SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี                                                                               1



                               สรางสื่อนําเสนอดวย Microsoft PowerPoint

       Microsoft PowerPoint เปนโปรแกรมนําเสนอที่ใชสรางสื่อสไลดทั้งขอความ ภาพนิง
                                                                                   ่
ไดอะแกรม ภาพเคลื่อนไหว เสียง ผานจอคอมพิวเตอร สื่อนําเสนอที่สรางดวย PowerPoint
อาจจะประกอบดวยสไลดตงแตหนึ่งสไลดจนถึงรอยๆ สไลด ตั้งแตรูปแบบขอความอยางเดียว
                         ้ั
จนถึงระบบโตตอบกับผูใช (Interactive)

การเรียก/ปดโปรแกรม
      การเรียกโปรแกรม Microsoft PowerPoint คลิก Start, Program,                                            Microsoft

PowerPoint และปดโปรแกรมดวยคําสั่ง File, Exit หรือใชคียลัด A$


       หนาตางโปรแกรมของ MS PowerPoint ก็เชนเดียวกัน ไมแตกตางจากโปรแกรม
Word, Excel เพียงแตมจอภาพทํางานเปนแผนสไลด
                     ี
                                                                    แถบควบคุม (Task pane)
            ภาพตัวอยาง (Thumbnail)
                                                                  ในการเปดไฟล และสรางไฟล
            หรือเคารางสไลด (Outline)




                                      สวนเพิ่มหมายเหตุของสไลด




                                                                   เทคนิคการสรางสื่อนําเสนอที่มีคุณภาพ – บุญเลิศ อรุณพิบูลย
ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี                                                                      2


Title Bar
        แถบชื่อเรื่อง เปนสวนแรกของหนาตางโปรแกรม แสดงชื่อไฟลเอกสารที่กําลังสราง
หรือแกไข

Menu Bar
        แถบเมนูคําสั่ง สวนแสดงรายการคําสั่งๆ ในการใชงานโปรแกรม โดยปกติคาสั่งของ
                                                                              ํ
PowerPoint จะเปนแบบซอนคําสั่งที่ไมคอยไดใชงาน เพื่อใหสะดวกในการใชงานควรปรับให
แสดงผลแบบเต็มโดยเลือกเมนูคําสั่ง Tools, Customized… แลวเลือกบัตรรายการ Options
เลือกจากตัวเลือก Always show full menus




Toolbar
          แถบเครื่องมือ สวนควบคุมการทํางานที่แบงเปนหมวดหมู โดยใชปุมเครื่องมือตางๆ
                                                           การเปดใชงาน หรือปดแถบ
                                                           เครื่องมือ ใชคําสั่ง View,
                                                           Toolbars โดยแถบเครื่องมือที่มี
                                                           เครื่องหมาย นําหนา แสดง
                                                           วากําหนดใหแสดงผลบน
                                                           จอภาพ


        แถบเครื่องมืออาจจะเรียงตอกันในแนวเดียว ทําใหไมสามารถแสดงปุมเครื่องมือได
ครบทุกปุม สามารถแกไขไดโดยนําเมาสชี้ที่สัญลักษณ      ของแถบเครื่องมือที่ตองการยาย
ตําแหนง แลวลากไปปลอย ณ ตําแหนงทีตองการ หรือเลือก Tools, Customized… แลวเลือก
                                       ่
บัตรรายการ Options เลือกจากตัวเลือก Show Standard and Formatting toolbars on two rows


                                                          เทคนิคการสรางสื่อนําเสนอที่มีคุณภาพ – บุญเลิศ อรุณพิบูลย
ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี                                                                  3


Ruler
       แถบไมบรรทัด แสดงขอบเขตสําหรับการพิมพ การจัดระยะกั้น (Tab) มีทั้งแถบไม
บรรทัดในแนวนอน และแนวตั้ง เรียกใชงานไดจากคําสั่ง View, Ruler

Status Bar
        แถบสถานะ แสดงรายละเอียดตางๆ ขณะทํางาน เชน สไลดปจจุบน จํานวนสไลด
                                                               ั
ทั้งหมด รูปแบบสไลดที่เลือกใชงาน และโหมดการใชปมตางๆ
                                                ุ


Task Pane
        สวนควบคุมการทํางานเพื่อใหมีความสะดวกในการใชงาน              เชน          การปรับเปลี่ยน
Layout การสราง/เปดสไลด รวมทั้งการสราง Animation ตางๆ

       Task Pane จะปรากฏที่ดานขวาของหนาตางโปรแกรม และสามารถปรับเปลี่ยนเปน
งานตางๆ ไดโดยการคลิกทีปุม Other Task Pane
                        ่



                                               คลิกเลือก Task ที่ตองการ




                                                      เทคนิคการสรางสื่อนําเสนอที่มีคุณภาพ – บุญเลิศ อรุณพิบูลย
ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี                                                                   4


ควบคุมสไลด
        ไฟลสไลดที่เปด หรือสรางขึ้นมาสามารถเลื่อนดูเนื้อหาไดโดยการเลื่อน Scroll Bar
หรือกดปุม NO และถาตองการลบหรือยายสไลด ก็ทําไดโดยคลิกเลือกสไลดจากภาพ
ตัวอยางที่ปรากฏใน Pane ดานซายของจอ แลวกดปุม = เพื่อลบ หรือลากยายสลับตําแหนง
รวมทั้งสามารถใชปุม Cd เพื่อคัดลอกสไลดซ้ํา (Duplicate)




      กรณีท่ปด Thumbnail Pane สามารถเรียกคืนกลับมาโดยคลิกที่ปุม Normal View ซึ่ง
              ี
ปรากฏที่มุมลางดานซายของจอภาพ



        นอกจากนี้ยังสามารถควบคุมสไลดไดจากโหมดภาพรวมของทุกสไลด โดยเลือกคําสั่ง
View, Slide Sorter หรือคลิกปุม Slide Sorter View




                                                       เทคนิคการสรางสื่อนําเสนอที่มีคุณภาพ – บุญเลิศ อรุณพิบูลย
ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี                                                                    5




                                               • ดับเบิลคลิกเพื่อแกไขสไลด
                 คลิกเลือกมุมมองไดจาก
                 • มุมมองปรับแกไขสไลด        • กด = เพื่อลบสไลด
                 • มุมมองภาพรวม                • เลือกแลว Drag & Drop เพื่อ
                 • นําเสนอสไลด                  ยายสไลด
                                               • เลือกแลว Cd เพื่อสําเนา
                                                 สไลด



การเพิ่มสไลด
      การเพิ่มสไลดใหคลิกเลือกสไลดตนทางกอน แลวจึงคลิกปุม                              จากนั้นเลือก
รูปแบบสไลด สไลดใหมจะตอจากสไลดทื่เลือก


