SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
เครื่ องใช้ไฟฟ้ า
ความหมายของเครื่ องใช้ไฟฟ้ า
อุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าเป็ นพลังงานรู ปอื่น เพื่อ
นาไปใช้ใช้ชีวตประจาวัน
               ิ
เครื่องใช้ ไฟฟาที่ให้ พลังงานแสงสว่ าง
                             ้
• เครื่ องใช้ ไฟฟาที่ทาหน้ าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟา ให้ เป็ นพลังงานแสงสว่าง ช่วยทาให้ เรามองเห็น
                 ้                              ้
  สิ่งต่างๆ ได้ แก่ หลอดไฟฟา ผู้ที่ประดิษฐ์ หลอดไฟฟาขึ ้นเป็ นคนแรกของโลก คือ ทอมัส แอลวา
                             ้                          ้
  เอดิสน นักวิทยาศาสตร์ ชาวอเมริ กน ( พ.ศ. 2390-2474 ) เอดิสนได้ ประดิษฐ์ หลอดไฟฟาขึ ้นครัง
         ั                             ั                          ั                      ้      ้
  แรกเมื่อ พ.ศ. 2422 โดยใช้ คาร์ บอนเส้ นเล็กๆ เป็ นไส้ คาร์ บอน ไส้ คาร์ บอนจะร้ อนจนจัดเปล่งแสง
  ออกมา โดยอุณหภูมิของไส้ คาร์ บอนที่กระแสไฟฟาผ่านประมาณ 1,350 องศาเซลเซียส ซึงจุด
                                                      ้                                    ่
  หลอมเหลวของคาร์ บอนสูงประมาณ 3500 องศาเซลเซียส ........ ดังนันการใช้ คาร์ บอนเป็ นไส้
                                                                             ้
  หลอดจึงไม่มีปัญหาต่อการหลอมเหลวของไส้ คาร์ บอน อย่างไรก็ตาม เนื่องจากคาร์ บอนเมื่อ
  ได้ รับความร้ อนแล้ ว บางส่วนก็จะกลายเป็ นไอหรื อเขม่า เมื่อลอยตัวไปจักกับหลอดแก้ วด้ านใน
  ของหลอด ไฟ จะทาให้ แสงสว่างที่สองออกมาสูภายนอกลดลง นอกจากนี ้ไส้ หลอดที่ทาด้ วย
                                         ่        ่
  คาร์ บอนเส้ นเล็กๆยังเปราะอีกด้ วย เมื่อเกิดการสันสะเทือนไส้ หลอดก็จะหักออกจากกัน ต่อมา
                                                    ่
  จึงได้ มีการพัฒนาโดยนาวัตถุชนิดอื่นมาทาไส้ หลอด ได้ แก่ ทังสเตน ทังนี ้เพราะโลหะทังสเตน
                                                                           ้
  เป็ นโลหะที่หาง่าย ราคาถูก มีจดหลอมเหลวสูง ทนความร้ อนได้ ดี เมื่อได้ รับความร้ อนจึงไม่ขาด
                                     ุ
  ง่ายเหมือนกับ
  คาร์ บอน
• ในระยะแรกภายในหลอดไฟมีอากาศบรรจุอยู่ ดังนันขณะที่ไส้ หลอด
                                                       ้
  ได้ รับความร้ อนก๊ าซออกซิเจนจึงทาปฏิกิริยากับไส้ หลอด ทาให้ หลอด
  ขาดง่าย มีอายุการใช้ งานค่อนข้ างน้ อยจึงได้ มีการ พัฒนาโดยการสูบ
  เอาอากาศออกหมดแล้ วบรรจุก๊าซเฉื่อยเข้ าไป ใน
  พ.ศ. 2457 แลงเมียร์ ( Langmuir ) ได้ ใช้ ก๊าซอาร์ กอนบรรจุใน
  หลอดไฟฟา ซึงก๊ าซนี ้ช่วยให้ ทงสเตนที่ได้ รับความร้ อน
            ้ ่                   ั
  ไม่ระเหิดไปจับผิวในของหลอดไฟฟา หลอดไฟฟาจึงไม่ดา อย่างไรก็
                                    ้             ้
  ตามปั จจุบนภายในหลอดไฟฟาได้ บรรจุไอโอดีนแทนก๊ าซอาร์ กอน เวลา
             ั                  ้
  ไส้ หลอดได้ รับความร้ อนก็จะทาปฏิกิริยากับไอโอดีน ทาให้ ไส้ หลอดมี
  ความทนทานมากขึ ้น และให้ แสงสว่างได
  ้้เช่นเดียวกับก๊ าซอาร์ กอน
หลอดไฟ
• ส่ วนประกอบของหลอดไฟฟา           ้
•  หลอดไฟฟาแบบธรรมดาหรื อหลอดไฟฟาชนิดไส้ มีสวนประกอบทัวๆไปดังนั ้
                  ้                           ้        ่           ่
• ........ 1. หลอดแก้ ว
• ........ 2. ไส้ หลอดทาด้ วยโลหะทังสเตน
• ........ 3. เส้ นหลอดต่อเข้ ากับไส้ หลอด
• ........ 4. ลอดยึดไส้ หลอด
• ........ 5. ก้ านลวดยึดไส้ หลอด
• ........ 6. ขั ้นหลอด
• ........ ในการประดิษฐ์ หลอดไฟฟาชนิดนี ้ บริษัทผู้ผลิตจะเอาอากาศออกจากหลอดแก้ วจนหมด แล้ วบรรจุก๊าซ
                                      ้
  อาร์ กอนหรื อไอโอดีน
  เข้ าไปแทนที่ เพื่ออายุการใช้ งานของหลอดนานขึ ้น หลอดไฟฟาชนิดมีไส้ มีหลายขนาดด้ วยกัน เช่น 3 วัตต์ 25 วัตต์
                                                             ้
  40 วัตต์ 100 วัตต์
  เป็ นต้ น อายุการใช้ งานของหลอดไฟฟาประมาณ 1000 ชัวโมง หลอดไฟฟาชนิดไส้ มี 2 แบบ คือ ขั ้วแบบเกลียวแล้ ว
                                            ้             ่             ้
  ขั ้วแบบเขี ้ยว
• หลักการทางานของไส้ หลอดไฟฟา             ้
• ........ เมือกระแสไฟฟาไหลผ่านไส้ หลอดที่ทาด้ วยทังสเตนที่มความต้ านทานสูง ไส้ หลอดจะไม่ยอมให้ กระแสไฟฟา
               ่          ้                                    ี                                              ้
  ไหลผ่าน แต่ด้วยแรงดันไฟฟาที่สงของกระแสไฟฟาจึงดันให้ อิเลคตรอนผ่านไส้ หลอด การที่ไส้ หลอดมีขนาดเล็กมาก
                                 ้ ู                ้
  ประกอบกับ
  มีความต้ านทางสูง เมื่ออิเลคตรอนอิสระเคลือนที่ผ่านจึงทาให้ เกิดความร้ อนสูงมากจนไส้ หลอดเปล่งแสงออกมา
                                                ่
• ........ ปั จจุบนไม่นิยมใช้ หลอดไฟฟาชนิดไส้ เนื่องจากหลอดไฟฟาชนิดนี ้มีความร้ อนสูงและสิ ้น เปลืองกาลังไฟฟา
                    ั                   ้                        ้                                          ้
  มาก
•   หลอดตะเกียบ
•   ( ที่มา http://www.electron.rmutphysics.com/news/index.php?option=com )
•   หลักการทางานของหลอดประหยัดพลังงาน ( หลอดตะเกียบ)
•   ........ หลอดไฟฟาประหยัดพลังงานโดยทัวไปใช้ กบความ ต่างศักย์ ขนาด 230 โวลต์ เมื่อกดสวิตช์เพื่อเปิ ดไฟ
                        ้                        ่       ั
    ความต่างศักย์
    ที่สตาร์ ตเตอร์ (Starter) จุดติดอยู่ระหว่าง 250 โวลต์- 450 โวลต์ ซึงทาหน้ าที่เป็ นตัวจ่ายกระแสไฟฟา (Glow
                                                                           ่                                 ้
    discharge) เมื่อกระแสไฟไหลผ่านวงจรผ่าน ขั ้วบวกและขั ้วลบที่มีแท่งโลหะ (Bimetal) ต่อเชื่อมอยู่ เมือ               ่
    กระแสไฟไหลผ่านขั ้วทั ้งสองแล้ ว จะเกิดการไหลของกระแสไฟภายใต้ ความต่างศักย์ที่สงขึ ้น ส่งผลให้ ขดลวดที่ทา
                                                                                          ู
    มาจากโลหะทังสเตนปล่อยอิเลคตรอนวิ่งไปชนกับอะตอมของก๊ าซในหลอดไฟ (Impact ionization) ทาให้
    อะตอมของก๊ าซเกิดปฎิกิริยาไอออนไนเซชัน ( เกิดเป็ นอนุภาคของก๊ าซที่มีขั ้ว) เมื่ออนุภาคที่มีขั ้วดังกล่าววิ่งไปชน
    กับสารเรื องแสง (Luminescent substance) ก็จะเกิดเป็ นสเปคตรัมหรื อแสง ที่เรามองเห็นนันเอง              ่
•   หลอดฟลูอเรสเซนต์
•   ( ที่มา http://www.electron.rmutphysics.com/news/index.php?option=com )
•   ส่ วนประกอบของหลอดไฟฟา           ้
•   ........ หลอดไฟฟาชนิดนี ้ มีลกษณะแตกต่างไปจากหลอดไฟฟาธรรมชาติชนิดไส้ กล่าวคือ ตัวหลอดทาด้ วยแก้ ว
                      ้            ั                              ้
    บางใสกลมยาวรูปทรงกระบอกหรื อรูปวงกลม ภายในหลอดแก้ วจะสูบอากาศออกเกือบหมด และบรรจุก๊าซ
    อาร์ กอนและปรอทไว้ เล็กน้ อย ที่ผิวด้ านในของหลอดฉาบไว้ ด้วยสารเคมีบางชนิดที่เปล่งแสงได้ เมื่อได้ รับรังสีอลต   ั
    ร้ าไวโอเลต สารเคมีที่มสมบัติดงกล่าวนี ้เรี ยกว่า
                             ี         ั
    สารเรื องแสง ที่เหลือไส้ หลอดแต่ละข้ างจะมีขั ้วโลหะอาบน ้ายาเพื่อให้ กระจายอิเลคตรอนได้ ง่าย เมื่อได้ รับความร้ อน
    จากไส้ หลอดขั ้วโลหะเป็ นขั ้วไฟฟาที่เรี ยกว่า อิเลคโทรด ( Electrode ) ซึงขั ้วไฟฟาจะทาหน้ าที่เป็ นตัวเชื่อต่อ
                                         ้                                     ่      ้
    กระแสไฟฟาจากวงจรภายนอกเข้ าสูตวหลอด
                ้                          ่ ั
•   ........ การใช้ หลอดฟลูออเรสเซนต์ไม่สามารถต่อเข้ ากับวงจรไฟฟาในบ้ านได้ โดยตรงเหมือนกับหลอดไฟฟาธรรมดา
                                                                    ้                                          ้
    เพราะจะทาให้ หลอดไส้ ขาดทันทีที่กระแสไฟฟาผ่าน ดังนั ้นจึงต้ องใช้ ต่อร่วมกับอุปกรณ์อื่นอีก ได้ แก่ สตาร์ ตเตอร์
                                                    ้
    และบัลลัสต์
สตาร์ ตเตอร์ ( Starter )

