SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
0

แผนปฏิบัตการ
ิ
โครงการ “ครูพลังงาน นอกรั้วโรงเรียน”
กิจกรรม “ฉลาดเรียนรู้ พลังงานนาไปใช้ ในชีวต”
ิ
โดย
นายวีรชาติ มาตรหลุบเลา
ตาแหน่ ง ครู

โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
อาเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์
สานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 40
้ ่
1

วิสัยทัศน์ เกียวกับการพัฒนาพลังงานของประเทศ
่
พลังงานอันเป็ นสิ่ งสาคัญในการดาเนินชีวต หากว่าหมดหรื อหายไปจากโลก นี้ มนุษย์และสิ่ งมีชีวต
ิ
ิ
ทุกชีวตก็ไม่อาจดาเนินชีวตอยูได้ การรู ้จกเลือกใช้พลังงานให้เหมาะสมกับสถานการณ์ และชีวตความ
ิ
ิ ่
ั
ิ
เป็ นอยู่ จะส่ งผลให้มนุษย์ใช้พลังงานนั้นได้อย่างคุมค่า และส่ งผลดี ต่อตนเอง ต่อสังคม ต่อสิ่ งแวดล้อม และ
้
ประเทศชาติ กิจกรรมการเรี ยนการสอนของโรงเรี ยนซับบอนวิทยาคม ออกแบบกิจกรรมการเรี ยนการสอน
บูรณาการเรื่ องพลังงานและพลังงานทดแทนโดยสร้างการมีส่วนร่ วมรับผิดชอบ ร่ วมกันค้นหาต้นแหตุความ
สิ้ นเปลื องของพลังงานทั้งในโรงเรี ยนและที่บาน โดยจัดกิจกรรมผ่านโครงงานสารวจ และกิจกรรมการ
้
ออกแบบเครื่ องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ นาพลังงานทางเลือกมาใช้ร่วมกับสวนหย่อมและการเพิ่ม
ั
ความชื้นให้กบกองปุ๋ ยหมัก กิจกรรมต่างๆเหล่านี้ สามารถสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์และสร้างสา นึก
การใช้พลังงานอย่างคุมค่า และสามารถต่อยอดการใช้พลังงานทดแทนในรู ปแบบอื่นๆซึ่ งจะนาไปสู่ การ
้
พัฒนา นวัตกรรมด้านพลังงานต่อไป
ชื่อโครงการ “ครู พลังงานรอบรั้วโรงเรี ยน”
ชื่อกิจกรรม “ฉลาดเรี ยนรู้พลังงานนาไปใช้ในชีวต”
ิ
เหตุผล/ความจาเป็ น
โรงเรี ยนซับบอนวิทยาคม จัดกระบวนการเรี ยนการสอนในรู ปแบบบูรณากา ร สร้างกิจกรรมการ
เรี ยนการสอนที่ สอดคล้องกับกิจกรรมด้านพลังงาน เพื่อสร้างจิตสานึกในการใช้พลังงานอย่างคุมค่าและนา
้
ความรู ้ที่ได้จากการศึกษาไปต่อยอดความรู ้ เพื่อให้สามารถนาไปใช้ได้จริ ง กิจกรรมการเรี ยนการสอนจัดผ่าน
โครงงาน ซึ่ งให้ผลดีท้ งทางตรงและทางอ้อม ในขณะเดียวกันยังเป็ นการช่วยลดการใช้พลังงานในโรงเรี ยน
ั
ซึ่ งโรงเรี ยนมีค่าใช้จ่ายด้านพลังงานเดือนละประมาณ 17,000 บาทต่อเดือน และเป็ นการสร้างคุณลักษณะ
ั
อันพึงประสงค์ให้กบนักเรี ยน และกิจกรรมอื่นๆเป็ นการบูรณาการสหวิชานาความรู ้จากหลายด้
านมา
เชื่อมโยงกับการใช้พลังงาน เช่น การออกแบบสวนหย่อมพลังงานทดแทน การรดน้ ากองปุ๋ ยหมักโดยใช้
พลังงานทดแทน ซึ่ งเป็ นการนาเอาทรัพยากรที่มีในท้องถิ่นและชุมชน มาสร้างมูลค่าเพิ่ม เป็ นแนวทางการ
ั
ประกอบอาชีพให้กบนักเรี ยนและถ่ายทอดองค์ความรู ้สู่ชุมชน โดยเริ่ มจากที่บา นของนักเรี ยน สู่ ชุมชนผ่าน
้
เครื อข่ายองค์การบริ หารส่ วนตาบล
วัตถุประสงค์
เพื่อให้โรงเรี ยนและชุมชนสามารถรับมือกับปั ญหาวิกฤตพลังงานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ สร้าง
จิตสานึกที่ดี ร่ วมกันค้นหาสาเหตุและนาเสนอวิธีการแก้ไขปั ญหาพลังงาน อีกทั้งนาความรู ้ที่ได้ไปประยุกต์
ั ิ
ั
ให้กบชีวตประจาวัน สร้างมูลค่าเพิ่มให้กบครอบครัว ทั้งยังเป็ นการพัฒนาศักยภาพในการทาโครงงานวิจย
ั
ของนักเรี ยน เพื่อนามาบูรณาการใช้จริ งในโรงเรี ยน หมู่บาน และชุมชน จากการทาโครงงานเพื่อเรี ยนรู ้สู่วถี
้
ิ
การดาเนินชีวตของชุมชนในรู ปแบบการจัดการด้านต่าง ๆ และลดการเผาใบไม้ซ่ ึงเป็ นสาเหตุหนึ่งในการเกิด
ิ
2