                                                              สไลดหัวเรื่อง เหมาะสําหรับใชเปน
         สไลดหัวเรื่อง เหมาะสําหรับใชเปน
                                                                   สไลดชิ้นแรกของไฟล
              สไลดชิ้นแรกของไฟล

                                                                สไลดเนื้อหาแบบสองคอลัมน
         สไลดเนื้อหา ใชนําเสนอเนื้อหาใน
                   ลักษณะหัวขอ


                                                                     สไลดสื่อรูปแบบตางๆ
         สไลดเปลา เนนวางภาพขนาดใหญ
         (ไมควรใชรูปแบบนี้โดยไมจําเปน)




                                                                        สไลดสื่อรูปแบบตางๆ




                                                        เทคนิคการสรางสื่อนําเสนอที่มีคุณภาพ – บุญเลิศ อรุณพิบูลย
ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี                                                                        6


พิมพ/แกไขเนื้อหาสไลด
      การพิมพเนื้อหา ใหพิมพไปเรื่อยๆ ไมตองกดปุม E เมื่อถึงจุดสิ้นสุดบรรทัด เพราะ
โปรแกรมจะตัดคําขึ้นบรรทัดใหมใหอัตโนมัติ
          • เมื่อพิมพผิด สามารถใชปุมลบ ไดแก ปุม Backspace (ปุมลูกศรชี้ไปดานขวา เหนือ
            ปุม E )
          • กดปุม E เมื่อจบหัวเรื่อง, พารากราฟ หรือขึ้นบรรทัดใหม (บรรทัดวาง)
          • การขึ้นบรรทัดใหม โดยใหเปนขอความในพารากราฟเดิม ใหกดปุม SE
          • การยอหนา ใชปุม T ระยะกระโดดของ TAB สามารถปรับเปลี่ยนได
          • ไมควรเคาะชองวางระหวางคํามากกวา 1 ชอง

                                                                              ทุกสไลดควรมี
                                                                                  Title




          • การจัดแตงขอความ ใหเลือกขอความดวย Selection แลวปรับแตงจากแถบ
            เครื่องมือ Formatting


               แบบอักษร       ขนาดตัวอักษร ลักษณะ การจัดพารากราฟ                              สีตัวอักษร
          • คลิกที่เสนขอบกรอบเนื้อหาลากไปปลอย ณ ตําแหนงที่ใหม เพื่อยายกรอบ
            ขอความ




                                                            เทคนิคการสรางสื่อนําเสนอที่มีคุณภาพ – บุญเลิศ อรุณพิบูลย
ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี                                                                              7




          • คลิกที่เสนขอบกรอบเนื้อหา แลวคลิกจุด Handle เพื่อยอ/ขยายขนาดกรอบเนื้อหา




เครื่องมือจัดแตงตัวอักษร
        PowerPoint เตรียมเครื่องมือจัดแตงตัวอักษรที่มักใชงานบอย ๆ ไวใน Formatting
Toolbar ไดแก
                         รูปแบบตัวอักษร (Font)
                                            ขนาดตัวอักษร (Size)



                                ลักษณะตัวอักษรแบบหนา, เอียง, ขีดเสนใต และเงา

          • ขอมูลภาษาไทย (ผสมภาษาอังกฤษ) ควรเลือกใชฟอนตที่ลงทายดวย New เชน
            AngsanaNew หรือ Tahoma เพื่อใหเดนชัด
          • ขอมูลภาษาอังกฤษ เลือกใชฟอนตใดก็ได ยกเวนฟอนตที่เปนสัญลักษณ
          • ฟอนตบางฟอนตไมแสดงอักขระ แตจะแสดงเปนรูปภาพ เรียกวา ฟอนต
            สัญลักษณ ซึ่งไดแกฟอนต Wingdings, Webding, Symbol
          • ไมควรกําหนดฟอนตมากกวา 4 แบบในเอกสารเดียวกัน
          • ขนาดตัวอักษรควรมีขนาดที่เหมาะสม และใหญพอสมควร
          • ขอความแตละสไลดไมเกิน 6 บรรทัด


                                                                  เทคนิคการสรางสื่อนําเสนอที่มีคุณภาพ – บุญเลิศ อรุณพิบูลย
ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี                                                                     8


หลักการทําสไลด
          • เนนหัวขอมากกวารายละเอียด
          • ขนาดตัวอักษร, สีตัวอักษร เนน เดนชัด เห็นไดในระยะไกล
          • มีรูปภาพ ผังงาน พอเหมาะ
ขอแนะนําเกียวกับใชเครืองหมายวรรคตอน
            ่           ่
          • ชองวาง – ควรเคาะชองวางเพียง 1 ชองเทานั้น
          • นขลิขิตหรือวงเล็บ (เครื่องหมายวงเล็บ ( )) - ควรเวนวรรค 1 ครั้งกอนเปดวงเล็บ
            และเวนวรรค 1 ครั้งหลังปดวงเล็บ ขอความภายในวงเล็บควรติดกับเครื่องหมาย
            วงเล็บเปด และเครื่องหมายวงเล็บปด ตัวอยางเชน xxx (yyy) xxx
          • อัญประกาศหรือเครื่องหมายคําพูด (เครื่องหมาย quot;กquot;) - ควรเวนวรรค 1 ครั้ง กอน
            เปดเครื่องหมายคําพูดและเวนวรรค 1 ครั้ง หลังปดเครื่องหมายคําพูด ขอความ
            ภายในเครื่องหมายคําพูด ควรติดกับเครื่องหมายคําพูดเปด และเครื่องหมายคําพูด
            ปด ตัวอยางเชน xxx quot;yyyquot; xxx
          • ไมยมก (เครื่องหมาย ๆ) - ควรอยูติดกับขอความ หลังเครื่องหมายไมยมก เวน
            วรรค 1 ครั้ง ตัวอยางเชน xxxๆ yyy
          • ไปยาลนอย (เครื่องหมาย ฯ), จุลภาคหรือจุดลูกน้า(เครื่องหมาย , ) จุดคู
                                                                ํ
            (เครื่องหมาย :) และอัฒภาคหรือจุดครึ่ง (เครื่องหมาย ;) - ควรอยูตดกับขอความ
                                                                             ิ
            หลังเครื่องหมายควรเวนวรรค 1 ครั้ง ตัวอยางเชน xxxฯ yyy หรือ xxx; yyy
          • การใชเครื่องหมายจุด - ควรอยูติดกับขอความ หลังเครื่องหมายจุดควรเวนวรรค
            ตัวอยางเชน xxx. yyy

ชื่อแฟมเอกสาร
          • ชื่อแฟมเอกสารจาก PowerPoint ควรยึดหลักดังนี้
                 o ขึ้นตนดวยวันที่สรางเอกสารในรูปแบบ yyyyddmm เชน แฟมสไลดที่
                     สรางวันที่ 1 มกราคม 2551 ใหพิมพเปน 25510101 เปนตน
                 o ตามดวยชื่อทีสื่อถึงเนื้อหาในเอกสาร โดยใชตวอักษรภาษาอังกฤษ หรือ
                                   ่                             ั
                     ตัวเลขผสมกัน
                 o ไมยากมากนัก
                 o ใชสัญลักษณไดเฉพาะเครื่องหมาย – (หามใชเวนวรรค)
          • สวนขยายของแฟมเอกสารสไลดจาก PowerPoint คือ .ppt


