปลายทางให้ดีที่สุด
สำาหรับโปรโตคอล SPX ทำาหน้าที่ในระดับ transport
layer ตามมาตรฐาน OSI Model โดยส่งผ่านข้อมูลตรง
ข้ามกับโปรโตคอล IPX คือ ต้องมีการทำาการสถาปนาการ
เชื่อมโยงกันก่อนและมีการส่งผ่านข้อมูลที่เชื่อถือได้ ด้วย
การตรวจสอบสัญญาณยืนยันการรับส่งข้อมูลจากปลายทาง
โปรโตคอล NetBEUI
โปรโตคอล NetBEUI หรือ NetBIOS Enhanced User
Interface นั้น เป็นโปรโตคอลที่ไม่มี ส่วนในการระบุเส้น
ทางส่งผ่านข้อมูล (Non-routable Protocol)โดยจะใช้วิธี
การ Broadcast ข้อมูลออกไปในเครือข่าย และหากใคร
เป็นผู้รับที่ถูกต้องก็จะนำาข้อมูลที่ได้รับไปประมวลผล ข้อ
จำากัดของโปรโตคอลประเภทนี้ก็คือไม่สามารถทำาการ
Broadcast ข้อมูลข้ามไปยัง Physical Segment อื่นๆที่
ไม่ใช่ Segment เดียวกันได้ เป็นการแบ่งส่วนของเครือ
ข่ายออกจากกันทางกายภาพ หากต้องการเชื่อมต่อเครือ
ข่ายถึงกันจะต้องใช้อุปกรณ์อย่างเช่น Router มาทำาหน้าที่
เป็นตัวกลางระหว่างเครือข่าย
เนื่องมาจากอุปกรณ์บางอย่างเช่น Router ไม่สามารถจะ
Broadcast ข้อมูลต่อไปยังเครือข่ายอื่นๆได้ เพราะถ้าหาก
ยอมให้ทำาเช่นนั้นได้ จะทำาให้การสื่อสารระหว่างเครือข่าย
คับคั่งไปด้วยข้อมูลที่เกิดจากการ Broadcast จนเครือข่าย
ต่างๆไม่สามารถที่จะสื่อสารกันต่อไปได้ โปรโตคอล
NetBEUI จึงเหมาะที่จะใช้งานบนเครือข่ายขนาดเล็กที่มี
จำานวนเครื่องคอมพิวเตอร์ไม่เกิน 50 เครื่องเท่านั้น
NetBEUI เป็นหนึ่งในสองทางเลือกสำาหรับผู้ใช้งาน
NetBIOS ( Network Basic Input Output System )
ซึ่งสามารถทำางานได้ทั้งบนโปรโตคอล TCP/IP และ
NetBUEI
โปรโตคอล AppleTalk
จุดเริ่มต้นของโปรโตคอล AppleTalk เกิดขึ้นใน
ปีค.ศ.1983 ซึ่งเป็นช่วงที่บริษัท Apple Computer
ต้องการออกแบบชุดโปรโตคอลสื่อสารข้อมูลของตนเองขึ้น
เพื่อใช้เชื่อมโยงเครือข่ายของเครื่องแบบแมคอินทอช และ
สามารแชร์กับอุปกรณ์ต่างๆ นอกจากนี้ยังขยายไปสู่การ
เชื่อมโยงเป็นเครือข่ายของเซิร์ฟเวอร์,เครื่องพิมพ์,
Gateway และ Router ของผู้ผลิตรายอื่นๆด้วยต่อจากนั้น
เครื่องแมคอินทอชและอุปกรณ์ต่างๆที่บริษัทผลิตออกมาก็ได้
