SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
แบบนิเทศการสอนภายใน
ชื่อครูผูสอน....................................นามสกุล..........................
กลุมสาระการเรียนรู...............................................
ภาคเรียนที่ ๒ ปการศึกษา ๒๕๕๓
งานวิจัยและพัฒนาการเรียนการสอน
โรงเรียนแมลานอยดรุณสิกข
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต ๓๔
กระทรวงศึกษาธิการ
คูมือการใชเอกสารนิเทศการสอน
คําชี้แจง
๑. เอกสารนิเทศการสอนนี้มีตารางสําหรับการนิเทศ ๕ ครั้งโดยแบงรายละเอียดของการนิเทศแตละ
ครั้งออกเปน ๔ ตอน คือ
ตอนที่ ๑ การนิเทศกอนการสอน
ตอนที่ ๒ การนิเทศขณะสอน
ตอนที่ ๓ การนิเทศหลังการสอน
ตอนที่ ๔ สรุปผลการนิเทศการสอน
วิธีการกรอกขอมูลลงในแบบนิเทศสําหรับตอนที่ ๑-๓
๑. การนิเทศกอนการสอน ขณะสอน และหลังสอน เมื่อผูนิเทศสังเกตเห็นจุดที่ทําการนิเทศให
พิจารณาเลือกระดับคะแนน ๓, ๒, ๑ หรือ ๐ ลงในชองระดับคะแนนของการนิเทศแตละครั้ง
๒. การคิดคะแนน เมื่อผูนิเทศไดนิเทศครบ ๓ ตอนแลวในแตละครั้ง นําคะแนนที่กรอกในชองระดับ
คะแนน คูณกับชองน้ําหนักคะแนนที่กําหนดให จากนั้นนําผลคูณทั้งหมดแตละตอนมาคิดเปนคา
รอยละกรอกลงในชองสรุป
วิธีการกรอกขอมูลลงในแบบนิเทศสําหรับตอนที่ ๔
๑. สรุปผลการนิเทศการสอน ใหผูนิเทศนําผลคะแนนรอยละจากการนิเทศในตอนที่ ๑-๓ ของการ
นิเทศแตละครั้ง บันทึกลงในตารางผลสรุปการนิเทศ แลวหาคาเฉลี่ยจากการนิเทศ ๕ ครั้ง
๒. ผูนิเทศกําหนดระดับคุณภาพการสอนโดยเทียบกับเกณฑที่กําหนดดังตาราง
๓. สรุปผลการนิเทศการสอน บันทึกขอเสนอแนะ ขอคิดเห็น
รอยละ ระดับคุณภาพของการนิเทศ
๙๐ ขึ้นไป ดีเยี่ยม
๗๕ – ๘๙ ดี
๖๐ – ๗๔ ปานกลาง
๓๐ – ๕๙ ต่ํา
ต่ํากวา ๓๐ ปรับปรุง
บทบาทและหนาที่ของผูบริหารโรงเรียนและครูกับการนิเทศภายในโรงเรียน
ผูบริหาร บทบาทหนาที่ของครูในฐานะครูผูนิเทศ
1. เปนผูนิเทศภายในโรงเรียนรวมกับคณะนิเทศ
2. สงเสริมใหครูมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการนิเทศ
ภายในโรงเรียนอยางแทจริง
3. รวมประชุมวางแผนการนิเทศภายในกับผูนิเทศในฐานะ
ประธานฯ
4. พิจารณาอนุมัติโครงการนิเทศภายในที่สอดคลองกับ
นโยบายและแผนงานโรงเรียน
5. เปนผูประสานงานระหวางผูนิเทศและผูรับการนิเทศ
6. ใหการสนับสนุนดานอุปกรณงบประมาณ ขวัญกําลังใจใน
การดําเนินโครงการ
7. ใหคําปรึกษาแนะนําและเปนวิทยากรที่ดีแกผูรับการ
นิเทศ
8. ชวยเหลือและสงเสริมใหครูมีความรูและมีพัฒนาการทาง
วิชาชีพ เชน การสงเขาอบรม การอนุญาตใหศึกษาตอ
9. ใชเทคนิคการบริหารมาชวยเพิ่มประสิทธิภาพการนิเทศ
ภายใน
10. ติดตามและประเมินผลการจัดการนิเทศภายใน
โรงเรียน
1. รวมวางแผนในการปฏิบัติงานโดยมีสวนรวมในการ
คิดวิเคราะหสภาพปญหาและความตองการรวมทั้ง
วางแนวทางในการปฏิบัติงาน
2. เปนวิทยากรใหความรูในสิ่งที่จะปฏิบัติหรือเชิญ
วิทยากรจากแหลงวิชาการอื่นมาชวยใหความรูแก
ผูรับการ นิเทศ
3. ดําเนินการนิเทศการปฏิบัติงานโครงการมีสวนรวม
ในการทํางานใหคําแนะนํา ปรึกษาใหการชวยเหลือ
ชวยแกไขจุดบกพรองและชี้แนะใหผูรับการนิเทศได
พัฒนาตนเอง
4. สรางขวัญและกําลังใจแกผูรับการนิเทศ เพื่อกระตุน
และสนับสนุนใหผูรับการนิเทศไดพัฒนาตนเอง
5. ดําเนินการประเมินผลการจัดการนิเทศการศึกษา
เพื่อหาทางปรับปรุงแกไขจุดบกพรองตาง ๆ และ
เพื่อหาทางยกระดับคุณภาพของการปฏิบัติงานให
สูงขึ้น
บทบาทหนาที่ของครูในฐานะผูรับการนิเทศ
1. ใหความรวมมือกับผูนิเทศในการรวมประชุมวางแผนแกปญหาภายในโรงเรียน โดยแสดงความคิดเห็นและอภิปราย
อยางเต็มความสามารถ
2. รับฟงความคิดเห็นและขอเสนอแนะแลวไปปฏิบัติ
3. ตั้งใจปฏิบัติงานตามหนาที่ที่ไดรับมอบหมายอยางเต็มความสามารถ
4. ใหความรวมมือผูนิเทศเปนอยางดีในเรื่องของการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน
5. รวมปรึกษากับครูผูนิเทศในการหาแนวทางแกไขปญญาและพัฒนางานในโรงเรียน
6. เปนผูมีสวนรวมในการนิเทศการสอนในชั้นเรียน
7. เปนผูที่ใฝหาความรู พยายามเสริมสรางทักษะและความสามารถในการปฏิบัติเพื่อใหเกิดเจตคติที่ดีตอการพัฒนา
วิชาชีพ
แนวทางการนิเทศการเรียนการสอนภายในโรงเรียน
โรงเรียนแมลานอยดรุณสิกข
การนิเทศการศึกษา
เปนกระบวนการทํางานรวมกันของผูบริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อใหไดมาซึ่ง
สัมฤทธิ์ผลสูงสุดในการเรียนรูของนักเรียน
จุดมงหมายของการนิเทศ
1. เพื่อพัฒนาคนและบุคลากรทางการศึกษา
2. เพื่อพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู
3. เพื่อการสรางความสัมพันธ
4. เพื่อสรางขวัญและกําลังใจ
หลักการสําคัญของการนิเทศการศึกษา
1. การนิเทศการศึกษาเปนกระบวนการ (การทํางานเปนขั้นตอน/มีความตอเนื่อง/เปนระบบ/ไมหยุด
นิ่ง/มีปฏิสัมพันธ) ทํางานรวมกันระหวางผูบริหารสถานศึกษา ผูนิเทศและผูรับการนิเทศ
2. เปาหมายสูงสุดอยูที่คุณภาพและผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรูของนักเรียน
3. เนนบรรยากาศ ที่เปนประชาธิปไตย
องคประกอบของการนิเทศภายในสถานศึกษา