                                                         เทคนิคการสรางสื่อนําเสนอที่มีคุณภาพ – บุญเลิศ อรุณพิบูลย
ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี                                                                       9


การพิมพรายการ/หัวขอ
          • เลือกสไลดที่มีการจัดรูปแบบ (Layout) ดังนี้



          • ใชปุม T เพื่อลดลําดับหัวขอ หรือ ST เพื่อเพิ่มลําดับหัวขอ
                                                              พิมพรายการที่ 1 แลวกด
                                                              E และ T เพื่อลด
                                                                    ลําดับหัวขอ




                                                          พิมพรายการยอย 1.1.1 แลวกด
                                                          E และ ST เพื่อ
                                                                 เพิ่มลําดับหัวขอ



          • ปรับเปลี่ยนรูปแบบสัญลักษณหวขอ เลือกคําสั่ง Format, Bullet and Numbering
                                       ั




การพิมพพารากราฟ
         เนื้อหาพารากราฟ เปนสวนที่ไมควรเลือกนํามาใชในการสรางสไลด แตบางครั้งอาจจะ
หลีกเลี่ยงไมได จึงควรทราบเทคนิคที่ถูกตองในการพิมพเนื้อหาพารากราฟ ดังนี้
          • การพิมพเนื้อหาพารากราฟ ควรเลือก Layout เปน Title & Text

                                                           เทคนิคการสรางสื่อนําเสนอที่มีคุณภาพ – บุญเลิศ อรุณพิบูลย
ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี                                                                              10




          • เปดแถบไมบรรทัดจากคําสั่ง View Ruler
          • คลิกเมาสในกรอบพิมพขอความ โดยปกติ PowerPoint จะแสดงรายการเปน Bullet
            จึงตองปด Bullet โดยคลิกทีปุม Bullets
                                       ่
          • ปรับเครื่องหมายกํากับพารากราฟ ในแถบไมบรรทัดใหอยูในลักษณะ ดังนี้
                                            ชี้ที่สัญลักษณสามเหลี่ยม
                                           แลวปรับเลื่อนยายตําแหนง


          • การปรับเครื่องหมายกํากับพารากราฟ ดังตัวอยาง จะเปนการควบคุมงานพิมพ
            พารากราฟ โดยมีการยอหนาในบรรทัดแรกของแตละพารากราฟ ดังตัวอยาง




Hanging Paragraph
       Hanging Paragraph หรือการยอหนาลอย เปนตัวอยางงานพิมพอีกลักษณะที่นยมใช
                                                                            ิ
นําเสนอ โดยมีลักษณะงานพิมพ ดังนี้




                                                                    เทคนิคการสรางสื่อนําเสนอที่มีคุณภาพ – บุญเลิศ อรุณพิบูลย
ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี                                                                  11




         พิมพหัวขอ แลวตอ
            ดวยปุม T



          การจัดเครื่องหมายกํากับพารากราฟในแถบไมบรรทัด            จะตองกําหนดใหมีลักษณะ
ดังนี้


Tab
         Tab เปนการพิมพงานที่ใชตวหยุดระยะ (Tab) กํากับงานพิมพ เพื่อควบคุมตําแหนงของ
                                    ั
ขอมูลใหมีตําแหนงเดียวกัน เชน การพิมพรายการตัวเลข ควรควบคุมตําแหนงทศนิยมใหมีหลัก
ที่ตรงกัน

          • สรางสไลดใหมโดยเลือก Layout เปน Title & Text



          • เปดแถบไมบรรทัดจากคําสั่ง View Ruler

          • คลิกเมาสในกรอบพิมพขอความ โดยปกติ PowerPoint จะแสดงรายการเปน Bullet
            จึงตองปด Bullet โดยคลิกทีปุม Bullets
                                       ่




                                                        เทคนิคการสรางสื่อนําเสนอที่มีคุณภาพ – บุญเลิศ อรุณพิบูลย
ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี                                                                        12


          • เลือกลักษณะ Tab ที่ตองการใชงาน
                      Tab Control สําหรับเลือกประเภทของ Tab




                              แท็ปชิดซาย
                              แท็ปกึ่งกลาง
                              แท็ปชิดขวา
                              แท็ปทศนิยม
          • การกําหนดระยะแท็ป ใหเลือกประเภทแท็ป แลวนําเมาสไปคลิกในแถบไม
            บรรทัด จะปรากฏสัญลักษณแท็ปที่เลือก ณ ตําแหนงที่คลิกเมาส สามารถปรับยาย
            ตําแหนงโดยการลากแลวปลอย       หรือลบทิ้งโดยคลิกแลวลากออกจากแถบไม
            บรรทัด

     ตัวอยางงานพิมพดวยแท็ปลักษณะตางๆ




ระยะหางระหวางบรรทัด/พารากราฟ
         โดยปกติงานพิมพแบบพารากราฟ จะมี
ระยะหางระหวางบรรทัด หรือระหวางพารากราฟ
เทากับความสูงของอักขระที่เลือก         (หนวยเปน
Point :: 72 Point = 1 นิ้ว) การปรับระยะหางโดยการ
กดปุม E เปนการสรางเอกสารที่ผิด ดังนั้นเมื่อ
ตองการกําหนดระยะหางระหวางบรรทัด            หรือ
ระหวางพารากราฟ ควรเลือกใชคําสั่ง Format, Line
Spacing… หรือคลิกจากปุม




                                                              เทคนิคการสรางสื่อนําเสนอที่มีคุณภาพ – บุญเลิศ อรุณพิบูลย
ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี                                                                    13


การแสดงผลขอความภาษาอังกฤษ
        ขอความภาษาอังกฤษ มีรูปแบบการแสดงผลไดทั้งตัวพิมพใหญทั้งหมด ตัวพิมพเล็ก
ทั้งหมด     อักขระตัวแรกของแตละคําเปนตัวพิมพใหญแลวตามดวยตัวพิมพเล็ก        ซึ่งการ
ปรับเปลี่ยน Case ทําไดโดยเลือกขอความที่ตองการปรับเปลี่ยน จากนั้นเลือกเมนูคําสั่ง File,
Change Case… แลวเลือกลักษณะที่ตองการ หรือจะใชการกดปุมคียลัด S# ก็ได