มีการเพิ่มส่วนของฮาร์ดแวร์และซอฟท์แวร์ให้สามารถ
รองรับโปรโตคอลตัวนี้ได้ รวมถึงระบบปฏิบัติการ MacOS
รุ่นใหม่ๆก็ได้มีการผนวกฟังก์ชั่นให้รองรับโปรโตคอลตัวนี้
ได้เช่นกัน ทำาให้กลุ่มผู้ใช้เครื่องแมคอินทอชสามารถเชื่อม
โยงกันเป็นเครือข่ายได้ง่ายโดยไม่ต้องไปหาซื้อ อุปกรณ์เพิ่ม
เติมอีก
โปรโตคอล Apple Talk ถูกออกแบบมาให้ทำางานเป็นเครือ
ข่ายในแบบ peer-to-peer ซึ่งถือว่าเครื่องทั้งหมดที่เชื่อม
ต่ออยู่ในเครือข่ายสามารถเป็นเซิร์ฟเวอร์ได้ทุกเครื่องโดยไม
ต้องจัดให้บางเครื่องทำาหน้าที่เป็นเซิร์ฟเวอร์ที่ให้บริการโดย
เฉพาะขึ้นมา ต่อมาปีค.ศ. 1989 ได้มีการพัฒนาโปรโตคอล
AppleTalk ให้สนับสนุนเครือข่ายที่ใหญ่มากขึ้นได้
สามารถมีเครื่องลูกข่ายและอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อในเครือข่าย
ได้มากกว่าเดิมเรียกว่าเป็นโปรโตคอล Apple Talk Phase
2 นอกจากนี้ยังเพิ่มโปรโตคอลที่ทำาให้สามารถเชื่อมต่อกับ
เครือข่ายแบบ Ethernet และ Token Ring ได้ โดยเรียก
ว่า EtherTalk และ TokenTalk ตามลำาดับ
โปรโตคอล TCP/IP ( RFC1180 )
โปรโตคอล TCP/IP เป็นชื่อเรียกของชุดโปรโตคอลที่สำาคัญ
มีการใช้งานกันอย่างแพร่หลายตามการขยายตัวของอินเท
อร์เนท/อินทราเนท ความจริงแล้วโปรโตคอล TCP/IP
เป็นกลุ่มของโปรโตคอล หลายตัวที่ประกอบกันเป็นชุดให้ใช้
งานโดยมีคำาเต็มว่า Transmission Control
Protocol /Internet Protocol ซึ่งจะเห็นได้ว่ามี
โปรโตคอลประกอบกันทำางาน 2 ตัว คือ TCP และ IP
ตัวอย่างของกลุ่มโปรโตคอลในชุดของ TCP/IP ที่เราพบ
และใช้งานบ่อยๆ ( ส่วนใหญ่จะไม่ได้ใช้งานโดยตรง แต่จะ
ใช้งานผ่านแอพพลิเคชั่นต่างๆหรือทำางานโดยอ้อม เช่น
Internet Protocol,Address Resolution
Protocol(ARP) ,Internet Control Message Protocol
(ICMP) ,User Datagram Protocol (UDP) ,Transprot
Control Protocol (TCP) และ Simple Mail Transfer
Protocol (SMTP)
โปรโตคอลที่มีบทบาทสำาคัญในการทำางานในเครือข่ายอิน
เทอร์เนทคือ Internet Protocol (โปรโตคอล IP) เนื่องจาก
เมื่อโปรโตคอลอื่นๆต้องการส่งผ่านข้อมูลข้ามเครือข่ายใน