1. บุคลากรนิเทศ ประกอบดวย ผูอํานวยการสถานศึกษา รองผูอํานวยการสถานศึกษาฝาย
วิชาการ หัวหนากลุมสาระการเรียนรู คณะนิเทศการจัดกระบวนการเรียนรู และครูผูสอน
2. วิธีการนิเทศ
2.1 กําหนดจุดมุงหมายการนิเทศ ที่สงเสริมการปฏิบัติงานและความรวมมือในการทํางานของครู
และคณะ สงเสริมใหครูรักงานวิชาการ ทํางานวิชาการอยางสม่ําเสมอและตอเนื่อง เคารพในหลักการและ
เหตุผล พยายามปรับปรุงคุณภาพของงาน และชวยเหลือใหครูปฏิบัติงานไดสะดวก มีโอกาสเพิ่มพูนความรู
ความเขาใจ มีเวลาปฏิบัติงานใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
2.2 กําหนดวิธีการหาขอมูล ศึกษาปญหาอุปสรรค และประเด็นที่ตองพัฒนา ไดแก การเขาเยี่ยม
ชั้นเรียน การสังเกต ปรึกษาหารือ ประเมินผลงานทางวิชาการของโรงเรียน
2.3 กําหนดวิธีหรือกิจกรรมการนิเทศ โดยพิจารณาเลือกวิธีการหรือกิจกรรมตอไปนี้ตามความ
เหมาะสมไดแก การปฐมนิเทศ การสาธิตการจัดกระบวนการเรียนรู การประชุม การอบรม
3. เครื่องมือที่ใชในการนิเทศ ไดแก แบบทดสอบ แบบสํารวจ แบบสังเกต แบบบันทึกพฤติกรรม
การจัดการเรียนรู แบบบันทึกบรรยากาศในชั้นเรียน และเอกสารอางอิง
การนิเทศการจัดกระบวนการเรียนรูในชั้นเรียน
การนิเทศการจัดกระบวนการเรียนรู เปน การชวยเหลือ อํานวยความสะดวก แนะนํา ชี้แจง บริการ
รวมมือ ปรับปรุง แกไข พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู เพื่อสงเสริมสนับสนุนใหครู ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง
แกไขและพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรูใหมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพสูงขึ้น ซึ่งจะตองอาศัยการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู การมีสวนรวมและรวมมือซึ่งกันและกันแบบกัลยาณมิตรระหวางผูนิเทศและผู รับการนิเทศ
ความสําคัญและความจําเปนของการนิเทศการจัดกระบวนการเรียนรู
1) ลดภาระของครูผูสอนทําใหมีเวลาคนควา ทดลอง วิจัยวิธีการจัดกระบวนการเรียนรูใหม ๆ
2) ชวยพิจารณาความเหมาะสมของงานใหถูกตองกับความสามารถและศักยภาพของครู และชวยใหครู
วางแผนการจัดกระบวนการเรียนรูได
3) ชวยสงเสริมขวัญและกําลังใจของคณะครูใหอยูในสภาพที่ดี เพื่อปฏิบัติงานตาง ๆ ในสถานศึกษา
รวมกันเปนทีม
4) ชวยประเมินผลงานการจัดกระบวนการเรียนรูของครู โดยอาศัยความเจริญงอกงามของนักเรียนเปน
สําคัญ
5) เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการจัดกระบวนการเรียนรูของครู
6) ครูตองมีความรูและความกาวหนาทางวิชาการใหม ๆ เสมอ
กระบวนการจัดกระบวนการเรียนในชั้นเรียน
1) การสรางความสัมพันธระหวางผูนิเทศกับครูผูสอน
2) การวางแผนการจัดกระบวนการเรียนรูและการสรางเครื่องมือ
3) การสังเกตพฤติกรรมการจัดกระบวนการเรียนรู
4) การวิเคราะหพฤติกรรมการจัดการเรียนรูรวมกัน
5) การปรับปรุงการจัดกระบวนการเรียนรู
กระบวนการนิเทศการจัดกระบวนการเรียนรูในชั้นเรียน
ขั้นตอนที่ 1 การสรางความสัมพันธระหวางผูนิเทศกับครูผูรับการนิเทศ
ขั้นตอนที่ 2 การปรึกษาหารือและเตรียมแผนการจัดกระบวนการเรียนรู
ขั้นตอนที่ 3 การสังเกตการจัดกระบวนการเรียนรู
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะหพฤติกรรมการจัดกระบวนการเรียนรูรวมกัน
ขั้นตอนที่ 5 การปรับปรุงและพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู
การนิเทศการสอนแบบคูสัญญา
(Buddy Supervision)
กรอบแนวคิด
การเปดโอกาสใหครูผูสอนไดนิเทศกันเอง ภายใตเงื่อนไขที่วา ผูที่จะแกปญหาไดดีที่สุด คือ ผูที่อยู
ใกลชิดปญหามากที่สุด
จุดประสงคของการนิเทศการสอนแบบคูสัญญา
1. เพื่อใหครูที่สอนวิชาเดียวกัน หรือชั้นเดียวกันสามารถนิเทศการสอนซึ่งกันและกันได
2. เพื่อใหครูที่สอนวิชาเดียวกัน หรือชั้นเดียวกัน ซึ่งมีปญหาอยางเดียวกัน สามารถสรางนวัตกรรมใหม
เพื่อใชแกปญหารวมกันได
3. เพื่อใหครูเกิดขวัญกําลังใจในการทํางานและใหครูเกิดเจตคติที่ดีตอการนิเทศภายใน
กระบวนการนิเทศการสอนแบบคูสัญญา
1. เสนอแนวคิด
2. สาธิตใหดู
3. อยากรูตองปฏิบัติ
4. อยากทราบผลใหชัดตองวัดและประเมินผล
ขั้นที่ 1 เสนอแนวคิด
1.1 ผูบริหารโรงเรียนเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการนิเทศแบบคูสัญญา
1.2 เมื่อครูยอมรับหลักการแลว ใหครูจับคูสัญญาที่มีปญหาการเรียนการสอนในสาระวิชาเดียวกัน ชั้น
เดียวกันหรือชวงชั้นเดียวกัน
1.3 คูสัญญาแตละคนเขียนแผนการสอนในวิชาที่มีปญหา หรือพฤติกรรมการสอนที่ตองการพัฒนา
ขั้นที่ 2 สาธิตใหดู (สมมุติวา ครู A เปนคูสัญญากับครู B)
2.1 ครู A สาธิตการสอนตามแผนการสอนของตน โดยมีครู B เปนผูสังเกต
2.2 ครู B สาธิตการสอนตามแผนการสอนของตนในวิชาที่มีปญหาเดียวกับครู A โดยมีครู A เปนผู
สังเกตการสอน
2.3 ครู A และ ครู B รวมกันวิเคราะห วิจารณจุดเดน จุดดอยของกัน และกัน แลวชวยกันปรับปรุง
2.4 ครู A และ ครู B นําจุดเดน และ จุดดอยของแตละคนมาบูรณาการ เพื่อสราง และพัฒนา
นวัตกรรม
ขั้นที่ 3 อยากรูตองปฏิบัติ