เปลี่ยนฟอนตอยางรวดเร็ว
        การสรางสไลด มักจะมีปญหาเกียวกับฟอนต เชน สรางสไลดดวยคอมพิวเตอรเครือง
                                     ่                                            ่
หนึ่ง และกําหนดฟอนตเปน AngsanaNEW แตเมื่อนําไปเปดอีกเครือง ฟอนตถกเปลี่ยนเปน
                                                             ่         ู
Time New Roman ตามคาติดตั้ง (Default) ของคอมพิวเตอรเครื่องนั้น เปนผลใหการจัด
ขอความเปลี่ยนสภาพไป สามารถแกไขไดอยางรวดเร็วโดยเลือกคําสั่ง Format, Replace
Fonts…




        เลือกฟอนตทตองการเปลี่ยนจากรายการ Replace และเลือกฟอนตที่ตองการนํามา
                   ี่
แทนที่จากรายการ With แลวกดปุม Replace โปรแกรมจะตรวจสอบฟอนต และดําเนินการ
ปรับแกไขใหโดยอัตโนมัติ

การตรวจคําสะกด
        โปรแกรม มีฟงกชันตรวจสอบคําสะกดขณะที่พิมพขอมูลใหโดยอัตโนมัติ โดยจะแสดงผลเปนเสน
ใตสแดงขอมูลนั้นพิมพผิด หรือไมปรากฏในพจนานุกรมของระบบ ดังนี้
    ี




                                                          เทคนิคการสรางสื่อนําเสนอที่มีคุณภาพ – บุญเลิศ อรุณพิบูลย
ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี                                                                            14


       การแกไขคําสะกด นําเมาสไปชี้ที่คําที่โปรแกรมขีดเสนใตสีแดง                   แลวคลิกปุมขวาของเมาส
โปรแกรมจะแสดงเมนูคําที่ถูกตอง ดังนี้




          • ถาปรากฏคําที่ถูกตองในรายการ ใหนําเมาสมาชี้ที่คําที่ถูกตอง แลวคลิก โปรแกรมจะแกไขคํา
            ใหอัตโนมัติ
          • ถาคําที่โปรแกรมตรวจสอบเปนคําที่ถูกตอง แสดงวาคํานั้นไมมีในพจนานุกรม สามารถเลือก
            ปฏิบติไดดังนี้
                  ั
                  o เลือกคําสั่ง Ignore All           เพื่อละเวนการตรวจสอบ
                  o เลือกคําสั่ง Add to Dictionary เพื่อเพิ่มคํานั้นลงในพจนานุกรม
          • สําหรับการแกไขคําที่ผิดไวยากรณ ซึ่งมักจะเปนคําที่มีชองวางหรือใชเครื่องหมายวรรคตอน
            ผิดพลาด ก็สามารถปฏิบัติไดโดย
                  o นําเมาสมาชี้ ณ ตําแหนงที่ตองการแกไข
                  o กดปุมขวาของเมาส แลวเลือกคําสั่งที่ถูกตอง หรือแกไขดวยตนเอง

ปุมเครื่องมือจัดการรูปภาพ
          เมื่อนําเมาสไปคลิกที่ภาพใดๆ จะพบวามีแถบเครื่องมือ1 ชุด คือ แถบเครื่องมือ Picture



                                        Insert Picture   นําภาพอื่นมาใสเพิ่มในเอกสาร




                                     Image Control ควบคุมลักษณะของภาพ ไดแก สีตามภาพ
(Automatic), สีโทนขาวดํา, สีขาวดํา และสีออนแบบลายน้ํา


                                        ชุดควบคุมเกี่ยวกับความเขม ความสวาง ความคมชัดของภาพ




                                                                  เทคนิคการสรางสื่อนําเสนอที่มีคุณภาพ – บุญเลิศ อรุณพิบูลย
ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี                                                                            15


                          Crop Picture ใชในการตัดภาพ วิธีการใชไดแก
                    o คลิกที่ภาพที่ตองการตัด
                    o คลิกปุมเครื่องมือ Crop Picture
                    o เมาสจะเปลี่ยนรูปรางเปนสัญลักษณ
                    o นําเมาสไปชี้ที่ Handle ณ ตําแหนงที่ตองการตัดภาพ เชน หากตองการตัดภาพ
                                                            
                      ดานขวา ก็นําเมาสไปชี้ที่ Handle ดานขวาของภาพดวย




                    o กดเมาสคางไว แลวลากเมาสเขาไปในภาพ จะพบวาภาพสวนนั้นจะหายไป
                    o การคืนสภาพของภาพ ใหลากเมาสกลับออกมา
                          Rotate Left หมุนภาพ
                          Line Style ใสเสนลักษณะตางๆ รอบภาพ
                              Compress Picture ปรับคุณภาพของภาพ เมื่อคลิกจะปรากฏตัวเลือกดังนี้




                              ควรเลือกเปน Web/Screen สําหรับภาพทุกภาพ

                              Format Picture/Object เปดบัตรสั่งงาน
                              Set transparent color กําหนดพื้นภาพโปรงใส
                              Reset Picture คืนสภาพของภาพกลับสูคาเดิม

เครื่องมือวาดภาพ
         นอกจากการนําภาพมาจัดแตง ยังมีเครื่องมือชวยวาดภาพ วาดผังงานดวย Drawing
Tools ซึ่งเปด/ปดไดจากคําสั่ง View, Toolbars, Drawing




                                                                  เทคนิคการสรางสื่อนําเสนอที่มีคุณภาพ – บุญเลิศ อรุณพิบูลย
ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี                                                                       16


เทคนิคนารู
          •    ดับเบิลคลิกเครื่องมือ เพื่อวาดหลายๆ ครั้งตอเนื่อง หยุดดวยการกดปุม <Esc>
          •    กด S ขณะวาด เพื่อกําหนดใหเปนเสนเรียบ สี่เหลี่ยมจัตุรัส หรือวงกลม
          •    กด C ขณะวาด เพื่อกําหนดใหจุดเริ่มตนของภาพ เปนจุดศูนยกลาง
          •    เลือกวัตถุหลายๆ ชิ้นไดดวยปุม S หรือ C
                                          
          •    คําสั่งควบคุมตางๆ อยูในปุม Draw
                                            




          • แตละปุมมีคําสั่งยอยภายใน




                                                             เทคนิคการสรางสื่อนําเสนอที่มีคุณภาพ – บุญเลิศ อรุณพิบูลย

More Related Content

What's hot

Pptงานคอม
PptงานคอมPptงานคอม
Pptงานคอม
guest5201e5
 
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์
opalz
 
Ensop Dsm Bid1 Part1
Ensop Dsm Bid1 Part1Ensop Dsm Bid1 Part1
Ensop Dsm Bid1 Part1
guest48146f
 
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมสมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
guestefb2bbf
 
Classical Triz Workshop By Pantapong
Classical Triz Workshop By PantapongClassical Triz Workshop By Pantapong
Classical Triz Workshop By Pantapong
pantapong
 
Conduct your Dream.
Conduct your Dream.Conduct your Dream.
Conduct your Dream.
Piyaratt R
 