คาร์ บอนไดออกไซด์ และการหมักทับถม การย่อยสลายโดยการเติบโตของจุลินทรี ยที่ไม่ใช้ออกซิ เจน ซึ่ ง
์
เป็ นสาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน โดยการทาปุ๋ ยหมักแบบย่อยสลายโดยใช้จุลินทรี ยที่ใช้ออกซิ เจนใน
์
การย่อยสลาย
เปาหมายกิจกรรมโครงการ
้
ประชาชนใน ชุมชน ใช้พลังงานอย่างคุมค่า ร่ วมแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ร่วมกัน ดาเนินชีวตประจาวัน
้
ิ
และสามารถประยุกต์ใช้วธีการ หลักการต่าง ๆ ในการจัดการแก้ไข สร้างมูลค่าเพิ่มจากพลังงานทดแทน
ิ
ผู้ร่วมดาเนินการ
กลุ่มผูร่วมดาเนินกิจกรรม
้
- นายวีรชาติ มาตรหลุบเลา ครู พลังงาน 2556 โรงเรี ยนซับบอนวิทยาคม
- กลุ่มนักเรี ยนต้นกล้าพลังงาน นักเรี ยนวิทยาศาสตร์ดานพลังงาน โรงเรี ยนซับบอนวิทยาคม
้
กลุ่มผูเ้ ข้าร่ วมกิจกรรม
- กลุ่มชุมชน ตาบลกันจุ และกลุ่มประชาชนผูสนใจในเขตใกล้เคียง
้
- กลุ่มเยาวชนภายใน และภายนอกโรงเรี ยนที่มีความสนใจในการศึกษาเรี ยนรู้พลังงาน
ขั้นตอน/วิธีดาเนินงาน และแผนปฏิบัติงานอย่างละเอียด
แผนปฏิบติการ
ั
กิจกรรม “ฉลาดเรี ยนรู้พลังงานนาไปใช้ในชีวต”
ิ
โรงเรี ยนซับบอนวิทยาคมและชุมชนตาบลกันจุ อาเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์
ระยะที่ 1 จัดกิจกรรมให้ ความรู้ พลังงาน และพลังงานทดแทน
ครู พลังงาน อบรมนักเรี ยนที่เป็ นตัวแทนให้ความรู้พลังงาน ในเรื่ องของพลังงาน จัดทารู ปแบบ
โครงงานสารวจและปฏิบติการการประหยัดพลังงาน กิจกรรมออกแบบโมเดลเครื่ องอบแห้งพลังงาน
ั
แสงอาทิตย์ กิจกรรมสวนหย่อมพลังงาน กิจกรรมเพิ่ มมูลค่าใบไม้ในโรงเรี ยนโดยการทาปุ๋ ยหมักแบบเติม
ั
อากาศ และช่วยจัดเตรี ยมเอกสารพลังงานเพื่อนาไปเผยแพร่ ให้กบชาวบ้านในชุมชน
ระยะที่ 2 ประชาสั มพันธ์ ถึงกิจกรรมโครงการฯ ในเรื่องของพลังงานรู ปแบบต่ าง ๆ ให้ แก่ ชาวบ้ านในชุ มชน
หลังจากการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนในระยะที่ 1 ครู พลังงาน และตัวแทนนักเรี ยน เข้าสู่ พ้ืนที่
เป้ าหมายเพื่อประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับพลังงาน อาทิ การใช้พลังงานลม การใช้พลังงานแสงอาทิตย์ การใช้
3

เทคโนโลยีเกี่ยวกับพลังงาน โดยใช้สื่อที่เหมาะสม เช่นในรู ปแบบ Social Media ซึ่ งกาลังได้รับความนิยม
ั
และใช้กนอย่างกว้างขวางในปั จจุบน เช่น Facebook , Youtube การรายงานผลการเรี ยนรู้จดทาในรู ปแบบ
ั
ั
่
Digital Media สร้างเป็ นคลิปวีดีโอ และแชร์ ผาน Social Network ทั้งใน youtube.com และ facebook.com
ปัจจุบน ใช้Facebook.com/subbonwittayakhom เป็ นสื่ อกลางในการเผยแพร่ และสามารถเข้าถึงได้จาก
ั
google.com โดยค้นหาคาว่า พลังงานทดแทนโรงเรี ยนซับบอนวิทยาคม
ระยะที่ 3 จัดกิจกรรมดาเนินการ (ครั้ งที่ 1 เผยแพร่ พลังงาน)
การจัดกิจกรรมแบ่ งเป็ น
สถานีที่ 1 เรียนรู้ พลังงาน
เป็ นการเรี ยนรู ้เกี่ยวกับพลังงานทดแทน การใช้พลังงานทดแทนในรู ปแบบต่าง ๆ
และสถานการณ์การใช้พลังงาน ของประเทศไทย

และการใช้พลังงานอย่างคุมค่าใน
้

ชีวตประจาวัน
ิ
สถานีที่ 2 พลังงานทดแทน
การออกแบบและจัดทาโมเดลเครื่ องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์