• ปั จจุบนมีลกษณะเป็ นทรงกระบอก เป็ นโลหะหรื อพลาสติกสีขาว มีขาสองขา ภายใน
           ั ั
  ประกอบด้ วยแผ่นโลหะ 2 ชนิด เช่น แผ่นโลหะคู่ และแผ่นโลหะตัวนาโลหะแต่ละแผ่นจะต่อกับ
  ขัวไฟฟาซึงห่างกันเล็กน้ อย โลหะตัวนาทังสองชนิดจะขยายตัวได้ ไม่เท่ากัน เกิดการโค้ งงอเมื่อได
      ้ ้ ่                                 ้
  ้้ รับความร้ อน และภายในสตาร์ ตเตอร์ จะบรรจุด้วยก๊ าซอาร์ กอน
• หลักการทางาน
• ........ เมื่อกดสวิตซ์ให้ วงจรปิ ดกระแสไฟฟาจะไหลจากแผ่นโลหะคูที่ต่ออยู่กบขัวไฟฟาขัวหนึง
                                              ้                     ่     ั ้ ้ ้ ่
  ผ่านก๊ าซอาร์ กอนที่อยู่ภายในหลอดแก้ วไปยังโลหะ
  ตัวนาที่ต่อเข้ ากับปลายขัวไฟฟาอีกข้ างหนึงขณะ ที่กระแสไฟฟาผ่านก๊ าซอาร์ กอนนันจะเกิดการ
                              ้ ้               ่             ้                 ้
  เรื องแสงหรื อมีประกายไฟ ทาให้ แผ่นโลหะคูร้อน จึงทาให้ คโค้ งงอลงมาแตะกันทาให้ ครบวงจร
                                                  ่       ู่
  กระแสไฟฟาจึงไหลผ่านขัวไฟฟาทังสองได้ โดยไม่ต้องผ่านก๊ าซการ์ กอนความร้ อนจึงไม่เกิดขึ ้น
                ้              ้ ้ ้
  ทาให้ แผ่นโลหะคูเ่ ย็นลงและแยกออกจากกัน วงจรจะถูกตัดขาด ซึงเป็ นช่วงที่หลอดฟลูออเรส
                                                                  ่
  เซนต์ทางาน ดังนันการทางานสตาร์ ตเตอร์
                      ้
  จึงเสมือนการทางานของสวิตซ์อตโนมัติ ั
• แบลลัสต์ ( Ballast )
• ........ มีรูปร่างคล้ ายแท่งเหล็กสี่เหลี่ยม ภายในพันด้ วย ขดลวดรอบ แกน
  แม่เหล็ก ใช้ ลวดทองแดงอาบน ้ายากัน ไฟรั่วระหว่างเส้ นและรั่วลง
  แกนเหล็กแบลลัสต์จะมีความ ต้ านทานไฟฟากระแสสลับสูง
                                                ้
• หลักการทางาน
• ........ เมื่อกดสวิตซ์ให้ วงจรปิ ด กระแสไฟฟาไหลในวงจร แบลลัสต์จะทา
                                              ้
  หน้ าที่เพิ่มความต่างศักย์ไฟฟาระหว่างปลายทังสองของหลอด
                                    ้               ้
  ฟลูออเรสเซนต์ให้ สงขึ ้น เพื่อให้ อิเลคตรอนไหลออกจากไส้ หลอด เมื่อทางาน
                        ู
  แล้ ว แบลลัสต์จะทาหน้ าที่เป็ นตัวหน่วงให้ กระแสไฟฟาน้ อยลง โดยการ
                                                        ้
  เหนี่ยวนาความต่างศักย์ไฟฟาระหว่างปลายทังสองของหลอดให้ คงที่ หลอด
                                  ้               ้
  จึงสว่างจนกว่าจะกดสวิตซ์ให้ วงจรปิ ด
• ........ การเลือกสตาร์ ตเตอร์ และแบลลัสต์ต้องเลือกที่มีคณภาพตาม
                                                          ุ
  มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตสาหกรรม และมีกาลังไฟฟาตรงกับกาลังไฟฟา
                            ุ                         ้             ้
  ของหลอดฟลูออเรสเซนต์ ซึงมีความทนทานและเกิดความปลดภัยขณะใช้
                                ่
  งาน
• ความหมายและตัวเลขที่ปรากฏอยู่บนเครื่ องใช้ ไฟฟาและอุปกรณ์ ไฟฟา
                                                          ้                 ้
• ........ เครื่ องใช้ ไฟฟาและอุปกรณ์ไฟฟาต่างๆ ได้ แก่ หลอดไฟ สตาร์ ตเตอร์ และแบลลัสต์ ถ้ า
                           ้               ้
  สังเกตจะพบว่าบริ ษัทที่ผลิตจะระบุตวเลขต่างๆ
                                         ั
  ไว้ บนเครื่ องใช้ และอุปกรณ์เหล่านัน ซึงตัวเลขดังกล่าวมีความหมายทางไฟฟ้ าดังนี ้
                                       ้ ่
• ........ หลอดไฟ ตัวเลขที่ระบุหลอด เช่น 20 W 10 A 20W นัน ตัวอักษร W ย่อมาจาก
                                                                 ้
  Watt หรื อกาลังไฟฟา จะเป็ นปริ มาณพลังงานไฟฟา
                             ้                         ้
  ที่ใช้ ไปในวินาที เช่น 20 W หมายถึง หลอดไฟฟาจะใช้ พลังงานไป 20 จูล ใน 1 วินาที ส่วนตัว
                                                     ้
  อักษร A ย่อมาจาก Ampere หรื อปริ มาณกระแสไฟฟาที่ไหลผ่านหลอดฟลูออเรสเซนต์ได้
                                                            ้
  สูงสุดตามที่กาหนดไว้ เช่น 10 A หมายถึง ใช้ กบกระแสไฟฟาสูงสุดขนาด
                                                   ั          ้
  10 แอมแปร์
• ........ สตาร์ ตเตอร์ ตัวเลขที่ระบุ 220 V ตัวอักษร V ย่อมาจาก Volt หรื อแรงดันไฟฟา หรื อ
                                                                                    ้
  ความต่างศักย์ไฟฟาสูงสุดที่ระดับได้
                         ้
  มีค่าเท่ากับ 2220 โวลต์
เครื่องใช้ ไฟฟ้ าที่ให้ พลังงานความร้ อน
•   การเปลี่ยนพลังงานไฟฟาเป็ นพลังงานความร้ อน เครื่ องใช้ ไฟฟาประเภทนี ้ในปั จจุบนมีการผลิตและใช้ กนมาก เช่น เตาไฟฟา
                               ้                                       ้                    ั               ั                   ้
    เตารี ดไฟฟา หม้ อหุงข้ าว กาต้ มน ้าไฟฟา เครื่ องปิ งขนมปั ง เครื่ องอบผม เป็ นต้ น
                   ้                         ้           ้
•   ........ เครื่ องใช้ ไฟฟาประเภทนี ้อาศัยหลักการที่วา เมื่อให้ กระแสไฟฟาผ่านขดลวดความต้ านทานจะทาให้ เกิดความร้ อนในขดลวดนันความร้ อน
                             ้                         ่                   ้                                                            ้
    จะมีปริ มาณมากหรื อน้ อยขึ ้นอยูกกระแสไฟฟา และความต้ านทานของขดลวด ถ้ ากระแสไฟฟามากลวดจะร้ อนมากขึ ้น และถ้ าความต้ านทาน
                                        ่ ั        ้                                              ้
    ขดลวดมากก็จะทาให้ ร้อนยิ่งขึ ้น จากหลักการนี ้เส้ นลวดที่นามาใช้ เป็ นตัวให้ ความร้ อนจึงต้ องมีความต้ านทานสูงเพื่อให้ มีความร้ อนมาก และจุด
    หลอมเหลวสูงพอที่จะทาให้ ความร้ อนนานๆ และที่สาคัญต้ องไม่รวมกับออกซิเจนในอากาศเมื่ออุณหภูมิสงขึ ้นเพื่อไม่ให้ ขาดเร็ว
                                                                                                                ู
•   ........ ในทางปฏิบตเิ ส้ นลวดที่นามาใช้ ทาเป็ นขดลวดความร้ อนนี ้ ทามาจากโลหะผสมระหว่างนิกเกิล ประมาณร้ อยละ 60 โครเมียม ประมาณ
                           ั
    ร้ อยละ 15 และเหล็กประมาณร้ อยละ 25 ได้ โลหะใหม่ที่ เรี ยกว่า นิโครม เป็ นโลหะที่มีความต้ านทานประมาณ 50 เท่าของ
    ลวดทองแดง และจุดหลอมเหลวอยู่ 1,500 องศาเซลเซียส ลวดนิโครมที่ประกอบอยู่ในเครื่ องใช้ ไฟฟาอาจทาเป็ นเส้ นลวดหรื อแถบทังนี ้ขึ ้นอยูกบ
                                                                                                        ้                                 ้   ่ ั
    ลักษณะการใช้ งาน โดยทัวไปจะนิยมทาเป็ น
                                  ่
    ลวดขดสปริง เพราะความยาวของขดลวดทาให้ ขดลวดมีความต้ านทานและความร้ อนสูงขึ ้นด้ วย
•   ........ ขดลวดความร้ อนหรื อขดลวดนิโครมในเครื่ องใช้ ไฟฟาส่วนใหญ่จะขดอยูในที่รองรับเป็ นฉนวนไฟฟา สามารถถ่ายเท่พลังงานความร้ อนจาก
                                                                   ้                    ่                     ้
    ขดลวดให้ แก่ภาชนะหรื อวัตถุอื่นได้ นอกจากขดลวดความร้ อนแล้ วเครื่ องใช้ ไฟฟาที่ให้ ความร้ อนบางชนิดจะมีสวิตซ์อตโนมัติควบคุมอุณหภูมิ ให้
                                                                                          ้                               ั
    คงที่ โดยปกติแล้ วการทางานของเครื่ องใช้ ไฟฟาให้ คงที่ที่อณหภูมิหนึง หรื อถึงอุณหภูมิที่ต้องการก็ตดวงจรสวิตซ์อตโนมัติที่ทาการควบคุม
                                                     ้               ุ       ่                            ั         ั
    อุณหภูมินี ้ เรี ยกว่า เทอร์ โมสตัท ( Termostat ) ซึงมีหลักการดังนี ้
                                                              ่
•   ........ เทอร์ โมสตัทประกอบด้ วยแผ่นโลหะ 2 ชนิดประกบติดกัน โดยที่โลหะทังสองชนิดมีความสามารถในการขยายตัวต่างกันเมื่อได้ รับความ
                                                                                      ้
    ร้ อน เช่น แผ่นเหล็กกับทองแดง แผ่นเหล็กกับแผ่นทองเหลือง ซึงอาจ เรี ยกว่าแผ่นโลหะคู่ เมื่อได้ รับความร้ อนแผ่นโลหะคูจะขยายตัว โดยที่โลหะ
                                                                         ่                                                    ่
    ที่มีการขยายตัวมากกว่าจะพยายามดันตัวออก แต่จะถูกโลหะที่ขยายตัวน้ อยกว่าที่ดงไว้ ทาให้ เกิดการโค้ งงอไปทางด้ านโลหะที่มีการขยายตัว
                                                                                              ึ
    น้ อยกว่า หน้ าสัมผัสหรื อ คอนแทค ที่ตอวงจรก็จะแยกออกจากกันแต่เมื่ออุณหภูมิของแผ่นโลหะคูลดลงแผ่นโลหะทังสองจะกลับสูสภาพเดิม ทา
                                               ่                                                      ่                 ้             ่
    ให้ วงจรต่อเชื่อมกันดังเดิม
• ........ แบลลัสต์ ตัวเลขที่ระบุ เช่น 250 W 220V และ 50 Hz ตัวเลข 250W และ 220V
  ตัวอักษร Hz ย่อมาจาก Hertz หรื อความถี่ไฟฟา        ้
  กระแสสลับ 50 Hz หมายถึง แบลลัสต์จะใช้ ได้ กบกระแสไฟฟาสลับที่มีความถี่ 50 เฮิรตซ์
                                                   ั           ้
• จะเห็นได้ วาความหมายของตัวเลขบนเครื่ องใช้ ไฟฟาทุกชนิดหรื ออุปกรณ์ไฟฟ้ าที่มี
                ่                                      ้
  ความสาคัญต้ องการเลือกซื ้อและการใช้ อปกรณ์ไฟฟา
                                             ุ           ้
  ต่างๆให้ มีความสัมพันธ์กบวงจรไฟฟาภายในบ้ าน
                              ั         ้
• ........ นอกจากหลอดไฟฟาแบบธรรมดาชนิดไส้ และหลอดฟลูออเรสเซนต์แล้ ว อาจจะเคย
                                ้
  เห็นหลอดไฟฟาแบบประดิษฐ์ เป็ นตัวอักษร
                    ้
  หรื อรูปต่างๆตามร้ านค้ าหรื อาถานบริ การ หลอดไฟโฆษณาเป็ นหลอดแก้ วที่ถกลนไฟดัดให้
                                                                            ู
  เป็ นรูปหรื อตัวอักษรต่างๆ แล้ วสูบอากาศออก
  จนเป็ นสุญญากาศ จากนั ้นใส่ก๊าซบางชนิดที่ให้ แสงสีตางๆออกมาได้ เมื่อมีกระแสไฟฟาไหล
                                                             ่                    ้
  ผ่านหลอดไฟ แต่ใช้ คั ้นหลอดไฟฟาทาด้ วยโลหะ
                                      ้
  ติดอยูที่ปลายทั ้งสองข้ าง แล้ วต่อกับแหล่งกาเนิดไฟฟาที่มีความต่างศักย์สงประมาณ
            ่                                              ้              ู
  10,000 โวลต์ หรื อ 10 กิโลวัตต์ ความต่างศักย์ท
  ้ี ้่ สงมากๆ จะทาให้ ก๊าซที่บรรจุไว้ ในหลอดเกิดการแตกตัวเป็ นไอออนและนาไฟฟาเมื่อ
          ู                                                                     ้
  กระแสไฟฟาผ่านก๊ าซเหล่านี ้จะทาให้ ก๊าซร้ อนติดไฟ
                  ้
  ให้ แสงสีตางๆได้
              ่
• หลักการทางานของเครื่องใช้ ไฟฟาที่ให้ ความร้ อน
                                               ้
• ......เครื่ องใช้ ไฟฟาที่ให้ ความร้ อนมีหลักการ
                         ้
• ......เมื่อมีกระแสไฟฟาไหลผ่านความต้ านทานไฟฟาสูง พลังงานไฟฟาจะเปลี่ยนเป็ นพลังงาน
                               ้                     ้                 ้
  ความร้ อน ดังนัน จึงให้ กระแสไฟฟาไหลผ่านขดลวดนิโครมหรื อแผ่นความร้ อนซึงมีความ
                       ้                   ้                                      ่
  ต้ านทานไฟฟาสูง พลังงานไฟฟาจะเปลี่ยนเป็ นพลังงานความร้ อน
                     ้                 ้
  มากแล้ วถ่ายเทพลังงานความร้ อนไปยังภาชนะ
• เตาไฟฟา        ้
• ...... เตาไฟฟาเป็ นเครื่ องใช้ ไฟฟาที่ให้ ความสะดวกในการต้ มน ้าหรื อหุงต้ มอาหาร เนื่องจากเวลา
                   ้                     ้
  ใช้ เพียงแต่เสียบปลัก เตาไฟฟาก็สามารถ
                             ๊     ้
  ทางานได้ เตาไฟฟามีวิวฒนาการโดยแบบต่างๆ ตังแต่แบบธรรมดาที่มีลวดให้ ความร้ อน 1 ชุด
                           ้     ั                     ้
  จนกระทังถึงลวดให้ ความร้ อน 4 ชุด
               ่
  และบางชนิดมีเตาอบด้ วย เตาไฟฟาสามารถแบ่งออกเป็ นแบบเปิ ดและแบบปิ ด
                                             ้
• ......1.เตาไฟฟาแบบเปิ ด เตาไฟฟ้ าแบบเปิ ดนี ้ไม่มีเครื่ องควบคุมอุณหภูมิ เมื่อผู้ต้องการใช้ เพียงแต่ใช้
                   ้
  เตาเสียบเสียบเตารับเท่านัน ถ้ าไม่ต้องการใช้ ก็ถอดเตาเสียบออกเตาไฟฟ้ าแบบเปิ ดนี ้ประกอบด้ วยขด
                               ้
  ลวดความร้ อนที่ทาด้ วยลวดนิโครมขดเป็ นขดลวดสปริ ง
  ขดอยู่ตมร่องปูนพลาสเตอร์ หรื อปูนซีเมนต์หรื อกระเบื ้องเคลือบ เพื่อไม่เกิดการลัดวงจรและกันความร้ อน
  ไม่ให้ เกิดการลัดวงจร
  และกันความร้ อนไม่ให้ ไปอยู่บริ เวณส่วนล่างของเตา เตาไฟฟา แบบนี ้จะสูญเสียพลังงานมากกว่าเตา
                                                              ้
  ไฟฟาแบบปิ ดเพราะการใช้ ต้องวาง
       ้
  ภาชนะไม่ให้ สมผัสกับขดลวดความร้ อน เนื่องจากกระแสไฟฟาไหลผ่านได้ อากาศที่คนอยู่ระหว่างขด
                 ั                                              ้                      ั่
  ลวดความร้ อนกับก้ นภาชนะ
  เมื่อร้ อนจะเคลื่อนที่หนีไป จึงต้ องเสียพลังงานไฟ
• ......2.เตาไฟฟาแบบเปิ ด เตาไฟฟ้ าแบบนี ้มีลวดนิโครมอยู่ภายในท่อเหล็กไร้ สนิม ภายในท่อบรรจุ
                     ้
  แมกนีเซียมออกไซด์ ซึงมีสมบัติเป็ นฉนวนไฟฟ้ าแต่นาความร้ อนดังนันเตาไฟฟ้ าแบบนี ้จึงให้ ความ
                          ่                                            ้
  ปลอดภัยมากกว่าเตาไฟฟ้ าแบบเปิ ด เพราะถ้ าสัมผัสถูกท่
  อความร้ อน ขณะกระแสไฟฟาผ่านจึงไม่เป็ นอันตรายจากการถูกไฟฟาลัดวงจรหรื อที่ เรี ยกว่าไฟดูด
                                 ้                                   ้
  โดยเฉพาะอย่างยิ่งแล้ ว
  การวางภาชนะหุงต้ มที่เป็ นโลหะหรื อของเหลวที่ไหลล้ นออกาจะไม่เป็ นอันตราย และผู้ใช้ สามารถทา
  ความสะอาดได้ ง่ายเตาไฟฟ้ า
  แบบปิ ดจึงเป็ นเตาที่มีราคาแพงกว่า และมีสวิตซ์ควบคุมอุณหภูมิสามารถทาให้ ความร้ อนมีกระแสไฟฟ้ า
  ไหลผ่านได้ แตกต่างกัน
  เตาไฟฟาแบบนี ้ที่มีจานวนส่วนมากมีขนาด 800 วัตต์ถง 1,600 วัตต์
            ้                                           ึ
• เตารี ดไฟฟา    ้
• ......เตารี ดไฟฟาเป็ นเครื่ องใช้ ไฟฟาที่ให้ ความร้ อน และมีความจาเป็ นในชีวิตประจาวันเป็ น
                     ้                     ้
  อย่างมาก
• ......ส่วนประกอบที่สาคัญจากเตารี ดไฟฟา เตารี ดไฟฟาประกอบด้ วยส่วนประกอบที่สาคัญ
                                                    ้           ้
  คือ แผ่นความเทอร์ โมสตัท แผ่นขดลวดความร้ อน แผ่นทับผ้ า และปุ่ มปรับความร้ อนเตารี ด
  ไฟฟาใช้ แผ่นขดลวดความร้ อนทาด้ วยลวดนิโครมแผ่นแบนๆ วงสับไปมาไม่ได้ ทาเป็ นขดลวด
       ้
  เหมือนเตาไฟฟา หรื อ อาจที่เรี ยกว่า ไส้ เตารี ด ซึงจะสอดอยูภายในระหว่างไมก้ า (Mica)
                       ้                                  ่           ่
  2 แผ่น ไมก้ านี ้เป็ นวัตถุทนไฟและเป็ นฉนวนด้ วย
• ......เหตุที่ต้องใช้ ไมก้ ามากั ้นนั ้น เนื่องจากเตารี ดต้ องการน ้าหนังจึงจะทาให้ ผ้าเรี ยบได้ ดังนัน
                                                                                                       ้
  เตารี ดจะมีเฉพาะแต่ไส้ เตารี ดจึงต้ องมีฐานโลหะที่หนัง เมื่อไส้ เตารี ดร้ อนก็จะทาให้ ฐานโลหะ
  ร้ อนตามด้ วย
• หลักการทางานของเตารี ดไฟฟา                 ้
• ......โดยทัวไปเตารี ดไฟฟาเมื่อใช้ เต้ าเสียบเสียบเต้ ารับแล้ ว กระแสไฟฟาจะไหลผ่านขดลวด
               ่              ้                                                ้
  ให้ ความร้ อน คือแถบลวดนิโครม หรื อขดลวดความร้ อน และจะถ่ายเทความร้ อนให้ กบแผ่น             ั
  ทับผ้ า ทาให้ แผ่นทับผ้ าร้ อน การตังอุณหภูมิให้ มีความร้ อนมากหรื อน้ อยเท่าไร ขึ ้นอยูชนิด
                                               ้                                                 ่
  ของผ้ าที่จะรี ด เช่นผ้ าไนลอนหรื อผ้ าแพรต้ องใช้ อณหภูมิไม่สงมากนัก แต่ถ้าเป็ นผ้ าหนาต้ อง
                                                            ุ           ู
  ใช้ อณหภูมิสง การตั ้งความร้ อนมีปมปรับความร้ อน ซึงจะไปกดแผ่นโลหะคูให้ ตดไฟตาม
         ุ         ู                             ุ่               ่                  ่ ั
  อุณหภูมิที่ต้องการ
• วิธีใช้ เตารี ดไฟฟาให้ ประหยัดพลังงาน
                         ้
• ......1. ควรรี ดผ้ าคราวละมากๆ ติดต่อกันจนเสร็ จ และควรเริ่ มรี ดผ้ าบางๆ ก่อนใน
  ขณะที่เตารี ดยังไม่ร้อน และก่อนรี ดเสร็ จประมาณ 2-3 นาทีให้ ถอดปลักออก ๊
  ......2. เมื่อไม่ได้ ใช้ งานควรถอดปลักออก และก่อนจะเก็บควรทิ ้งให้ เตารี ดเย็นก่อน
                                        ๊
•
• คาแนะนาด้ านความปลอดภัยของเตารี ด
• ......1. ควรระวังไม่ให้ ความร้ อนจากเตารี ดสัมผัสสายไฟฟาเพราะจะทาให้ เปลือกสาย
                                                             ้
  (ฉนวน) เสียหายได้
  ......2. สายปลักของเตารี ด เปลือกสาย (ฉนวน) ต้ องไม่เสื่อมสภาพหรื อฉีกขาด
                    ๊
  ......3. ต้ องคอยหมันตรวจสอบฉนวนยางที่ห้ มสายเข้ าเตารี ด หากพบว่าเปื่ อยหรื อฉีก
                            ่                   ุ
  ขาดควรรี บเปลี่ยนใหม่โดยช่างผู้มีความรู้ เพราะหากไม่รีบเปลี่ยนสายไฟบริเวณนัน      ้
  อาจชารุดและถูกไฟดูดได้
  ......4. ขณะใช้ งาน เมื่อหยุดรี ดต้ องวางบนวัสดุที่ไม่ติดไฟง่าย
  ......5. เตารี ดที่ใช้ ควรมีสายดินและต่อลงดินผ่านทางเต้ าเสียบเต้ ารับที่มี
  สายดินด้ วย และหมันตรวจสอบไฟรั่วด้ วยไขควงลองไฟเสมอ
                              ่
  ......6. ดูข้อควรปฏิบติในการใช้ ไฟฟา หรื อเครื่ องใช้ ไฟฟาอย่างปลอดภัย
                                ั         ้                ้
เครื่องใช้ ไฟฟ้ าทีให้ พลังงานกล
                                                ่