Case Study Ezy Go Product&Price
Case Study Ezy Go  Product&PriceCase Study Ezy Go  Product&Price
Case Study Ezy Go Product&Price
tltutortutor
 

What's hot (18)

How to use MicroCamp AVR ATMEGA8 Robot
How to use MicroCamp AVR ATMEGA8 RobotHow to use MicroCamp AVR ATMEGA8 Robot
How to use MicroCamp AVR ATMEGA8 Robot
 
New HRD Concept for Business
New HRD Concept for BusinessNew HRD Concept for Business
New HRD Concept for Business
 
Pptงานคอม
PptงานคอมPptงานคอม
Pptงานคอม
 
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์
 
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ตผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต
 
Project DogWaffle
Project DogWaffleProject DogWaffle
Project DogWaffle
 
Ensop Dsm Bid1 Part1
Ensop Dsm Bid1 Part1Ensop Dsm Bid1 Part1
Ensop Dsm Bid1 Part1
 
Citizen Journalism & Internet as Social Media
Citizen Journalism & Internet as Social MediaCitizen Journalism & Internet as Social Media
Citizen Journalism & Internet as Social Media
 
กำหนดการ TK Cartoonist
กำหนดการ TK Cartoonistกำหนดการ TK Cartoonist
กำหนดการ TK Cartoonist
 
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
 
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมสมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
 
Classical Triz Workshop By Pantapong
Classical Triz Workshop By PantapongClassical Triz Workshop By Pantapong
Classical Triz Workshop By Pantapong
 
Dia
DiaDia
Dia
 
Creative Commons: Toward Free Culture
Creative Commons: Toward Free CultureCreative Commons: Toward Free Culture
Creative Commons: Toward Free Culture
 
Conduct your Dream.
Conduct your Dream.Conduct your Dream.
Conduct your Dream.
 
Case Study Ezy Go Product&Price
Case Study Ezy Go  Product&PriceCase Study Ezy Go  Product&Price
Case Study Ezy Go Product&Price
 
1.How To Search Cmul Opac
1.How To Search Cmul Opac1.How To Search Cmul Opac
1.How To Search Cmul Opac
 
7อย่า
7อย่า7อย่า
7อย่า
 

More from Boonlert Aroonpiboon

More from Boonlert Aroonpiboon (20)

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Excel quiz
 
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
 
LAM Code of conduct
LAM Code of conductLAM Code of conduct
LAM Code of conduct
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
 