หลังจากที่

นักเรี ยนได้ศึกษาเกี่ยวกับ พลังงานทดแทน ทฤษฏีเรื่ องแสง การหักเหขอแสง และกฎการ
อนุรักษ์พลังงาน นาความรู้ที่ได้ศึกษามาออกแบบแผนผังความคิดทาโมเดลเครื่ องอบแห้ง
พลังงานแสงอาทิตย์ และสร้างโมเดลจาลอง จากนั้น เริ่ มทาการทดลองทดสอบ
ประสิ ทธิภาพในการอบแห้งโดยวั ดอุณหภูมิ เปรี ยบเทียบประสิ ทธิภาพเครื่ องอบแห้งโดย
วัดจากน้ าหนักที่สามารถละเหยความชื้นออกได้
สถานีที่ 3 บูรณาการเพือลดโลกร้ อนและปัญหาการเผาใบไม้
่
เป็ นการบูรณาการความรู ้เรื่ องการผุพงอยูกบที่ ซึ่ งการทดลองในสถานีน้ ี ทาโดยนา
ั ่ ั
ใบไม้ในโรงเรี ยนมากองรวมกัน ผสมกับมูลวัว และเพิ่มความชื้นโดยใช้น้ า ผสมเข้าด้วยกัน
ช่วยให้เกิดการย่อยสลายได้เร็ วขึ้น โดยตั้งสมมติฐานการย่อยสลายโดยใช้ จุลินทรี ยที่ใช้
์
ออกซิเจนในการดา รงชีวต ซึ่ งยังช่วยลดการเกิดก๊าชมีเทน จากการย่อยสลายแบบทับถม
ิ
เป็ นการช่วยลดภาวะโลกร้อนจากปรากฏการณ์เรื อนกระจก การทาปุ๋ ยหมักในรู ปแบบนี้
ั
ทาการเพิ่มออกซิ เจนให้กบระบบได้ 2 วิธี คือ 1 เติมอากาศ 2 เติมน้ า การเติมน้ าจะช่วยเพิ่ม
ความชื้นในกองปุ๋ ย และทาให้จุลินทรี ย์สามารถดารงชีวตได้ ขั้นตอนการใช้พลังงาน
ิ
ั
ทดแทน สามารถใช้แผงโซล่าเชลล์ในการผลิตไฟฟ้ า และนามาใช้กบพัดลมอัดอากาศ และ
4

วาล์วเปิ ดปิ ดน้ าเพื่อควบความความชื้นและอุณหภูมิของกองปุ๋ ย จากนั้นให้นกเรี ยนนา
ั
กลับไปศึกษาต่อที่บาน โดยให้ครอบครับและชุมชนมีส่วนร่ วม
้
สถานีที่ 4 เทคโนโลยีและพลังงาน
เป็ นการนาเสนอองค์ความรู ้ที่ได้ศึกษาตามขั้นตอนการทาโครงงานจัดทารายงาน
่
ในรู ปแบบ สื่ อ Digital Media ได้แก่การนาเสนอในรู ปแบบคลิปวีดีโอ แล้วนาเอยแพร่ ผาน
Youtube.com การโพสภาพกิจกรรมผ่าน Social Network เช่น Facebook.com
ระยะที่ 4-5 จัดกิจกรรมดาเนินการ (ครั้ งที่ 2 ติดตามผลการดาเนินการ)
ครู พลังงานและตัวแทนนักเรี ยนนาผลงานที่ได้ไปจัดทาที่บาน และชุมชน การจัดทาโครงการซ้ าเพื่อ
้
แก้ไขปั ญหาพลังงานในรู ปแบบต่าง ๆ หลังจากการเผยแพร่ พลังงาน เป็ นการติดตามผลการดาเนินการ และ
เพื่อให้ทราบว่าเกิดประสิ ทธิผลมากเพียงใด หลังจากได้จดทาตามคาแนะนาจากทางครู พลังงาน
ั
ระยะที่ 6 จัดกิจกรรมดาเนินการ (ครั้ งที่ 3 สรุ ปผลการดาเนินการ)
เป็ นการสรุ ปผลการดาเนินการ รวบรวมข้อมูล ด้วยการสัมภาษณ์ แบบสอบถาม และนาข้อมูลที่
ได้มาแปลผล เพื่อนาไปพัฒนาปรับปรุ งในขั้นตอนต่อไป
ระยะที่ 7 มอบรางวัลพลังงานดีเด่ นเพือเป็ นกาลังใจในการผลักดันพัฒนาพลังงานของประเทศต่ อไป
่
ั
จัดมอบรางวัลให้กบตัวแทนนักเรี ยน และตัวแทนชุมชนที่ให้ความร่ วมมือในการมีส่วนร่ วมใน
กิจกรรม “ฉลาดเรี ยนรู้พลังงานนาไปใช้ในชีวต”
ิ
ระยะที่ 8 สรุ ปผล กิจกรรมฉลาดเรียนรู้ พลังงานนาไปใช้ ในชี วต
ิ
สรุ ปผลต่าง ๆ ที่ได้จดกิจกรรมตลอดทั้งโครงการ
ั

และคัดเลือกบุคคล เยาวชน และตัวแทนของ

หมู่บาน เพื่อสานต่อโครงการในการจัดการพลังงาน และภาวะโลกร้อน
้

เพื่อเป็ นตัวแทนพลังงานของ

โรงเรี ยน และเป็ นตัวแทนของพลังงานชุมชน โดยโครงการนี้จ ั ดขึ้นโดยอาศัยเครื อข่ายความร่ วมมือระหว่าง
โรงเรี ยนและชุมชนผ่านองค์การบริ หารส่ วนตาบล
5

กระบวนการจัดกิจกรรมโครงการฯ
อบรม และจัดเตรียมเอกสารพลังงาน
เพือให้ ความรู้ แก่นักเรียนและชุมชน
่
พร้ อมทั้งจดทะเบียนบริษัท
ประชาสัมพันธ์ ถึงกิจกรรมโครงการฯ
ในเรื่องของพลังงานรู ปแบบต่ าง ๆ ให้ แก่ชุมชน

จัดกิจกรรมดาเนินการ
(ครั้ งที่ 1 เผยแพร่ พลังงาน)
.49
.49
.49
จัดกิจกรรมดาเนินการ
(ครั้ งที่ 2 ติดตามผลการดาเนินการ)

จัดกิจกรรมดาเนินการ
(ครั้ งที่ 3 สรุปผลการดาเนินการ)

มอบรางวัลพลังงานดีเด่ นเพือเป็ นกาลังใจ
่
ในการผลักดันพัฒนาพลังงานของประเทศต่ อไป