• พลังงานกล หมายถึง พลังงานที่ทาให้ วตถุเกิดการหมุน หรื อเกิดการเคลื่อนที่
                                              ั
  หรื อเปลี่ยนขนาดของวัตถุหรื อเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุ
• .......เครื่ องใช้ ไฟฟาที่เปลี่ยนเป็ นพลังงานไฟฟาเป็ นพลังงานกลอยูอย่าง
                         ้                        ้                    ่
  มากมาย ได้ แก่ พัดลม เครื่ องปรับอากาศ เครื่ องปั๊ มน ้า เครื่ องดูดฝุ่ น เครื่ อง
  เป่ าผม และเครื่ องใช้ ไฟฟาที่ไฟฟาที่มีมอเตอร์ ทุกชนิด
                               ้          ้
• .......มอเตอร์ ไฟฟา ทางานโดยอาศัยหลักการดังนี ้ เมื่อมีกระแสไฟฟาไหล
                       ้                                                   ้
  ผ่านขดลวดตัวนาทางวางงออยูระหว่างขันเหนือและขันใต้ ของแท่งแม่เหล็ก
                                        ่       ้          ้
  กระแสไฟฟาขณะไหลผ่านขดลวดจะเกิดการเหนี่ยวนาเกิดสนามแม่เหล็ก
                 ้
  รอบเส้ นลวด ทาให้ เส้ นแรงแม่เหล็กของแท่นแม่เหล็กแบนไป ซึงเส้ นแรง่
  แม่เหล็กที่เบี่ยงเบนไปนี ้จะยึดเส้ นแรงออกให้ ตรงด้ วยเส้ นแรงผลักขดลวด
  เป็ นผลให้ ขดลวดหมุนได้
• พัดลมไฟฟา         ้
• .......ประเทศไทยตั ้งอยูในเมืองเขตร้ อนชื ้น ดังนันพัดลมจึงเป็ นเครื่ องใช้ ไฟฟาชนิดหนึงที่มี
                             ่                        ้                          ้       ่
  ความจาเป็ น พัดลมที่ใช้ กนทัวมีหลายประเภท สามารถแบ่งตามลัก ษ ะการใช้ งานได้ ดงนี ้
                               ั ่                                                           ั
  พัดลมตังพื ้น พัดลมตั ้งโต๊ ะ พัดลมติดเพดาน พัดลมติดผนัง และพัดลมดูดอากาศ แม้ วาพัด
                  ้                                                                        ่
  ลมที่มีหลายประเภทแต่ก็มีหลักการทางานเหมือนกัน
• พัดลมโดยทัวไปใช้ มอเตอร์ ไฟฟา 3 ชนิด คือ
                      ่            ้
• .......ยูนเวอร์ ซลมอเตอร์ เป็ นมอเตอร์ ชนิดที่ใช้ ได้ ทงไฟฟากระแสตรงและกระแสสลับ
            ิ           ั                                ั้ ้
  มอเตอร์ แบบบังขั ้วและสปลิตเฟสมอเตอร์ มอเตอร์ ทงสองชนิดเป็ นมอเตอร์ ไฟฟาเหนี่ยวนาที่
                                                           ั้                      ้
  ใช้ กบกระแสสลับ
        ั
• .......การดูแลรักษาพัดลมอย่างสม่าเสมอจะช่วยทาให้ พดลมทางานได้ เต็มประสิทธิภาพ
                                                              ั
  และยังช่วยยืดอายุการทางานให้ ยาวนานขึ ้นโดย มีวิธีการดังนี ้
• .......หมันทาความสะอาดตามจุดต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ใบพัด และตะแกรงครอบใบพัด
              ่
• · .......อย่าให้ ฝนละอองเกาะจับ และ ต้ องดูแลให้ มีสภาพดีอยูเ่ สมออย่าให้ แตกหักหรื อชารุด
                          ุ่
  หรื อโค้ งงอผิดส่วนจะทาให้ ลมที่ออกมามีความแรงหรื อความเร็ วลดลง
• .......หมันทาความสะอาดช่องลมตรงฝาครอบมอเตอร์ ของพัดลม ซึงเป็ นช่องระบายความ
                ่                                                        ่
  ร้ อนของมอเตอร์ อย่าให้ มีคราบน ้ามันหรื อฝุ่ นละอองเกาะจับ เพราะจะทาให้ ประสิทธิภาพ
  ของมอเตอร์ ลดลง และสิ ้นเปลืองพลังงานไฟฟามากขึ ้น ้
• เครื่องปั่ น - บดอาหารไฟฟา      ้
• .......เครื่ องปั่ น - บดอาหาร เป็ นเครื่ องใช้ ไฟฟาที่ช่วยให้ สวนผสมของอาหาร
                                                     ้            ่
  แหลกละเอียดด้ วยตัวเครื่ องประกอบด้ วยสองส่วนคือ ส่วนที่เป็ นฐานล่างกับ
  ส่วนที่เป็ นโถใส่อาหาร ในส่วนของฐานล่างจะมีมอเตอร์ ชนิดยูนิเวอร์ ซล      ั
  มอเตอร์ ติดอยู่ เพราะให้ กาลังหมุนเร็ วมาก แกนมอเตอร์ ของมอเตอร์ ตงขึ ้น มีั้
  สวิตซ์ปิด-เปิ ดมอเตอร์ ตดอยูที่ฐานล่างด้ วย สาหรับส่วนที่เป็ นโถใส่อาหารนัน
                              ิ ่                                               ้
  ในโถตอนล่างจะมีใบมีดเป็ นแฉกๆ เหมือนกับมีใบมีดติดอยูแกนใบมีดต่อ   ่
  ออกไปด้ านล่างของโถและที่ปลายแกนมีที่สาหรับเดือยของ
  มอเตอร์ เมื่อต้ องการใช้ ให้ สวมเดือยให้ ตดกัน เปิ ดสวิตซ์ มอเตอร์ จะหมุน
                                                  ิ
  แกนใบมีด ทาให้ ใบมีดหมุนอย่างรวดเร็ วตัดอาหารที่ต้องการปั่ น
  ให้ ละเอียด อาหารที่มีชิ ้นใหญ่และน ้าหนักมากจะตกลงมาอยูในตาแหน่งที่่
  ใบมีดตัดได้ ทวถึง  ั่
• เครื่ องดูดฝุ่ น
•
• ......... ในปั จจุบนนี ้เครื่ องดูดฝุ่ นเป็ นเครื่ องใช้ ไฟฟาที่นิยมกันมากในชีวิตประจาวัน เครื่ องดูด
                        ั                                     ้
  ฝุ่ น เป็ นเครื่ องช่วยทาความสะอาดภายในบ้ าน
  โดยใช้ ระบบสุญญากาศดูดผงฝุ่ นและเศษขยะต่างๆเข้ าไปเก็บในที่เก็บ เครื่ องดูดฝุ่ นแบ่ง
  ออกเป็ น 2 ชนิด คือ เครื่ องดูดฝุ่ นแบบถุงและ
  เครื่ องดูดฝุ่ นแบบทรงกระบอกใบพัดที่ใช้ ในเครื่ องดูดฝุ่ นเป็ นใบพัดประเภทเดียวกับพัดลมดูด
  อากาศและใช้ มอเตอร์ แบบยูนิเวอร์ ซล           ั
• เครื่ องดูดฝุ่ นแบบถุง
• ......... เป็ นเครื่ องดูดฝุ่ นที่ใช้ ทาความสะอาดได้ เฉพาะที่พื ้นที่เท่านัน ตัวเครื่ องประกอบด้ วย
                                                                             ้
  แปรงทรงกระบอกต่อสายพานเข้ ากับแกนมอเตอร์
  ทาให้ แปรงหมุนขณะมอเตอร์ ทางานแปรงจะช่วยมอเตอร์ ปัดฝุ่ นให้ ขึ ้นมาจากพื ้นพัดลมจะ
  ช่วยดูดอากาศที่มีฝนให้ ผานไปยังถุงเก็บถุงทาให้
                           ุ่       ่
  ผงฝุ่ นปลิวขึ ้นและเข้ าไปรวมกันอยู่ในถุงเก็บฝุ่ น ส่วนอากาศก็จะออกจากถุงโดยที่ฝนออก        ุ่
  จากถุงไม่ได้ ทั ้งนี ้ก็ขึ ้นอยู่กบความละเอียดของผ้ าที่ใช
                                      ั
  ้้ทาถุงแต่ถ้าฝุ่ นมาอุดที่ผนังถุงมากๆจะทาให้ อากาศออกจากถุงได้ ยากกาลังดูดของ
  มอเตอร์ ก็จะลดลงดังนั ้นเพื่อให้ การใช้ เครื่ องดูดฝุ่ นมี
  ประสิทธิภาพมากขึ ้นก็ต้องทาความสะอาดถุงเก็บฝุ่ นเสมอ
• เครื่องดูดฝุ่ นแบบทรงกระบอก
• ......... เป็ นเครื่ องดูดฝุ่ นที่วางมอเตอร์ และใบพัดไว้ ในแนวนอนใน
  เครื่ องดูดฝุ่ นบริเวณด้ านหน้ าจะมีถงเก็บฝุ่ น ส่วนหลังของถุงเก็บฝุ่ นจะมี
                                           ุ
  มอเตอร์ ดดอากาศให้ ออกไปด้ านหลังของตัวเครื่ องซึงจะทาให้ อากาศ
                ู                                            ่
  บริเวณตอนหน้ าของเครื่ องถูกดูดไปจึงเป็ นบริเวณที่มีความกดดัน
  น้ อยและอากาศด้ านหน้ าของหัวดูดก็จะพัดเข้ ามาตลอดเวลาการใช้
  เครื่ องดูดฝุ่ นชนิดนี ้สะดวกกว่าแบบถุงเพราะสามารถเปลี่ยนหัวดูด
  ได้ หลายแบบและสามารถใช้ ดดฝุ่ นตามฝาผนัง ตามซอกมุมหรื อบริเวณ
                                        ู
  เบาะรถยนต์ได้ ด้วย
เครื่องใช้ ไฟฟาที่ให้ พลังงานเสี ยง
                                   ้