3.1 ครู A และ ครู B นําวิธีการสอนที่ไดรับการปรับปรุงตามขอ 2.4 มาใช
3.2 ครู A และ ครู B สังเกตการสอนซึ่งกัน และกันอีกครั้งหนึ่ง แลวสรุปผลการพัฒนาการสอน
ขั้นที่ 4 อยากทราบผลใหชัดตองวัดและประเมินผล
4.1 ครู A และ ครู B รวมกันวัด และประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน หากยังไมบรรลุ
จุดประสงคการเรียนรู คูสัญญาตองกลับไปคนควาหาความรูเพิ่มเติม
4.2 ถานักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนบรรลุตามจุดประสงคแลว คูสัญญาควรแสดงความยินดี
รวมกันเพื่อเปนขวัญกําลังใจ
เครื่องมือในการนิเทศการสอนแบบคูสัญญา
1. แบบสังเกตพฤติกรรมการสอน
2. แบบวิเคราะหการสังเกตการณสอน
การประเมินผลการนิเทศการสอนแบบคูสัญญา
1. การสังเกตการสอนโดยคูสัญญาผลัดกันทําการสอน และการใหขอมูลปอนกลับซึ่งกันและกัน
2. ตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
บทบาทของคูสัญญาในฐานะผูนิเทศการสอนและผูรับการนิเทศ
1. คูสัญญาตองเปนบุคคลที่มีกัลยาณมิตรตอกัน
2. คูสัญญาตองเปดใจกวาง
3. คูสัญญาตองมีความรูและทักษะในการวิเคราะห วิจารณอยางมีเหตุผลโดยปราศจากอคติ
4. คูสัญญาตองหมั่นแสวงหาความรูใหมๆ อยูเสมอ
บทบาทของผูบริหารโรงเรียนในการนิเทศการสอนแบบคูสัญญา
1. สามารถเสนอแนวคิดใหมๆ เกี่ยวกับการเรียนการสอน
2. ใหการสนับสนุนดานงบประมาณ วัสดุอุปกรณ หนังสือ เอกสาร รวมทั้งขวัญกําลังใจครู
3. ไมกาวกายการทํางานของครูมากเกินความจําเปนเพราะจะกลายเปนการตรวจตราหรือจับผิด
ตอนที่ ๑ การนิเทศกอนการสอน
ชื่อวิชา ....................................รหัสวิชา............................นิเทศวันที่........................................ชื่อเรื่อง..........................................................
จุดนิเทศ
การนิเทศครั้งที่ ๑ การนิเทศครั้งที่ ๒ การนิเทศครั้งที่ ๓ การนิเทศครั้งที่ ๔ การนิเทศครั้งที่ ๕
คะแนน
ตัวคูณ
ผลคูณ
คะแนน
ตัวคูณ
ผลคูณ
คะแนน
ตัวคูณ
ผลคูณ
คะแนน
ตัวคูณ
ผลคูณ
คะแนน
ตัวคูณ
ผลคูณ
การวิเคราะหหลักสูตรรายวิชา
๑. มีหัวขอเรื่อง กะทัดรัด อานเขาใจงาย มีความหมาย
ชัดเจน ตรงกับคําอธิบายรายวิชา
3 3 3 3 3
๒. ใชแหลงขอมูลที่นาเชื่อถือไดในการ วิเคราะหหัวขอ
เรื่อง เพื่อใหไดหัวขอหลักและหัวขอยอยที่ตองสอน
2 2 2 2 2
การเขียนตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู
๓. ตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู ความหมายชัดเจน และ
ถูกตองตามหลักวิธีการเขียน
3 3 3 3 3
๔. ตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรูมีครบถวนตามการ
วิเคราะหหัวเรื่อง
3 3 3 3 3
๕. ระดับของตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรูที่ถูกตอง และ
ตรงตามการวิเคราะหหัวขอเรื่อง
3 3 3 3 3
การสรางใบความรู
๖. เนื้อหาเรื่องลําดับตามตัวชี้วัด หรือ ผลการเรียนรู
เนื้อหาครบถวน ถูกตอง และทันสมัย
3 3 3 3 3
จุดนิเทศ
การนิเทศครั้งที่ ๑ การนิเทศครั้งที่ ๒ การนิเทศครั้งที่ ๓ การนิเทศครั้งที่ ๔ การนิเทศครั้งที่ ๕
คะแนน
ตัวคูณ
ผลคูณ
คะแนน
ตัวคูณ
ผลคูณ
คะแนน
ตัวคูณ
ผลคูณ
คะแนน
ตัวคูณ
ผลคูณ
คะแนน
ตัวคูณ
ผลคูณ
๗. เนื้อหากะทัดรัดอานเขาใจงาย ไดความชัดเจน ใน
รูปแบบการบรรยายไดดี มีขนาดเหมาะสมมีการเนน
หัวขอหลัก หัวขอรองและจุดสําคัญชัดเจน
2 2 2 2 2
การสรางแบบฝกหัดและแบบทดสอบ
๘. ขอสอบตรงและครบตามตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู
วัดผลผูเรียนไดตรงกับระดับการเรียนรู
3 3 3 3 3
๙. คําถามมีความหมายชัดเจนอานเขาใจงาย และมี
คําตอบแนนอน พิมพไดถูกตอง ชัดเจน และถูกตองตาม
ลักษณะของประเภทขอสอบ
3 3 3 3 3
การออกแบบการสรางสื่อการสอน
๑๐. สื่อการสอนตรงและครบถวนตามตัวชี้วัด หรือผล
การเรียนรูและเนื้อหา
3 3 3 3 3
๑๑. สื่อการสอนมีความเหมาะสม สวยงาม ประณีต จูง
ใจใหผูเรียนสนใจบทเรียน และชวยใหผูเรียนเขาใจ
เนื้อหาไดงาย
3 3 3 3 3
จุดนิเทศ
การนิเทศครั้งที่ ๑ การนิเทศครั้งที่ ๒ การนิเทศครั้งที่ ๓ การนิเทศครั้งที่ ๔ การนิเทศครั้งที่ ๕
คะแนน
ตัวคูณ
ผลคูณ
คะแนน
ตัวคูณ
ผลคูณ
คะแนน
ตัวคูณ
ผลคูณ
คะแนน
ตัวคูณ
ผลคูณ
คะแนน
ตัวคูณ
ผลคูณ
การวางแผนและการเขียนแผนการจัดการเรียนรู
๑๒. มีองคประกอบของแผนการจัดการเรียนรูที่
ครบถวน และบันทึกขอมูลลงในแผนการจัดการเรียนรู
ถูกตองสมบูรณ อานงาย และเปนระเบียบ
3 3 3 3 3
๑๓. แบงเวลาไดเหมาะสมกับตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู
เนื้อหา และแบงเวลาไดครบทุกกระบวนการเรียนรู
3 3 3 3 3
๑๔. เลือกวิธีการสอนไดเหมาะสมกับ ตัวชี้วัด หรือผล
การเรียนรู ผูเรียน และทรัพยากรที่มีอยู
3 3 3 3 3
๑๕. มีเอกสารและสิ่งที่แนบมาถวยครบตามที่ไดระบุไว
ในแผนการจัดการเรียนรูครบถวน
3 3 3 3 3
ผลรวม 43 43 43 43 43
คิดเปนรอยละ
ระดับคุณภาพ
 รอยละ =
ผลรวมของผลคูณ ×
×
ตอนที่ ๒ การนิเทศขณะปฏิบัติการสอน
เริ่มสอนเวลา.........................น. สอนเสร็จเวลา ............................น. รวมเวลา ........................... ชั่วโมง