สรุปผล สรุ ปผล กิจกรรมฉลาดเรียนรู้ พลังงานนาไปใช้ ในชี วต
ิ
6

ปฏิทนขั้นตอนการจัดกิจกรรมโครงการฯ
ิ
กิจกรรม

ระยะโครงการ
1

2

3

1. อบรม และจัดเตรี ยมเอกสารพลังงาน
เพื่อให้ความรู ้แก่ชาวบ้านในชุมชน
2. ประชาสัมพันธ์ถึงกิจกรรมโครงการฯ
ในเรื่ องของพลังงานรู ปแบบต่าง ๆ ให้แก่
ชาวบ้านในชุมชน
3.จัดกิจกรรมดาเนินการ
(ครั้ งที่ 1 เผยแพร่ พลังงาน)
4. จัดกิจกรรมดาเนินการ
(ครั้ งที่ 2 ติดตามผลการดาเนินการ)
5. จัดกิจกรรมดาเนินการ
(ครั้ งที่ 3 สรุ ปผลการดาเนินการ)
6. มอบรางวัลพลังงานดีเด่นเพื่อเป็ นกาลังใจ
ในการผลักดันพัฒนาพลังงานของประเทศ
ต่อไป
7.สรุ ปผล กิจกรรมฉลาดเรี ยนรู ้พลังงาน

นาไปใช้ในชีวต
ิ

พืนทีเ่ ปาหมายปฏิบัติการ
้ ้
สถานที่/เป้ าหมายปฏิบติการ
ั
- ชุมชน ตาบลกันจุ อาเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์
ศูนย์ให้คาปรึ กษา
องค์การบริ หารส่ วนตาบลกันจุ

4

5

6

7

8
7

รายละเอียดค่ าใช้ จ่าย
ค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรม
ค่าสื่ อจัดทาเอกสารเผยแพร่ ความรู ้
ค่าอุปกรณ์พลังงานที่นามาเผยแพร่ ความรู ้
ค่าอุปกรณ์พลังงานในการจัดทาโครงการ
ค่าพาหนะเดินทาง
ค่าอาหาร และเครื่ องดื่ม
รวมค่ าใช้ จ่ายโดยประมาณ

3,000 บาท
7,000 บาท
4,000 บาท
1,000 บาท
5,000 บาท
20,000 บาท

ผลทีคาดว่าจะได้ รับ
่
- นักเรี ยนโรงเรี ยนซับบอนวิทยาคมมีความรู้เรื่ องพลังงานทดแทนและ สามารถนาความรู้ดาน
้
ั
พลังงานไปปรับประยุกต์ใช้กบการดาเนินชีวตประจาวันของตนเองได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
ิ
- ชุมชนตาบลกันจุ อาเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์ มีความรู ้เรื่ องพลังงานทดแทนและ
ั
สามารถนาความรู ้ดานพลังงานไปปรับประยุกต์ใช้กบการดาเนินชีวตประจาวันของตนเองได้
้
ิ
อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
- นักเรี ยนสามารถนาความรู ้พ้ืนฐานด้านพลังงานมาประยุกต์ใช้และออกแบบโมเดลเครื่ อง
อบแห้ง พลังงานแสงอาทิตย์ได้ และเห็นคุณค่าของพลังงาน โดยเฉพาะพลังงา นทดแทนที่เป็ น
มิตรกับสิ่ งแวดล้อม ส่ งผลให้ลดการเกิดภาวะโลกร้อน และลดปั ญหาการขาดแคลนพลังงาน
ของประเทศได้
- นักเรี ยนสามารถนาความรู ้ที่ได้จากฐานการเรี ยนรู ้ถ่ายทอดกลับสู่ ชุมชน และเผยแพร่ ความรู ้โดย
ใช้เทคโนโล ยีที่เหมาะสมได้ เช่น เผยแพร่ ผลงานในรู ปแบบคลิปวีดีโอผ่าน youtube.com
เผยแพร่ เรื่ องราวผ่าน Social Network เช่น Facebook.com
ตัวอย่างผลงาน
ที่ดาเนินงานแล้ว สามารถดูได้ที่ kruweerachat.blogspot.com ,
kruweerachat.wordpress.com, facebook.com/kruweerachat
โครงการที่เกี่ยวข้อง
- กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์ “ฉลาดกิน ฉลาดอยู่ ฉลาดใช้ พลังงานทดแทน วิถีไทย สู่ สังคมสี เขียว”
โดยความร่ วมมือของ สานักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน บริ ษทบางจากจากัด (มหาชน)
ั
8

ภาพประกอบการดาเนินกิจกรรมในโรงเรียน

การออกแบบโมเดลเครื่ องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์
9

การออกแบบโมเดลเครื่ องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์
10

การศึกษาการทาปุ๋ ยหมักแบบใช้ออกซิเจน
11

การศึกษาการทาปุ๋ ยหมักแบบใช้ออกซิเจน

More Related Content

Similar to โครงการครูพลังงาน 2556

2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 52554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
chanhom357
 
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
Kobwit Piriyawat
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
กฤตพร สุดสงวน
 
โครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงานโครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงาน
Sunrise Beach
 
โครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงานโครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงาน
Duonghthai Thaigun
 
โครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงานโครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงาน
Duonghthai Thaigun
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4
Suwakhon Phus
 

Similar to โครงการครูพลังงาน 2556 (20)

2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
 
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 52554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
 
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
Alternative energy
Alternative energyAlternative energy
Alternative energy
 
Is pre
Is preIs pre
Is pre
 
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
 
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
 
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ เชื่อมโยง
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ เชื่อมโยงกลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ เชื่อมโยง
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ เชื่อมโยง
 
K2
K2K2
K2
 
K2
K2K2
K2
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
โครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงานโครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงาน
 
โครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงานโครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงาน
 
โครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงานโครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงาน
 
