SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์ 
เรื่อง ชุดโซฟาเด็กจากกระป๋องนม 
โดย 
1. นายธวัชชัย ถิ่นลาปาง 
2. นายธนันต์ชัย พันธากูล 
3. นางสาวปณิดา กิทา 
ครูที่ปรึกษา 
1. นางชโลธร กีรติศักดิ์กุล 
2. นางกมลวรรณ บุญสวน 
โรงเรียนเมืองราดวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 40 
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์ 
ประเภทสิ่งประดิษฐ์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 
เนื่องในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนครั้งที่ 63 ระดับภาคเหนือ 
วันที่ 18 – 20 ธันวาคม 2556
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ชุดโซฟาเด็กจากกระป๋องนม 
โดย 
1. นายธวัชชัย ถิ่นลาปาง 
2. นายธนันต์ชัย พันธากูล 
3. นางสาวปณิดา กิทา 
ครูที่ปรึกษา 
นางชโลธร กีรติศักดิ์กุล 
นางกมลวรรณ บุญสวน
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ชุดโซฟาเด็กจากกระป๋องนม 
โดย 
1. นายธวัชชัย ถิ่นลาปาง 
2. นายธนันต์ชัย พันธากูล 
3. นางสาวปณิดา กิทา 
ครูที่ปรึกษา 
นางชโลธร กีรติศักดิ์กุล 
นางกมลวรรณ บุญสวน 
โรงเรียนเมืองราดวิทยาคม อาเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ 
บทคัดย่อ 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ชุดโซฟาเด็กจากกระป๋องนม เป็นโครงงานวิทยาศาสตร์ 
ประเภทสิ่งประดิษฐ์ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาวิธีการทาโต๊ะ และเก้าอี้สาหรับเด็ก นาวัสดุเหลือใช้มา ประยุกต์เพื่อให้เกิดประโยชน์ ลดค่าใช้จ่ายในการซื้อโต๊ะเก้าอี้ และหาประสิทธิภาพของโต๊ะและเก้าอี้ 
การประดิษฐ์แบ่งออกเป็น 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 ประดิษฐ์โต๊ะเก้าอี้จากกระป๋องนม และตกแต่งให้ มีความสวยงาม ตอนที่ 2 ทดสอบความแข็งแรงของโต๊ะเก้าอี้ ผลการศึกษา พบว่า ชุดโซฟาเด็กที่ประดิษฐ์ จากกระป๋องนมสามารถนามาใช้ได้จริง และชุดโซฟามีความแข็งแรงมากเด็กสามารถนั่งเล่นหรือนั่งเขียน หนังสือได้อย่างปลอดภัย ‘
กิตติกรรมประกาศ 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ชุดโซฟาเด็กจากกระป๋องนม จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาวิธีการทาโต๊ะและ เก้าอี้สาหรับเด็ก โดยการนากระป๋องนมผงของเด็กมาประยุกต์เพื่อให้เกิดประโยชน์ และเพื่อลดค่าใช้จ่าย ในการซื้อโต๊ะเก้าอี้สาหรับเด็ก 
คณะผู้จัดทาโครงงานหวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงงานนี้คงจะมีประโยชน์กับผู้ที่สนใจ และเป็นแนวคิดใน การประดิษฐ์โต๊ะเก้าอี้จากวัสดุเหลือใช้ หากการทาโครงงานนี้มีข้อบกพร่อง โปรดชี้แนะเพื่อจะได้นาไป ปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น 
ขอขอบพระคุณนายเสรี เปรมปรีดิ์ ผู้อานวยการโรงเรียนเมืองราดวิทยาคม นายสายันต์ คงสุข รองผู้อานวยการโรงเรียนเมืองราดวิทยาคม ที่ให้การสนับสนุนและเป็นกาลังใจในการจัดทาโครงงานในครั้งนี้ 
ขอขอบคุณ นางชโลธร กีรติศักดิ์กุล และนางกมลวรรณ บุญสวน ที่ให้คาปรึกษา แนะนา 
ในการจัดทาโครงงานให้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดีไว้ ณ โอกาสนี้ 
คณะผู้จัดทาโครงงาน
สารบัญ 
เรื่อง หน้า 
บทคัดย่อ ก 
กิตติกรรมประกาศ ข 
สารบัญ ค 
สารบัญตาราง ง 
สารบัญภาพ จ 
บทที่ 1 บทนา 
แนวคิดและที่มาของความสาคัญ 1 
วัตถุประสงค์ 1 
ขอบเขตของโครงงาน 2 
สมมติฐานการทดลอง 2 
การกาหนดตัวแปร 2 
นิยามศัพท์เฉพาะ 2 
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 
กระป๋อง 3 
โต๊ะ 6 
เก้าอี้ 6 
บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์และวิธีดาเนินการ 
วัสดุอุปกรณ์ 7 
วิธีทดลอง 7 
บทที่ 4 ผลการทดลอง 9 
บทที่ 5 อภิปรายและสรุปผลการทดลอง 12 
บรรณานุกรม 
ภาคผนวก
สารบัญตาราง 
เรื่อง หน้า 
ตาราที่ 4.1 แสดงการทดสอบความแข็งแรงของโต๊ะ 10 
ตาราที่ 4.2 แสดงการทดสอบความแข็งแรงของเก้าอี้ 11
สารบัญภาพ 
เรื่อง หน้า 
ภาพที่ 4.1 โต๊ะจากกระป๋องนม 9 
ภาพที่ 4.2 เก้าอี้จากกระป๋องนม 9 
ภาพที่ 4.3 แสดงการทดสอบความแข็งแรงของโต๊ะ 10 
ภาพที่ 4.4 แสดงการทดสอบความแข็งแรงของเก้าอี้ 11 
ภาพแสดงขั้นตอนการทาเก้าอี้จากกระป๋องนม 15 
ภาพแสดงขั้นตอนการทาโต๊ะจากกระป๋องนม 16
บทที่ 1 
บทนา 
1.1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 
กระป๋อง คือบรรจุภัณฑ์ชนิดหนึ่ง สร้างจากแผ่นโลหะม้วนเข้าหากันเป็นทรงกระบอก 
ปิดผนึกด้วยแผ่นโลหะวงกลมทั้งสองด้านโดยไม่ให้สัมผัสอากาศ สิ่งที่ใช้บรรจุภายในมักเป็นอาหาร 
เพื่อวัตถุประสงค์หลักของการถนอมอาหารให้สามารถเก็บไว้ได้นาน มีคุณสมบัติทนทานต่อความร้อนและ ความดันสูงจึงสามารถเข้ากระบวนการฆ่าเชื้อด้วยความร้อน (sterilization)ได้ มีความแข็งแรงทางกายภาพ ป้องกันการซึมผ่านของก๊าซ ไอน้า และแสงได้ ช่วยเก็บรักษากลิ่นและรสของผลิตภัณฑ์ และสามารถ หมุนเวียนกลับเข้ากระบวนการผลิตใหม่ได้ 
ในปัจจุบันแม่ต้องทางานนอกบ้านเป็นส่วนมากทาให้ต้องเลี้ยงลูกด้วยการใช้นมผง 
ซึ่งนมผงจะบรรจุไว้ในกระป๋อง เมื่อรับประทานนมผงที่อยู่ภายในกระป๋องหมดแล้วกระป๋องจึงกลายเป็นวัสดุ ที่สร้างความสกปรกให้แก่พื้นที่เก็บไม่น้อย หรืออาจกลายเป็นขยะที่ล้นเมือง 
คณะผู้จัดทาโครงงานมองเห็นความสาคัญดังกล่าวได้คิดค้นหาแนวทางนากระป๋อง 
มาดัดแปลงให้เกิดประโยชน์แก่คนในบ้าน และชุมชนให้มากขึ้น จึงได้จัดทาโครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนมขึ้น 
1.2 วัตถุประสงค์ของโครงงาน 
1. เพื่อนาวัสดุเหลือใช้มาประดิษฐ์เป็นโต๊ะและเก้าอี้สาหรับเด็ก 
2. ทดสอบประสิทธิภาพของโต๊ะและเก้าอี้สาหรับเด็ก 
1.3 ขอบเขตของโครงงาน 
1. ใช้กระป๋องนมผงสาหรับเด็ก ไม้อัด และกระดาษกาวเหนียว และตะปูเกลียวเท่านั้น 
2. ทาการทดลองในโรงเรียนเมืองราดวิทยาคม 
1.4 สมมติฐานของการทดลอง 
ถ้ากระป๋องนมมีความแข็งแรง ทนทาน ดังนั้นเมื่อนากระป๋องนมมาประดิษฐ์เป็นโต๊ะและเก้าอี้ ก็น่าจะได้โต๊ะ เก้าอี้ ที่มีความแข็งแรงทนทาน สามารถรับน้าหนักได้มากกว่า 40 กิโลกรัม 
1.5 การกาหนดตัวแปร 
ตัวแปรต้น คือ กระป๋องนม 
ตัวแปรตาม คือ โต๊ะ เก้าอี้ ที่มีความแข็งแรงทนทาน 
ตัวแปรควบคุม คือ ขนาดของกระป๋องนม ชนิดของกระป๋องนม ขนาดของโต๊ะ เก้าอี้ 
น้าหนักที่ใช้ทดสอบความแข็งแรง
1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ 
1. ชุดโซฟา หมายถึง โต๊ะ และเก้าอี้ ที่ประดิษฐ์จากกระป๋องนม 
2. กระป๋องนม หมายถึง กระป๋องนมผงสาหรับเด็กที่รับประทานนมผงหมดแล้ว 
ทามาจากโลหะ 
3. เด็ก หมายถึง บุคคลที่อายุตั้งแต่ 3 - 7 ปี หรือมีน้าหนักไม่เกิน 60 กิโลกรัม 
1.7 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 
1. ได้ชุดโซฟาสาหรับเด็ก 
2. ลดค่าใช้จ่ายในการซื้อชุดโซฟาสาหรับเด็ก 
3. นักเรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 
4. นักเรียนมีทักษะในการประกอบอาชีพสุจริต 
บทที่ 2 
2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง 
กระป๋อง 
กระป๋อง คือบรรจุภัณฑ์ชนิดหนึ่ง สร้างจากแผ่นโลหะม้วนเข้าหากันเป็นทรงกระบอก ปิดผนึกด้วยแผ่นโลหะ วงกลมทั้งสองด้านโดยไม่ให้สัมผัสอากาศ สิ่งที่ใช้บรรจุภายในมักเป็นอาหาร เพื่อวัตถุประสงค์หลักของการ ถนอมอาหารให้สามารถเก็บไว้ได้นาน และจาเป็นต้องใช้การตัดหรือการฉีกฝากระป๋องให้เปิดออกด้วยที่เปิด กระป๋อง ปัจจุบันสามารถผลิตกระป๋องซึ่งเปิดได้ง่ายด้วยมือโดยไม่ต้องใช้ที่เปิดแต่อย่างใด 
คุณสมบัติ 
1. ทนทานต่อความร้อนและความดันสูงจึงสามารถเข้ากระบวนการฆ่าเชื้อด้วยความร้อน (sterilization) ได้ 
2. มีความแข็งแรงทางกายภาพ ป้องกันการซึมผ่านของก๊าซ ไอน้า และแสงได้ 
3. ช่วยเก็บรักษากลิ่นและรสของผลิตภัณฑ์ 
4. สามารถหมุนเวียนกลับเข้ากระบวนการผลิตใหม่ได้ 
โลหะที่ใช้ทาบรรจุภัณฑ์ มี 3 ชนิด คือ 
1. เหล็กเคลือบดีบุก เป็นแผ่นเหล็กดา (black– plate) ที่มีความหนาระหว่าง 0.15–0.5 มิลลิเมตร นามาเคลือบผิวหน้าด้านเดียวหรือทั้งสองหน้าด้วยดีบุก เพื่อให้ทนทานต่อการผุกร่อน และ ไม่เป็น พิษ เป็นบรรจุภัณฑ์ที่แข็งแรง ป้องกันอันตรายจากสิ่งแวดล้อม และสภาวะอากาศ การลงทุนในการผลิต ไม่สูงนักและไม่ซับซ้อนสามารถบรรจุอาหารได้ดีเนื่องจากสามารถปิดผนึกได้สนิทและฆ่าเชื้อได้ด้วยความ ร้อน ในแง่ของสิ่งแวดล้อมสามารถแยกออกจากขยะได้ง่ายโดยใช้แม่เหล็ก 
2. แผ่นเหล็กไม่เคลือบดีบุก (tin free steel, TFS) เป็นแผ่นเหล็กดา ที่นามาเคลือบด้วยสาร อื่นแทนดีบุก เพื่อลดต้นทุนการผลิต ในปัจจุบันมีการเคลือบอยู่ 3 แบบคือ 
- เคลือบด้วยสารผสมฟอสเฟตและโครเมต เป็นฟิล์มบางๆ ใช้ทากระป๋องบรรจุเบียร์ น้า ผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว และทาถังโลหะชนิดต่างๆ 
- เคลือบด้วยอะลูมิเนียม มีความทนทานต่อการกัดกร่อนเนื่องจากความชื้นได้ดี แต่ไม่ สามารถใช้กับอาหารที่มีความเป็นกรดหรือด่างสูง 
-เคลือบด้วยโครเมียมและโครเมียมออกไซด์ เพื่อให้สามารถป้องกันการกัดกร่อนได้ดี นิยมใช้ทากระป๋อง บรรจุอาหารทะเล นมข้นหวาน เป็นต้น 
3. อะลูมิเนียม มักใช้ในรูปอะลูมิเนียมเปลว คุณสมบัติเด่นคือ น้าหนักเบา ทนทานต่อการกัด กร่อนสูง ทนต่อการซึมผ่านของอากาศ ก๊าซ แสง และกลิ่นรสได้ดีเยี่ยม นิยมใช้ทากระป๋อง 2 ชิ้น (2piece can) สาหรับบรรจุน้าอัดลมและเบียร์ กระป๋องฉีดพ่น (aerosol) สาหรับบรรจุสเปรย์ฉีดผมหรือเครื่องสาอาง ต่างๆ และฝาชนิดที่มีห่วงเพื่อให้เปิดง่าย เช่น ฝากระป๋องน้าอัดลมหรือขวดน้าดื่ม ในรูปของอะลูมิเนียมเปลว มักใช้ควบกับวัสดุอื่นซึ่งให้ภาพลักษณ์ที่ดีเนื่องจากความเงางามของอะลูมิเนียม 
กระบวนการผลิตแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่คือ 
4
1. กระป๋อง 3 ชิ้น ประกอบด้วยส่วนประกอบ 3 ส่วน คือ ตัวกระป๋อง ฝาบน และ ก้นกระป๋อง มีตะเข็บข้าง เกิดขึ้นแต่ก่อนนี้การเข้าตะเข็บข้างจะใช้ตะกั่วเป็นตัวบัดกรีเนื่องจากว่าตะกั่วที่ใช้ก่ออันตรายแก่ ผู้บริโภค ปัจจุบันจึงเข้าตะเข็บโดยเชื่อมด้วยไฟฟ้าแทน 2. กระป๋อง 2 ชิ้น เป็นกระป๋องไร้ตะเข็บข้าง มีตัวกระป๋องและฝาล่างเป็นชิ้นเดียวกันและมีฝาบนอีกชิ้นหนึ่งที่จะ ถูกปิดโดยผู้ผลิตอาหารกระป๋อง หลังจากที่บรรจุอาหารในกระป๋องแล้วจัดเป็น hermectically sealed container มีความแข็งแรง ทนต่อความร้อนและความดันระหว่างการแปรรูปด้วยความร้อน (thermal processing) ในหม้อฆ่าเชื้อ (retort) ด้วยวิธี in-container sterilization และ in-container pasteurization วิธีการขึ้นรูปกระป๋อง 2 ชิ้น มี 3 วิธีการ คือ 1) กระป๋องขึ้นรูปโดยการปั๊มครั้งเดียว (drawn can) ตัวอย่าง กระป๋องขึ้นรูปโดยการปั๊ม 2 ครั้ง
2) กระป๋องขึ้นรูปโดยการปั๊ม 2 ครั้ง (drawn and redrawn can ; DRD can) โดยปั๊มครั้งแรกจะขึ้นรูปเป็น ถ้วยเตี้ยก่อน หลังจากนั้นจะปั๊มอีกครั้ง เพื่อให้เส้นผ่าศูนย์กลางของกระป๋องเล็กลงและความสูงมากขึ้นตาม ต้องการ กระป๋อง 2 ชิ้นที่ผลิตโดยวิธีนี้จะมีความหนาเท่ากันตลอดทั้งตัว และก้นกระป๋องสามารถทนความ ดันและสุญญากาศในกระป๋องได้ ตัวอย่าง กระป๋องขึ้นรูปโดยการปั๊มและรีดผนัง 3) กระป๋องขึ้นรูปโดยการปั๊มและรีดผนัง (drawn and wall ironed can หรือ DI can) โดยปั๊มครั้งแรก จะได้ถ้วยที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับกระป๋องที่ต้องการ หลังจากนั้นผนังกระป๋องจะ ถูกรีดให้เบาลง และกระป๋องมีความสูงเพิ่มขึ้น (ขั้นตอนการผลิตแสดงดังรูป) กระป๋องประเภทนี้ตัวกระป๋องมี ผนังบางกว่าก้นกระป๋อง สามารถทนความดันได้ แต่ทนสุญญากาศภายในกระป๋องไม่ได้ จึงนิยมใช้บรรจุเบียร์ และน้าอัดลม ตัวอย่างบรรจุภัณฑ์จากโลหะได้แก่ กระป๋อง ปี๊บ ถัง และแผ่นเปลว อะลูมิเนียม 
5
โต๊ะ 
โต๊ะ เป็นเครื่องเรือนที่มีพื้นผิวด้านบนเรียบขนานกับพื้น รองรับน้าหนักโดยขาโต๊ะ 
โดยอาจใช้สาหรับวางสิ่งของอย่างเช่นอาหาร โดยความสูงมีความพอเหมาะสาหรับการนั่ง และโดยมากจะใช้ คู่กับเก้าอี้ โต๊ะในยุคก่อนหน้านี้ จะแตกต่างจากปัจจุบันซึ่งโต๊ะสมัยใหม่มักไม่มีลิ้นชัก โต๊ะสาหรับมีไว้เขียน และทางานในออฟฟิสจะเรียก โต๊ะทางาน (desk) ซึ่งจะมีลิ้นชักอย่างน้อย 1 อันหรือมากกว่านั้นข้างใต้ บางชิ้นส่วนของโต๊ะอาจขยับปรับเปลี่ยนได้ 
เก้าอี้ 
เก้าอี้ คือที่นั่งประเภทหนึ่ง โดยมักจะเป็นที่นั่งสาหรับคนเดียว โดยในส่วนที่นั่งจะอยู่เหนือจากระดับ พื้น มีขาเก้าอี้ 4 ขารองรับข้างใต้ 
เก้าอี้ที่พบในประวัติศาสตร์เช่น เก้าอี้ของกรีก ที่คาดว่าน่าจะสร้างราว 600 ก่อนคริสต์ศักราช เป็น เก้าอี้สี่ขาตัวตรงและมีพนักพิงตั้งตรง ถัดมาเป็นเก้าอี้ในประเทศจีน ในสมัยราชวงศ์ถัง (ค.ศ. 618-907) [1] 
ในปัจจุบัน วัสดุที่ใช้ทาเก้าอี้มีความหลากหลายมากขึ้น ไม่ว่าจะทาจาก เก้าอี้ไม้ เก้าอี้โลหะ เก้าอี้ พลาสติก เริ่มมีการผลิตและใช้งานเป็นจานวนมาก ใช้ทุกระดับชั้น มีการออกแบบดีไซน์เก้าอี้หลากลาย มากมาย 
6
บทที่ 3 
วัสดุอุปกรณ์และวิธีดาเนินการ 
วัสดุอุปกรณ์ 
1. กระป๋องนมผงสาหรับเด็ก 
2. ตะปูเกลียว 
3. กระดาษกาวเหนียว 
4. กระดาษกาวสองหน้า 
5. ฟองน้า 
6. ผ้า 
7. พลาสติกลูกฟูก 
8. ไม้อัด 
9. แลกเกอร์ 
10. เลื่อย 
วิธีทดลอง 
ตอนที่ 1 การประดิษฐ์โต๊ะและเก้าอี้ 
การประดิษฐ์เก้าอี้ 
1. นากระป๋องนมผงสาหรับเด็กมาทาความสะอาดโดยการล้าง ผึ่งให้แห้ง 
2. นากระป๋องนม จานวน 3 ใบ มาจัดเป็นรูปสามเหลี่ยม ใช้กระดาษกาวเหนียวติดกระป๋องนม ทั้ง 3 ใบให้ติดกันจนแน่น 
3. นาพลาสติกลูกฟูกมาตัดเป็นรูปสามเหลี่ยมปลายมนให้เท่ากับขนาดของกระป๋องสามใบที่มัด ติดกันและติดลงบนกระป๋องให้แน่นด้วยกาวสองหน้า 
4. นาฟองน้าตัดเป็นรูปสามเหลี่ยมปลายมนวางลงบนกระดาษลูกฟูกใช้กระดาษกาวเหนียวยึดติด กับพลาสติกลูกฟูกและกระป๋องให้แน่น 