• ปั จจุบนในชีวิตประจาวันของเรามีเครื่ องใช้ ไฟฟาที่ให้ พลังงานเสียงที่มี
          ั                                     ้
  ความสาคัญสาหรับเรามาก ได้ แก่ เครื่ องรับวิทยุ มีประโยชน์ในการรับ
  ฟั งข่าวสาร ตลอดจนรายการบันเทิงต่างๆ ที่ออกอากาศมาให้ เรารับฟั ง
  เช่น
• เครื่ องรับวิทยุ
• เครื่ องบันทึกเสียง
• เครื่ องรั บวิทยุ - เครื่ องบันทึกเสียง
• เครื่ องรั บวิทยุ
• ......... เมื่อสถานีสงวิทยุแปลงสัญญาณไฟฟาเป็ นคลื่นวิทยุที่มีความถี่ต่างๆ กันแล้ ว คลื่นวิทยุดงกล่าวจะถูกส่งไป
                          ่                    ้                                                ั
  ยังสถานีต่างๆ เมื่อคลืนวิทยุไปกระทบกับเสาอากาศของเครื่ องรับวิทยุภาครับของเครื่องรับวิทยุที่เลือกความถี่ได้
                                ่
  ตรงกับความถี่คลื่นวิทยุที่สงออกมา จะรับเอาคลื่นวิทยุดงกล่าวไปแปลงเป็ นสัญญาณไฟฟา แล้ วสัญญาณไฟฟานี ้
                                  ่                             ั                          ้                    ้
  จะเข้ าสูวงจรขยายเพื่อให้ สญญาณไฟฟามีแอมปลิจดสูงขึ ้น สัญญาณนี ้จะผ่านอุปกรณ์อเิ ลคทรอนิกส์ เพื่อแยกคลืน
             ่                      ั      ้                ู                                                     ่
  เสียงออกจากคลื่นพาหะ แล้ วผ่านวงจรขยายอีกครังหนึ่งให้ สญญาณมีความแรง
                                                          ้       ั
  ขึ ้นจนเพียงพอที่จะทาให้ ลาโพงเกิดการสันสะเทือนเป็ นเสียงที่เหมือนกับเสียงที่ออกมาจากแหล่งกาเนิดเสียงสถานี
                                             ่
  ส่ง
  ดังนั ้น ลาโพงจึงทาหน้ าที่เปลี่ยนสัญญาณไฟฟาเป็ นสัญญาณเสียง
                                                    ้
•
• เครื่ องบันทึกเสียง
• ......... เมื่อผู้พดหรื อโฆษกพูดผ่านไมโครโฟน แผ่นไดอะแฟรมในไมโครโฟนจะสั ้นตามคลื่นเสียงที่ออกมา แล้ ว
                     ู
  เปลี่ยนคลื่นเสียงเป็ นสัญญาณไฟฟาที่เกิดขึ ้นก็จะถูกบันทึกลงในแถบบันทึกเสียงที่ฉาบด้ วยสารแม่เหล็กในรูป
                                        ้
  สัญญาณแม่เหล็ก เมือนาแถบบันทึกเสียงที่บนทึกเสียงไว้ แล้ วมาเปิ ด สัญญาณแม่เหล็กที่แถบบันทึกเสียงได้ บนทึก
                              ่                   ั                                                           ั
  ไว้ จะเปลี่ยนเป็ นสัญญาณไฟฟา แล้ วผ่านภาคขยายให้ สญญาณแรงขึ ้นด้ วยอุปกรณ์ไฟฟา แล้ วส่งไปยังลาโพง ทา
                                      ้                       ั                          ้
  ให้ ลาโพงเกิดการสันสะเทือนกลับมาเป็ นเสียงที่บนทึก
                            ่                         ั
  ได้ บนทึกเก็บไว้ ทาให้ เราได้ ยินเสียงเหมือนเสียงที่บนทึกไว้ อีกครังหนึ่ง
        ั                                               ั            ้
จัดทาโดย

• ด.ช. วุฒิชย เตชะปั ญญา เลขที่ 13 ม.3/3
             ั
• ด.ช.ศรันย์ ขยันดี เลขที่ 14 ม.3/3
• ด.ช. ศักดิสทธิ์ เจริญ เลขที่ 15 ม.3/3
            ์ ิ
• ด.ช.ศุภกฤต วงค์ไชยา เลขที่ 16 ม.3/3
                                 • เสนอ
• อาจารย์ จิราภรณ์ ไชยมงคล

More Related Content

What's hot (10)

งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
เครื่องใช..
เครื่องใช..เครื่องใช..
เครื่องใช..
 