จุดนิเทศ
การนิเทศครั้งที่ ๑ การนิเทศครั้งที่ ๒ การนิเทศครั้งที่ ๓ การนิเทศครั้งที่ ๔ การนิเทศครั้งที่ ๕
คะแนน
ตัวคูณ
ผลคูณ
คะแนน
ตัวคูณ
ผลคูณ
คะแนน
ตัวคูณ
ผลคูณ
คะแนน
ตัวคูณ
ผลคูณ
คะแนน
ตัวคูณ
ผลคูณ
เทคนิคและวิธีการสอน
๑. ใหเนื้อหาครบตามตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู ไมมีจุดผิด
3 3 3 3 3
๒. ใหเนื้อหาตามลําดับ แยกยอยเนื้อหา ทําใหผูเรียนเขาใจ
งายและสรุปเนื้อหาที่สําคัญทุกครั้ง
3 3 3 3 3
๓. ใชเทคนิควิธีการสอน เพื่อใหผูเรียนสนใจกับบทเรียน
ตลอดเวลา โดยใหผูเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนการ
สอน สงเสริมใหผูเรียนเรียนรูดวยความเขาใจ และมีการชมเชย
ใหกําลังใจ
3 3 3 3 3
การใชสื่อการสอน
๔. ใชสื่อประกอบการสอนในชวงจังหวะที่เหมาะสม ดวย
วิธีการที่เหมาะสมชวยใหผูเรียนเขาใจเนื้อหาไดงาย
3 3 3 3 3
๕. ใชสื่ออยางถูกตอง คลองแคลว กระชับ และคุมคา 2 2 2 2 2
พฤติกรรมผูสอน
๖. ใชคําพูดและภาษาที่เขาใจงาย ทุกคนสามารถเขาใจไดดี
เสียงดังฟงชัด อักขระถูกตองชัดเจน มีน้ําเสียงเราอารมณ
จังหวัดการพูดนาสนใจไมเร็วหรือชามากเกินไป
3 3 3 3 3
จุดนิเทศ
การนิเทศครั้งที่ ๑ การนิเทศครั้งที่ ๒ การนิเทศครั้งที่ ๓ การนิเทศครั้งที่ ๔ การนิเทศครั้งที่ ๕
คะแนน
ตัวคูณ
ผลคูณ
คะแนน
ตัวคูณ
ผลคูณ
คะแนน
ตัวคูณ
ผลคูณ
คะแนน
ตัวคูณ
ผลคูณ
คะแนน
ตัวคูณ
ผลคูณ
๗. มีปฏิสัมพันธที่ดีกับผูเรียน มีความเปนกันเอง มีความสนใจ
ผูเรียน ยิ้มแยมแจมใส มีสีหนาทาทางนาสนใจ
2 2 2 2 2
กระบวนการเรียนรูและกระบวนการสอน
๘. มีกระบวนการเรียนรูและกระบวนการสอนครบและปฏิบัติ
ไดอยางถูกตองตามกระบวนการ
3 3 3 3 3
๙. ใชเวลาในการสอนในแตละขั้นตอนของกระบวนการเรียนรู
ตรงตามแผนการสอนที่ตั้งไว
2 2 2 2 2
ผลรวม 24 24 24 24 24
คิดเปนรอยละ
ระดับคุณภาพ
 รอยละ =
ผลรวมของผลคูณ ×
×
ตอนที่ ๓ การนิเทศหลังการสอน
จุดนิเทศ
การนิเทศครั้งที่ ๑ การนิเทศครั้งที่ ๒ การนิเทศครั้งที่ ๓ การนิเทศครั้งที่ ๔ การนิเทศครั้งที่ ๕
คะแนน
ตัวคูณ
ผลคูณ
คะแนน
ตัวคูณ
ผลคูณ
คะแนน
ตัวคูณ
ผลคูณ
คะแนน
ตัวคูณ
ผลคูณ
คะแนน
ตัวคูณ
ผลคูณ
การนิเทศตนเอง
๑. ครูผูสอนสามารถวิเคราะหขอดีและขอบกพรองของตนเอง
ได
3 3 3 3 3
๒. ครูผูสอนสามารถบอกแนวทางการแกไขวิธีการสอนของ
ตนเองได
3 3 3 3 3
การปรับปรุงและแกไขแผนการจัดการเรียนรู
๓. ครูผูสอนไดนําผลการนิเทศมาวิเคราะหเพื่อปรับปรุง
แผนการจัดการเรียนรู เชน การเขียนวัตถุประสงค การแบง
เวลา สื่อการสอน ใบความรู อื่น ๆ
3 3 3 3 3
๔. ครูผูสอนนําผลการเรียนรูของผูเรียน จากการทําแบบฝกหัด
และแบบทดสอบมาวิเคราะหเพื่อปรับปรุงแผนการจัดการ
เรียนรูของตนเอง เชน ใบความรู วิธีการสอน แบบฝกหัด
แบบทดสอบ อื่น ๆ
3 3 3 3 3
การประเมินผลและการปรับผูเรียน
๕. ครูผูสอนไดมีการตรวจประเมินผลงาน เชน แบบฝกหัด
แบบทดสอบ อื่น ๆ โดยมีเกณฑการประเมินที่ชัดเจน
ตรวจสอบได
2 2 2 2 2
จุดนิเทศ
การนิเทศครั้งที่ ๑ การนิเทศครั้งที่ ๒ การนิเทศครั้งที่ ๓ การนิเทศครั้งที่ ๔ การนิเทศครั้งที่ ๕
คะแนน
ตัวคูณ
ผลคูณ
คะแนน
ตัวคูณ
ผลคูณ
คะแนน
ตัวคูณ
ผลคูณ
คะแนน
ตัวคูณ
ผลคูณ
คะแนน
ตัวคูณ
ผลคูณ
๖. ครูผูสอนไดมีการแจงผลการเรียนรู ตัวชี้วัด ใหกับผูเรียน 2 2 2 2 2
๗. ครูผูสอนไดชี้แนะความบกพรองและแนวทางการแกไข
ปญหาใหกับผูเรียนทุกคน
2 2 2 2 2
ผลรวม 18 18 18 18 18
คิดเปนรอยละ
ระดับคุณภาพ
 รอยละ =
ผลรวมของผลคูณ ×
×
ตอนที่ ๔ สรุปผลการนิเทศการสอน
คําชี้แจง
ใหผูนิเทศนําผลการนิเทศคิดเปนรอยละ มาเทียบกับเกณฑที่กําหนดใหดังนี้
รอยละ ระดับคุณภาพ
๙๐ ขึ้นไป ดีเยี่ยม
๗๕ – ๘๙ ดี
๖๐ – ๗๔ ปานกลาง
๓๐ – ๕๙ ต่ํา
ต่ํากวา ๓๐ ปรับปรุง
สรุปผลการนิเทศการสอน
การนิเทศครั้งที่ รอยละของคะแนน
การนิเทศกอนการสอน การนิเทศขณะ
ปฏิบัติการสอน
การนิเทศหลังการสอน
การนิเทศครั้งที่ ๑
การนิเทศครั้งที่ ๒
การนิเทศครั้งที่ ๓
การนิเทศครั้งที่ ๔
การนิเทศครั้งที่ ๕
เฉลี่ย
ระดับคุณภาพรวม
ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ลงชื่อผูนิเทศ...................................................
(……………………………………………..)
…………../……………………/………………….
ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ลงชื่อ...................................................
(นายจรัสพงษ มูลใจ)
กลุมงานวิจัยและพัฒนาการเรียนการสอน
ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ลงชื่อ...................................................
(นางสาวอัมพร เกิดแสง)
หัวหนากลุมบริหารงานวิชาการ
ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ลงชื่อ...................................................
(นายวุฒิไกร วรรณการ )
รองผูอํานวยการฝายวิชาการ
ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ลงชื่อ...................................................
(นายวิเชียร ชูเกียรติ )
ผูอํานวยการโรงเรียนแมลานอยดรุณสิกข