5. เย็บผ้าเป็นรูปทรงสามเหลี่ยมห่อหุ้มเพื่อตกแต่งให้สวยงาม 
6. จะได้เก้าอี้เด็กดังภาพ
การประดิษฐ์โต๊ะ 
1. นากระป๋องนมมาจานวน 10 กระป๋อง เพื่อใช้ทาเป็นขาเก้าอี้ 
2. วางกระป๋องจานวน 5 กระป๋อง ทาเป็นขาโต๊ะให้เป็นรูปสี่เหลียมผืนผ้าขนาด 60 x 80 เซนติเมตร และวางไว้ตรงกลางหนึ่งกระป๋องเพื่อรองรับนาหนัก 
3. ตัดไม้อัดให้เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาด 60 x 80 เซนติเมตร วางพาดบนกระป๋อง 
ทั้ง 5 กระป๋อง 
4. นากระป๋องมาอีกจานวน 5 กระป๋อง วางบนแผ่นไม้อัด ให้ตรงกับตาแหน่งของกระป๋อง ที่ทาเป็นขาครั้งแรก 
5. ใช้ตะปูเกลียวยึดติดกระป๋องส่วนบน แผ่นไม้อัด และกระป๋องส่วนล่าง ให้แน่น 
6. นาไม้อัดแผ่นที่สองซึ่งมีขนาดเท่ากันกับแผ่นแรกวางพาดบนกระป๋อง 
7. ใช้ตะปูเกลียวยึดติดกระป๋องกับแผ่นไม้อัดให้แน่น 
8. ทาสีบนแผ่นไม้อัด และขาโต๊ะ ตกแต่งให้สวยงามตามความชอบใจ 
9. จะได้โต๊ะสาหรับเขียนหนังสือของเด็กดังภาพ 
ตอนที่ 2 ทดสอบความแข็งแรงของโต๊ะและเก้าอี้ 
1. นาเก้าอี้ที่ได้มาทดสอบความแข็งแรงโดยการใช้หนังสือหนัก 20 30 40 50 และ 60 วางบน เก้าอี้ หรือให้นักเรียนที่มีน้าหนัก 20 30 40 50 และ 60 กิโลกรัมลองนั่งบนเก้าอี้ 
2. สังเกตการเปลี่ยนแปลงของเก้าอี้ 
3. นาหนังสือที่มีน้าหนักประมาณ 1 กิโลกรัม จานวน 10 เล่ม วางบนโต๊ะ โดยวางแบบซ้อกัน และวางหนังสือแบบกระจาย 
4. สังเกตการเปลี่ยนแปลงของเก้าอี้และโต๊ะ 
5. ทาการทดลองข้อ 1 -4 ซ้าจานวน 3 ครั้ง 
6. บันทึกผลการทดลอง 
8
บทที่ 4 
ผลการทดลอง 
ตอนที่ 1 การประดิษฐ์โต๊ะและเก้าอี้ 
จะได้โต๊ะและเก้าอี้ ดังภาพ 
ภาพที่ 4.1 โต๊ะจากกระป๋องนม 
ภาพที่ 4.2 เก้าอี้จากกระป๋องนม
ตอนที่ 2 ทดสอบความแข็งแรงของโต๊ะและเก้าอี้ 
เมื่อประดิษฐ์โต๊ะเก้าอี้เสร็จเรียบร้อยแล้วนามาทดสองความแข็งแรงได้ผลดังตาราง 
ตารางที่ 4.1 แสดงการรับน้าหนักของโต๊ะ 
จานวนหนังสือ (เล่ม) 
ลักษณะการวาง หนังสือ 
น้าหนักหนังสือ (กิโลกรัม) 
การเปลี่ยนแปลงของโต๊ะ 
2 
ซ้อนกัน 
2 
ไม่เปลี่ยนแปลง 
4 
4 
ไม่เปลี่ยนแปลง 
6 
6 
ไม่เปลี่ยนแปลง 
8 
8 
ไม่เปลี่ยนแปลง 
10 
10 
ไม่เปลี่ยนแปลง 
2 
กระจาย 
2 
ไม่เปลี่ยนแปลง 
4 
4 
ไม่เปลี่ยนแปลง 
6 
6 
ไม่เปลี่ยนแปลง 
8 
8 
ไม่เปลี่ยนแปลง 
10 
10 
ไม่เปลี่ยนแปลง 
จากผลการทดลอง เมื่อนาหนังสือมาวางบนโต๊ะในลักษณะที่แตกต่างกันคือ วางหนังสือแบบ กระจายให้ทั่วโต๊ะ และวางหนังสือซ้อนกัน พบว่า โต๊ะสามารถรับน้าหนักได้เป็นอย่างดีทั้งสองลักษณะโดยที่ โต๊ะยังคงมีสภาพเหมือนเดิมไม่มีการแตกหักหรือเอนเอียงแม้แต่น้อย 
ภาพที่ 4.3 แสดงการทดสอบความแข็งแรงของโต๊ะ 
10
ตารางที่ 4.2 แสดงการรับน้าหนักของเก้าอี้ 
ครั้งที่ 
น้าหนัก (กิโลกรัม) 
การเปลี่ยนแปลงของเก้าอี้ 
1 
20 
ฟองน้ายุบลงเล็กน้อย ขาเก้าอี้ไม่เปลี่ยนแปลง 
30 
ฟองน้ายุบลงเล็กน้อย ขาเก้าอี้ไม่เปลี่ยนแปลง 
40 
ฟองน้ายุบลงเล็กน้อย ขาเก้าอี้ไม่เปลี่ยนแปลง 
50 
ฟองน้ายุบลงเล็กน้อย ขาเก้าอี้ไม่เปลี่ยนแปลง 
60 
ฟองน้ายุบลงเล็กน้อย ขาเก้าอี้ไม่เปลี่ยนแปลง 
2 
20 
ฟองน้ายุบลงเล็กน้อย ขาเก้าอี้ไม่เปลี่ยนแปลง 
30 
ฟองน้ายุบลงเล็กน้อย ขาเก้าอี้ไม่เปลี่ยนแปลง 
40 
ฟองน้ายุบลงเล็กน้อย ขาเก้าอี้ไม่เปลี่ยนแปลง 
50 
ฟองน้ายุบลงเล็กน้อย ขาเก้าอี้ไม่เปลี่ยนแปลง 
60 
ฟองน้ายุบลงเล็กน้อย ขาเก้าอี้ไม่เปลี่ยนแปลง 
3 
20 
ฟองน้ายุบลงเล็กน้อย ขาเก้าอี้ไม่เปลี่ยนแปลง 
30 
ฟองน้ายุบลงเล็กน้อย ขาเก้าอี้ไม่เปลี่ยนแปลง 
40 
ฟองน้ายุบลงเล็กน้อย ขาเก้าอี้ไม่เปลี่ยนแปลง 
50 
ฟองน้ายุบลงเล็กน้อย ขาเก้าอี้ไม่เปลี่ยนแปลง 
60 
ฟองน้ายุบลงเล็กน้อย ขาเก้าอี้ไม่เปลี่ยนแปลง 
จากผลการทดลอง เมื่อให้นักเรียนที่มีน้าหนัก 20 30 40 50 และ 60 กิโลกรัมนั่งบนเก้าอี้ที่ ประดิษฐ์ขึ้น พบว่า ฟองน้าที่อยู่บนเก้าอี้ยุบลงเล็กน้อย แต่ขาเก้าอี้ไม่เปลี่ยนแปลง แสดงว่าเก้าอี้สามารถ รับน้าหนักได้เป็นอย่างดีโดยไม่มีการเปลี่ยนแปยงใดๆ เกิดขึ้น แสดงว่า เก้าอี้ที่ประดิษฐ์ขึ้นมีความแข็งแรง มากพอที่จานาไปใช้สาหรับให้เด็กนั่งได้อย่างปลอดภัยไม่มีการแตกหัก 
ภาพที่ 4.4 แสดงการทดสอบความแข็งแรงของเก้าอี้ 
11
บทที่ 5 
อภิปรายและสรุปผลการทดลอง 
อภิปรายผลการทดลอง 
จากผลการทดลอง เมื่อนาหนังสือมาวางบนโต๊ะในลักษณะที่แตกต่างกันคือ วางหนังสือแบบ กระจายให้ทั่วโต๊ะ และวางหนังสือซ้อนกัน พบว่า โต๊ะสามารถรับน้าหนักได้เป็นอย่างดีทั้งสองลักษณะโดยที่ โต๊ะยังคงมีสภาพเหมือนเดิมไม่มีการแตกหักหรือเอนเอียงแม้แต่น้อย 
และจากการให้นักเรียนที่มีน้าหนัก 10 20 30 40 และ 50 กิโลกรัมนั่งบนเก้าอี้ที่ประดิษฐ์ขึ้น พบว่า เก้าอี้สามารถน้าหนักรับน้าหนักดังกล่าวได้เป็นอย่างดีโดยไม่มีการเปลี่ยนแปยงใดๆ เกิดขึ้น แสดงว่า เก้าอี้ที่ประดิษฐ์ขึ้นมีความแข็งแรงมากพอที่จานาไปใช้สาหรับให้เด็กนั่งได้อย่างปลอดภัยไม่มีการแตกหัก 
สรุปผลการทดลอง 
เมื่อนาหนังสือมาวางบนโต๊ะในลักษณะที่แตกต่างกันคือ วางหนังสือแบบกระจายให้ทั่วโต๊ะ และ วางหนังสือซ้อนกัน พบว่า โต๊ะสามารถรับน้าหนักได้เป็นอย่างดีทั้งสองลักษณะโดยที่โต๊ะยังคงมีสภาพ เหมือนเดิมไม่มีการแตกหักหรือเอนเอียงแม้แต่น้อย และจากการให้นักเรียนที่มีน้าหนัก 10 20 30 40 และ 50 กิโลกรัมนั่งบนเก้าอี้ที่ประดิษฐ์ขึ้น พบว่า เก้าอี้สามารถน้าหนักรับน้าหนักดังกล่าวได้เป็นอย่างดีโดย ไม่มีการเปลี่ยนแปยงใดๆ เกิดขึ้น แสดงว่า เก้าอี้ที่ประดิษฐ์ขึ้นมีความแข็งแรงมากพอที่จานาไปใช้สาหรับให้ เด็กนั่งได้อย่างปลอดภัยไม่มีการแตกหัก สามารถรับน้าหนักได้มากถึง 50 กิโลกรัม เป็นไปตามสมมติฐาน ที่ตั้งไว้
บรรณานุกรม 
ชาตรี เกิดธรรม. เทคนิคการสอนโครงงานวิทยาศาสตร์. ศูนย์พัฒนาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์. 
เอกสารอัดสาเนา, 2548. 
จุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย.โรงเรียน.ตัวอย่างบทคัดย่อโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์.ชลบุรี. 
เอกสารอัดสาเนา, 2552. 
สุวิทย์ วรรณศรี.เทคนิคการทาโครงงานนักเรียน.คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.มหาวิทยาลัยราชภัฏ 
เพชรบูรณ์. เอกสารอัดสาเนา.2554. 
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. คู่มือการเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ 
คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์. เอกสารอัดสาเนา 
ประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ตามแนวพระราชดาริ 
เศรษฐกิจพอเพียง,2555. 
http://www.google.co.th/ (สืบค้นเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2556)
ภาคผนวก
ขั้นตอนการประดิษฐ์ชุดโซฟา 
ขั้นตอนการประดิษฐ์เก้าอี้และทดสอบความแข็งแรง 
15
ขั้นตอนการประดิษฐ์โต๊ะและทดสอบความแข็งแรง 
16