เครื่องใชเไฟฟ้า302
เครื่องใชเไฟฟ้า302เครื่องใชเไฟฟ้า302
เครื่องใชเไฟฟ้า302
 
1 รูปแบบของวงจรไฟฟ้าภายในบ้าน
1 รูปแบบของวงจรไฟฟ้าภายในบ้าน1 รูปแบบของวงจรไฟฟ้าภายในบ้าน
1 รูปแบบของวงจรไฟฟ้าภายในบ้าน
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งาน Sideshare
งาน Sideshareงาน Sideshare
งาน Sideshare
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 

Viewers also liked (8)

Pp sintesi
Pp sintesiPp sintesi
Pp sintesi
 
Untitled Presentation
Untitled PresentationUntitled Presentation
Untitled Presentation
 
Wang
WangWang
Wang
 
California: Photo Collages
California: Photo CollagesCalifornia: Photo Collages
California: Photo Collages
 
New Zealand
New Zealand New Zealand
New Zealand
 
Cat Pictures
Cat PicturesCat Pictures
Cat Pictures
 
Скетчноутинг: визуальное мышление есть у каждого
Скетчноутинг: визуальное мышление есть у каждогоСкетчноутинг: визуальное мышление есть у каждого
Скетчноутинг: визуальное мышление есть у каждого
 
Iss observation
Iss observationIss observation
Iss observation
 

Similar to เครื่องใช้ไฟฟ้า33

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
boom500937
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
boom500937
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
0887946598532
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
0286983445
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
0887946598532
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
jaturong20155
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
chindekthai01
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
Siwush Pormchai
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
Siwush Pormchai
 
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
Jiraporn
 
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้างานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
Sarun Boonwong
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
Powergift_vip
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
Powergift_vip
 

Similar to เครื่องใช้ไฟฟ้า33 (20)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ประเภทพลังงานไฟฟ้า
ประเภทพลังงานไฟฟ้าประเภทพลังงานไฟฟ้า
ประเภทพลังงานไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
 
งาน Sideshare
งาน Sideshareงาน Sideshare
งาน Sideshare
 
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้างานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
กลุ่มที่ 1
กลุ่มที่ 1กลุ่มที่ 1
กลุ่มที่ 1
 