More Related Content

What's hot

สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีPakornkrits
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3ทศพล พรหมภักดี
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์koorimkhong
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์บุษรากร ขนันทอง
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์Rapheephan Phola
 
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553Yutthana Sriumnaj
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมkrookay2012
 
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคสมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคNinnin Ja
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมProud N. Boonrak
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1ยัยบ๊อง จอมแสบ
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัดPiriya Sisod
 

What's hot (20)

สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์
 
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
 
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคสมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
 

Similar to เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู

แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3sompriaw aums
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานkruthai40
 
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3sompriaw aums
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6sompriaw aums
 
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc Aobinta In
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6Napadon Yingyongsakul
 
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนโครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนMontira Butyothee
 
ส่วนหน้าแผนสื่อประสม
ส่วนหน้าแผนสื่อประสมส่วนหน้าแผนสื่อประสม
ส่วนหน้าแผนสื่อประสมkrupornpana55
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333Chirinee Deeraksa
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพpronprom11
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพpronprom11
 
ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]Aon Narinchoti
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54Jiraporn
 

Similar to เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู (20)

แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
 
แผนการสอนอาเชี่ยนศึกษา ม.1 3
แผนการสอนอาเชี่ยนศึกษา ม.1 3แผนการสอนอาเชี่ยนศึกษา ม.1 3
แผนการสอนอาเชี่ยนศึกษา ม.1 3
 
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
 
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
 
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนโครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
 
วิชาการ
วิชาการวิชาการ
วิชาการ
 
ส่วนหน้าแผนสื่อประสม
ส่วนหน้าแผนสื่อประสมส่วนหน้าแผนสื่อประสม
ส่วนหน้าแผนสื่อประสม
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
 
ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]
 
Kamon
KamonKamon
Kamon
 
Kamon1
Kamon1Kamon1
Kamon1
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
คู่มือวัดผล 51
คู่มือวัดผล 51คู่มือวัดผล 51
คู่มือวัดผล 51
 