More Related Content

What's hot

โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กBenz Paengpipat
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดพัน พัน
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดพัน พัน
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงพัน พัน
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกพัน พัน
 
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่pink2543
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงBoomCNC
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลGuntima NaLove
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์Aphinya Tantikhom
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าโครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าChok Ke
 

What's hot (20)

โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลง
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
 
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าโครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
 

Viewers also liked

โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)Prapatsorn Chaihuay
 
ที่มาและความสำคัญ
ที่มาและความสำคัญที่มาและความสำคัญ
ที่มาและความสำคัญWityaporn Pleeboot
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทการทดลอง
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทการทดลองโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทการทดลอง
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทการทดลองParichat Kingchak
 
โครงงานชั้นวางของจากแผ่นซีดี
โครงงานชั้นวางของจากแผ่นซีดี โครงงานชั้นวางของจากแผ่นซีดี
โครงงานชั้นวางของจากแผ่นซีดี maple17
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์พิทักษ์ ทวี
 
โครงงานไม้ไอติม
โครงงานไม้ไอติมโครงงานไม้ไอติม
โครงงานไม้ไอติมI'am Jimmy
 
โครงงานโคมไฟไม้ไอติม
โครงงานโคมไฟไม้ไอติมโครงงานโคมไฟไม้ไอติม
โครงงานโคมไฟไม้ไอติมSupaluck
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องmoohhack
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 

Viewers also liked (11)

โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
 
ที่มาและความสำคัญ
ที่มาและความสำคัญที่มาและความสำคัญ
ที่มาและความสำคัญ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทการทดลอง
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทการทดลองโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทการทดลอง
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทการทดลอง
 
โครงงานชั้นวางของจากแผ่นซีดี
โครงงานชั้นวางของจากแผ่นซีดี โครงงานชั้นวางของจากแผ่นซีดี
โครงงานชั้นวางของจากแผ่นซีดี
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
 
โครงงานไม้ไอติม
โครงงานไม้ไอติมโครงงานไม้ไอติม
โครงงานไม้ไอติม
 
โครงงานโคมไฟไม้ไอติม
โครงงานโคมไฟไม้ไอติมโครงงานโคมไฟไม้ไอติม
โครงงานโคมไฟไม้ไอติม
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 

Similar to โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม

โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลพัน พัน
 
โครงงานกลุ่มที่ 6
โครงงานกลุ่มที่ 6โครงงานกลุ่มที่ 6
โครงงานกลุ่มที่ 60892827602
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียพัน พัน
 
ใบความรู้เรื่องโครงงาน
ใบความรู้เรื่องโครงงานใบความรู้เรื่องโครงงาน
ใบความรู้เรื่องโครงงานSaimai Jitlang
 
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)กล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)Prapatsorn Chaihuay
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กBenz Paengpipat
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กBenz Paengpipat
 