งานๆ
งานๆงานๆ
งานๆ
 

เครื่องใช้ไฟฟ้า33

  • 2. ความหมายของเครื่ องใช้ไฟฟ้ า อุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าเป็ นพลังงานรู ปอื่น เพื่อ นาไปใช้ใช้ชีวตประจาวัน ิ
  • 3. เครื่องใช้ ไฟฟาที่ให้ พลังงานแสงสว่ าง ้ • เครื่ องใช้ ไฟฟาที่ทาหน้ าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟา ให้ เป็ นพลังงานแสงสว่าง ช่วยทาให้ เรามองเห็น ้ ้ สิ่งต่างๆ ได้ แก่ หลอดไฟฟา ผู้ที่ประดิษฐ์ หลอดไฟฟาขึ ้นเป็ นคนแรกของโลก คือ ทอมัส แอลวา ้ ้ เอดิสน นักวิทยาศาสตร์ ชาวอเมริ กน ( พ.ศ. 2390-2474 ) เอดิสนได้ ประดิษฐ์ หลอดไฟฟาขึ ้นครัง ั ั ั ้ ้ แรกเมื่อ พ.ศ. 2422 โดยใช้ คาร์ บอนเส้ นเล็กๆ เป็ นไส้ คาร์ บอน ไส้ คาร์ บอนจะร้ อนจนจัดเปล่งแสง ออกมา โดยอุณหภูมิของไส้ คาร์ บอนที่กระแสไฟฟาผ่านประมาณ 1,350 องศาเซลเซียส ซึงจุด ้ ่ หลอมเหลวของคาร์ บอนสูงประมาณ 3500 องศาเซลเซียส ........ ดังนันการใช้ คาร์ บอนเป็ นไส้ ้ หลอดจึงไม่มีปัญหาต่อการหลอมเหลวของไส้ คาร์ บอน อย่างไรก็ตาม เนื่องจากคาร์ บอนเมื่อ ได้ รับความร้ อนแล้ ว บางส่วนก็จะกลายเป็ นไอหรื อเขม่า เมื่อลอยตัวไปจักกับหลอดแก้ วด้ านใน ของหลอด ไฟ จะทาให้ แสงสว่างที่สองออกมาสูภายนอกลดลง นอกจากนี ้ไส้ หลอดที่ทาด้ วย ่ ่ คาร์ บอนเส้ นเล็กๆยังเปราะอีกด้ วย เมื่อเกิดการสันสะเทือนไส้ หลอดก็จะหักออกจากกัน ต่อมา ่ จึงได้ มีการพัฒนาโดยนาวัตถุชนิดอื่นมาทาไส้ หลอด ได้ แก่ ทังสเตน ทังนี ้เพราะโลหะทังสเตน ้ เป็ นโลหะที่หาง่าย ราคาถูก มีจดหลอมเหลวสูง ทนความร้ อนได้ ดี เมื่อได้ รับความร้ อนจึงไม่ขาด ุ ง่ายเหมือนกับ คาร์ บอน
  • 4. • ในระยะแรกภายในหลอดไฟมีอากาศบรรจุอยู่ ดังนันขณะที่ไส้ หลอด ้ ได้ รับความร้ อนก๊ าซออกซิเจนจึงทาปฏิกิริยากับไส้ หลอด ทาให้ หลอด ขาดง่าย มีอายุการใช้ งานค่อนข้ างน้ อยจึงได้ มีการ พัฒนาโดยการสูบ เอาอากาศออกหมดแล้ วบรรจุก๊าซเฉื่อยเข้ าไป ใน พ.ศ. 2457 แลงเมียร์ ( Langmuir ) ได้ ใช้ ก๊าซอาร์ กอนบรรจุใน หลอดไฟฟา ซึงก๊ าซนี ้ช่วยให้ ทงสเตนที่ได้ รับความร้ อน ้ ่ ั ไม่ระเหิดไปจับผิวในของหลอดไฟฟา หลอดไฟฟาจึงไม่ดา อย่างไรก็ ้ ้ ตามปั จจุบนภายในหลอดไฟฟาได้ บรรจุไอโอดีนแทนก๊ าซอาร์ กอน เวลา ั ้ ไส้ หลอดได้ รับความร้ อนก็จะทาปฏิกิริยากับไอโอดีน ทาให้ ไส้ หลอดมี ความทนทานมากขึ ้น และให้ แสงสว่างได ้้เช่นเดียวกับก๊ าซอาร์ กอน
  • 5. หลอดไฟ • ส่ วนประกอบของหลอดไฟฟา ้ • หลอดไฟฟาแบบธรรมดาหรื อหลอดไฟฟาชนิดไส้ มีสวนประกอบทัวๆไปดังนั ้ ้ ้ ่ ่ • ........ 1. หลอดแก้ ว • ........ 2. ไส้ หลอดทาด้ วยโลหะทังสเตน • ........ 3. เส้ นหลอดต่อเข้ ากับไส้ หลอด • ........ 4. ลอดยึดไส้ หลอด • ........ 5. ก้ านลวดยึดไส้ หลอด • ........ 6. ขั ้นหลอด • ........ ในการประดิษฐ์ หลอดไฟฟาชนิดนี ้ บริษัทผู้ผลิตจะเอาอากาศออกจากหลอดแก้ วจนหมด แล้ วบรรจุก๊าซ ้ อาร์ กอนหรื อไอโอดีน เข้ าไปแทนที่ เพื่ออายุการใช้ งานของหลอดนานขึ ้น หลอดไฟฟาชนิดมีไส้ มีหลายขนาดด้ วยกัน เช่น 3 วัตต์ 25 วัตต์ ้ 40 วัตต์ 100 วัตต์ เป็ นต้ น อายุการใช้ งานของหลอดไฟฟาประมาณ 1000 ชัวโมง หลอดไฟฟาชนิดไส้ มี 2 แบบ คือ ขั ้วแบบเกลียวแล้ ว ้ ่ ้ ขั ้วแบบเขี ้ยว • หลักการทางานของไส้ หลอดไฟฟา ้ • ........ เมือกระแสไฟฟาไหลผ่านไส้ หลอดที่ทาด้ วยทังสเตนที่มความต้ านทานสูง ไส้ หลอดจะไม่ยอมให้ กระแสไฟฟา ่ ้ ี ้ ไหลผ่าน แต่ด้วยแรงดันไฟฟาที่สงของกระแสไฟฟาจึงดันให้ อิเลคตรอนผ่านไส้ หลอด การที่ไส้ หลอดมีขนาดเล็กมาก ้ ู ้ ประกอบกับ มีความต้ านทางสูง เมื่ออิเลคตรอนอิสระเคลือนที่ผ่านจึงทาให้ เกิดความร้ อนสูงมากจนไส้ หลอดเปล่งแสงออกมา ่ • ........ ปั จจุบนไม่นิยมใช้ หลอดไฟฟาชนิดไส้ เนื่องจากหลอดไฟฟาชนิดนี ้มีความร้ อนสูงและสิ ้น เปลืองกาลังไฟฟา ั ้ ้ ้ มาก
  • 6. หลอดตะเกียบ • ( ที่มา http://www.electron.rmutphysics.com/news/index.php?option=com ) • หลักการทางานของหลอดประหยัดพลังงาน ( หลอดตะเกียบ) • ........ หลอดไฟฟาประหยัดพลังงานโดยทัวไปใช้ กบความ ต่างศักย์ ขนาด 230 โวลต์ เมื่อกดสวิตช์เพื่อเปิ ดไฟ ้ ่ ั ความต่างศักย์ ที่สตาร์ ตเตอร์ (Starter) จุดติดอยู่ระหว่าง 250 โวลต์- 450 โวลต์ ซึงทาหน้ าที่เป็ นตัวจ่ายกระแสไฟฟา (Glow ่ ้ discharge) เมื่อกระแสไฟไหลผ่านวงจรผ่าน ขั ้วบวกและขั ้วลบที่มีแท่งโลหะ (Bimetal) ต่อเชื่อมอยู่ เมือ ่ กระแสไฟไหลผ่านขั ้วทั ้งสองแล้ ว จะเกิดการไหลของกระแสไฟภายใต้ ความต่างศักย์ที่สงขึ ้น ส่งผลให้ ขดลวดที่ทา ู มาจากโลหะทังสเตนปล่อยอิเลคตรอนวิ่งไปชนกับอะตอมของก๊ าซในหลอดไฟ (Impact ionization) ทาให้ อะตอมของก๊ าซเกิดปฎิกิริยาไอออนไนเซชัน ( เกิดเป็ นอนุภาคของก๊ าซที่มีขั ้ว) เมื่ออนุภาคที่มีขั ้วดังกล่าววิ่งไปชน กับสารเรื องแสง (Luminescent substance) ก็จะเกิดเป็ นสเปคตรัมหรื อแสง ที่เรามองเห็นนันเอง ่ • หลอดฟลูอเรสเซนต์ • ( ที่มา http://www.electron.rmutphysics.com/news/index.php?option=com ) • ส่ วนประกอบของหลอดไฟฟา ้ • ........ หลอดไฟฟาชนิดนี ้ มีลกษณะแตกต่างไปจากหลอดไฟฟาธรรมชาติชนิดไส้ กล่าวคือ ตัวหลอดทาด้ วยแก้ ว ้ ั ้ บางใสกลมยาวรูปทรงกระบอกหรื อรูปวงกลม ภายในหลอดแก้ วจะสูบอากาศออกเกือบหมด และบรรจุก๊าซ อาร์ กอนและปรอทไว้ เล็กน้ อย ที่ผิวด้ านในของหลอดฉาบไว้ ด้วยสารเคมีบางชนิดที่เปล่งแสงได้ เมื่อได้ รับรังสีอลต ั ร้ าไวโอเลต สารเคมีที่มสมบัติดงกล่าวนี ้เรี ยกว่า ี ั สารเรื องแสง ที่เหลือไส้ หลอดแต่ละข้ างจะมีขั ้วโลหะอาบน ้ายาเพื่อให้ กระจายอิเลคตรอนได้ ง่าย เมื่อได้ รับความร้ อน จากไส้ หลอดขั ้วโลหะเป็ นขั ้วไฟฟาที่เรี ยกว่า อิเลคโทรด ( Electrode ) ซึงขั ้วไฟฟาจะทาหน้ าที่เป็ นตัวเชื่อต่อ ้ ่ ้ กระแสไฟฟาจากวงจรภายนอกเข้ าสูตวหลอด ้ ่ ั • ........ การใช้ หลอดฟลูออเรสเซนต์ไม่สามารถต่อเข้ ากับวงจรไฟฟาในบ้ านได้ โดยตรงเหมือนกับหลอดไฟฟาธรรมดา ้ ้ เพราะจะทาให้ หลอดไส้ ขาดทันทีที่กระแสไฟฟาผ่าน ดังนั ้นจึงต้ องใช้ ต่อร่วมกับอุปกรณ์อื่นอีก ได้ แก่ สตาร์ ตเตอร์ ้ และบัลลัสต์
  • 7. สตาร์ ตเตอร์ ( Starter ) • ปั จจุบนมีลกษณะเป็ นทรงกระบอก เป็ นโลหะหรื อพลาสติกสีขาว มีขาสองขา ภายใน ั ั ประกอบด้ วยแผ่นโลหะ 2 ชนิด เช่น แผ่นโลหะคู่ และแผ่นโลหะตัวนาโลหะแต่ละแผ่นจะต่อกับ ขัวไฟฟาซึงห่างกันเล็กน้ อย โลหะตัวนาทังสองชนิดจะขยายตัวได้ ไม่เท่ากัน เกิดการโค้ งงอเมื่อได ้ ้ ่ ้ ้้ รับความร้ อน และภายในสตาร์ ตเตอร์ จะบรรจุด้วยก๊ าซอาร์ กอน • หลักการทางาน • ........ เมื่อกดสวิตซ์ให้ วงจรปิ ดกระแสไฟฟาจะไหลจากแผ่นโลหะคูที่ต่ออยู่กบขัวไฟฟาขัวหนึง ้ ่ ั ้ ้ ้ ่ ผ่านก๊ าซอาร์ กอนที่อยู่ภายในหลอดแก้ วไปยังโลหะ ตัวนาที่ต่อเข้ ากับปลายขัวไฟฟาอีกข้ างหนึงขณะ ที่กระแสไฟฟาผ่านก๊ าซอาร์ กอนนันจะเกิดการ ้ ้ ่ ้ ้ เรื องแสงหรื อมีประกายไฟ ทาให้ แผ่นโลหะคูร้อน จึงทาให้ คโค้ งงอลงมาแตะกันทาให้ ครบวงจร ่ ู่ กระแสไฟฟาจึงไหลผ่านขัวไฟฟาทังสองได้ โดยไม่ต้องผ่านก๊ าซการ์ กอนความร้ อนจึงไม่เกิดขึ ้น ้ ้ ้ ้ ทาให้ แผ่นโลหะคูเ่ ย็นลงและแยกออกจากกัน วงจรจะถูกตัดขาด ซึงเป็ นช่วงที่หลอดฟลูออเรส ่ เซนต์ทางาน ดังนันการทางานสตาร์ ตเตอร์ ้ จึงเสมือนการทางานของสวิตซ์อตโนมัติ ั
  • 8. • แบลลัสต์ ( Ballast ) • ........ มีรูปร่างคล้ ายแท่งเหล็กสี่เหลี่ยม ภายในพันด้ วย ขดลวดรอบ แกน แม่เหล็ก ใช้ ลวดทองแดงอาบน ้ายากัน ไฟรั่วระหว่างเส้ นและรั่วลง แกนเหล็กแบลลัสต์จะมีความ ต้ านทานไฟฟากระแสสลับสูง ้ • หลักการทางาน • ........ เมื่อกดสวิตซ์ให้ วงจรปิ ด กระแสไฟฟาไหลในวงจร แบลลัสต์จะทา ้ หน้ าที่เพิ่มความต่างศักย์ไฟฟาระหว่างปลายทังสองของหลอด ้ ้ ฟลูออเรสเซนต์ให้ สงขึ ้น เพื่อให้ อิเลคตรอนไหลออกจากไส้ หลอด เมื่อทางาน ู แล้ ว แบลลัสต์จะทาหน้ าที่เป็ นตัวหน่วงให้ กระแสไฟฟาน้ อยลง โดยการ ้ เหนี่ยวนาความต่างศักย์ไฟฟาระหว่างปลายทังสองของหลอดให้ คงที่ หลอด ้ ้ จึงสว่างจนกว่าจะกดสวิตซ์ให้ วงจรปิ ด • ........ การเลือกสตาร์ ตเตอร์ และแบลลัสต์ต้องเลือกที่มีคณภาพตาม ุ มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตสาหกรรม และมีกาลังไฟฟาตรงกับกาลังไฟฟา ุ ้ ้ ของหลอดฟลูออเรสเซนต์ ซึงมีความทนทานและเกิดความปลดภัยขณะใช้ ่ งาน