201403 etda-library
201403 etda-library201403 etda-library
201403 etda-library
 

Microsoft PowerPoint

  • 1. ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 1 สรางสื่อนําเสนอดวย Microsoft PowerPoint Microsoft PowerPoint เปนโปรแกรมนําเสนอที่ใชสรางสื่อสไลดทั้งขอความ ภาพนิง ่ ไดอะแกรม ภาพเคลื่อนไหว เสียง ผานจอคอมพิวเตอร สื่อนําเสนอที่สรางดวย PowerPoint อาจจะประกอบดวยสไลดตงแตหนึ่งสไลดจนถึงรอยๆ สไลด ตั้งแตรูปแบบขอความอยางเดียว ้ั จนถึงระบบโตตอบกับผูใช (Interactive) การเรียก/ปดโปรแกรม การเรียกโปรแกรม Microsoft PowerPoint คลิก Start, Program, Microsoft PowerPoint และปดโปรแกรมดวยคําสั่ง File, Exit หรือใชคียลัด A$ หนาตางโปรแกรมของ MS PowerPoint ก็เชนเดียวกัน ไมแตกตางจากโปรแกรม Word, Excel เพียงแตมจอภาพทํางานเปนแผนสไลด ี แถบควบคุม (Task pane) ภาพตัวอยาง (Thumbnail) ในการเปดไฟล และสรางไฟล หรือเคารางสไลด (Outline) สวนเพิ่มหมายเหตุของสไลด เทคนิคการสรางสื่อนําเสนอที่มีคุณภาพ – บุญเลิศ อรุณพิบูลย
  • 2. ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 2 Title Bar แถบชื่อเรื่อง เปนสวนแรกของหนาตางโปรแกรม แสดงชื่อไฟลเอกสารที่กําลังสราง หรือแกไข Menu Bar แถบเมนูคําสั่ง สวนแสดงรายการคําสั่งๆ ในการใชงานโปรแกรม โดยปกติคาสั่งของ ํ PowerPoint จะเปนแบบซอนคําสั่งที่ไมคอยไดใชงาน เพื่อใหสะดวกในการใชงานควรปรับให แสดงผลแบบเต็มโดยเลือกเมนูคําสั่ง Tools, Customized… แลวเลือกบัตรรายการ Options เลือกจากตัวเลือก Always show full menus Toolbar แถบเครื่องมือ สวนควบคุมการทํางานที่แบงเปนหมวดหมู โดยใชปุมเครื่องมือตางๆ การเปดใชงาน หรือปดแถบ เครื่องมือ ใชคําสั่ง View, Toolbars โดยแถบเครื่องมือที่มี เครื่องหมาย นําหนา แสดง วากําหนดใหแสดงผลบน จอภาพ แถบเครื่องมืออาจจะเรียงตอกันในแนวเดียว ทําใหไมสามารถแสดงปุมเครื่องมือได ครบทุกปุม สามารถแกไขไดโดยนําเมาสชี้ที่สัญลักษณ ของแถบเครื่องมือที่ตองการยาย ตําแหนง แลวลากไปปลอย ณ ตําแหนงทีตองการ หรือเลือก Tools, Customized… แลวเลือก ่ บัตรรายการ Options เลือกจากตัวเลือก Show Standard and Formatting toolbars on two rows เทคนิคการสรางสื่อนําเสนอที่มีคุณภาพ – บุญเลิศ อรุณพิบูลย
  • 3. ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 3 Ruler แถบไมบรรทัด แสดงขอบเขตสําหรับการพิมพ การจัดระยะกั้น (Tab) มีทั้งแถบไม บรรทัดในแนวนอน และแนวตั้ง เรียกใชงานไดจากคําสั่ง View, Ruler Status Bar แถบสถานะ แสดงรายละเอียดตางๆ ขณะทํางาน เชน สไลดปจจุบน จํานวนสไลด ั ทั้งหมด รูปแบบสไลดที่เลือกใชงาน และโหมดการใชปมตางๆ ุ Task Pane สวนควบคุมการทํางานเพื่อใหมีความสะดวกในการใชงาน เชน การปรับเปลี่ยน Layout การสราง/เปดสไลด รวมทั้งการสราง Animation ตางๆ Task Pane จะปรากฏที่ดานขวาของหนาตางโปรแกรม และสามารถปรับเปลี่ยนเปน งานตางๆ ไดโดยการคลิกทีปุม Other Task Pane ่ คลิกเลือก Task ที่ตองการ เทคนิคการสรางสื่อนําเสนอที่มีคุณภาพ – บุญเลิศ อรุณพิบูลย
  • 4. ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 4 ควบคุมสไลด ไฟลสไลดที่เปด หรือสรางขึ้นมาสามารถเลื่อนดูเนื้อหาไดโดยการเลื่อน Scroll Bar หรือกดปุม NO และถาตองการลบหรือยายสไลด ก็ทําไดโดยคลิกเลือกสไลดจากภาพ ตัวอยางที่ปรากฏใน Pane ดานซายของจอ แลวกดปุม = เพื่อลบ หรือลากยายสลับตําแหนง รวมทั้งสามารถใชปุม Cd เพื่อคัดลอกสไลดซ้ํา (Duplicate) กรณีท่ปด Thumbnail Pane สามารถเรียกคืนกลับมาโดยคลิกที่ปุม Normal View ซึ่ง ี ปรากฏที่มุมลางดานซายของจอภาพ นอกจากนี้ยังสามารถควบคุมสไลดไดจากโหมดภาพรวมของทุกสไลด โดยเลือกคําสั่ง View, Slide Sorter หรือคลิกปุม Slide Sorter View เทคนิคการสรางสื่อนําเสนอที่มีคุณภาพ – บุญเลิศ อรุณพิบูลย
  • 5. ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 5 • ดับเบิลคลิกเพื่อแกไขสไลด คลิกเลือกมุมมองไดจาก • มุมมองปรับแกไขสไลด • กด = เพื่อลบสไลด • มุมมองภาพรวม • เลือกแลว Drag & Drop เพื่อ • นําเสนอสไลด ยายสไลด • เลือกแลว Cd เพื่อสําเนา สไลด การเพิ่มสไลด การเพิ่มสไลดใหคลิกเลือกสไลดตนทางกอน แลวจึงคลิกปุม จากนั้นเลือก รูปแบบสไลด สไลดใหมจะตอจากสไลดทื่เลือก สไลดหัวเรื่อง เหมาะสําหรับใชเปน สไลดหัวเรื่อง เหมาะสําหรับใชเปน สไลดชิ้นแรกของไฟล สไลดชิ้นแรกของไฟล สไลดเนื้อหาแบบสองคอลัมน สไลดเนื้อหา ใชนําเสนอเนื้อหาใน ลักษณะหัวขอ สไลดสื่อรูปแบบตางๆ สไลดเปลา เนนวางภาพขนาดใหญ (ไมควรใชรูปแบบนี้โดยไมจําเปน) สไลดสื่อรูปแบบตางๆ เทคนิคการสรางสื่อนําเสนอที่มีคุณภาพ – บุญเลิศ อรุณพิบูลย
  • 6. ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 6 พิมพ/แกไขเนื้อหาสไลด การพิมพเนื้อหา ใหพิมพไปเรื่อยๆ ไมตองกดปุม E เมื่อถึงจุดสิ้นสุดบรรทัด เพราะ โปรแกรมจะตัดคําขึ้นบรรทัดใหมใหอัตโนมัติ • เมื่อพิมพผิด สามารถใชปุมลบ ไดแก ปุม Backspace (ปุมลูกศรชี้ไปดานขวา เหนือ ปุม E ) • กดปุม E เมื่อจบหัวเรื่อง, พารากราฟ หรือขึ้นบรรทัดใหม (บรรทัดวาง) • การขึ้นบรรทัดใหม โดยใหเปนขอความในพารากราฟเดิม ใหกดปุม SE • การยอหนา ใชปุม T ระยะกระโดดของ TAB สามารถปรับเปลี่ยนได • ไมควรเคาะชองวางระหวางคํามากกวา 1 ชอง ทุกสไลดควรมี Title • การจัดแตงขอความ ใหเลือกขอความดวย Selection แลวปรับแตงจากแถบ เครื่องมือ Formatting แบบอักษร ขนาดตัวอักษร ลักษณะ การจัดพารากราฟ สีตัวอักษร • คลิกที่เสนขอบกรอบเนื้อหาลากไปปลอย ณ ตําแหนงที่ใหม เพื่อยายกรอบ ขอความ เทคนิคการสรางสื่อนําเสนอที่มีคุณภาพ – บุญเลิศ อรุณพิบูลย