โครงงานวิทย์(แพ ฟอร์มาลีน).ppt
โครงงานวิทย์(แพ  ฟอร์มาลีน).pptโครงงานวิทย์(แพ  ฟอร์มาลีน).ppt
โครงงานวิทย์(แพ ฟอร์มาลีน).pptSupat Buddee
 
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์Jariya Jaiyot
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงkasetpcc
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียนKay Pakham
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงาน 9-16
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงาน 9-16โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงาน 9-16
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงาน 9-16Sutthida Chatsiriyinyong
 
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารโครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารkrupornpana55
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 

Similar to โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม (20)

โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิล
 
469-02.pdf
469-02.pdf469-02.pdf
469-02.pdf
 
การเลือกใช้ภาชนะบรรจุอาหาร
การเลือกใช้ภาชนะบรรจุอาหารการเลือกใช้ภาชนะบรรจุอาหาร
การเลือกใช้ภาชนะบรรจุอาหาร
 
โครงงานกลุ่มที่ 6
โครงงานกลุ่มที่ 6โครงงานกลุ่มที่ 6
โครงงานกลุ่มที่ 6
 
โครงงานกลุ่มที่ 6.doc
โครงงานกลุ่มที่ 6.docโครงงานกลุ่มที่ 6.doc
โครงงานกลุ่มที่ 6.doc
 
Diffusion and osmotic
Diffusion and osmoticDiffusion and osmotic
Diffusion and osmotic
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ใบความรู้เรื่องโครงงาน
ใบความรู้เรื่องโครงงานใบความรู้เรื่องโครงงาน
ใบความรู้เรื่องโครงงาน
 
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)กล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
 
Random 140310050606-phpapp01
Random 140310050606-phpapp01Random 140310050606-phpapp01
Random 140310050606-phpapp01
 
โครงงานวิทย์(แพ ฟอร์มาลีน).ppt
โครงงานวิทย์(แพ  ฟอร์มาลีน).pptโครงงานวิทย์(แพ  ฟอร์มาลีน).ppt
โครงงานวิทย์(แพ ฟอร์มาลีน).ppt
 
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงาน 9-16
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงาน 9-16โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงาน 9-16
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงาน 9-16
 
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารโครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 

More from Chok Ke

Obec awords arb1 57 ล่าสุด3
Obec awords arb1 57  ล่าสุด3Obec awords arb1 57  ล่าสุด3
Obec awords arb1 57 ล่าสุด3Chok Ke
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4Chok Ke
 
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น ครูอาบ
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น  ครูอาบนำเสนอครูผู้สอนดีเด่น  ครูอาบ
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น ครูอาบChok Ke
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรChok Ke
 
นำเสนอ คุรุสดุดี ครูอาบ58 ok1
นำเสนอ  คุรุสดุดี  ครูอาบ58 ok1นำเสนอ  คุรุสดุดี  ครูอาบ58 ok1
นำเสนอ คุรุสดุดี ครูอาบ58 ok1Chok Ke
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรChok Ke
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงChok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1Chok Ke
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสมโครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสมChok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57Chok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57Chok Ke
 
วพ.04
วพ.04วพ.04
วพ.04Chok Ke
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1Chok Ke
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1Chok Ke
 
ปก Obec
ปก Obecปก Obec
ปก ObecChok Ke
 
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10Chok Ke
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10Chok Ke
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10Chok Ke
 

More from Chok Ke (20)

Obec awords arb1 57 ล่าสุด3
Obec awords arb1 57  ล่าสุด3Obec awords arb1 57  ล่าสุด3
Obec awords arb1 57 ล่าสุด3
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
 
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น ครูอาบ
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น  ครูอาบนำเสนอครูผู้สอนดีเด่น  ครูอาบ
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น ครูอาบ
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
 
นำเสนอ คุรุสดุดี ครูอาบ58 ok1
นำเสนอ  คุรุสดุดี  ครูอาบ58 ok1นำเสนอ  คุรุสดุดี  ครูอาบ58 ok1
นำเสนอ คุรุสดุดี ครูอาบ58 ok1
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสมโครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
 