อินเทอร์เนทนั้น จะต้องอาศัยการผนึกข้อมูล ไปกับ
โปรโตคอล IP ที่มีกลไกการระบุเส้นทาง ผ่าน Gateway
หรือ
Router เพื่อนำาข้อมูลไปยังเครือข่ายและเครื่องปลายทางที่
ถูกต้อง เนื่องจากกลไกการระบุเส้นทางจะทำางานที่
โปรโตคอล IP เท่านั้นและด้วยเหตุนี้เราจึงเรียก ว่าเป็น
โปรโตคอลที่มีความสามารถในการระบุเส้นทางการส่งผ่าน
ของข้อมูลได้(Routable)
การที่เครื่องคอมพิวเตอร์จะสามารถสื่อสารกันได้จำาต้องมี
การระบุแอดเดรสที่ไม่ซำ้ากัน เพราะไม่เช่นนั้นข้อมูลที่ส่งอาจ
จะไม่ถึงปลายทางได้ ซึ่งแอดเดรสจะมีข้อกำาหนดมาตรฐาน
ซึ่งในการใช้งานโปรโตคอล TCP/IP ที่เชื่อมโยงเครือข่ายนี้
จะเรียกว่า IP Address ( Internet Protocol Address )
ตัวอย่างของกลุ่มโปรโตคอลในชุดของ TCP/IP ที่เราพบ
และใช้งานบ่อยๆ ( ส่วนใหญ่จะไม่ได้ใช้งานโดยตรง แต่จะ
ใช้งานผ่านแอพพลิเคชั่นต่างๆหรือทำางานโดยอ้อม เช่น
Internet Protocol,Address Resolution
Protocol(ARP) ,Internet Control Message Protocol
(ICMP) ,User Datagram Protocol (UDP) ,Transprot
Control Protocol (TCP) และ Simple Mail Transfer
Protocol (SMTP)
โปรโตคอลที่มีบทบาทสำาคัญในการทำางานในเครือข่ายอิน
เทอร์เนทคือ Internet Protocol (โปรโตคอล IP) เนื่องจาก
เมื่อโปรโตคอลอื่นๆต้องการส่งผ่านข้อมูลข้ามเครือข่ายใน
อินเทอร์เนทนั้น จะต้องอาศัยการผนึกข้อมูล ไปกับ
โปรโตคอล IP ที่มีกลไกการระบุเส้นทาง ผ่าน Gateway
หรือ
Router เพื่อนำาข้อมูลไปยังเครือข่ายและเครื่องปลายทางที่
ถูกต้อง เนื่องจากกลไกการระบุเส้นทางจะทำางานที่
โปรโตคอล IP เท่านั้นและด้วยเหตุนี้เราจึงเรียก ว่าเป็น
โปรโตคอลที่มีความสามารถในการระบุเส้นทางการส่งผ่าน
ของข้อมูลได้(Routable)
การที่เครื่องคอมพิวเตอร์จะสามารถสื่อสารกันได้จำาต้องมี
การระบุแอดเดรสที่ไม่ซำ้ากัน เพราะไม่เช่นนั้นข้อมูลที่ส่งอาจ
จะไม่ถึงปลายทางได้ ซึ่งแอดเดรสจะมีข้อกำาหนดมาตรฐาน
ซึ่งในการใช้งานโปรโตคอล TCP/IP ที่เชื่อมโยงเครือข่ายนี้
จะเรียกว่า IP Address ( Internet Protocol Address )