กิจกรรม Is3
กิจกรรม Is3กิจกรรม Is3
กิจกรรม Is3
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4
 
โครงการMouกับ ศูนย์วิศวกรรม55
โครงการMouกับ ศูนย์วิศวกรรม55โครงการMouกับ ศูนย์วิศวกรรม55
โครงการMouกับ ศูนย์วิศวกรรม55
 

More from Weerachat Martluplao

ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
Weerachat Martluplao
 
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
Weerachat Martluplao
 

More from Weerachat Martluplao (20)

โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐโครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
 
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานโครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
 
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
 
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Mediaการพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
 
พัฒนาการคิดด้วย
พัฒนาการคิดด้วย พัฒนาการคิดด้วย
พัฒนาการคิดด้วย
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้นการออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
 
Asean curriculum thai
Asean curriculum thaiAsean curriculum thai
Asean curriculum thai
 
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคมการจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
 
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
Storyboard การออกแบบ application
Storyboard การออกแบบ applicationStoryboard การออกแบบ application
Storyboard การออกแบบ application
 
Stem workshop report
Stem workshop reportStem workshop report
Stem workshop report
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
Stem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills developmentStem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills development
 
trigonometry
trigonometrytrigonometry
trigonometry
 
ประจุไฟฟ้า Electric charges
ประจุไฟฟ้า Electric chargesประจุไฟฟ้า Electric charges
ประจุไฟฟ้า Electric charges
 
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลายรางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
 
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้นรางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
 