  • 9. • ความหมายและตัวเลขที่ปรากฏอยู่บนเครื่ องใช้ ไฟฟาและอุปกรณ์ ไฟฟา ้ ้ • ........ เครื่ องใช้ ไฟฟาและอุปกรณ์ไฟฟาต่างๆ ได้ แก่ หลอดไฟ สตาร์ ตเตอร์ และแบลลัสต์ ถ้ า ้ ้ สังเกตจะพบว่าบริ ษัทที่ผลิตจะระบุตวเลขต่างๆ ั ไว้ บนเครื่ องใช้ และอุปกรณ์เหล่านัน ซึงตัวเลขดังกล่าวมีความหมายทางไฟฟ้ าดังนี ้ ้ ่ • ........ หลอดไฟ ตัวเลขที่ระบุหลอด เช่น 20 W 10 A 20W นัน ตัวอักษร W ย่อมาจาก ้ Watt หรื อกาลังไฟฟา จะเป็ นปริ มาณพลังงานไฟฟา ้ ้ ที่ใช้ ไปในวินาที เช่น 20 W หมายถึง หลอดไฟฟาจะใช้ พลังงานไป 20 จูล ใน 1 วินาที ส่วนตัว ้ อักษร A ย่อมาจาก Ampere หรื อปริ มาณกระแสไฟฟาที่ไหลผ่านหลอดฟลูออเรสเซนต์ได้ ้ สูงสุดตามที่กาหนดไว้ เช่น 10 A หมายถึง ใช้ กบกระแสไฟฟาสูงสุดขนาด ั ้ 10 แอมแปร์ • ........ สตาร์ ตเตอร์ ตัวเลขที่ระบุ 220 V ตัวอักษร V ย่อมาจาก Volt หรื อแรงดันไฟฟา หรื อ ้ ความต่างศักย์ไฟฟาสูงสุดที่ระดับได้ ้ มีค่าเท่ากับ 2220 โวลต์
  • 10. เครื่องใช้ ไฟฟ้ าที่ให้ พลังงานความร้ อน • การเปลี่ยนพลังงานไฟฟาเป็ นพลังงานความร้ อน เครื่ องใช้ ไฟฟาประเภทนี ้ในปั จจุบนมีการผลิตและใช้ กนมาก เช่น เตาไฟฟา ้ ้ ั ั ้ เตารี ดไฟฟา หม้ อหุงข้ าว กาต้ มน ้าไฟฟา เครื่ องปิ งขนมปั ง เครื่ องอบผม เป็ นต้ น ้ ้ ้ • ........ เครื่ องใช้ ไฟฟาประเภทนี ้อาศัยหลักการที่วา เมื่อให้ กระแสไฟฟาผ่านขดลวดความต้ านทานจะทาให้ เกิดความร้ อนในขดลวดนันความร้ อน ้ ่ ้ ้ จะมีปริ มาณมากหรื อน้ อยขึ ้นอยูกกระแสไฟฟา และความต้ านทานของขดลวด ถ้ ากระแสไฟฟามากลวดจะร้ อนมากขึ ้น และถ้ าความต้ านทาน ่ ั ้ ้ ขดลวดมากก็จะทาให้ ร้อนยิ่งขึ ้น จากหลักการนี ้เส้ นลวดที่นามาใช้ เป็ นตัวให้ ความร้ อนจึงต้ องมีความต้ านทานสูงเพื่อให้ มีความร้ อนมาก และจุด หลอมเหลวสูงพอที่จะทาให้ ความร้ อนนานๆ และที่สาคัญต้ องไม่รวมกับออกซิเจนในอากาศเมื่ออุณหภูมิสงขึ ้นเพื่อไม่ให้ ขาดเร็ว ู • ........ ในทางปฏิบตเิ ส้ นลวดที่นามาใช้ ทาเป็ นขดลวดความร้ อนนี ้ ทามาจากโลหะผสมระหว่างนิกเกิล ประมาณร้ อยละ 60 โครเมียม ประมาณ ั ร้ อยละ 15 และเหล็กประมาณร้ อยละ 25 ได้ โลหะใหม่ที่ เรี ยกว่า นิโครม เป็ นโลหะที่มีความต้ านทานประมาณ 50 เท่าของ ลวดทองแดง และจุดหลอมเหลวอยู่ 1,500 องศาเซลเซียส ลวดนิโครมที่ประกอบอยู่ในเครื่ องใช้ ไฟฟาอาจทาเป็ นเส้ นลวดหรื อแถบทังนี ้ขึ ้นอยูกบ ้ ้ ่ ั ลักษณะการใช้ งาน โดยทัวไปจะนิยมทาเป็ น ่ ลวดขดสปริง เพราะความยาวของขดลวดทาให้ ขดลวดมีความต้ านทานและความร้ อนสูงขึ ้นด้ วย • ........ ขดลวดความร้ อนหรื อขดลวดนิโครมในเครื่ องใช้ ไฟฟาส่วนใหญ่จะขดอยูในที่รองรับเป็ นฉนวนไฟฟา สามารถถ่ายเท่พลังงานความร้ อนจาก ้ ่ ้ ขดลวดให้ แก่ภาชนะหรื อวัตถุอื่นได้ นอกจากขดลวดความร้ อนแล้ วเครื่ องใช้ ไฟฟาที่ให้ ความร้ อนบางชนิดจะมีสวิตซ์อตโนมัติควบคุมอุณหภูมิ ให้ ้ ั คงที่ โดยปกติแล้ วการทางานของเครื่ องใช้ ไฟฟาให้ คงที่ที่อณหภูมิหนึง หรื อถึงอุณหภูมิที่ต้องการก็ตดวงจรสวิตซ์อตโนมัติที่ทาการควบคุม ้ ุ ่ ั ั อุณหภูมินี ้ เรี ยกว่า เทอร์ โมสตัท ( Termostat ) ซึงมีหลักการดังนี ้ ่ • ........ เทอร์ โมสตัทประกอบด้ วยแผ่นโลหะ 2 ชนิดประกบติดกัน โดยที่โลหะทังสองชนิดมีความสามารถในการขยายตัวต่างกันเมื่อได้ รับความ ้ ร้ อน เช่น แผ่นเหล็กกับทองแดง แผ่นเหล็กกับแผ่นทองเหลือง ซึงอาจ เรี ยกว่าแผ่นโลหะคู่ เมื่อได้ รับความร้ อนแผ่นโลหะคูจะขยายตัว โดยที่โลหะ ่ ่ ที่มีการขยายตัวมากกว่าจะพยายามดันตัวออก แต่จะถูกโลหะที่ขยายตัวน้ อยกว่าที่ดงไว้ ทาให้ เกิดการโค้ งงอไปทางด้ านโลหะที่มีการขยายตัว ึ น้ อยกว่า หน้ าสัมผัสหรื อ คอนแทค ที่ตอวงจรก็จะแยกออกจากกันแต่เมื่ออุณหภูมิของแผ่นโลหะคูลดลงแผ่นโลหะทังสองจะกลับสูสภาพเดิม ทา ่ ่ ้ ่ ให้ วงจรต่อเชื่อมกันดังเดิม
  • 11. • ........ แบลลัสต์ ตัวเลขที่ระบุ เช่น 250 W 220V และ 50 Hz ตัวเลข 250W และ 220V ตัวอักษร Hz ย่อมาจาก Hertz หรื อความถี่ไฟฟา ้ กระแสสลับ 50 Hz หมายถึง แบลลัสต์จะใช้ ได้ กบกระแสไฟฟาสลับที่มีความถี่ 50 เฮิรตซ์ ั ้ • จะเห็นได้ วาความหมายของตัวเลขบนเครื่ องใช้ ไฟฟาทุกชนิดหรื ออุปกรณ์ไฟฟ้ าที่มี ่ ้ ความสาคัญต้ องการเลือกซื ้อและการใช้ อปกรณ์ไฟฟา ุ ้ ต่างๆให้ มีความสัมพันธ์กบวงจรไฟฟาภายในบ้ าน ั ้ • ........ นอกจากหลอดไฟฟาแบบธรรมดาชนิดไส้ และหลอดฟลูออเรสเซนต์แล้ ว อาจจะเคย ้ เห็นหลอดไฟฟาแบบประดิษฐ์ เป็ นตัวอักษร ้ หรื อรูปต่างๆตามร้ านค้ าหรื อาถานบริ การ หลอดไฟโฆษณาเป็ นหลอดแก้ วที่ถกลนไฟดัดให้ ู เป็ นรูปหรื อตัวอักษรต่างๆ แล้ วสูบอากาศออก จนเป็ นสุญญากาศ จากนั ้นใส่ก๊าซบางชนิดที่ให้ แสงสีตางๆออกมาได้ เมื่อมีกระแสไฟฟาไหล ่ ้ ผ่านหลอดไฟ แต่ใช้ คั ้นหลอดไฟฟาทาด้ วยโลหะ ้ ติดอยูที่ปลายทั ้งสองข้ าง แล้ วต่อกับแหล่งกาเนิดไฟฟาที่มีความต่างศักย์สงประมาณ ่ ้ ู 10,000 โวลต์ หรื อ 10 กิโลวัตต์ ความต่างศักย์ท ้ี ้่ สงมากๆ จะทาให้ ก๊าซที่บรรจุไว้ ในหลอดเกิดการแตกตัวเป็ นไอออนและนาไฟฟาเมื่อ ู ้ กระแสไฟฟาผ่านก๊ าซเหล่านี ้จะทาให้ ก๊าซร้ อนติดไฟ ้ ให้ แสงสีตางๆได้ ่
  • 12. • หลักการทางานของเครื่องใช้ ไฟฟาที่ให้ ความร้ อน ้ • ......เครื่ องใช้ ไฟฟาที่ให้ ความร้ อนมีหลักการ ้ • ......เมื่อมีกระแสไฟฟาไหลผ่านความต้ านทานไฟฟาสูง พลังงานไฟฟาจะเปลี่ยนเป็ นพลังงาน ้ ้ ้ ความร้ อน ดังนัน จึงให้ กระแสไฟฟาไหลผ่านขดลวดนิโครมหรื อแผ่นความร้ อนซึงมีความ ้ ้ ่ ต้ านทานไฟฟาสูง พลังงานไฟฟาจะเปลี่ยนเป็ นพลังงานความร้ อน ้ ้ มากแล้ วถ่ายเทพลังงานความร้ อนไปยังภาชนะ • เตาไฟฟา ้ • ...... เตาไฟฟาเป็ นเครื่ องใช้ ไฟฟาที่ให้ ความสะดวกในการต้ มน ้าหรื อหุงต้ มอาหาร เนื่องจากเวลา ้ ้ ใช้ เพียงแต่เสียบปลัก เตาไฟฟาก็สามารถ ๊ ้ ทางานได้ เตาไฟฟามีวิวฒนาการโดยแบบต่างๆ ตังแต่แบบธรรมดาที่มีลวดให้ ความร้ อน 1 ชุด ้ ั ้ จนกระทังถึงลวดให้ ความร้ อน 4 ชุด ่ และบางชนิดมีเตาอบด้ วย เตาไฟฟาสามารถแบ่งออกเป็ นแบบเปิ ดและแบบปิ ด ้
  • 13. • ......1.เตาไฟฟาแบบเปิ ด เตาไฟฟ้ าแบบเปิ ดนี ้ไม่มีเครื่ องควบคุมอุณหภูมิ เมื่อผู้ต้องการใช้ เพียงแต่ใช้ ้ เตาเสียบเสียบเตารับเท่านัน ถ้ าไม่ต้องการใช้ ก็ถอดเตาเสียบออกเตาไฟฟ้ าแบบเปิ ดนี ้ประกอบด้ วยขด ้ ลวดความร้ อนที่ทาด้ วยลวดนิโครมขดเป็ นขดลวดสปริ ง ขดอยู่ตมร่องปูนพลาสเตอร์ หรื อปูนซีเมนต์หรื อกระเบื ้องเคลือบ เพื่อไม่เกิดการลัดวงจรและกันความร้ อน ไม่ให้ เกิดการลัดวงจร และกันความร้ อนไม่ให้ ไปอยู่บริ เวณส่วนล่างของเตา เตาไฟฟา แบบนี ้จะสูญเสียพลังงานมากกว่าเตา ้ ไฟฟาแบบปิ ดเพราะการใช้ ต้องวาง ้ ภาชนะไม่ให้ สมผัสกับขดลวดความร้ อน เนื่องจากกระแสไฟฟาไหลผ่านได้ อากาศที่คนอยู่ระหว่างขด ั ้ ั่ ลวดความร้ อนกับก้ นภาชนะ เมื่อร้ อนจะเคลื่อนที่หนีไป จึงต้ องเสียพลังงานไฟ • ......2.เตาไฟฟาแบบเปิ ด เตาไฟฟ้ าแบบนี ้มีลวดนิโครมอยู่ภายในท่อเหล็กไร้ สนิม ภายในท่อบรรจุ ้ แมกนีเซียมออกไซด์ ซึงมีสมบัติเป็ นฉนวนไฟฟ้ าแต่นาความร้ อนดังนันเตาไฟฟ้ าแบบนี ้จึงให้ ความ ่ ้ ปลอดภัยมากกว่าเตาไฟฟ้ าแบบเปิ ด เพราะถ้ าสัมผัสถูกท่ อความร้ อน ขณะกระแสไฟฟาผ่านจึงไม่เป็ นอันตรายจากการถูกไฟฟาลัดวงจรหรื อที่ เรี ยกว่าไฟดูด ้ ้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งแล้ ว การวางภาชนะหุงต้ มที่เป็ นโลหะหรื อของเหลวที่ไหลล้ นออกาจะไม่เป็ นอันตราย และผู้ใช้ สามารถทา ความสะอาดได้ ง่ายเตาไฟฟ้ า แบบปิ ดจึงเป็ นเตาที่มีราคาแพงกว่า และมีสวิตซ์ควบคุมอุณหภูมิสามารถทาให้ ความร้ อนมีกระแสไฟฟ้ า ไหลผ่านได้ แตกต่างกัน เตาไฟฟาแบบนี ้ที่มีจานวนส่วนมากมีขนาด 800 วัตต์ถง 1,600 วัตต์ ้ ึ
  • 14. • เตารี ดไฟฟา ้ • ......เตารี ดไฟฟาเป็ นเครื่ องใช้ ไฟฟาที่ให้ ความร้ อน และมีความจาเป็ นในชีวิตประจาวันเป็ น ้ ้ อย่างมาก • ......ส่วนประกอบที่สาคัญจากเตารี ดไฟฟา เตารี ดไฟฟาประกอบด้ วยส่วนประกอบที่สาคัญ ้ ้ คือ แผ่นความเทอร์ โมสตัท แผ่นขดลวดความร้ อน แผ่นทับผ้ า และปุ่ มปรับความร้ อนเตารี ด ไฟฟาใช้ แผ่นขดลวดความร้ อนทาด้ วยลวดนิโครมแผ่นแบนๆ วงสับไปมาไม่ได้ ทาเป็ นขดลวด ้ เหมือนเตาไฟฟา หรื อ อาจที่เรี ยกว่า ไส้ เตารี ด ซึงจะสอดอยูภายในระหว่างไมก้ า (Mica) ้ ่ ่ 2 แผ่น ไมก้ านี ้เป็ นวัตถุทนไฟและเป็ นฉนวนด้ วย • ......เหตุที่ต้องใช้ ไมก้ ามากั ้นนั ้น เนื่องจากเตารี ดต้ องการน ้าหนังจึงจะทาให้ ผ้าเรี ยบได้ ดังนัน ้ เตารี ดจะมีเฉพาะแต่ไส้ เตารี ดจึงต้ องมีฐานโลหะที่หนัง เมื่อไส้ เตารี ดร้ อนก็จะทาให้ ฐานโลหะ ร้ อนตามด้ วย • หลักการทางานของเตารี ดไฟฟา ้ • ......โดยทัวไปเตารี ดไฟฟาเมื่อใช้ เต้ าเสียบเสียบเต้ ารับแล้ ว กระแสไฟฟาจะไหลผ่านขดลวด ่ ้ ้ ให้ ความร้ อน คือแถบลวดนิโครม หรื อขดลวดความร้ อน และจะถ่ายเทความร้ อนให้ กบแผ่น ั ทับผ้ า ทาให้ แผ่นทับผ้ าร้ อน การตังอุณหภูมิให้ มีความร้ อนมากหรื อน้ อยเท่าไร ขึ ้นอยูชนิด ้ ่ ของผ้ าที่จะรี ด เช่นผ้ าไนลอนหรื อผ้ าแพรต้ องใช้ อณหภูมิไม่สงมากนัก แต่ถ้าเป็ นผ้ าหนาต้ อง ุ ู ใช้ อณหภูมิสง การตั ้งความร้ อนมีปมปรับความร้ อน ซึงจะไปกดแผ่นโลหะคูให้ ตดไฟตาม ุ ู ุ่ ่ ่ ั อุณหภูมิที่ต้องการ