More Related Content

What's hot

การทำงานของอินเทอร์เน็ต
การทำงานของอินเทอร์เน็ตการทำงานของอินเทอร์เน็ต
การทำงานของอินเทอร์เน็ตapisak smutpha
 
สื่อการสอนอินเตอร์เน็ต
สื่อการสอนอินเตอร์เน็ตสื่อการสอนอินเตอร์เน็ต
สื่อการสอนอินเตอร์เน็ตkiss_jib
 
การใช้เครื่องมือต่างๆ1
การใช้เครื่องมือต่างๆ1การใช้เครื่องมือต่างๆ1
การใช้เครื่องมือต่างๆ1guestdfabcfa
 
การใช้เครื่องมือต่างๆ
การใช้เครื่องมือต่างๆการใช้เครื่องมือต่างๆ
การใช้เครื่องมือต่างๆguest3f77f6
 
การใช้เครื่องมือต่างๆ12
การใช้เครื่องมือต่างๆ12การใช้เครื่องมือต่างๆ12
การใช้เครื่องมือต่างๆ12guest7878b9
 
การใช้เครื่องมือต่างๆ1
การใช้เครื่องมือต่างๆ1การใช้เครื่องมือต่างๆ1
การใช้เครื่องมือต่างๆ1guestdfabcfa
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย
การสื่อสารและระบบเครือข่ายการสื่อสารและระบบเครือข่าย
การสื่อสารและระบบเครือข่ายพัน พัน
 
การทำงานของอินเทอร์เน็ต
การทำงานของอินเทอร์เน็ตการทำงานของอินเทอร์เน็ต
การทำงานของอินเทอร์เน็ตmakkuzeez
 
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตAssumption College Rayong
 
หน่วยที่ 01
หน่วยที่ 01หน่วยที่ 01
หน่วยที่ 01Nuytoo Naruk
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์preutthipong phetiam
 
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22terdtanin
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลssuseraa96d2
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นthanakorn123
 

What's hot (19)

การทำงานของอินเทอร์เน็ต
การทำงานของอินเทอร์เน็ตการทำงานของอินเทอร์เน็ต
การทำงานของอินเทอร์เน็ต
 
สื่อการสอนอินเตอร์เน็ต
สื่อการสอนอินเตอร์เน็ตสื่อการสอนอินเตอร์เน็ต
สื่อการสอนอินเตอร์เน็ต
 
การใช้เครื่องมือต่างๆ1
การใช้เครื่องมือต่างๆ1การใช้เครื่องมือต่างๆ1
การใช้เครื่องมือต่างๆ1
 
การใช้เครื่องมือต่างๆ
การใช้เครื่องมือต่างๆการใช้เครื่องมือต่างๆ
การใช้เครื่องมือต่างๆ
 
การใช้เครื่องมือต่างๆ12
การใช้เครื่องมือต่างๆ12การใช้เครื่องมือต่างๆ12
การใช้เครื่องมือต่างๆ12
 
การใช้เครื่องมือต่างๆ1
การใช้เครื่องมือต่างๆ1การใช้เครื่องมือต่างๆ1
การใช้เครื่องมือต่างๆ1
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย
การสื่อสารและระบบเครือข่ายการสื่อสารและระบบเครือข่าย
การสื่อสารและระบบเครือข่าย
 
E book1
E book1E book1
E book1
 
การทำงานของอินเทอร์เน็ต
การทำงานของอินเทอร์เน็ตการทำงานของอินเทอร์เน็ต
การทำงานของอินเทอร์เน็ต
 
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
 
หน่วยที่ 01
หน่วยที่ 01หน่วยที่ 01
หน่วยที่ 01
 
Education
EducationEducation
Education
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
โปรโตคอล
โปรโตคอลโปรโตคอล
โปรโตคอล
 
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22
 
22
2222
22
 
Home network
Home networkHome network
Home network
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
 

Similar to โปรโตคอลคืออะไร

โปรโตคอล TCP/IP Transmission Control Protocol/Internet Protocol
โปรโตคอล TCP/IP Transmission Control Protocol/Internet Protocolโปรโตคอล TCP/IP Transmission Control Protocol/Internet Protocol
โปรโตคอล TCP/IP Transmission Control Protocol/Internet ProtocolAdisak Kammungkun
 
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวสวิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวสpeter dontoom
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ บทที่ 3
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ บทที่ 3เครือข่ายคอมพิวเตอร์ บทที่ 3
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ บทที่ 3Nuttapoom Tossanut
 
การทำงานของอินเทอร์เน็ต
การทำงานของอินเทอร์เน็ตการทำงานของอินเทอร์เน็ต
การทำงานของอินเทอร์เน็ตapisak smutpha
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตmakkuzeez
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตmakkuzeez
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตmakkuzeez
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1PTtp WgWt
 