597 02
597 02597 02
597 02
 
วพ.04
วพ.04วพ.04
วพ.04
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
 
ปก Obec
ปก Obecปก Obec
ปก Obec
 
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
 

โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม

  • 1. รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์ เรื่อง ชุดโซฟาเด็กจากกระป๋องนม โดย 1. นายธวัชชัย ถิ่นลาปาง 2. นายธนันต์ชัย พันธากูล 3. นางสาวปณิดา กิทา ครูที่ปรึกษา 1. นางชโลธร กีรติศักดิ์กุล 2. นางกมลวรรณ บุญสวน โรงเรียนเมืองราดวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 40 รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เนื่องในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนครั้งที่ 63 ระดับภาคเหนือ วันที่ 18 – 20 ธันวาคม 2556
  • 2. โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ชุดโซฟาเด็กจากกระป๋องนม โดย 1. นายธวัชชัย ถิ่นลาปาง 2. นายธนันต์ชัย พันธากูล 3. นางสาวปณิดา กิทา ครูที่ปรึกษา นางชโลธร กีรติศักดิ์กุล นางกมลวรรณ บุญสวน
  • 3. โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ชุดโซฟาเด็กจากกระป๋องนม โดย 1. นายธวัชชัย ถิ่นลาปาง 2. นายธนันต์ชัย พันธากูล 3. นางสาวปณิดา กิทา ครูที่ปรึกษา นางชโลธร กีรติศักดิ์กุล นางกมลวรรณ บุญสวน โรงเรียนเมืองราดวิทยาคม อาเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ชุดโซฟาเด็กจากกระป๋องนม เป็นโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาวิธีการทาโต๊ะ และเก้าอี้สาหรับเด็ก นาวัสดุเหลือใช้มา ประยุกต์เพื่อให้เกิดประโยชน์ ลดค่าใช้จ่ายในการซื้อโต๊ะเก้าอี้ และหาประสิทธิภาพของโต๊ะและเก้าอี้ การประดิษฐ์แบ่งออกเป็น 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 ประดิษฐ์โต๊ะเก้าอี้จากกระป๋องนม และตกแต่งให้ มีความสวยงาม ตอนที่ 2 ทดสอบความแข็งแรงของโต๊ะเก้าอี้ ผลการศึกษา พบว่า ชุดโซฟาเด็กที่ประดิษฐ์ จากกระป๋องนมสามารถนามาใช้ได้จริง และชุดโซฟามีความแข็งแรงมากเด็กสามารถนั่งเล่นหรือนั่งเขียน หนังสือได้อย่างปลอดภัย ‘
  • 4. กิตติกรรมประกาศ โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ชุดโซฟาเด็กจากกระป๋องนม จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาวิธีการทาโต๊ะและ เก้าอี้สาหรับเด็ก โดยการนากระป๋องนมผงของเด็กมาประยุกต์เพื่อให้เกิดประโยชน์ และเพื่อลดค่าใช้จ่าย ในการซื้อโต๊ะเก้าอี้สาหรับเด็ก คณะผู้จัดทาโครงงานหวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงงานนี้คงจะมีประโยชน์กับผู้ที่สนใจ และเป็นแนวคิดใน การประดิษฐ์โต๊ะเก้าอี้จากวัสดุเหลือใช้ หากการทาโครงงานนี้มีข้อบกพร่อง โปรดชี้แนะเพื่อจะได้นาไป ปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ขอขอบพระคุณนายเสรี เปรมปรีดิ์ ผู้อานวยการโรงเรียนเมืองราดวิทยาคม นายสายันต์ คงสุข รองผู้อานวยการโรงเรียนเมืองราดวิทยาคม ที่ให้การสนับสนุนและเป็นกาลังใจในการจัดทาโครงงานในครั้งนี้ ขอขอบคุณ นางชโลธร กีรติศักดิ์กุล และนางกมลวรรณ บุญสวน ที่ให้คาปรึกษา แนะนา ในการจัดทาโครงงานให้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดีไว้ ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทาโครงงาน
  • 5. สารบัญ เรื่อง หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค สารบัญตาราง ง สารบัญภาพ จ บทที่ 1 บทนา แนวคิดและที่มาของความสาคัญ 1 วัตถุประสงค์ 1 ขอบเขตของโครงงาน 2 สมมติฐานการทดลอง 2 การกาหนดตัวแปร 2 นิยามศัพท์เฉพาะ 2 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง กระป๋อง 3 โต๊ะ 6 เก้าอี้ 6 บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์และวิธีดาเนินการ วัสดุอุปกรณ์ 7 วิธีทดลอง 7 บทที่ 4 ผลการทดลอง 9 บทที่ 5 อภิปรายและสรุปผลการทดลอง 12 บรรณานุกรม ภาคผนวก
  • 6. สารบัญตาราง เรื่อง หน้า ตาราที่ 4.1 แสดงการทดสอบความแข็งแรงของโต๊ะ 10 ตาราที่ 4.2 แสดงการทดสอบความแข็งแรงของเก้าอี้ 11
  • 7. สารบัญภาพ เรื่อง หน้า ภาพที่ 4.1 โต๊ะจากกระป๋องนม 9 ภาพที่ 4.2 เก้าอี้จากกระป๋องนม 9 ภาพที่ 4.3 แสดงการทดสอบความแข็งแรงของโต๊ะ 10 ภาพที่ 4.4 แสดงการทดสอบความแข็งแรงของเก้าอี้ 11 ภาพแสดงขั้นตอนการทาเก้าอี้จากกระป๋องนม 15 ภาพแสดงขั้นตอนการทาโต๊ะจากกระป๋องนม 16
  • 8. บทที่ 1 บทนา 1.1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน กระป๋อง คือบรรจุภัณฑ์ชนิดหนึ่ง สร้างจากแผ่นโลหะม้วนเข้าหากันเป็นทรงกระบอก ปิดผนึกด้วยแผ่นโลหะวงกลมทั้งสองด้านโดยไม่ให้สัมผัสอากาศ สิ่งที่ใช้บรรจุภายในมักเป็นอาหาร เพื่อวัตถุประสงค์หลักของการถนอมอาหารให้สามารถเก็บไว้ได้นาน มีคุณสมบัติทนทานต่อความร้อนและ ความดันสูงจึงสามารถเข้ากระบวนการฆ่าเชื้อด้วยความร้อน (sterilization)ได้ มีความแข็งแรงทางกายภาพ ป้องกันการซึมผ่านของก๊าซ ไอน้า และแสงได้ ช่วยเก็บรักษากลิ่นและรสของผลิตภัณฑ์ และสามารถ หมุนเวียนกลับเข้ากระบวนการผลิตใหม่ได้ ในปัจจุบันแม่ต้องทางานนอกบ้านเป็นส่วนมากทาให้ต้องเลี้ยงลูกด้วยการใช้นมผง ซึ่งนมผงจะบรรจุไว้ในกระป๋อง เมื่อรับประทานนมผงที่อยู่ภายในกระป๋องหมดแล้วกระป๋องจึงกลายเป็นวัสดุ ที่สร้างความสกปรกให้แก่พื้นที่เก็บไม่น้อย หรืออาจกลายเป็นขยะที่ล้นเมือง คณะผู้จัดทาโครงงานมองเห็นความสาคัญดังกล่าวได้คิดค้นหาแนวทางนากระป๋อง มาดัดแปลงให้เกิดประโยชน์แก่คนในบ้าน และชุมชนให้มากขึ้น จึงได้จัดทาโครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนมขึ้น 1.2 วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1. เพื่อนาวัสดุเหลือใช้มาประดิษฐ์เป็นโต๊ะและเก้าอี้สาหรับเด็ก 2. ทดสอบประสิทธิภาพของโต๊ะและเก้าอี้สาหรับเด็ก 1.3 ขอบเขตของโครงงาน 1. ใช้กระป๋องนมผงสาหรับเด็ก ไม้อัด และกระดาษกาวเหนียว และตะปูเกลียวเท่านั้น 2. ทาการทดลองในโรงเรียนเมืองราดวิทยาคม 1.4 สมมติฐานของการทดลอง ถ้ากระป๋องนมมีความแข็งแรง ทนทาน ดังนั้นเมื่อนากระป๋องนมมาประดิษฐ์เป็นโต๊ะและเก้าอี้ ก็น่าจะได้โต๊ะ เก้าอี้ ที่มีความแข็งแรงทนทาน สามารถรับน้าหนักได้มากกว่า 40 กิโลกรัม 1.5 การกาหนดตัวแปร ตัวแปรต้น คือ กระป๋องนม ตัวแปรตาม คือ โต๊ะ เก้าอี้ ที่มีความแข็งแรงทนทาน ตัวแปรควบคุม คือ ขนาดของกระป๋องนม ชนิดของกระป๋องนม ขนาดของโต๊ะ เก้าอี้ น้าหนักที่ใช้ทดสอบความแข็งแรง
  • 9. 1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ 1. ชุดโซฟา หมายถึง โต๊ะ และเก้าอี้ ที่ประดิษฐ์จากกระป๋องนม 2. กระป๋องนม หมายถึง กระป๋องนมผงสาหรับเด็กที่รับประทานนมผงหมดแล้ว ทามาจากโลหะ 3. เด็ก หมายถึง บุคคลที่อายุตั้งแต่ 3 - 7 ปี หรือมีน้าหนักไม่เกิน 60 กิโลกรัม 1.7 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ชุดโซฟาสาหรับเด็ก 2. ลดค่าใช้จ่ายในการซื้อชุดโซฟาสาหรับเด็ก 3. นักเรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 4. นักเรียนมีทักษะในการประกอบอาชีพสุจริต บทที่ 2 2
  • 10. เอกสารที่เกี่ยวข้อง กระป๋อง กระป๋อง คือบรรจุภัณฑ์ชนิดหนึ่ง สร้างจากแผ่นโลหะม้วนเข้าหากันเป็นทรงกระบอก ปิดผนึกด้วยแผ่นโลหะ วงกลมทั้งสองด้านโดยไม่ให้สัมผัสอากาศ สิ่งที่ใช้บรรจุภายในมักเป็นอาหาร เพื่อวัตถุประสงค์หลักของการ ถนอมอาหารให้สามารถเก็บไว้ได้นาน และจาเป็นต้องใช้การตัดหรือการฉีกฝากระป๋องให้เปิดออกด้วยที่เปิด กระป๋อง ปัจจุบันสามารถผลิตกระป๋องซึ่งเปิดได้ง่ายด้วยมือโดยไม่ต้องใช้ที่เปิดแต่อย่างใด คุณสมบัติ 1. ทนทานต่อความร้อนและความดันสูงจึงสามารถเข้ากระบวนการฆ่าเชื้อด้วยความร้อน (sterilization) ได้ 2. มีความแข็งแรงทางกายภาพ ป้องกันการซึมผ่านของก๊าซ ไอน้า และแสงได้ 3. ช่วยเก็บรักษากลิ่นและรสของผลิตภัณฑ์ 4. สามารถหมุนเวียนกลับเข้ากระบวนการผลิตใหม่ได้ โลหะที่ใช้ทาบรรจุภัณฑ์ มี 3 ชนิด คือ 1. เหล็กเคลือบดีบุก เป็นแผ่นเหล็กดา (black– plate) ที่มีความหนาระหว่าง 0.15–0.5 มิลลิเมตร นามาเคลือบผิวหน้าด้านเดียวหรือทั้งสองหน้าด้วยดีบุก เพื่อให้ทนทานต่อการผุกร่อน และ ไม่เป็น พิษ เป็นบรรจุภัณฑ์ที่แข็งแรง ป้องกันอันตรายจากสิ่งแวดล้อม และสภาวะอากาศ การลงทุนในการผลิต ไม่สูงนักและไม่ซับซ้อนสามารถบรรจุอาหารได้ดีเนื่องจากสามารถปิดผนึกได้สนิทและฆ่าเชื้อได้ด้วยความ ร้อน ในแง่ของสิ่งแวดล้อมสามารถแยกออกจากขยะได้ง่ายโดยใช้แม่เหล็ก 2. แผ่นเหล็กไม่เคลือบดีบุก (tin free steel, TFS) เป็นแผ่นเหล็กดา ที่นามาเคลือบด้วยสาร อื่นแทนดีบุก เพื่อลดต้นทุนการผลิต ในปัจจุบันมีการเคลือบอยู่ 3 แบบคือ - เคลือบด้วยสารผสมฟอสเฟตและโครเมต เป็นฟิล์มบางๆ ใช้ทากระป๋องบรรจุเบียร์ น้า ผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว และทาถังโลหะชนิดต่างๆ - เคลือบด้วยอะลูมิเนียม มีความทนทานต่อการกัดกร่อนเนื่องจากความชื้นได้ดี แต่ไม่ สามารถใช้กับอาหารที่มีความเป็นกรดหรือด่างสูง -เคลือบด้วยโครเมียมและโครเมียมออกไซด์ เพื่อให้สามารถป้องกันการกัดกร่อนได้ดี นิยมใช้ทากระป๋อง บรรจุอาหารทะเล นมข้นหวาน เป็นต้น 3. อะลูมิเนียม มักใช้ในรูปอะลูมิเนียมเปลว คุณสมบัติเด่นคือ น้าหนักเบา ทนทานต่อการกัด กร่อนสูง ทนต่อการซึมผ่านของอากาศ ก๊าซ แสง และกลิ่นรสได้ดีเยี่ยม นิยมใช้ทากระป๋อง 2 ชิ้น (2piece can) สาหรับบรรจุน้าอัดลมและเบียร์ กระป๋องฉีดพ่น (aerosol) สาหรับบรรจุสเปรย์ฉีดผมหรือเครื่องสาอาง ต่างๆ และฝาชนิดที่มีห่วงเพื่อให้เปิดง่าย เช่น ฝากระป๋องน้าอัดลมหรือขวดน้าดื่ม ในรูปของอะลูมิเนียมเปลว มักใช้ควบกับวัสดุอื่นซึ่งให้ภาพลักษณ์ที่ดีเนื่องจากความเงางามของอะลูมิเนียม กระบวนการผลิตแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่คือ 4
  • 11. 1. กระป๋อง 3 ชิ้น ประกอบด้วยส่วนประกอบ 3 ส่วน คือ ตัวกระป๋อง ฝาบน และ ก้นกระป๋อง มีตะเข็บข้าง เกิดขึ้นแต่ก่อนนี้การเข้าตะเข็บข้างจะใช้ตะกั่วเป็นตัวบัดกรีเนื่องจากว่าตะกั่วที่ใช้ก่ออันตรายแก่ ผู้บริโภค ปัจจุบันจึงเข้าตะเข็บโดยเชื่อมด้วยไฟฟ้าแทน 2. กระป๋อง 2 ชิ้น เป็นกระป๋องไร้ตะเข็บข้าง มีตัวกระป๋องและฝาล่างเป็นชิ้นเดียวกันและมีฝาบนอีกชิ้นหนึ่งที่จะ ถูกปิดโดยผู้ผลิตอาหารกระป๋อง หลังจากที่บรรจุอาหารในกระป๋องแล้วจัดเป็น hermectically sealed container มีความแข็งแรง ทนต่อความร้อนและความดันระหว่างการแปรรูปด้วยความร้อน (thermal processing) ในหม้อฆ่าเชื้อ (retort) ด้วยวิธี in-container sterilization และ in-container pasteurization วิธีการขึ้นรูปกระป๋อง 2 ชิ้น มี 3 วิธีการ คือ 1) กระป๋องขึ้นรูปโดยการปั๊มครั้งเดียว (drawn can) ตัวอย่าง กระป๋องขึ้นรูปโดยการปั๊ม 2 ครั้ง
  • 12. 2) กระป๋องขึ้นรูปโดยการปั๊ม 2 ครั้ง (drawn and redrawn can ; DRD can) โดยปั๊มครั้งแรกจะขึ้นรูปเป็น ถ้วยเตี้ยก่อน หลังจากนั้นจะปั๊มอีกครั้ง เพื่อให้เส้นผ่าศูนย์กลางของกระป๋องเล็กลงและความสูงมากขึ้นตาม ต้องการ กระป๋อง 2 ชิ้นที่ผลิตโดยวิธีนี้จะมีความหนาเท่ากันตลอดทั้งตัว และก้นกระป๋องสามารถทนความ ดันและสุญญากาศในกระป๋องได้ ตัวอย่าง กระป๋องขึ้นรูปโดยการปั๊มและรีดผนัง 3) กระป๋องขึ้นรูปโดยการปั๊มและรีดผนัง (drawn and wall ironed can หรือ DI can) โดยปั๊มครั้งแรก จะได้ถ้วยที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับกระป๋องที่ต้องการ หลังจากนั้นผนังกระป๋องจะ ถูกรีดให้เบาลง และกระป๋องมีความสูงเพิ่มขึ้น (ขั้นตอนการผลิตแสดงดังรูป) กระป๋องประเภทนี้ตัวกระป๋องมี ผนังบางกว่าก้นกระป๋อง สามารถทนความดันได้ แต่ทนสุญญากาศภายในกระป๋องไม่ได้ จึงนิยมใช้บรรจุเบียร์ และน้าอัดลม ตัวอย่างบรรจุภัณฑ์จากโลหะได้แก่ กระป๋อง ปี๊บ ถัง และแผ่นเปลว อะลูมิเนียม 5
  • 13. โต๊ะ โต๊ะ เป็นเครื่องเรือนที่มีพื้นผิวด้านบนเรียบขนานกับพื้น รองรับน้าหนักโดยขาโต๊ะ โดยอาจใช้สาหรับวางสิ่งของอย่างเช่นอาหาร โดยความสูงมีความพอเหมาะสาหรับการนั่ง และโดยมากจะใช้ คู่กับเก้าอี้ โต๊ะในยุคก่อนหน้านี้ จะแตกต่างจากปัจจุบันซึ่งโต๊ะสมัยใหม่มักไม่มีลิ้นชัก โต๊ะสาหรับมีไว้เขียน และทางานในออฟฟิสจะเรียก โต๊ะทางาน (desk) ซึ่งจะมีลิ้นชักอย่างน้อย 1 อันหรือมากกว่านั้นข้างใต้ บางชิ้นส่วนของโต๊ะอาจขยับปรับเปลี่ยนได้ เก้าอี้ เก้าอี้ คือที่นั่งประเภทหนึ่ง โดยมักจะเป็นที่นั่งสาหรับคนเดียว โดยในส่วนที่นั่งจะอยู่เหนือจากระดับ พื้น มีขาเก้าอี้ 4 ขารองรับข้างใต้ เก้าอี้ที่พบในประวัติศาสตร์เช่น เก้าอี้ของกรีก ที่คาดว่าน่าจะสร้างราว 600 ก่อนคริสต์ศักราช เป็น เก้าอี้สี่ขาตัวตรงและมีพนักพิงตั้งตรง ถัดมาเป็นเก้าอี้ในประเทศจีน ในสมัยราชวงศ์ถัง (ค.ศ. 618-907) [1] ในปัจจุบัน วัสดุที่ใช้ทาเก้าอี้มีความหลากหลายมากขึ้น ไม่ว่าจะทาจาก เก้าอี้ไม้ เก้าอี้โลหะ เก้าอี้ พลาสติก เริ่มมีการผลิตและใช้งานเป็นจานวนมาก ใช้ทุกระดับชั้น มีการออกแบบดีไซน์เก้าอี้หลากลาย มากมาย 6
  • 14. บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์และวิธีดาเนินการ วัสดุอุปกรณ์ 1. กระป๋องนมผงสาหรับเด็ก 2. ตะปูเกลียว 3. กระดาษกาวเหนียว 4. กระดาษกาวสองหน้า 5. ฟองน้า 6. ผ้า 7. พลาสติกลูกฟูก 8. ไม้อัด 9. แลกเกอร์ 10. เลื่อย วิธีทดลอง ตอนที่ 1 การประดิษฐ์โต๊ะและเก้าอี้ การประดิษฐ์เก้าอี้ 1. นากระป๋องนมผงสาหรับเด็กมาทาความสะอาดโดยการล้าง ผึ่งให้แห้ง 2. นากระป๋องนม จานวน 3 ใบ มาจัดเป็นรูปสามเหลี่ยม ใช้กระดาษกาวเหนียวติดกระป๋องนม ทั้ง 3 ใบให้ติดกันจนแน่น 3. นาพลาสติกลูกฟูกมาตัดเป็นรูปสามเหลี่ยมปลายมนให้เท่ากับขนาดของกระป๋องสามใบที่มัด ติดกันและติดลงบนกระป๋องให้แน่นด้วยกาวสองหน้า 4. นาฟองน้าตัดเป็นรูปสามเหลี่ยมปลายมนวางลงบนกระดาษลูกฟูกใช้กระดาษกาวเหนียวยึดติด กับพลาสติกลูกฟูกและกระป๋องให้แน่น 5. เย็บผ้าเป็นรูปทรงสามเหลี่ยมห่อหุ้มเพื่อตกแต่งให้สวยงาม 6. จะได้เก้าอี้เด็กดังภาพ