Force and motion
Force and motion Force and motion
Force and motion
 

โครงการครูพลังงาน 2556

  • 1. 0 แผนปฏิบัตการ ิ โครงการ “ครูพลังงาน นอกรั้วโรงเรียน” กิจกรรม “ฉลาดเรียนรู้ พลังงานนาไปใช้ ในชีวต” ิ โดย นายวีรชาติ มาตรหลุบเลา ตาแหน่ ง ครู โรงเรียนซับบอนวิทยาคม อาเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์ สานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 ้ ่
  • 2. 1 วิสัยทัศน์ เกียวกับการพัฒนาพลังงานของประเทศ ่ พลังงานอันเป็ นสิ่ งสาคัญในการดาเนินชีวต หากว่าหมดหรื อหายไปจากโลก นี้ มนุษย์และสิ่ งมีชีวต ิ ิ ทุกชีวตก็ไม่อาจดาเนินชีวตอยูได้ การรู ้จกเลือกใช้พลังงานให้เหมาะสมกับสถานการณ์ และชีวตความ ิ ิ ่ ั ิ เป็ นอยู่ จะส่ งผลให้มนุษย์ใช้พลังงานนั้นได้อย่างคุมค่า และส่ งผลดี ต่อตนเอง ต่อสังคม ต่อสิ่ งแวดล้อม และ ้ ประเทศชาติ กิจกรรมการเรี ยนการสอนของโรงเรี ยนซับบอนวิทยาคม ออกแบบกิจกรรมการเรี ยนการสอน บูรณาการเรื่ องพลังงานและพลังงานทดแทนโดยสร้างการมีส่วนร่ วมรับผิดชอบ ร่ วมกันค้นหาต้นแหตุความ สิ้ นเปลื องของพลังงานทั้งในโรงเรี ยนและที่บาน โดยจัดกิจกรรมผ่านโครงงานสารวจ และกิจกรรมการ ้ ออกแบบเครื่ องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ นาพลังงานทางเลือกมาใช้ร่วมกับสวนหย่อมและการเพิ่ม ั ความชื้นให้กบกองปุ๋ ยหมัก กิจกรรมต่างๆเหล่านี้ สามารถสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์และสร้างสา นึก การใช้พลังงานอย่างคุมค่า และสามารถต่อยอดการใช้พลังงานทดแทนในรู ปแบบอื่นๆซึ่ งจะนาไปสู่ การ ้ พัฒนา นวัตกรรมด้านพลังงานต่อไป ชื่อโครงการ “ครู พลังงานรอบรั้วโรงเรี ยน” ชื่อกิจกรรม “ฉลาดเรี ยนรู้พลังงานนาไปใช้ในชีวต” ิ เหตุผล/ความจาเป็ น โรงเรี ยนซับบอนวิทยาคม จัดกระบวนการเรี ยนการสอนในรู ปแบบบูรณากา ร สร้างกิจกรรมการ เรี ยนการสอนที่ สอดคล้องกับกิจกรรมด้านพลังงาน เพื่อสร้างจิตสานึกในการใช้พลังงานอย่างคุมค่าและนา ้ ความรู ้ที่ได้จากการศึกษาไปต่อยอดความรู ้ เพื่อให้สามารถนาไปใช้ได้จริ ง กิจกรรมการเรี ยนการสอนจัดผ่าน โครงงาน ซึ่ งให้ผลดีท้ งทางตรงและทางอ้อม ในขณะเดียวกันยังเป็ นการช่วยลดการใช้พลังงานในโรงเรี ยน ั ซึ่ งโรงเรี ยนมีค่าใช้จ่ายด้านพลังงานเดือนละประมาณ 17,000 บาทต่อเดือน และเป็ นการสร้างคุณลักษณะ ั อันพึงประสงค์ให้กบนักเรี ยน และกิจกรรมอื่นๆเป็ นการบูรณาการสหวิชานาความรู ้จากหลายด้ านมา เชื่อมโยงกับการใช้พลังงาน เช่น การออกแบบสวนหย่อมพลังงานทดแทน การรดน้ ากองปุ๋ ยหมักโดยใช้ พลังงานทดแทน ซึ่ งเป็ นการนาเอาทรัพยากรที่มีในท้องถิ่นและชุมชน มาสร้างมูลค่าเพิ่ม เป็ นแนวทางการ ั ประกอบอาชีพให้กบนักเรี ยนและถ่ายทอดองค์ความรู ้สู่ชุมชน โดยเริ่ มจากที่บา นของนักเรี ยน สู่ ชุมชนผ่าน ้ เครื อข่ายองค์การบริ หารส่ วนตาบล วัตถุประสงค์ เพื่อให้โรงเรี ยนและชุมชนสามารถรับมือกับปั ญหาวิกฤตพลังงานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ สร้าง จิตสานึกที่ดี ร่ วมกันค้นหาสาเหตุและนาเสนอวิธีการแก้ไขปั ญหาพลังงาน อีกทั้งนาความรู ้ที่ได้ไปประยุกต์ ั ิ ั ให้กบชีวตประจาวัน สร้างมูลค่าเพิ่มให้กบครอบครัว ทั้งยังเป็ นการพัฒนาศักยภาพในการทาโครงงานวิจย ั ของนักเรี ยน เพื่อนามาบูรณาการใช้จริ งในโรงเรี ยน หมู่บาน และชุมชน จากการทาโครงงานเพื่อเรี ยนรู ้สู่วถี ้ ิ การดาเนินชีวตของชุมชนในรู ปแบบการจัดการด้านต่าง ๆ และลดการเผาใบไม้ซ่ ึงเป็ นสาเหตุหนึ่งในการเกิด ิ
  • 3. 2 คาร์ บอนไดออกไซด์ และการหมักทับถม การย่อยสลายโดยการเติบโตของจุลินทรี ยที่ไม่ใช้ออกซิ เจน ซึ่ ง ์ เป็ นสาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน โดยการทาปุ๋ ยหมักแบบย่อยสลายโดยใช้จุลินทรี ยที่ใช้ออกซิ เจนใน ์ การย่อยสลาย เปาหมายกิจกรรมโครงการ ้ ประชาชนใน ชุมชน ใช้พลังงานอย่างคุมค่า ร่ วมแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ร่วมกัน ดาเนินชีวตประจาวัน ้ ิ และสามารถประยุกต์ใช้วธีการ หลักการต่าง ๆ ในการจัดการแก้ไข สร้างมูลค่าเพิ่มจากพลังงานทดแทน ิ ผู้ร่วมดาเนินการ กลุ่มผูร่วมดาเนินกิจกรรม ้ - นายวีรชาติ มาตรหลุบเลา ครู พลังงาน 2556 โรงเรี ยนซับบอนวิทยาคม - กลุ่มนักเรี ยนต้นกล้าพลังงาน นักเรี ยนวิทยาศาสตร์ดานพลังงาน โรงเรี ยนซับบอนวิทยาคม ้ กลุ่มผูเ้ ข้าร่ วมกิจกรรม - กลุ่มชุมชน ตาบลกันจุ และกลุ่มประชาชนผูสนใจในเขตใกล้เคียง ้ - กลุ่มเยาวชนภายใน และภายนอกโรงเรี ยนที่มีความสนใจในการศึกษาเรี ยนรู้พลังงาน ขั้นตอน/วิธีดาเนินงาน และแผนปฏิบัติงานอย่างละเอียด แผนปฏิบติการ ั กิจกรรม “ฉลาดเรี ยนรู้พลังงานนาไปใช้ในชีวต” ิ โรงเรี ยนซับบอนวิทยาคมและชุมชนตาบลกันจุ อาเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์ ระยะที่ 1 จัดกิจกรรมให้ ความรู้ พลังงาน และพลังงานทดแทน ครู พลังงาน อบรมนักเรี ยนที่เป็ นตัวแทนให้ความรู้พลังงาน ในเรื่ องของพลังงาน จัดทารู ปแบบ โครงงานสารวจและปฏิบติการการประหยัดพลังงาน กิจกรรมออกแบบโมเดลเครื่ องอบแห้งพลังงาน ั แสงอาทิตย์ กิจกรรมสวนหย่อมพลังงาน กิจกรรมเพิ่ มมูลค่าใบไม้ในโรงเรี ยนโดยการทาปุ๋ ยหมักแบบเติม ั อากาศ และช่วยจัดเตรี ยมเอกสารพลังงานเพื่อนาไปเผยแพร่ ให้กบชาวบ้านในชุมชน ระยะที่ 2 ประชาสั มพันธ์ ถึงกิจกรรมโครงการฯ ในเรื่องของพลังงานรู ปแบบต่ าง ๆ ให้ แก่ ชาวบ้ านในชุ มชน หลังจากการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนในระยะที่ 1 ครู พลังงาน และตัวแทนนักเรี ยน เข้าสู่ พ้ืนที่ เป้ าหมายเพื่อประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับพลังงาน อาทิ การใช้พลังงานลม การใช้พลังงานแสงอาทิตย์ การใช้
  • 4. 3 เทคโนโลยีเกี่ยวกับพลังงาน โดยใช้สื่อที่เหมาะสม เช่นในรู ปแบบ Social Media ซึ่ งกาลังได้รับความนิยม ั และใช้กนอย่างกว้างขวางในปั จจุบน เช่น Facebook , Youtube การรายงานผลการเรี ยนรู้จดทาในรู ปแบบ ั ั ่ Digital Media สร้างเป็ นคลิปวีดีโอ และแชร์ ผาน Social Network ทั้งใน youtube.com และ facebook.com ปัจจุบน ใช้Facebook.com/subbonwittayakhom เป็ นสื่ อกลางในการเผยแพร่ และสามารถเข้าถึงได้จาก ั google.com โดยค้นหาคาว่า พลังงานทดแทนโรงเรี ยนซับบอนวิทยาคม ระยะที่ 3 จัดกิจกรรมดาเนินการ (ครั้ งที่ 1 เผยแพร่ พลังงาน) การจัดกิจกรรมแบ่ งเป็ น สถานีที่ 1 เรียนรู้ พลังงาน เป็ นการเรี ยนรู ้เกี่ยวกับพลังงานทดแทน การใช้พลังงานทดแทนในรู ปแบบต่าง ๆ และสถานการณ์การใช้พลังงาน ของประเทศไทย และการใช้พลังงานอย่างคุมค่าใน ้ ชีวตประจาวัน ิ สถานีที่ 2 พลังงานทดแทน การออกแบบและจัดทาโมเดลเครื่ องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ หลังจากที่ นักเรี ยนได้ศึกษาเกี่ยวกับ พลังงานทดแทน ทฤษฏีเรื่ องแสง การหักเหขอแสง และกฎการ อนุรักษ์พลังงาน นาความรู้ที่ได้ศึกษามาออกแบบแผนผังความคิดทาโมเดลเครื่ องอบแห้ง พลังงานแสงอาทิตย์ และสร้างโมเดลจาลอง จากนั้น เริ่ มทาการทดลองทดสอบ ประสิ ทธิภาพในการอบแห้งโดยวั ดอุณหภูมิ เปรี ยบเทียบประสิ ทธิภาพเครื่ องอบแห้งโดย วัดจากน้ าหนักที่สามารถละเหยความชื้นออกได้ สถานีที่ 3 บูรณาการเพือลดโลกร้ อนและปัญหาการเผาใบไม้ ่ เป็ นการบูรณาการความรู ้เรื่ องการผุพงอยูกบที่ ซึ่ งการทดลองในสถานีน้ ี ทาโดยนา ั ่ ั ใบไม้ในโรงเรี ยนมากองรวมกัน ผสมกับมูลวัว และเพิ่มความชื้นโดยใช้น้ า ผสมเข้าด้วยกัน ช่วยให้เกิดการย่อยสลายได้เร็ วขึ้น โดยตั้งสมมติฐานการย่อยสลายโดยใช้ จุลินทรี ยที่ใช้ ์ ออกซิเจนในการดา รงชีวต ซึ่ งยังช่วยลดการเกิดก๊าชมีเทน จากการย่อยสลายแบบทับถม ิ เป็ นการช่วยลดภาวะโลกร้อนจากปรากฏการณ์เรื อนกระจก การทาปุ๋ ยหมักในรู ปแบบนี้ ั ทาการเพิ่มออกซิ เจนให้กบระบบได้ 2 วิธี คือ 1 เติมอากาศ 2 เติมน้ า การเติมน้ าจะช่วยเพิ่ม ความชื้นในกองปุ๋ ย และทาให้จุลินทรี ย์สามารถดารงชีวตได้ ขั้นตอนการใช้พลังงาน ิ ั ทดแทน สามารถใช้แผงโซล่าเชลล์ในการผลิตไฟฟ้ า และนามาใช้กบพัดลมอัดอากาศ และ
  • 5. 4 วาล์วเปิ ดปิ ดน้ าเพื่อควบความความชื้นและอุณหภูมิของกองปุ๋ ย จากนั้นให้นกเรี ยนนา ั กลับไปศึกษาต่อที่บาน โดยให้ครอบครับและชุมชนมีส่วนร่ วม ้ สถานีที่ 4 เทคโนโลยีและพลังงาน เป็ นการนาเสนอองค์ความรู ้ที่ได้ศึกษาตามขั้นตอนการทาโครงงานจัดทารายงาน ่ ในรู ปแบบ สื่ อ Digital Media ได้แก่การนาเสนอในรู ปแบบคลิปวีดีโอ แล้วนาเอยแพร่ ผาน Youtube.com การโพสภาพกิจกรรมผ่าน Social Network เช่น Facebook.com ระยะที่ 4-5 จัดกิจกรรมดาเนินการ (ครั้ งที่ 2 ติดตามผลการดาเนินการ) ครู พลังงานและตัวแทนนักเรี ยนนาผลงานที่ได้ไปจัดทาที่บาน และชุมชน การจัดทาโครงการซ้ าเพื่อ ้ แก้ไขปั ญหาพลังงานในรู ปแบบต่าง ๆ หลังจากการเผยแพร่ พลังงาน เป็ นการติดตามผลการดาเนินการ และ เพื่อให้ทราบว่าเกิดประสิ ทธิผลมากเพียงใด หลังจากได้จดทาตามคาแนะนาจากทางครู พลังงาน ั ระยะที่ 