ความหมายของอินเตอร์เน็ต
ความหมายของอินเตอร์เน็ตความหมายของอินเตอร์เน็ต
ความหมายของอินเตอร์เน็ตJaturapit Thachee
 
ความหมายของอ นเตอร เน_ต
ความหมายของอ นเตอร เน_ตความหมายของอ นเตอร เน_ต
ความหมายของอ นเตอร เน_ตNotto InDy
 
งานคอม0053PDF
งานคอม0053PDFงานคอม0053PDF
งานคอม0053PDFNthw Trty
 
งานคอม0053
งานคอม0053งานคอม0053
งานคอม0053Nthw Trty
 

Similar to โปรโตคอลคืออะไร (20)

โปรโตคอล TCP/IP Transmission Control Protocol/Internet Protocol
โปรโตคอล TCP/IP Transmission Control Protocol/Internet Protocolโปรโตคอล TCP/IP Transmission Control Protocol/Internet Protocol
โปรโตคอล TCP/IP Transmission Control Protocol/Internet Protocol
 
Protocol
ProtocolProtocol
Protocol
 
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวสวิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
 
เทอม 1 คาบ 11
เทอม 1 คาบ 11เทอม 1 คาบ 11
เทอม 1 คาบ 11
 
ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ บทที่ 3
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ บทที่ 3เครือข่ายคอมพิวเตอร์ บทที่ 3
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ บทที่ 3
 
การทำงานของอินเทอร์เน็ต
การทำงานของอินเทอร์เน็ตการทำงานของอินเทอร์เน็ต
การทำงานของอินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
Protocol1
Protocol1Protocol1
Protocol1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
ความหมายของอินเตอร์เน็ต
ความหมายของอินเตอร์เน็ตความหมายของอินเตอร์เน็ต
ความหมายของอินเตอร์เน็ต
 
ความหมายของอ นเตอร เน_ต
ความหมายของอ นเตอร เน_ตความหมายของอ นเตอร เน_ต
ความหมายของอ นเตอร เน_ต
 
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ตความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
 
ความมาของอินเทอร์เน็fdagfdgsadgasaggต
ความมาของอินเทอร์เน็fdagfdgsadgasaggตความมาของอินเทอร์เน็fdagfdgsadgasaggต
ความมาของอินเทอร์เน็fdagfdgsadgasaggต
 