  • 15. • วิธีใช้ เตารี ดไฟฟาให้ ประหยัดพลังงาน ้ • ......1. ควรรี ดผ้ าคราวละมากๆ ติดต่อกันจนเสร็ จ และควรเริ่ มรี ดผ้ าบางๆ ก่อนใน ขณะที่เตารี ดยังไม่ร้อน และก่อนรี ดเสร็ จประมาณ 2-3 นาทีให้ ถอดปลักออก ๊ ......2. เมื่อไม่ได้ ใช้ งานควรถอดปลักออก และก่อนจะเก็บควรทิ ้งให้ เตารี ดเย็นก่อน ๊ • • คาแนะนาด้ านความปลอดภัยของเตารี ด • ......1. ควรระวังไม่ให้ ความร้ อนจากเตารี ดสัมผัสสายไฟฟาเพราะจะทาให้ เปลือกสาย ้ (ฉนวน) เสียหายได้ ......2. สายปลักของเตารี ด เปลือกสาย (ฉนวน) ต้ องไม่เสื่อมสภาพหรื อฉีกขาด ๊ ......3. ต้ องคอยหมันตรวจสอบฉนวนยางที่ห้ มสายเข้ าเตารี ด หากพบว่าเปื่ อยหรื อฉีก ่ ุ ขาดควรรี บเปลี่ยนใหม่โดยช่างผู้มีความรู้ เพราะหากไม่รีบเปลี่ยนสายไฟบริเวณนัน ้ อาจชารุดและถูกไฟดูดได้ ......4. ขณะใช้ งาน เมื่อหยุดรี ดต้ องวางบนวัสดุที่ไม่ติดไฟง่าย ......5. เตารี ดที่ใช้ ควรมีสายดินและต่อลงดินผ่านทางเต้ าเสียบเต้ ารับที่มี สายดินด้ วย และหมันตรวจสอบไฟรั่วด้ วยไขควงลองไฟเสมอ ่ ......6. ดูข้อควรปฏิบติในการใช้ ไฟฟา หรื อเครื่ องใช้ ไฟฟาอย่างปลอดภัย ั ้ ้
  • 16. เครื่องใช้ ไฟฟ้ าทีให้ พลังงานกล ่ • พลังงานกล หมายถึง พลังงานที่ทาให้ วตถุเกิดการหมุน หรื อเกิดการเคลื่อนที่ ั หรื อเปลี่ยนขนาดของวัตถุหรื อเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุ • .......เครื่ องใช้ ไฟฟาที่เปลี่ยนเป็ นพลังงานไฟฟาเป็ นพลังงานกลอยูอย่าง ้ ้ ่ มากมาย ได้ แก่ พัดลม เครื่ องปรับอากาศ เครื่ องปั๊ มน ้า เครื่ องดูดฝุ่ น เครื่ อง เป่ าผม และเครื่ องใช้ ไฟฟาที่ไฟฟาที่มีมอเตอร์ ทุกชนิด ้ ้ • .......มอเตอร์ ไฟฟา ทางานโดยอาศัยหลักการดังนี ้ เมื่อมีกระแสไฟฟาไหล ้ ้ ผ่านขดลวดตัวนาทางวางงออยูระหว่างขันเหนือและขันใต้ ของแท่งแม่เหล็ก ่ ้ ้ กระแสไฟฟาขณะไหลผ่านขดลวดจะเกิดการเหนี่ยวนาเกิดสนามแม่เหล็ก ้ รอบเส้ นลวด ทาให้ เส้ นแรงแม่เหล็กของแท่นแม่เหล็กแบนไป ซึงเส้ นแรง่ แม่เหล็กที่เบี่ยงเบนไปนี ้จะยึดเส้ นแรงออกให้ ตรงด้ วยเส้ นแรงผลักขดลวด เป็ นผลให้ ขดลวดหมุนได้
  • 17. • พัดลมไฟฟา ้ • .......ประเทศไทยตั ้งอยูในเมืองเขตร้ อนชื ้น ดังนันพัดลมจึงเป็ นเครื่ องใช้ ไฟฟาชนิดหนึงที่มี ่ ้ ้ ่ ความจาเป็ น พัดลมที่ใช้ กนทัวมีหลายประเภท สามารถแบ่งตามลัก ษ ะการใช้ งานได้ ดงนี ้ ั ่ ั พัดลมตังพื ้น พัดลมตั ้งโต๊ ะ พัดลมติดเพดาน พัดลมติดผนัง และพัดลมดูดอากาศ แม้ วาพัด ้ ่ ลมที่มีหลายประเภทแต่ก็มีหลักการทางานเหมือนกัน • พัดลมโดยทัวไปใช้ มอเตอร์ ไฟฟา 3 ชนิด คือ ่ ้ • .......ยูนเวอร์ ซลมอเตอร์ เป็ นมอเตอร์ ชนิดที่ใช้ ได้ ทงไฟฟากระแสตรงและกระแสสลับ ิ ั ั้ ้ มอเตอร์ แบบบังขั ้วและสปลิตเฟสมอเตอร์ มอเตอร์ ทงสองชนิดเป็ นมอเตอร์ ไฟฟาเหนี่ยวนาที่ ั้ ้ ใช้ กบกระแสสลับ ั • .......การดูแลรักษาพัดลมอย่างสม่าเสมอจะช่วยทาให้ พดลมทางานได้ เต็มประสิทธิภาพ ั และยังช่วยยืดอายุการทางานให้ ยาวนานขึ ้นโดย มีวิธีการดังนี ้ • .......หมันทาความสะอาดตามจุดต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ใบพัด และตะแกรงครอบใบพัด ่ • · .......อย่าให้ ฝนละอองเกาะจับ และ ต้ องดูแลให้ มีสภาพดีอยูเ่ สมออย่าให้ แตกหักหรื อชารุด ุ่ หรื อโค้ งงอผิดส่วนจะทาให้ ลมที่ออกมามีความแรงหรื อความเร็ วลดลง • .......หมันทาความสะอาดช่องลมตรงฝาครอบมอเตอร์ ของพัดลม ซึงเป็ นช่องระบายความ ่ ่ ร้ อนของมอเตอร์ อย่าให้ มีคราบน ้ามันหรื อฝุ่ นละอองเกาะจับ เพราะจะทาให้ ประสิทธิภาพ ของมอเตอร์ ลดลง และสิ ้นเปลืองพลังงานไฟฟามากขึ ้น ้
  • 18. • เครื่องปั่ น - บดอาหารไฟฟา ้ • .......เครื่ องปั่ น - บดอาหาร เป็ นเครื่ องใช้ ไฟฟาที่ช่วยให้ สวนผสมของอาหาร ้ ่ แหลกละเอียดด้ วยตัวเครื่ องประกอบด้ วยสองส่วนคือ ส่วนที่เป็ นฐานล่างกับ ส่วนที่เป็ นโถใส่อาหาร ในส่วนของฐานล่างจะมีมอเตอร์ ชนิดยูนิเวอร์ ซล ั มอเตอร์ ติดอยู่ เพราะให้ กาลังหมุนเร็ วมาก แกนมอเตอร์ ของมอเตอร์ ตงขึ ้น มีั้ สวิตซ์ปิด-เปิ ดมอเตอร์ ตดอยูที่ฐานล่างด้ วย สาหรับส่วนที่เป็ นโถใส่อาหารนัน ิ ่ ้ ในโถตอนล่างจะมีใบมีดเป็ นแฉกๆ เหมือนกับมีใบมีดติดอยูแกนใบมีดต่อ ่ ออกไปด้ านล่างของโถและที่ปลายแกนมีที่สาหรับเดือยของ มอเตอร์ เมื่อต้ องการใช้ ให้ สวมเดือยให้ ตดกัน เปิ ดสวิตซ์ มอเตอร์ จะหมุน ิ แกนใบมีด ทาให้ ใบมีดหมุนอย่างรวดเร็ วตัดอาหารที่ต้องการปั่ น ให้ ละเอียด อาหารที่มีชิ ้นใหญ่และน ้าหนักมากจะตกลงมาอยูในตาแหน่งที่่ ใบมีดตัดได้ ทวถึง ั่
  • 19. • เครื่ องดูดฝุ่ น • • ......... ในปั จจุบนนี ้เครื่ องดูดฝุ่ นเป็ นเครื่ องใช้ ไฟฟาที่นิยมกันมากในชีวิตประจาวัน เครื่ องดูด ั ้ ฝุ่ น เป็ นเครื่ องช่วยทาความสะอาดภายในบ้ าน โดยใช้ ระบบสุญญากาศดูดผงฝุ่ นและเศษขยะต่างๆเข้ าไปเก็บในที่เก็บ เครื่ องดูดฝุ่ นแบ่ง ออกเป็ น 2 ชนิด คือ เครื่ องดูดฝุ่ นแบบถุงและ เครื่ องดูดฝุ่ นแบบทรงกระบอกใบพัดที่ใช้ ในเครื่ องดูดฝุ่ นเป็ นใบพัดประเภทเดียวกับพัดลมดูด อากาศและใช้ มอเตอร์ แบบยูนิเวอร์ ซล ั • เครื่ องดูดฝุ่ นแบบถุง • ......... เป็ นเครื่ องดูดฝุ่ นที่ใช้ ทาความสะอาดได้ เฉพาะที่พื ้นที่เท่านัน ตัวเครื่ องประกอบด้ วย ้ แปรงทรงกระบอกต่อสายพานเข้ ากับแกนมอเตอร์ ทาให้ แปรงหมุนขณะมอเตอร์ ทางานแปรงจะช่วยมอเตอร์ ปัดฝุ่ นให้ ขึ ้นมาจากพื ้นพัดลมจะ ช่วยดูดอากาศที่มีฝนให้ ผานไปยังถุงเก็บถุงทาให้ ุ่ ่ ผงฝุ่ นปลิวขึ ้นและเข้ าไปรวมกันอยู่ในถุงเก็บฝุ่ น ส่วนอากาศก็จะออกจากถุงโดยที่ฝนออก ุ่ จากถุงไม่ได้ ทั ้งนี ้ก็ขึ ้นอยู่กบความละเอียดของผ้ าที่ใช ั ้้ทาถุงแต่ถ้าฝุ่ นมาอุดที่ผนังถุงมากๆจะทาให้ อากาศออกจากถุงได้ ยากกาลังดูดของ มอเตอร์ ก็จะลดลงดังนั ้นเพื่อให้ การใช้ เครื่ องดูดฝุ่ นมี ประสิทธิภาพมากขึ ้นก็ต้องทาความสะอาดถุงเก็บฝุ่ นเสมอ
  • 20. • เครื่องดูดฝุ่ นแบบทรงกระบอก • ......... เป็ นเครื่ องดูดฝุ่ นที่วางมอเตอร์ และใบพัดไว้ ในแนวนอนใน เครื่ องดูดฝุ่ นบริเวณด้ านหน้ าจะมีถงเก็บฝุ่ น ส่วนหลังของถุงเก็บฝุ่ นจะมี ุ มอเตอร์ ดดอากาศให้ ออกไปด้ านหลังของตัวเครื่ องซึงจะทาให้ อากาศ ู ่ บริเวณตอนหน้ าของเครื่ องถูกดูดไปจึงเป็ นบริเวณที่มีความกดดัน น้ อยและอากาศด้ านหน้ าของหัวดูดก็จะพัดเข้ ามาตลอดเวลาการใช้ เครื่ องดูดฝุ่ นชนิดนี ้สะดวกกว่าแบบถุงเพราะสามารถเปลี่ยนหัวดูด ได้ หลายแบบและสามารถใช้ ดดฝุ่ นตามฝาผนัง ตามซอกมุมหรื อบริเวณ ู เบาะรถยนต์ได้ ด้วย
  • 21. เครื่องใช้ ไฟฟาที่ให้ พลังงานเสี ยง ้ • ปั จจุบนในชีวิตประจาวันของเรามีเครื่ องใช้ ไฟฟาที่ให้ พลังงานเสียงที่มี ั ้ ความสาคัญสาหรับเรามาก ได้ แก่ เครื่ องรับวิทยุ มีประโยชน์ในการรับ ฟั งข่าวสาร ตลอดจนรายการบันเทิงต่างๆ ที่ออกอากาศมาให้ เรารับฟั ง เช่น • เครื่ องรับวิทยุ • เครื่ องบันทึกเสียง
  • 22. • เครื่ องรั บวิทยุ - เครื่ องบันทึกเสียง • เครื่ องรั บวิทยุ • ......... เมื่อสถานีสงวิทยุแปลงสัญญาณไฟฟาเป็ นคลื่นวิทยุที่มีความถี่ต่างๆ กันแล้ ว คลื่นวิทยุดงกล่าวจะถูกส่งไป ่ ้ ั ยังสถานีต่างๆ เมื่อคลืนวิทยุไปกระทบกับเสาอากาศของเครื่ องรับวิทยุภาครับของเครื่องรับวิทยุที่เลือกความถี่ได้ ่ ตรงกับความถี่คลื่นวิทยุที่สงออกมา จะรับเอาคลื่นวิทยุดงกล่าวไปแปลงเป็ นสัญญาณไฟฟา แล้ วสัญญาณไฟฟานี ้ ่ ั ้ ้ จะเข้ าสูวงจรขยายเพื่อให้ สญญาณไฟฟามีแอมปลิจดสูงขึ ้น สัญญาณนี ้จะผ่านอุปกรณ์อเิ ลคทรอนิกส์ เพื่อแยกคลืน ่ ั ้ ู ่ เสียงออกจากคลื่นพาหะ แล้ วผ่านวงจรขยายอีกครังหนึ่งให้ สญญาณมีความแรง ้ ั ขึ ้นจนเพียงพอที่จะทาให้ ลาโพงเกิดการสันสะเทือนเป็ นเสียงที่เหมือนกับเสียงที่ออกมาจากแหล่งกาเนิดเสียงสถานี ่ ส่ง ดังนั ้น ลาโพงจึงทาหน้ าที่เปลี่ยนสัญญาณไฟฟาเป็ นสัญญาณเสียง ้ • • เครื่ องบันทึกเสียง • ......... เมื่อผู้พดหรื อโฆษกพูดผ่านไมโครโฟน แผ่นไดอะแฟรมในไมโครโฟนจะสั ้นตามคลื่นเสียงที่ออกมา แล้ ว ู เปลี่ยนคลื่นเสียงเป็ นสัญญาณไฟฟาที่เกิดขึ ้นก็จะถูกบันทึกลงในแถบบันทึกเสียงที่ฉาบด้ วยสารแม่เหล็กในรูป ้ สัญญาณแม่เหล็ก เมือนาแถบบันทึกเสียงที่บนทึกเสียงไว้ แล้ วมาเปิ ด สัญญาณแม่เหล็กที่แถบบันทึกเสียงได้ บนทึก ่ ั ั ไว้ จะเปลี่ยนเป็ นสัญญาณไฟฟา แล้ วผ่านภาคขยายให้ สญญาณแรงขึ ้นด้ วยอุปกรณ์ไฟฟา แล้ วส่งไปยังลาโพง ทา ้ ั ้ ให้ ลาโพงเกิดการสันสะเทือนกลับมาเป็ นเสียงที่บนทึก ่ ั ได้ บนทึกเก็บไว้ ทาให้ เราได้ ยินเสียงเหมือนเสียงที่บนทึกไว้ อีกครังหนึ่ง ั ั ้
  • 23. จัดทาโดย • ด.ช. วุฒิชย เตชะปั ญญา เลขที่ 13 ม.3/3 ั • ด.ช.ศรันย์ ขยันดี เลขที่ 14 ม.3/3 • ด.ช. ศักดิสทธิ์ เจริญ เลขที่ 15 ม.3/3 ์ ิ • ด.ช.ศุภกฤต วงค์ไชยา เลขที่ 16 ม.3/3 • เสนอ • อาจารย์ จิราภรณ์ ไชยมงคล