Id plan
Id planId plan
Id plan
 

เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู

  • 1. แบบนิเทศการสอนภายใน ชื่อครูผูสอน....................................นามสกุล.......................... กลุมสาระการเรียนรู............................................... ภาคเรียนที่ ๒ ปการศึกษา ๒๕๕๓ งานวิจัยและพัฒนาการเรียนการสอน โรงเรียนแมลานอยดรุณสิกข สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต ๓๔ กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คูมือการใชเอกสารนิเทศการสอน คําชี้แจง ๑. เอกสารนิเทศการสอนนี้มีตารางสําหรับการนิเทศ ๕ ครั้งโดยแบงรายละเอียดของการนิเทศแตละ ครั้งออกเปน ๔ ตอน คือ ตอนที่ ๑ การนิเทศกอนการสอน ตอนที่ ๒ การนิเทศขณะสอน ตอนที่ ๓ การนิเทศหลังการสอน ตอนที่ ๔ สรุปผลการนิเทศการสอน วิธีการกรอกขอมูลลงในแบบนิเทศสําหรับตอนที่ ๑-๓ ๑. การนิเทศกอนการสอน ขณะสอน และหลังสอน เมื่อผูนิเทศสังเกตเห็นจุดที่ทําการนิเทศให พิจารณาเลือกระดับคะแนน ๓, ๒, ๑ หรือ ๐ ลงในชองระดับคะแนนของการนิเทศแตละครั้ง ๒. การคิดคะแนน เมื่อผูนิเทศไดนิเทศครบ ๓ ตอนแลวในแตละครั้ง นําคะแนนที่กรอกในชองระดับ คะแนน คูณกับชองน้ําหนักคะแนนที่กําหนดให จากนั้นนําผลคูณทั้งหมดแตละตอนมาคิดเปนคา รอยละกรอกลงในชองสรุป วิธีการกรอกขอมูลลงในแบบนิเทศสําหรับตอนที่ ๔ ๑. สรุปผลการนิเทศการสอน ใหผูนิเทศนําผลคะแนนรอยละจากการนิเทศในตอนที่ ๑-๓ ของการ นิเทศแตละครั้ง บันทึกลงในตารางผลสรุปการนิเทศ แลวหาคาเฉลี่ยจากการนิเทศ ๕ ครั้ง ๒. ผูนิเทศกําหนดระดับคุณภาพการสอนโดยเทียบกับเกณฑที่กําหนดดังตาราง ๓. สรุปผลการนิเทศการสอน บันทึกขอเสนอแนะ ขอคิดเห็น รอยละ ระดับคุณภาพของการนิเทศ ๙๐ ขึ้นไป ดีเยี่ยม ๗๕ – ๘๙ ดี ๖๐ – ๗๔ ปานกลาง ๓๐ – ๕๙ ต่ํา ต่ํากวา ๓๐ ปรับปรุง
  • 3. บทบาทและหนาที่ของผูบริหารโรงเรียนและครูกับการนิเทศภายในโรงเรียน ผูบริหาร บทบาทหนาที่ของครูในฐานะครูผูนิเทศ 1. เปนผูนิเทศภายในโรงเรียนรวมกับคณะนิเทศ 2. สงเสริมใหครูมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการนิเทศ ภายในโรงเรียนอยางแทจริง 3. รวมประชุมวางแผนการนิเทศภายในกับผูนิเทศในฐานะ ประธานฯ 4. พิจารณาอนุมัติโครงการนิเทศภายในที่สอดคลองกับ นโยบายและแผนงานโรงเรียน 5. เปนผูประสานงานระหวางผูนิเทศและผูรับการนิเทศ 6. ใหการสนับสนุนดานอุปกรณงบประมาณ ขวัญกําลังใจใน การดําเนินโครงการ 7. ใหคําปรึกษาแนะนําและเปนวิทยากรที่ดีแกผูรับการ นิเทศ 8. ชวยเหลือและสงเสริมใหครูมีความรูและมีพัฒนาการทาง วิชาชีพ เชน การสงเขาอบรม การอนุญาตใหศึกษาตอ 9. ใชเทคนิคการบริหารมาชวยเพิ่มประสิทธิภาพการนิเทศ ภายใน 10. ติดตามและประเมินผลการจัดการนิเทศภายใน โรงเรียน 1. รวมวางแผนในการปฏิบัติงานโดยมีสวนรวมในการ คิดวิเคราะหสภาพปญหาและความตองการรวมทั้ง วางแนวทางในการปฏิบัติงาน 2. เปนวิทยากรใหความรูในสิ่งที่จะปฏิบัติหรือเชิญ วิทยากรจากแหลงวิชาการอื่นมาชวยใหความรูแก ผูรับการ นิเทศ 3. ดําเนินการนิเทศการปฏิบัติงานโครงการมีสวนรวม ในการทํางานใหคําแนะนํา ปรึกษาใหการชวยเหลือ ชวยแกไขจุดบกพรองและชี้แนะใหผูรับการนิเทศได พัฒนาตนเอง 4. สรางขวัญและกําลังใจแกผูรับการนิเทศ เพื่อกระตุน และสนับสนุนใหผูรับการนิเทศไดพัฒนาตนเอง 5. ดําเนินการประเมินผลการจัดการนิเทศการศึกษา เพื่อหาทางปรับปรุงแกไขจุดบกพรองตาง ๆ และ เพื่อหาทางยกระดับคุณภาพของการปฏิบัติงานให สูงขึ้น บทบาทหนาที่ของครูในฐานะผูรับการนิเทศ 1. ใหความรวมมือกับผูนิเทศในการรวมประชุมวางแผนแกปญหาภายในโรงเรียน โดยแสดงความคิดเห็นและอภิปราย อยางเต็มความสามารถ 2. รับฟงความคิดเห็นและขอเสนอแนะแลวไปปฏิบัติ 3. ตั้งใจปฏิบัติงานตามหนาที่ที่ไดรับมอบหมายอยางเต็มความสามารถ 4. ใหความรวมมือผูนิเทศเปนอยางดีในเรื่องของการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน 5. รวมปรึกษากับครูผูนิเทศในการหาแนวทางแกไขปญญาและพัฒนางานในโรงเรียน 6. เปนผูมีสวนรวมในการนิเทศการสอนในชั้นเรียน 7. เปนผูที่ใฝหาความรู พยายามเสริมสรางทักษะและความสามารถในการปฏิบัติเพื่อใหเกิดเจตคติที่ดีตอการพัฒนา วิชาชีพ
  • 4. แนวทางการนิเทศการเรียนการสอนภายในโรงเรียน โรงเรียนแมลานอยดรุณสิกข การนิเทศการศึกษา เปนกระบวนการทํางานรวมกันของผูบริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อใหไดมาซึ่ง สัมฤทธิ์ผลสูงสุดในการเรียนรูของนักเรียน จุดมงหมายของการนิเทศ 1. เพื่อพัฒนาคนและบุคลากรทางการศึกษา 2. เพื่อพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู 3. เพื่อการสรางความสัมพันธ 4. เพื่อสรางขวัญและกําลังใจ หลักการสําคัญของการนิเทศการศึกษา 1. การนิเทศการศึกษาเปนกระบวนการ (การทํางานเปนขั้นตอน/มีความตอเนื่อง/เปนระบบ/ไมหยุด นิ่ง/มีปฏิสัมพันธ) ทํางานรวมกันระหวางผูบริหารสถานศึกษา ผูนิเทศและผูรับการนิเทศ 2. เปาหมายสูงสุดอยูที่คุณภาพและผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรูของนักเรียน 3. เนนบรรยากาศ ที่เปนประชาธิปไตย องคประกอบของการนิเทศภายในสถานศึกษา 1. บุคลากรนิเทศ ประกอบดวย ผูอํานวยการสถานศึกษา รองผูอํานวยการสถานศึกษาฝาย วิชาการ หัวหนากลุมสาระการเรียนรู คณะนิเทศการจัดกระบวนการเรียนรู และครูผูสอน 2. วิธีการนิเทศ 2.1 กําหนดจุดมุงหมายการนิเทศ ที่สงเสริมการปฏิบัติงานและความรวมมือในการทํางานของครู และคณะ สงเสริมใหครูรักงานวิชาการ ทํางานวิชาการอยางสม่ําเสมอและตอเนื่อง เคารพในหลักการและ เหตุผล พยายามปรับปรุงคุณภาพของงาน และชวยเหลือใหครูปฏิบัติงานไดสะดวก มีโอกาสเพิ่มพูนความรู ความเขาใจ มีเวลาปฏิบัติงานใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ 2.2 กําหนดวิธีการหาขอมูล ศึกษาปญหาอุปสรรค และประเด็นที่ตองพัฒนา ไดแก การเขาเยี่ยม ชั้นเรียน การสังเกต ปรึกษาหารือ ประเมินผลงานทางวิชาการของโรงเรียน 2.3 กําหนดวิธีหรือกิจกรรมการนิเทศ โดยพิจารณาเลือกวิธีการหรือกิจกรรมตอไปนี้ตามความ เหมาะสมไดแก การปฐมนิเทศ การสาธิตการจัดกระบวนการเรียนรู การประชุม การอบรม 3. เครื่องมือที่ใชในการนิเทศ ไดแก แบบทดสอบ แบบสํารวจ แบบสังเกต แบบบันทึกพฤติกรรม การจัดการเรียนรู แบบบันทึกบรรยากาศในชั้นเรียน และเอกสารอางอิง