6
66
6
 
6
66
6
 
งานคอม0053PDF
งานคอม0053PDFงานคอม0053PDF
งานคอม0053PDF
 
งานคอม0053
งานคอม0053งานคอม0053
งานคอม0053
 

โปรโตคอลคืออะไร

  • 1. โปรโตคอลคืออะไร ในการสื่อสารทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จำาต้องมีการสื่อสาร ข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ในระบบ ซึ่งเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่ต่ออยู่ในเครือข่ายเดียวกันนี้ อาจจะมี ฮาร์ดแวร์,ซอฟท์แวร์ที่แตกต่างกัน ดังนั้นเมื่อทำาการส่ง ข้อมูลถึงกันและตีความหมายได้ตรงกัน จึงต้องมีการกำาหนด ระเบียบวิธีการติดต่อให้ตรงกัน โปรโตคอล ( Protocol ) คือระเบียบวิธีที่กำาหนดขึ้นสำาหรับการสื่อสารข้อมูล โดย สามารถส่งผ่านข้อมูลไปยังปลายทางได้อย่างถูกต้อง ซึ่งตัว โปรโตคอลที่นิยมใช้ในปัจจุบันคือ TCP/IP นอกจากนี้ยังมี การออกแบบโปรโตคอลตัวอื่นๆขึ้นมาใช้งานอีก เช่น โปรโตคอล IPX/SPX,โปรโตคอล NetBEUI และ โปรโตคอล Apple Talk โปรโตคอล IPX/SPX ถูกพัฒนาขึ้นโดยบริษัท Novell ซึ่งทำาการพัฒนามาจากตัว โปรโตคอล XNS ของบริษัท Xerox Corporation ซึ่ง โครงสร้างเมื่อทำาการเปรียบเทียบ กับ OSI Model ดังรูป
  • 2. ตัวโปรโตคอล IPX/SPX แบ่งออกเป็น 2 โปรโตคอลหลักคือ Internetwork Packet Exchange ( IPX) และ Sequenced Packet Exchange (SPX) โดยโปรโตคอล IPX ทำาหน้าที่ในระดับ network layer ตามาตรฐาน OSI Model มีกลไกการส่งผ่านข้อมูลแบบ connectionless,unrerelible หมายความว่า เมื่อมีการส่ง ข้อมูล โดยไม่ต้องทำาการสถาปนาการเชื่อมต่อกันระหว่าง host กับเครื่องที่ติดต่อกันอย่างถาวร ( host , เครื่อง เซิร์ฟเวอร์ที่ให้บริการใดๆในเครือข่าย ) และไม่ต้องการรอ สัญญานยืนยันการรับข้อมูลจากปลายทาง โดยตัว โปรโตคอลจะพยายามส่งข้อมูลนั้นไปยังปลายทางให้ดีที่สุด สำาหรับโปรโตคอล SPX ทำาหน้าที่ในระดับ transport layer ตามมาตรฐาน OSI Model โดยส่งผ่านข้อมูลตรง ข้ามกับโปรโตคอล IPX คือ ต้องมีการทำาการสถาปนาการ เชื่อมโยงกันก่อนและมีการส่งผ่านข้อมูลที่เชื่อถือได้ ด้วย การตรวจสอบสัญญาณยืนยันการรับส่งข้อมูลจากปลายทาง โปรโตคอล NetBEUI
  • 3. โปรโตคอล NetBEUI หรือ NetBIOS Enhanced User Interface นั้น เป็นโปรโตคอลที่ไม่มี ส่วนในการระบุเส้น ทางส่งผ่านข้อมูล (Non-routable Protocol)โดยจะใช้วิธี การ Broadcast ข้อมูลออกไปในเครือข่าย และหากใคร เป็นผู้รับที่ถูกต้องก็จะนำาข้อมูลที่ได้รับไปประมวลผล ข้อ จำากัดของโปรโตคอลประเภทนี้ก็คือไม่สามารถทำาการ Broadcast ข้อมูลข้ามไปยัง Physical Segment อื่นๆที่ ไม่ใช่ Segment เดียวกันได้ เป็นการแบ่งส่วนของเครือ ข่ายออกจากกันทางกายภาพ หากต้องการเชื่อมต่อเครือ ข่ายถึงกันจะต้องใช้อุปกรณ์อย่างเช่น Router มาทำาหน้าที่ เป็นตัวกลางระหว่างเครือข่าย เนื่องมาจากอุปกรณ์บางอย่างเช่น Router ไม่สามารถจะ Broadcast ข้อมูลต่อไปยังเครือข่ายอื่นๆได้ เพราะถ้าหาก ยอมให้ทำาเช่นนั้นได้ จะทำาให้การสื่อสารระหว่างเครือข่าย คับคั่งไปด้วยข้อมูลที่เกิดจากการ Broadcast จนเครือข่าย ต่างๆไม่สามารถที่จะสื่อสารกันต่อไปได้ โปรโตคอล NetBEUI จึงเหมาะที่จะใช้งานบนเครือข่ายขนาดเล็กที่มี จำานวนเครื่องคอมพิวเตอร์ไม่เกิน 50 เครื่องเท่านั้น NetBEUI เป็นหนึ่งในสองทางเลือกสำาหรับผู้ใช้งาน NetBIOS ( Network Basic Input Output System ) ซึ่งสามารถทำางานได้ทั้งบนโปรโตคอล TCP/IP และ NetBUEI โปรโตคอล AppleTalk จุดเริ่มต้นของโปรโตคอล AppleTalk เกิดขึ้นใน ปีค.ศ.1983 ซึ่งเป็นช่วงที่บริษัท Apple Computer ต้องการออกแบบชุดโปรโตคอลสื่อสารข้อมูลของตนเองขึ้น เพื่อใช้เชื่อมโยงเครือข่ายของเครื่องแบบแมคอินทอช และ สามารแชร์กับอุปกรณ์ต่างๆ นอกจากนี้ยังขยายไปสู่การ
  • 4. เชื่อมโยงเป็นเครือข่ายของเซิร์ฟเวอร์,เครื่องพิมพ์, Gateway และ Router ของผู้ผลิตรายอื่นๆด้วยต่อจากนั้น เครื่องแมคอินทอชและอุปกรณ์ต่างๆที่บริษัทผลิตออกมาก็ได้ มีการเพิ่มส่วนของฮาร์ดแวร์และซอฟท์แวร์ให้สามารถ รองรับโปรโตคอลตัวนี้ได้ รวมถึงระบบปฏิบัติการ MacOS รุ่นใหม่ๆก็ได้มีการผนวกฟังก์ชั่นให้รองรับโปรโตคอลตัวนี้ ได้เช่นกัน ทำาให้กลุ่มผู้ใช้เครื่องแมคอินทอชสามารถเชื่อม โยงกันเป็นเครือข่ายได้ง่ายโดยไม่ต้องไปหาซื้อ อุปกรณ์เพิ่ม เติมอีก โปรโตคอล Apple Talk ถูกออกแบบมาให้ทำางานเป็นเครือ ข่ายในแบบ peer-to-peer ซึ่งถือว่าเครื่องทั้งหมดที่เชื่อม ต่ออยู่ในเครือข่ายสามารถเป็นเซิร์ฟเวอร์ได้ทุกเครื่องโดยไม ต้องจัดให้บางเครื่องทำาหน้าที่เป็นเซิร์ฟเวอร์ที่ให้บริการโดย เฉพาะขึ้นมา ต่อมาปีค.ศ. 1989 ได้มีการพัฒนาโปรโตคอล AppleTalk ให้สนับสนุนเครือข่ายที่ใหญ่มากขึ้นได้ สามารถมีเครื่องลูกข่ายและอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อในเครือข่าย ได้มากกว่าเดิมเรียกว่าเป็นโปรโตคอล Apple Talk Phase 2 นอกจากนี้ยังเพิ่มโปรโตคอลที่ทำาให้สามารถเชื่อมต่อกับ เครือข่ายแบบ Ethernet และ Token Ring ได้ โดยเรียก ว่า EtherTalk และ TokenTalk ตามลำาดับ โปรโตคอล TCP/IP ( RFC1180 ) โปรโตคอล TCP/IP เป็นชื่อเรียกของชุดโปรโตคอลที่สำาคัญ มีการใช้งานกันอย่างแพร่หลายตามการขยายตัวของอินเท อร์เนท/อินทราเนท ความจริงแล้วโปรโตคอล TCP/IP เป็นกลุ่มของโปรโตคอล หลายตัวที่ประกอบกันเป็นชุดให้ใช้ งานโดยมีคำาเต็มว่า Transmission Control Protocol /Internet Protocol ซึ่งจะเห็นได้ว่ามี โปรโตคอลประกอบกันทำางาน 2 ตัว คือ TCP และ IP