6 จัดกิจกรรมดาเนินการ (ครั้ งที่ 3 สรุ ปผลการดาเนินการ) เป็ นการสรุ ปผลการดาเนินการ รวบรวมข้อมูล ด้วยการสัมภาษณ์ แบบสอบถาม และนาข้อมูลที่ ได้มาแปลผล เพื่อนาไปพัฒนาปรับปรุ งในขั้นตอนต่อไป ระยะที่ 7 มอบรางวัลพลังงานดีเด่ นเพือเป็ นกาลังใจในการผลักดันพัฒนาพลังงานของประเทศต่ อไป ่ ั จัดมอบรางวัลให้กบตัวแทนนักเรี ยน และตัวแทนชุมชนที่ให้ความร่ วมมือในการมีส่วนร่ วมใน กิจกรรม “ฉลาดเรี ยนรู้พลังงานนาไปใช้ในชีวต” ิ ระยะที่ 8 สรุ ปผล กิจกรรมฉลาดเรียนรู้ พลังงานนาไปใช้ ในชี วต ิ สรุ ปผลต่าง ๆ ที่ได้จดกิจกรรมตลอดทั้งโครงการ ั และคัดเลือกบุคคล เยาวชน และตัวแทนของ หมู่บาน เพื่อสานต่อโครงการในการจัดการพลังงาน และภาวะโลกร้อน ้ เพื่อเป็ นตัวแทนพลังงานของ โรงเรี ยน และเป็ นตัวแทนของพลังงานชุมชน โดยโครงการนี้จ ั ดขึ้นโดยอาศัยเครื อข่ายความร่ วมมือระหว่าง โรงเรี ยนและชุมชนผ่านองค์การบริ หารส่ วนตาบล
  • 6. 5 กระบวนการจัดกิจกรรมโครงการฯ อบรม และจัดเตรียมเอกสารพลังงาน เพือให้ ความรู้ แก่นักเรียนและชุมชน ่ พร้ อมทั้งจดทะเบียนบริษัท ประชาสัมพันธ์ ถึงกิจกรรมโครงการฯ ในเรื่องของพลังงานรู ปแบบต่ าง ๆ ให้ แก่ชุมชน จัดกิจกรรมดาเนินการ (ครั้ งที่ 1 เผยแพร่ พลังงาน) .49 .49 .49 จัดกิจกรรมดาเนินการ (ครั้ งที่ 2 ติดตามผลการดาเนินการ) จัดกิจกรรมดาเนินการ (ครั้ งที่ 3 สรุปผลการดาเนินการ) มอบรางวัลพลังงานดีเด่ นเพือเป็ นกาลังใจ ่ ในการผลักดันพัฒนาพลังงานของประเทศต่ อไป สรุปผล สรุ ปผล กิจกรรมฉลาดเรียนรู้ พลังงานนาไปใช้ ในชี วต ิ
  • 7. 6 ปฏิทนขั้นตอนการจัดกิจกรรมโครงการฯ ิ กิจกรรม ระยะโครงการ 1 2 3 1. อบรม และจัดเตรี ยมเอกสารพลังงาน เพื่อให้ความรู ้แก่ชาวบ้านในชุมชน 2. ประชาสัมพันธ์ถึงกิจกรรมโครงการฯ ในเรื่ องของพลังงานรู ปแบบต่าง ๆ ให้แก่ ชาวบ้านในชุมชน 3.จัดกิจกรรมดาเนินการ (ครั้ งที่ 1 เผยแพร่ พลังงาน) 4. จัดกิจกรรมดาเนินการ (ครั้ งที่ 2 ติดตามผลการดาเนินการ) 5. จัดกิจกรรมดาเนินการ (ครั้ งที่ 3 สรุ ปผลการดาเนินการ) 6. มอบรางวัลพลังงานดีเด่นเพื่อเป็ นกาลังใจ ในการผลักดันพัฒนาพลังงานของประเทศ ต่อไป 7.สรุ ปผล กิจกรรมฉลาดเรี ยนรู ้พลังงาน นาไปใช้ในชีวต ิ พืนทีเ่ ปาหมายปฏิบัติการ ้ ้ สถานที่/เป้ าหมายปฏิบติการ ั - ชุมชน ตาบลกันจุ อาเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์ ศูนย์ให้คาปรึ กษา องค์การบริ หารส่ วนตาบลกันจุ 4 5 6 7 8
  • 8. 7 รายละเอียดค่ าใช้ จ่าย ค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรม ค่าสื่ อจัดทาเอกสารเผยแพร่ ความรู ้ ค่าอุปกรณ์พลังงานที่นามาเผยแพร่ ความรู ้ ค่าอุปกรณ์พลังงานในการจัดทาโครงการ ค่าพาหนะเดินทาง ค่าอาหาร และเครื่ องดื่ม รวมค่ าใช้ จ่ายโดยประมาณ 3,000 บาท 7,000 บาท 4,000 บาท 1,000 บาท 5,000 บาท 20,000 บาท ผลทีคาดว่าจะได้ รับ ่ - นักเรี ยนโรงเรี ยนซับบอนวิทยาคมมีความรู้เรื่ องพลังงานทดแทนและ สามารถนาความรู้ดาน ้ ั พลังงานไปปรับประยุกต์ใช้กบการดาเนินชีวตประจาวันของตนเองได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ิ - ชุมชนตาบลกันจุ อาเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์ มีความรู ้เรื่ องพลังงานทดแทนและ ั สามารถนาความรู ้ดานพลังงานไปปรับประยุกต์ใช้กบการดาเนินชีวตประจาวันของตนเองได้ ้ ิ อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ - นักเรี ยนสามารถนาความรู ้พ้ืนฐานด้านพลังงานมาประยุกต์ใช้และออกแบบโมเดลเครื่ อง อบแห้ง พลังงานแสงอาทิตย์ได้ และเห็นคุณค่าของพลังงาน โดยเฉพาะพลังงา นทดแทนที่เป็ น มิตรกับสิ่ งแวดล้อม ส่ งผลให้ลดการเกิดภาวะโลกร้อน และลดปั ญหาการขาดแคลนพลังงาน ของประเทศได้ - นักเรี ยนสามารถนาความรู ้ที่ได้จากฐานการเรี ยนรู ้ถ่ายทอดกลับสู่ ชุมชน และเผยแพร่ ความรู ้โดย ใช้เทคโนโล ยีที่เหมาะสมได้ เช่น เผยแพร่ ผลงานในรู ปแบบคลิปวีดีโอผ่าน youtube.com เผยแพร่ เรื่ องราวผ่าน Social Network เช่น Facebook.com ตัวอย่างผลงาน ที่ดาเนินงานแล้ว สามารถดูได้ที่ kruweerachat.blogspot.com , kruweerachat.wordpress.com, facebook.com/kruweerachat โครงการที่เกี่ยวข้อง - กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์ “ฉลาดกิน ฉลาดอยู่ ฉลาดใช้ พลังงานทดแทน วิถีไทย สู่ สังคมสี เขียว” โดยความร่ วมมือของ สานักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน บริ ษทบางจากจากัด (มหาชน) ั