  • 5. การนิเทศการจัดกระบวนการเรียนรูในชั้นเรียน การนิเทศการจัดกระบวนการเรียนรู เปน การชวยเหลือ อํานวยความสะดวก แนะนํา ชี้แจง บริการ รวมมือ ปรับปรุง แกไข พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู เพื่อสงเสริมสนับสนุนใหครู ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง แกไขและพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรูใหมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพสูงขึ้น ซึ่งจะตองอาศัยการ แลกเปลี่ยนเรียนรู การมีสวนรวมและรวมมือซึ่งกันและกันแบบกัลยาณมิตรระหวางผูนิเทศและผู รับการนิเทศ ความสําคัญและความจําเปนของการนิเทศการจัดกระบวนการเรียนรู 1) ลดภาระของครูผูสอนทําใหมีเวลาคนควา ทดลอง วิจัยวิธีการจัดกระบวนการเรียนรูใหม ๆ 2) ชวยพิจารณาความเหมาะสมของงานใหถูกตองกับความสามารถและศักยภาพของครู และชวยใหครู วางแผนการจัดกระบวนการเรียนรูได 3) ชวยสงเสริมขวัญและกําลังใจของคณะครูใหอยูในสภาพที่ดี เพื่อปฏิบัติงานตาง ๆ ในสถานศึกษา รวมกันเปนทีม 4) ชวยประเมินผลงานการจัดกระบวนการเรียนรูของครู โดยอาศัยความเจริญงอกงามของนักเรียนเปน สําคัญ 5) เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการจัดกระบวนการเรียนรูของครู 6) ครูตองมีความรูและความกาวหนาทางวิชาการใหม ๆ เสมอ กระบวนการจัดกระบวนการเรียนในชั้นเรียน 1) การสรางความสัมพันธระหวางผูนิเทศกับครูผูสอน 2) การวางแผนการจัดกระบวนการเรียนรูและการสรางเครื่องมือ 3) การสังเกตพฤติกรรมการจัดกระบวนการเรียนรู 4) การวิเคราะหพฤติกรรมการจัดการเรียนรูรวมกัน 5) การปรับปรุงการจัดกระบวนการเรียนรู กระบวนการนิเทศการจัดกระบวนการเรียนรูในชั้นเรียน ขั้นตอนที่ 1 การสรางความสัมพันธระหวางผูนิเทศกับครูผูรับการนิเทศ ขั้นตอนที่ 2 การปรึกษาหารือและเตรียมแผนการจัดกระบวนการเรียนรู ขั้นตอนที่ 3 การสังเกตการจัดกระบวนการเรียนรู ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะหพฤติกรรมการจัดกระบวนการเรียนรูรวมกัน ขั้นตอนที่ 5 การปรับปรุงและพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู
  • 6. การนิเทศการสอนแบบคูสัญญา (Buddy Supervision) กรอบแนวคิด การเปดโอกาสใหครูผูสอนไดนิเทศกันเอง ภายใตเงื่อนไขที่วา ผูที่จะแกปญหาไดดีที่สุด คือ ผูที่อยู ใกลชิดปญหามากที่สุด จุดประสงคของการนิเทศการสอนแบบคูสัญญา 1. เพื่อใหครูที่สอนวิชาเดียวกัน หรือชั้นเดียวกันสามารถนิเทศการสอนซึ่งกันและกันได 2. เพื่อใหครูที่สอนวิชาเดียวกัน หรือชั้นเดียวกัน ซึ่งมีปญหาอยางเดียวกัน สามารถสรางนวัตกรรมใหม เพื่อใชแกปญหารวมกันได 3. เพื่อใหครูเกิดขวัญกําลังใจในการทํางานและใหครูเกิดเจตคติที่ดีตอการนิเทศภายใน กระบวนการนิเทศการสอนแบบคูสัญญา 1. เสนอแนวคิด 2. สาธิตใหดู 3. อยากรูตองปฏิบัติ 4. อยากทราบผลใหชัดตองวัดและประเมินผล ขั้นที่ 1 เสนอแนวคิด 1.1 ผูบริหารโรงเรียนเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการนิเทศแบบคูสัญญา 1.2 เมื่อครูยอมรับหลักการแลว ใหครูจับคูสัญญาที่มีปญหาการเรียนการสอนในสาระวิชาเดียวกัน ชั้น เดียวกันหรือชวงชั้นเดียวกัน 1.3 คูสัญญาแตละคนเขียนแผนการสอนในวิชาที่มีปญหา หรือพฤติกรรมการสอนที่ตองการพัฒนา ขั้นที่ 2 สาธิตใหดู (สมมุติวา ครู A เปนคูสัญญากับครู B) 2.1 ครู A สาธิตการสอนตามแผนการสอนของตน โดยมีครู B เปนผูสังเกต 2.2 ครู B สาธิตการสอนตามแผนการสอนของตนในวิชาที่มีปญหาเดียวกับครู A โดยมีครู A เปนผู สังเกตการสอน 2.3 ครู A และ ครู B รวมกันวิเคราะห วิจารณจุดเดน จุดดอยของกัน และกัน แลวชวยกันปรับปรุง 2.4 ครู A และ ครู B นําจุดเดน และ จุดดอยของแตละคนมาบูรณาการ เพื่อสราง และพัฒนา นวัตกรรม ขั้นที่ 3 อยากรูตองปฏิบัติ 3.1 ครู A และ ครู B นําวิธีการสอนที่ไดรับการปรับปรุงตามขอ 2.4 มาใช 3.2 ครู A และ ครู B สังเกตการสอนซึ่งกัน และกันอีกครั้งหนึ่ง แลวสรุปผลการพัฒนาการสอน ขั้นที่ 4 อยากทราบผลใหชัดตองวัดและประเมินผล 4.1 ครู A และ ครู B รวมกันวัด และประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน หากยังไมบรรลุ จุดประสงคการเรียนรู คูสัญญาตองกลับไปคนควาหาความรูเพิ่มเติม
  • 7. 4.2 ถานักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนบรรลุตามจุดประสงคแลว คูสัญญาควรแสดงความยินดี รวมกันเพื่อเปนขวัญกําลังใจ เครื่องมือในการนิเทศการสอนแบบคูสัญญา 1. แบบสังเกตพฤติกรรมการสอน 2. แบบวิเคราะหการสังเกตการณสอน การประเมินผลการนิเทศการสอนแบบคูสัญญา 1. การสังเกตการสอนโดยคูสัญญาผลัดกันทําการสอน และการใหขอมูลปอนกลับซึ่งกันและกัน 2. ตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน บทบาทของคูสัญญาในฐานะผูนิเทศการสอนและผูรับการนิเทศ 1. คูสัญญาตองเปนบุคคลที่มีกัลยาณมิตรตอกัน 2. คูสัญญาตองเปดใจกวาง 3. คูสัญญาตองมีความรูและทักษะในการวิเคราะห วิจารณอยางมีเหตุผลโดยปราศจากอคติ 4. คูสัญญาตองหมั่นแสวงหาความรูใหมๆ อยูเสมอ บทบาทของผูบริหารโรงเรียนในการนิเทศการสอนแบบคูสัญญา 1. สามารถเสนอแนวคิดใหมๆ เกี่ยวกับการเรียนการสอน 2. ใหการสนับสนุนดานงบประมาณ วัสดุอุปกรณ หนังสือ เอกสาร รวมทั้งขวัญกําลังใจครู 3. ไมกาวกายการทํางานของครูมากเกินความจําเปนเพราะจะกลายเปนการตรวจตราหรือจับผิด
  • 8. ตอนที่ ๑ การนิเทศกอนการสอน ชื่อวิชา ....................................รหัสวิชา............................นิเทศวันที่........................................ชื่อเรื่อง.......................................................... จุดนิเทศ การนิเทศครั้งที่ ๑ การนิเทศครั้งที่ ๒ การนิเทศครั้งที่ ๓ การนิเทศครั้งที่ ๔ การนิเทศครั้งที่ ๕ คะแนน ตัวคูณ ผลคูณ คะแนน ตัวคูณ ผลคูณ คะแนน ตัวคูณ ผลคูณ คะแนน ตัวคูณ ผลคูณ คะแนน ตัวคูณ ผลคูณ การวิเคราะหหลักสูตรรายวิชา ๑. มีหัวขอเรื่อง กะทัดรัด อานเขาใจงาย มีความหมาย ชัดเจน ตรงกับคําอธิบายรายวิชา 3 3 3 3 3 ๒. ใชแหลงขอมูลที่นาเชื่อถือไดในการ วิเคราะหหัวขอ เรื่อง เพื่อใหไดหัวขอหลักและหัวขอยอยที่ตองสอน 2 2 2 2 2 การเขียนตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู ๓. ตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู ความหมายชัดเจน และ ถูกตองตามหลักวิธีการเขียน 3 3 3 3 3 ๔. ตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรูมีครบถวนตามการ วิเคราะหหัวเรื่อง 3 3 3 3 3 ๕. ระดับของตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรูที่ถูกตอง และ ตรงตามการวิเคราะหหัวขอเรื่อง 3 3 3 3 3 การสรางใบความรู ๖. เนื้อหาเรื่องลําดับตามตัวชี้วัด หรือ ผลการเรียนรู เนื้อหาครบถวน ถูกตอง และทันสมัย 3 3 3 3 3