  • 7. ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 7 • คลิกที่เสนขอบกรอบเนื้อหา แลวคลิกจุด Handle เพื่อยอ/ขยายขนาดกรอบเนื้อหา เครื่องมือจัดแตงตัวอักษร PowerPoint เตรียมเครื่องมือจัดแตงตัวอักษรที่มักใชงานบอย ๆ ไวใน Formatting Toolbar ไดแก รูปแบบตัวอักษร (Font) ขนาดตัวอักษร (Size) ลักษณะตัวอักษรแบบหนา, เอียง, ขีดเสนใต และเงา • ขอมูลภาษาไทย (ผสมภาษาอังกฤษ) ควรเลือกใชฟอนตที่ลงทายดวย New เชน AngsanaNew หรือ Tahoma เพื่อใหเดนชัด • ขอมูลภาษาอังกฤษ เลือกใชฟอนตใดก็ได ยกเวนฟอนตที่เปนสัญลักษณ • ฟอนตบางฟอนตไมแสดงอักขระ แตจะแสดงเปนรูปภาพ เรียกวา ฟอนต สัญลักษณ ซึ่งไดแกฟอนต Wingdings, Webding, Symbol • ไมควรกําหนดฟอนตมากกวา 4 แบบในเอกสารเดียวกัน • ขนาดตัวอักษรควรมีขนาดที่เหมาะสม และใหญพอสมควร • ขอความแตละสไลดไมเกิน 6 บรรทัด เทคนิคการสรางสื่อนําเสนอที่มีคุณภาพ – บุญเลิศ อรุณพิบูลย
  • 8. ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 8 หลักการทําสไลด • เนนหัวขอมากกวารายละเอียด • ขนาดตัวอักษร, สีตัวอักษร เนน เดนชัด เห็นไดในระยะไกล • มีรูปภาพ ผังงาน พอเหมาะ ขอแนะนําเกียวกับใชเครืองหมายวรรคตอน ่ ่ • ชองวาง – ควรเคาะชองวางเพียง 1 ชองเทานั้น • นขลิขิตหรือวงเล็บ (เครื่องหมายวงเล็บ ( )) - ควรเวนวรรค 1 ครั้งกอนเปดวงเล็บ และเวนวรรค 1 ครั้งหลังปดวงเล็บ ขอความภายในวงเล็บควรติดกับเครื่องหมาย วงเล็บเปด และเครื่องหมายวงเล็บปด ตัวอยางเชน xxx (yyy) xxx • อัญประกาศหรือเครื่องหมายคําพูด (เครื่องหมาย quot;กquot;) - ควรเวนวรรค 1 ครั้ง กอน เปดเครื่องหมายคําพูดและเวนวรรค 1 ครั้ง หลังปดเครื่องหมายคําพูด ขอความ ภายในเครื่องหมายคําพูด ควรติดกับเครื่องหมายคําพูดเปด และเครื่องหมายคําพูด ปด ตัวอยางเชน xxx quot;yyyquot; xxx • ไมยมก (เครื่องหมาย ๆ) - ควรอยูติดกับขอความ หลังเครื่องหมายไมยมก เวน วรรค 1 ครั้ง ตัวอยางเชน xxxๆ yyy • ไปยาลนอย (เครื่องหมาย ฯ), จุลภาคหรือจุดลูกน้า(เครื่องหมาย , ) จุดคู ํ (เครื่องหมาย :) และอัฒภาคหรือจุดครึ่ง (เครื่องหมาย ;) - ควรอยูตดกับขอความ ิ หลังเครื่องหมายควรเวนวรรค 1 ครั้ง ตัวอยางเชน xxxฯ yyy หรือ xxx; yyy • การใชเครื่องหมายจุด - ควรอยูติดกับขอความ หลังเครื่องหมายจุดควรเวนวรรค ตัวอยางเชน xxx. yyy ชื่อแฟมเอกสาร • ชื่อแฟมเอกสารจาก PowerPoint ควรยึดหลักดังนี้ o ขึ้นตนดวยวันที่สรางเอกสารในรูปแบบ yyyyddmm เชน แฟมสไลดที่ สรางวันที่ 1 มกราคม 2551 ใหพิมพเปน 25510101 เปนตน o ตามดวยชื่อทีสื่อถึงเนื้อหาในเอกสาร โดยใชตวอักษรภาษาอังกฤษ หรือ ่ ั ตัวเลขผสมกัน o ไมยากมากนัก o ใชสัญลักษณไดเฉพาะเครื่องหมาย – (หามใชเวนวรรค) • สวนขยายของแฟมเอกสารสไลดจาก PowerPoint คือ .ppt เทคนิคการสรางสื่อนําเสนอที่มีคุณภาพ – บุญเลิศ อรุณพิบูลย
  • 9. ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 9 การพิมพรายการ/หัวขอ • เลือกสไลดที่มีการจัดรูปแบบ (Layout) ดังนี้ • ใชปุม T เพื่อลดลําดับหัวขอ หรือ ST เพื่อเพิ่มลําดับหัวขอ พิมพรายการที่ 1 แลวกด E และ T เพื่อลด ลําดับหัวขอ พิมพรายการยอย 1.1.1 แลวกด E และ ST เพื่อ เพิ่มลําดับหัวขอ • ปรับเปลี่ยนรูปแบบสัญลักษณหวขอ เลือกคําสั่ง Format, Bullet and Numbering ั การพิมพพารากราฟ เนื้อหาพารากราฟ เปนสวนที่ไมควรเลือกนํามาใชในการสรางสไลด แตบางครั้งอาจจะ หลีกเลี่ยงไมได จึงควรทราบเทคนิคที่ถูกตองในการพิมพเนื้อหาพารากราฟ ดังนี้ • การพิมพเนื้อหาพารากราฟ ควรเลือก Layout เปน Title & Text เทคนิคการสรางสื่อนําเสนอที่มีคุณภาพ – บุญเลิศ อรุณพิบูลย
  • 10. ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 10 • เปดแถบไมบรรทัดจากคําสั่ง View Ruler • คลิกเมาสในกรอบพิมพขอความ โดยปกติ PowerPoint จะแสดงรายการเปน Bullet จึงตองปด Bullet โดยคลิกทีปุม Bullets ่ • ปรับเครื่องหมายกํากับพารากราฟ ในแถบไมบรรทัดใหอยูในลักษณะ ดังนี้ ชี้ที่สัญลักษณสามเหลี่ยม แลวปรับเลื่อนยายตําแหนง • การปรับเครื่องหมายกํากับพารากราฟ ดังตัวอยาง จะเปนการควบคุมงานพิมพ พารากราฟ โดยมีการยอหนาในบรรทัดแรกของแตละพารากราฟ ดังตัวอยาง Hanging Paragraph Hanging Paragraph หรือการยอหนาลอย เปนตัวอยางงานพิมพอีกลักษณะที่นยมใช ิ นําเสนอ โดยมีลักษณะงานพิมพ ดังนี้ เทคนิคการสรางสื่อนําเสนอที่มีคุณภาพ – บุญเลิศ อรุณพิบูลย
  • 11. ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 11 พิมพหัวขอ แลวตอ ดวยปุม T การจัดเครื่องหมายกํากับพารากราฟในแถบไมบรรทัด จะตองกําหนดใหมีลักษณะ ดังนี้ Tab Tab เปนการพิมพงานที่ใชตวหยุดระยะ (Tab) กํากับงานพิมพ เพื่อควบคุมตําแหนงของ ั ขอมูลใหมีตําแหนงเดียวกัน เชน การพิมพรายการตัวเลข ควรควบคุมตําแหนงทศนิยมใหมีหลัก ที่ตรงกัน • สรางสไลดใหมโดยเลือก Layout เปน Title & Text • เปดแถบไมบรรทัดจากคําสั่ง View Ruler • คลิกเมาสในกรอบพิมพขอความ โดยปกติ PowerPoint จะแสดงรายการเปน Bullet จึงตองปด Bullet โดยคลิกทีปุม Bullets ่ เทคนิคการสรางสื่อนําเสนอที่มีคุณภาพ – บุญเลิศ อรุณพิบูลย