  • 15. การประดิษฐ์โต๊ะ 1. นากระป๋องนมมาจานวน 10 กระป๋อง เพื่อใช้ทาเป็นขาเก้าอี้ 2. วางกระป๋องจานวน 5 กระป๋อง ทาเป็นขาโต๊ะให้เป็นรูปสี่เหลียมผืนผ้าขนาด 60 x 80 เซนติเมตร และวางไว้ตรงกลางหนึ่งกระป๋องเพื่อรองรับนาหนัก 3. ตัดไม้อัดให้เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาด 60 x 80 เซนติเมตร วางพาดบนกระป๋อง ทั้ง 5 กระป๋อง 4. นากระป๋องมาอีกจานวน 5 กระป๋อง วางบนแผ่นไม้อัด ให้ตรงกับตาแหน่งของกระป๋อง ที่ทาเป็นขาครั้งแรก 5. ใช้ตะปูเกลียวยึดติดกระป๋องส่วนบน แผ่นไม้อัด และกระป๋องส่วนล่าง ให้แน่น 6. นาไม้อัดแผ่นที่สองซึ่งมีขนาดเท่ากันกับแผ่นแรกวางพาดบนกระป๋อง 7. ใช้ตะปูเกลียวยึดติดกระป๋องกับแผ่นไม้อัดให้แน่น 8. ทาสีบนแผ่นไม้อัด และขาโต๊ะ ตกแต่งให้สวยงามตามความชอบใจ 9. จะได้โต๊ะสาหรับเขียนหนังสือของเด็กดังภาพ ตอนที่ 2 ทดสอบความแข็งแรงของโต๊ะและเก้าอี้ 1. นาเก้าอี้ที่ได้มาทดสอบความแข็งแรงโดยการใช้หนังสือหนัก 20 30 40 50 และ 60 วางบน เก้าอี้ หรือให้นักเรียนที่มีน้าหนัก 20 30 40 50 และ 60 กิโลกรัมลองนั่งบนเก้าอี้ 2. สังเกตการเปลี่ยนแปลงของเก้าอี้ 3. นาหนังสือที่มีน้าหนักประมาณ 1 กิโลกรัม จานวน 10 เล่ม วางบนโต๊ะ โดยวางแบบซ้อกัน และวางหนังสือแบบกระจาย 4. สังเกตการเปลี่ยนแปลงของเก้าอี้และโต๊ะ 5. ทาการทดลองข้อ 1 -4 ซ้าจานวน 3 ครั้ง 6. บันทึกผลการทดลอง 8
  • 16. บทที่ 4 ผลการทดลอง ตอนที่ 1 การประดิษฐ์โต๊ะและเก้าอี้ จะได้โต๊ะและเก้าอี้ ดังภาพ ภาพที่ 4.1 โต๊ะจากกระป๋องนม ภาพที่ 4.2 เก้าอี้จากกระป๋องนม
  • 17. ตอนที่ 2 ทดสอบความแข็งแรงของโต๊ะและเก้าอี้ เมื่อประดิษฐ์โต๊ะเก้าอี้เสร็จเรียบร้อยแล้วนามาทดสองความแข็งแรงได้ผลดังตาราง ตารางที่ 4.1 แสดงการรับน้าหนักของโต๊ะ จานวนหนังสือ (เล่ม) ลักษณะการวาง หนังสือ น้าหนักหนังสือ (กิโลกรัม) การเปลี่ยนแปลงของโต๊ะ 2 ซ้อนกัน 2 ไม่เปลี่ยนแปลง 4 4 ไม่เปลี่ยนแปลง 6 6 ไม่เปลี่ยนแปลง 8 8 ไม่เปลี่ยนแปลง 10 10 ไม่เปลี่ยนแปลง 2 กระจาย 2 ไม่เปลี่ยนแปลง 4 4 ไม่เปลี่ยนแปลง 6 6 ไม่เปลี่ยนแปลง 8 8 ไม่เปลี่ยนแปลง 10 10 ไม่เปลี่ยนแปลง จากผลการทดลอง เมื่อนาหนังสือมาวางบนโต๊ะในลักษณะที่แตกต่างกันคือ วางหนังสือแบบ กระจายให้ทั่วโต๊ะ และวางหนังสือซ้อนกัน พบว่า โต๊ะสามารถรับน้าหนักได้เป็นอย่างดีทั้งสองลักษณะโดยที่ โต๊ะยังคงมีสภาพเหมือนเดิมไม่มีการแตกหักหรือเอนเอียงแม้แต่น้อย ภาพที่ 4.3 แสดงการทดสอบความแข็งแรงของโต๊ะ 10
  • 18. ตารางที่ 4.2 แสดงการรับน้าหนักของเก้าอี้ ครั้งที่ น้าหนัก (กิโลกรัม) การเปลี่ยนแปลงของเก้าอี้ 1 20 ฟองน้ายุบลงเล็กน้อย ขาเก้าอี้ไม่เปลี่ยนแปลง 30 ฟองน้ายุบลงเล็กน้อย ขาเก้าอี้ไม่เปลี่ยนแปลง 40 ฟองน้ายุบลงเล็กน้อย ขาเก้าอี้ไม่เปลี่ยนแปลง 50 ฟองน้ายุบลงเล็กน้อย ขาเก้าอี้ไม่เปลี่ยนแปลง 60 ฟองน้ายุบลงเล็กน้อย ขาเก้าอี้ไม่เปลี่ยนแปลง 2 20 ฟองน้ายุบลงเล็กน้อย ขาเก้าอี้ไม่เปลี่ยนแปลง 30 ฟองน้ายุบลงเล็กน้อย ขาเก้าอี้ไม่เปลี่ยนแปลง 40 ฟองน้ายุบลงเล็กน้อย ขาเก้าอี้ไม่เปลี่ยนแปลง 50 ฟองน้ายุบลงเล็กน้อย ขาเก้าอี้ไม่เปลี่ยนแปลง 60 ฟองน้ายุบลงเล็กน้อย ขาเก้าอี้ไม่เปลี่ยนแปลง 3 20 ฟองน้ายุบลงเล็กน้อย ขาเก้าอี้ไม่เปลี่ยนแปลง 30 ฟองน้ายุบลงเล็กน้อย ขาเก้าอี้ไม่เปลี่ยนแปลง 40 ฟองน้ายุบลงเล็กน้อย ขาเก้าอี้ไม่เปลี่ยนแปลง 50 ฟองน้ายุบลงเล็กน้อย ขาเก้าอี้ไม่เปลี่ยนแปลง 60 ฟองน้ายุบลงเล็กน้อย ขาเก้าอี้ไม่เปลี่ยนแปลง จากผลการทดลอง เมื่อให้นักเรียนที่มีน้าหนัก 20 30 40 50 และ 60 กิโลกรัมนั่งบนเก้าอี้ที่ ประดิษฐ์ขึ้น พบว่า ฟองน้าที่อยู่บนเก้าอี้ยุบลงเล็กน้อย แต่ขาเก้าอี้ไม่เปลี่ยนแปลง แสดงว่าเก้าอี้สามารถ รับน้าหนักได้เป็นอย่างดีโดยไม่มีการเปลี่ยนแปยงใดๆ เกิดขึ้น แสดงว่า เก้าอี้ที่ประดิษฐ์ขึ้นมีความแข็งแรง มากพอที่จานาไปใช้สาหรับให้เด็กนั่งได้อย่างปลอดภัยไม่มีการแตกหัก ภาพที่ 4.4 แสดงการทดสอบความแข็งแรงของเก้าอี้ 11
  • 19. บทที่ 5 อภิปรายและสรุปผลการทดลอง อภิปรายผลการทดลอง จากผลการทดลอง เมื่อนาหนังสือมาวางบนโต๊ะในลักษณะที่แตกต่างกันคือ วางหนังสือแบบ กระจายให้ทั่วโต๊ะ และวางหนังสือซ้อนกัน พบว่า โต๊ะสามารถรับน้าหนักได้เป็นอย่างดีทั้งสองลักษณะโดยที่ โต๊ะยังคงมีสภาพเหมือนเดิมไม่มีการแตกหักหรือเอนเอียงแม้แต่น้อย และจากการให้นักเรียนที่มีน้าหนัก 10 20 30 40 และ 50 กิโลกรัมนั่งบนเก้าอี้ที่ประดิษฐ์ขึ้น พบว่า เก้าอี้สามารถน้าหนักรับน้าหนักดังกล่าวได้เป็นอย่างดีโดยไม่มีการเปลี่ยนแปยงใดๆ เกิดขึ้น แสดงว่า เก้าอี้ที่ประดิษฐ์ขึ้นมีความแข็งแรงมากพอที่จานาไปใช้สาหรับให้เด็กนั่งได้อย่างปลอดภัยไม่มีการแตกหัก สรุปผลการทดลอง เมื่อนาหนังสือมาวางบนโต๊ะในลักษณะที่แตกต่างกันคือ วางหนังสือแบบกระจายให้ทั่วโต๊ะ และ วางหนังสือซ้อนกัน พบว่า โต๊ะสามารถรับน้าหนักได้เป็นอย่างดีทั้งสองลักษณะโดยที่โต๊ะยังคงมีสภาพ เหมือนเดิมไม่มีการแตกหักหรือเอนเอียงแม้แต่น้อย และจากการให้นักเรียนที่มีน้าหนัก 10 20 30 40 และ 50 กิโลกรัมนั่งบนเก้าอี้ที่ประดิษฐ์ขึ้น พบว่า เก้าอี้สามารถน้าหนักรับน้าหนักดังกล่าวได้เป็นอย่างดีโดย ไม่มีการเปลี่ยนแปยงใดๆ เกิดขึ้น แสดงว่า เก้าอี้ที่ประดิษฐ์ขึ้นมีความแข็งแรงมากพอที่จานาไปใช้สาหรับให้ เด็กนั่งได้อย่างปลอดภัยไม่มีการแตกหัก สามารถรับน้าหนักได้มากถึง 50 กิโลกรัม เป็นไปตามสมมติฐาน ที่ตั้งไว้
  • 20. บรรณานุกรม ชาตรี เกิดธรรม. เทคนิคการสอนโครงงานวิทยาศาสตร์. ศูนย์พัฒนาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์. เอกสารอัดสาเนา, 2548. จุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย.โรงเรียน.ตัวอย่างบทคัดย่อโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์.ชลบุรี. เอกสารอัดสาเนา, 2552. สุวิทย์ วรรณศรี.เทคนิคการทาโครงงานนักเรียน.คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพชรบูรณ์. เอกสารอัดสาเนา.2554. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. คู่มือการเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์. เอกสารอัดสาเนา ประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ตามแนวพระราชดาริ เศรษฐกิจพอเพียง,2555. http://www.google.co.th/ (สืบค้นเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2556)