  • 5. ตัวอย่างของกลุ่มโปรโตคอลในชุดของ TCP/IP ที่เราพบ และใช้งานบ่อยๆ ( ส่วนใหญ่จะไม่ได้ใช้งานโดยตรง แต่จะ ใช้งานผ่านแอพพลิเคชั่นต่างๆหรือทำางานโดยอ้อม เช่น Internet Protocol,Address Resolution Protocol(ARP) ,Internet Control Message Protocol (ICMP) ,User Datagram Protocol (UDP) ,Transprot Control Protocol (TCP) และ Simple Mail Transfer Protocol (SMTP) โปรโตคอลที่มีบทบาทสำาคัญในการทำางานในเครือข่ายอิน เทอร์เนทคือ Internet Protocol (โปรโตคอล IP) เนื่องจาก เมื่อโปรโตคอลอื่นๆต้องการส่งผ่านข้อมูลข้ามเครือข่ายใน อินเทอร์เนทนั้น จะต้องอาศัยการผนึกข้อมูล ไปกับ โปรโตคอล IP ที่มีกลไกการระบุเส้นทาง ผ่าน Gateway หรือ Router เพื่อนำาข้อมูลไปยังเครือข่ายและเครื่องปลายทางที่ ถูกต้อง เนื่องจากกลไกการระบุเส้นทางจะทำางานที่ โปรโตคอล IP เท่านั้นและด้วยเหตุนี้เราจึงเรียก ว่าเป็น โปรโตคอลที่มีความสามารถในการระบุเส้นทางการส่งผ่าน ของข้อมูลได้(Routable) การที่เครื่องคอมพิวเตอร์จะสามารถสื่อสารกันได้จำาต้องมี การระบุแอดเดรสที่ไม่ซำ้ากัน เพราะไม่เช่นนั้นข้อมูลที่ส่งอาจ จะไม่ถึงปลายทางได้ ซึ่งแอดเดรสจะมีข้อกำาหนดมาตรฐาน ซึ่งในการใช้งานโปรโตคอล TCP/IP ที่เชื่อมโยงเครือข่ายนี้ จะเรียกว่า IP Address ( Internet Protocol Address )
  • 6. ตัวอย่างของกลุ่มโปรโตคอลในชุดของ TCP/IP ที่เราพบ และใช้งานบ่อยๆ ( ส่วนใหญ่จะไม่ได้ใช้งานโดยตรง แต่จะ ใช้งานผ่านแอพพลิเคชั่นต่างๆหรือทำางานโดยอ้อม เช่น Internet Protocol,Address Resolution Protocol(ARP) ,Internet Control Message Protocol (ICMP) ,User Datagram Protocol (UDP) ,Transprot Control Protocol (TCP) และ Simple Mail Transfer Protocol (SMTP) โปรโตคอลที่มีบทบาทสำาคัญในการทำางานในเครือข่ายอิน เทอร์เนทคือ Internet Protocol (โปรโตคอล IP) เนื่องจาก เมื่อโปรโตคอลอื่นๆต้องการส่งผ่านข้อมูลข้ามเครือข่ายใน อินเทอร์เนทนั้น จะต้องอาศัยการผนึกข้อมูล ไปกับ โปรโตคอล IP ที่มีกลไกการระบุเส้นทาง ผ่าน Gateway หรือ Router เพื่อนำาข้อมูลไปยังเครือข่ายและเครื่องปลายทางที่ ถูกต้อง เนื่องจากกลไกการระบุเส้นทางจะทำางานที่ โปรโตคอล IP เท่านั้นและด้วยเหตุนี้เราจึงเรียก ว่าเป็น โปรโตคอลที่มีความสามารถในการระบุเส้นทางการส่งผ่าน ของข้อมูลได้(Routable) การที่เครื่องคอมพิวเตอร์จะสามารถสื่อสารกันได้จำาต้องมี การระบุแอดเดรสที่ไม่ซำ้ากัน เพราะไม่เช่นนั้นข้อมูลที่ส่งอาจ จะไม่ถึงปลายทางได้ ซึ่งแอดเดรสจะมีข้อกำาหนดมาตรฐาน ซึ่งในการใช้งานโปรโตคอล TCP/IP ที่เชื่อมโยงเครือข่ายนี้ จะเรียกว่า IP Address ( Internet Protocol Address )