  • 12. ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 12 • เลือกลักษณะ Tab ที่ตองการใชงาน Tab Control สําหรับเลือกประเภทของ Tab แท็ปชิดซาย แท็ปกึ่งกลาง แท็ปชิดขวา แท็ปทศนิยม • การกําหนดระยะแท็ป ใหเลือกประเภทแท็ป แลวนําเมาสไปคลิกในแถบไม บรรทัด จะปรากฏสัญลักษณแท็ปที่เลือก ณ ตําแหนงที่คลิกเมาส สามารถปรับยาย ตําแหนงโดยการลากแลวปลอย หรือลบทิ้งโดยคลิกแลวลากออกจากแถบไม บรรทัด ตัวอยางงานพิมพดวยแท็ปลักษณะตางๆ ระยะหางระหวางบรรทัด/พารากราฟ โดยปกติงานพิมพแบบพารากราฟ จะมี ระยะหางระหวางบรรทัด หรือระหวางพารากราฟ เทากับความสูงของอักขระที่เลือก (หนวยเปน Point :: 72 Point = 1 นิ้ว) การปรับระยะหางโดยการ กดปุม E เปนการสรางเอกสารที่ผิด ดังนั้นเมื่อ ตองการกําหนดระยะหางระหวางบรรทัด หรือ ระหวางพารากราฟ ควรเลือกใชคําสั่ง Format, Line Spacing… หรือคลิกจากปุม เทคนิคการสรางสื่อนําเสนอที่มีคุณภาพ – บุญเลิศ อรุณพิบูลย
  • 13. ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 13 การแสดงผลขอความภาษาอังกฤษ ขอความภาษาอังกฤษ มีรูปแบบการแสดงผลไดทั้งตัวพิมพใหญทั้งหมด ตัวพิมพเล็ก ทั้งหมด อักขระตัวแรกของแตละคําเปนตัวพิมพใหญแลวตามดวยตัวพิมพเล็ก ซึ่งการ ปรับเปลี่ยน Case ทําไดโดยเลือกขอความที่ตองการปรับเปลี่ยน จากนั้นเลือกเมนูคําสั่ง File, Change Case… แลวเลือกลักษณะที่ตองการ หรือจะใชการกดปุมคียลัด S# ก็ได เปลี่ยนฟอนตอยางรวดเร็ว การสรางสไลด มักจะมีปญหาเกียวกับฟอนต เชน สรางสไลดดวยคอมพิวเตอรเครือง ่ ่ หนึ่ง และกําหนดฟอนตเปน AngsanaNEW แตเมื่อนําไปเปดอีกเครือง ฟอนตถกเปลี่ยนเปน ่ ู Time New Roman ตามคาติดตั้ง (Default) ของคอมพิวเตอรเครื่องนั้น เปนผลใหการจัด ขอความเปลี่ยนสภาพไป สามารถแกไขไดอยางรวดเร็วโดยเลือกคําสั่ง Format, Replace Fonts… เลือกฟอนตทตองการเปลี่ยนจากรายการ Replace และเลือกฟอนตที่ตองการนํามา ี่ แทนที่จากรายการ With แลวกดปุม Replace โปรแกรมจะตรวจสอบฟอนต และดําเนินการ ปรับแกไขใหโดยอัตโนมัติ การตรวจคําสะกด โปรแกรม มีฟงกชันตรวจสอบคําสะกดขณะที่พิมพขอมูลใหโดยอัตโนมัติ โดยจะแสดงผลเปนเสน ใตสแดงขอมูลนั้นพิมพผิด หรือไมปรากฏในพจนานุกรมของระบบ ดังนี้ ี เทคนิคการสรางสื่อนําเสนอที่มีคุณภาพ – บุญเลิศ อรุณพิบูลย
  • 14. ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 14 การแกไขคําสะกด นําเมาสไปชี้ที่คําที่โปรแกรมขีดเสนใตสีแดง แลวคลิกปุมขวาของเมาส โปรแกรมจะแสดงเมนูคําที่ถูกตอง ดังนี้ • ถาปรากฏคําที่ถูกตองในรายการ ใหนําเมาสมาชี้ที่คําที่ถูกตอง แลวคลิก โปรแกรมจะแกไขคํา ใหอัตโนมัติ • ถาคําที่โปรแกรมตรวจสอบเปนคําที่ถูกตอง แสดงวาคํานั้นไมมีในพจนานุกรม สามารถเลือก ปฏิบติไดดังนี้ ั o เลือกคําสั่ง Ignore All เพื่อละเวนการตรวจสอบ o เลือกคําสั่ง Add to Dictionary เพื่อเพิ่มคํานั้นลงในพจนานุกรม • สําหรับการแกไขคําที่ผิดไวยากรณ ซึ่งมักจะเปนคําที่มีชองวางหรือใชเครื่องหมายวรรคตอน ผิดพลาด ก็สามารถปฏิบัติไดโดย o นําเมาสมาชี้ ณ ตําแหนงที่ตองการแกไข o กดปุมขวาของเมาส แลวเลือกคําสั่งที่ถูกตอง หรือแกไขดวยตนเอง ปุมเครื่องมือจัดการรูปภาพ เมื่อนําเมาสไปคลิกที่ภาพใดๆ จะพบวามีแถบเครื่องมือ1 ชุด คือ แถบเครื่องมือ Picture Insert Picture นําภาพอื่นมาใสเพิ่มในเอกสาร Image Control ควบคุมลักษณะของภาพ ไดแก สีตามภาพ (Automatic), สีโทนขาวดํา, สีขาวดํา และสีออนแบบลายน้ํา ชุดควบคุมเกี่ยวกับความเขม ความสวาง ความคมชัดของภาพ เทคนิคการสรางสื่อนําเสนอที่มีคุณภาพ – บุญเลิศ อรุณพิบูลย
  • 15. ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 15 Crop Picture ใชในการตัดภาพ วิธีการใชไดแก o คลิกที่ภาพที่ตองการตัด o คลิกปุมเครื่องมือ Crop Picture o เมาสจะเปลี่ยนรูปรางเปนสัญลักษณ o นําเมาสไปชี้ที่ Handle ณ ตําแหนงที่ตองการตัดภาพ เชน หากตองการตัดภาพ  ดานขวา ก็นําเมาสไปชี้ที่ Handle ดานขวาของภาพดวย o กดเมาสคางไว แลวลากเมาสเขาไปในภาพ จะพบวาภาพสวนนั้นจะหายไป o การคืนสภาพของภาพ ใหลากเมาสกลับออกมา Rotate Left หมุนภาพ Line Style ใสเสนลักษณะตางๆ รอบภาพ Compress Picture ปรับคุณภาพของภาพ เมื่อคลิกจะปรากฏตัวเลือกดังนี้ ควรเลือกเปน Web/Screen สําหรับภาพทุกภาพ Format Picture/Object เปดบัตรสั่งงาน Set transparent color กําหนดพื้นภาพโปรงใส Reset Picture คืนสภาพของภาพกลับสูคาเดิม เครื่องมือวาดภาพ นอกจากการนําภาพมาจัดแตง ยังมีเครื่องมือชวยวาดภาพ วาดผังงานดวย Drawing Tools ซึ่งเปด/ปดไดจากคําสั่ง View, Toolbars, Drawing เทคนิคการสรางสื่อนําเสนอที่มีคุณภาพ – บุญเลิศ อรุณพิบูลย
  • 16. ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 16 เทคนิคนารู • ดับเบิลคลิกเครื่องมือ เพื่อวาดหลายๆ ครั้งตอเนื่อง หยุดดวยการกดปุม <Esc> • กด S ขณะวาด เพื่อกําหนดใหเปนเสนเรียบ สี่เหลี่ยมจัตุรัส หรือวงกลม • กด C ขณะวาด เพื่อกําหนดใหจุดเริ่มตนของภาพ เปนจุดศูนยกลาง • เลือกวัตถุหลายๆ ชิ้นไดดวยปุม S หรือ C  • คําสั่งควบคุมตางๆ อยูในปุม Draw  • แตละปุมมีคําสั่งยอยภายใน เทคนิคการสรางสื่อนําเสนอที่มีคุณภาพ – บุญเลิศ อรุณพิบูลย