  • 9. จุดนิเทศ การนิเทศครั้งที่ ๑ การนิเทศครั้งที่ ๒ การนิเทศครั้งที่ ๓ การนิเทศครั้งที่ ๔ การนิเทศครั้งที่ ๕ คะแนน ตัวคูณ ผลคูณ คะแนน ตัวคูณ ผลคูณ คะแนน ตัวคูณ ผลคูณ คะแนน ตัวคูณ ผลคูณ คะแนน ตัวคูณ ผลคูณ ๗. เนื้อหากะทัดรัดอานเขาใจงาย ไดความชัดเจน ใน รูปแบบการบรรยายไดดี มีขนาดเหมาะสมมีการเนน หัวขอหลัก หัวขอรองและจุดสําคัญชัดเจน 2 2 2 2 2 การสรางแบบฝกหัดและแบบทดสอบ ๘. ขอสอบตรงและครบตามตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู วัดผลผูเรียนไดตรงกับระดับการเรียนรู 3 3 3 3 3 ๙. คําถามมีความหมายชัดเจนอานเขาใจงาย และมี คําตอบแนนอน พิมพไดถูกตอง ชัดเจน และถูกตองตาม ลักษณะของประเภทขอสอบ 3 3 3 3 3 การออกแบบการสรางสื่อการสอน ๑๐. สื่อการสอนตรงและครบถวนตามตัวชี้วัด หรือผล การเรียนรูและเนื้อหา 3 3 3 3 3 ๑๑. สื่อการสอนมีความเหมาะสม สวยงาม ประณีต จูง ใจใหผูเรียนสนใจบทเรียน และชวยใหผูเรียนเขาใจ เนื้อหาไดงาย 3 3 3 3 3
  • 10. จุดนิเทศ การนิเทศครั้งที่ ๑ การนิเทศครั้งที่ ๒ การนิเทศครั้งที่ ๓ การนิเทศครั้งที่ ๔ การนิเทศครั้งที่ ๕ คะแนน ตัวคูณ ผลคูณ คะแนน ตัวคูณ ผลคูณ คะแนน ตัวคูณ ผลคูณ คะแนน ตัวคูณ ผลคูณ คะแนน ตัวคูณ ผลคูณ การวางแผนและการเขียนแผนการจัดการเรียนรู ๑๒. มีองคประกอบของแผนการจัดการเรียนรูที่ ครบถวน และบันทึกขอมูลลงในแผนการจัดการเรียนรู ถูกตองสมบูรณ อานงาย และเปนระเบียบ 3 3 3 3 3 ๑๓. แบงเวลาไดเหมาะสมกับตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู เนื้อหา และแบงเวลาไดครบทุกกระบวนการเรียนรู 3 3 3 3 3 ๑๔. เลือกวิธีการสอนไดเหมาะสมกับ ตัวชี้วัด หรือผล การเรียนรู ผูเรียน และทรัพยากรที่มีอยู 3 3 3 3 3 ๑๕. มีเอกสารและสิ่งที่แนบมาถวยครบตามที่ไดระบุไว ในแผนการจัดการเรียนรูครบถวน 3 3 3 3 3 ผลรวม 43 43 43 43 43 คิดเปนรอยละ ระดับคุณภาพ  รอยละ = ผลรวมของผลคูณ × ×
  • 11. ตอนที่ ๒ การนิเทศขณะปฏิบัติการสอน เริ่มสอนเวลา.........................น. สอนเสร็จเวลา ............................น. รวมเวลา ........................... ชั่วโมง จุดนิเทศ การนิเทศครั้งที่ ๑ การนิเทศครั้งที่ ๒ การนิเทศครั้งที่ ๓ การนิเทศครั้งที่ ๔ การนิเทศครั้งที่ ๕ คะแนน ตัวคูณ ผลคูณ คะแนน ตัวคูณ ผลคูณ คะแนน ตัวคูณ ผลคูณ คะแนน ตัวคูณ ผลคูณ คะแนน ตัวคูณ ผลคูณ เทคนิคและวิธีการสอน ๑. ใหเนื้อหาครบตามตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู ไมมีจุดผิด 3 3 3 3 3 ๒. ใหเนื้อหาตามลําดับ แยกยอยเนื้อหา ทําใหผูเรียนเขาใจ งายและสรุปเนื้อหาที่สําคัญทุกครั้ง 3 3 3 3 3 ๓. ใชเทคนิควิธีการสอน เพื่อใหผูเรียนสนใจกับบทเรียน ตลอดเวลา โดยใหผูเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนการ สอน สงเสริมใหผูเรียนเรียนรูดวยความเขาใจ และมีการชมเชย ใหกําลังใจ 3 3 3 3 3 การใชสื่อการสอน ๔. ใชสื่อประกอบการสอนในชวงจังหวะที่เหมาะสม ดวย วิธีการที่เหมาะสมชวยใหผูเรียนเขาใจเนื้อหาไดงาย 3 3 3 3 3 ๕. ใชสื่ออยางถูกตอง คลองแคลว กระชับ และคุมคา 2 2 2 2 2 พฤติกรรมผูสอน ๖. ใชคําพูดและภาษาที่เขาใจงาย ทุกคนสามารถเขาใจไดดี เสียงดังฟงชัด อักขระถูกตองชัดเจน มีน้ําเสียงเราอารมณ จังหวัดการพูดนาสนใจไมเร็วหรือชามากเกินไป 3 3 3 3 3
  • 12. จุดนิเทศ การนิเทศครั้งที่ ๑ การนิเทศครั้งที่ ๒ การนิเทศครั้งที่ ๓ การนิเทศครั้งที่ ๔ การนิเทศครั้งที่ ๕ คะแนน ตัวคูณ ผลคูณ คะแนน ตัวคูณ ผลคูณ คะแนน ตัวคูณ ผลคูณ คะแนน ตัวคูณ ผลคูณ คะแนน ตัวคูณ ผลคูณ ๗. มีปฏิสัมพันธที่ดีกับผูเรียน มีความเปนกันเอง มีความสนใจ ผูเรียน ยิ้มแยมแจมใส มีสีหนาทาทางนาสนใจ 2 2 2 2 2 กระบวนการเรียนรูและกระบวนการสอน ๘. มีกระบวนการเรียนรูและกระบวนการสอนครบและปฏิบัติ ไดอยางถูกตองตามกระบวนการ 3 3 3 3 3 ๙. ใชเวลาในการสอนในแตละขั้นตอนของกระบวนการเรียนรู ตรงตามแผนการสอนที่ตั้งไว 2 2 2 2 2 ผลรวม 24 24 24 24 24 คิดเปนรอยละ ระดับคุณภาพ  รอยละ = ผลรวมของผลคูณ × ×
  • 13. ตอนที่ ๓ การนิเทศหลังการสอน จุดนิเทศ การนิเทศครั้งที่ ๑ การนิเทศครั้งที่ ๒ การนิเทศครั้งที่ ๓ การนิเทศครั้งที่ ๔ การนิเทศครั้งที่ ๕ คะแนน ตัวคูณ ผลคูณ คะแนน ตัวคูณ ผลคูณ คะแนน ตัวคูณ ผลคูณ คะแนน ตัวคูณ ผลคูณ คะแนน ตัวคูณ ผลคูณ การนิเทศตนเอง ๑. ครูผูสอนสามารถวิเคราะหขอดีและขอบกพรองของตนเอง ได 3 3 3 3 3 ๒. ครูผูสอนสามารถบอกแนวทางการแกไขวิธีการสอนของ ตนเองได 3 3 3 3 3 การปรับปรุงและแกไขแผนการจัดการเรียนรู ๓. ครูผูสอนไดนําผลการนิเทศมาวิเคราะหเพื่อปรับปรุง แผนการจัดการเรียนรู เชน การเขียนวัตถุประสงค การแบง เวลา สื่อการสอน ใบความรู อื่น ๆ 3 3 3 3 3 ๔. ครูผูสอนนําผลการเรียนรูของผูเรียน จากการทําแบบฝกหัด และแบบทดสอบมาวิเคราะหเพื่อปรับปรุงแผนการจัดการ เรียนรูของตนเอง เชน ใบความรู วิธีการสอน แบบฝกหัด แบบทดสอบ อื่น ๆ 3 3 3 3 3 การประเมินผลและการปรับผูเรียน ๕. ครูผูสอนไดมีการตรวจประเมินผลงาน เชน แบบฝกหัด แบบทดสอบ อื่น ๆ โดยมีเกณฑการประเมินที่ชัดเจน ตรวจสอบได 2 2 2 2 2
  • 14. จุดนิเทศ การนิเทศครั้งที่ ๑ การนิเทศครั้งที่ ๒ การนิเทศครั้งที่ ๓ การนิเทศครั้งที่ ๔ การนิเทศครั้งที่ ๕ คะแนน ตัวคูณ ผลคูณ คะแนน ตัวคูณ ผลคูณ คะแนน ตัวคูณ ผลคูณ คะแนน ตัวคูณ ผลคูณ คะแนน ตัวคูณ ผลคูณ ๖. ครูผูสอนไดมีการแจงผลการเรียนรู ตัวชี้วัด ใหกับผูเรียน 2 2 2 2 2 ๗. ครูผูสอนไดชี้แนะความบกพรองและแนวทางการแกไข ปญหาใหกับผูเรียนทุกคน 2 2 2 2 2 ผลรวม 18 18 18 18 18 คิดเปนรอยละ ระดับคุณภาพ  รอยละ = ผลรวมของผลคูณ × ×
  • 15. ตอนที่ ๔ สรุปผลการนิเทศการสอน คําชี้แจง ใหผูนิเทศนําผลการนิเทศคิดเปนรอยละ มาเทียบกับเกณฑที่กําหนดใหดังนี้ รอยละ ระดับคุณภาพ ๙๐ ขึ้นไป ดีเยี่ยม ๗๕ – ๘๙ ดี ๖๐ – ๗๔ ปานกลาง ๓๐ – ๕๙ ต่ํา ต่ํากวา ๓๐ ปรับปรุง สรุปผลการนิเทศการสอน การนิเทศครั้งที่ รอยละของคะแนน การนิเทศกอนการสอน การนิเทศขณะ ปฏิบัติการสอน การนิเทศหลังการสอน การนิเทศครั้งที่ ๑ การนิเทศครั้งที่ ๒ การนิเทศครั้งที่ ๓ การนิเทศครั้งที่ ๔ การนิเทศครั้งที่ ๕ เฉลี่ย ระดับคุณภาพรวม ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อผูนิเทศ................................................... (……………………………………………..) …………../……………………/………………….
  • 16. ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ................................................... (นายจรัสพงษ มูลใจ) กลุมงานวิจัยและพัฒนาการเรียนการสอน ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ................................................... (นางสาวอัมพร เกิดแสง) หัวหนากลุมบริหารงานวิชาการ ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ................................................... (นายวุฒิไกร วรรณการ ) รองผูอํานวยการฝายวิชาการ ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ................................................... (นายวิเชียร ชูเกียรติ ) ผูอํานวยการโรงเรียนแมลานอยดรุณสิกข