SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
Download to read offline
การพัฒนาภาคเกษตรของไทย
                 ศ.ดร.ประยงค์ เนตยารั กษ์
    ศูนย์ ศึกษาความร่ วมมือระหว่ างประเทศ
                 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์




                                            1
เนื อหาในเอกสารและการบรรยาย
1.การพัฒนาภาคเกษตรไทยตามแนวคิดของผู ้ บรรยาย
1.1 การผลิตสินค้ าเกษตรในอดีตทีผ่านมา
1.2 ความสําคัญของตลาดกับการพัฒนาภาคเกษตร
1.3 ปั จจัยทีมีผลกระทบตลาดอาหาร
1.4 การแข่งขันในตลาดระหว่างประเทศ การกีดกันและข้ อกําหนดต่างๆ
1.5 วิเคราะห์นโยบายและมาตรการแทรกแซงตลาด ราคาข้ าว และปาล์ม
1.6 วิเคราะห์การนําพืชผลเกษตรไปผลิตพลังงานทดแทนและผลกระทบ



                                                                2
เนือหาในเอกสารและการบรรยาย
2. GMOs ความสําคัญต่อการพัฒนาการเกษตรและผลกระทบ
3.การพัฒนาภาคเกษตรตามแนว ธนินทร์ เจียรวนนท์ (ซีพี)
4.นโยบายการพัฒนาภาคเกษตรของรัฐบาลปั จจุบัน
5.แนวทางการพัฒนาภาคเกษตรในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม
   แห่งชาติฉบั บที 1 (พ.ศ. 2555-2559)
6.ข้ อมูลเกียวกับการผลิตและการค้ าสินค้ าเกษตรทีสําคัญของไทย



                                                         3
1. การผลิตสินค้ าเกษตรในอดีตที ผ่ านมา

    1.1 ภาคเกษตรไม่หยุดนิงและโครงสร้ างการผลิตเปลียนมาก

          - ผลิตสินค้ าหลักเดิมเพิมขึ น ข้ าว อ้ อย มันสําปะหลัง
                                      :
           ยางพารา ไก่
           - ผลิตสินค้ าใหม่ๆ หรื อสําคั ญเพิมขึ น: ผักและ ผลไม้
           ไม้ ดอก และไม้ ประดับ สัตว์เลี ยง ปาล์ม ปลานํ าจืด
           นํ าเค็มประเภทต่างๆ รวมปลาสวยงาม
                                                                   4
1.2 สินค้ าทีเคยเหลือส่งออกกลับผลิตไม่พอหรื อเลิกผลิต
    - ข้ าวโพดเลี ยงสัตว์เคยเหลือส่งออก
           ปั จจุบันต้ องนําเข้ าบางปี
   - ปอหมดไป
   - กุ ้ งกุลาดําต้ องนําเข้ า
       และเปลียนไปเลี ยงกุ ้ งขาว

                      1.3 ผลิตสินค้ าเกษตรแปรรูปเพิมขึ น:
                 กุ ้ ง ไก่ ปลาทูน่า และอาหารทะเล ผักและ
                 ผลไม้
                                                            5
1.4 เปลียนแหล่งผลิต
    - ยางพาราไปอีสาน
    - อ้ อยจากภาคกลางด้ านตะวันตกและตะวันออกไป
      เหนือตอนล่างและอีสาน
    - ลําไยจากเหนือตอนบนและกล้ วยไข่จากเหนือตอนล่าง
       ไปภาคกลางด้ านตะวันออก

1.5 เทคโนโลยีการผลิตเปลียนมาก
   - ปั จจัยการผลิต : พันธุ์ เครื องจักร ปุ ๋ ย
   - วิธีการผลิต และดูแลรักษา
   - การจัดการฟาร์ ม : เกษตรทฤษฎีใหม่ เกษตรผสมผสาน
     เกษตรอินทรี ย์ เกษตรแบบผูกพันสัญญา
                                                      6
1.6 สภาพแวดล้ อมทางกายภาพเปลียนไปมาก
   - ความอุดมสมบูรณ์ของดินลดลงมาก
   - ขนาดทีดินทํากินเล็กลง
   - ฝนตกนํ าท่วม และความแห้ งแล้ งสลับกัน และรุนแรงขึ น
   - สภาวะโลกร้ อน และสภาพอากาศเปลียน
   - ค่ า จ้ า งแรงงานในภาคเกษตรเพิ มขึ นมากเกิ ด ขาดแคลน
     แรงงาน และลูกหลานไม่ทําการเกษตรต่อ
   - ความอุดมสมบูรณ์ของสัตว์นํ าจืดและนํ าเค็มลดน้ อยลง
                                                           7
หลักการพัฒนาภาคเกษตรของไทยต้ องใช้ ตลาดนํา
2. ต้ อ งใช้ ตลาดสิ น ค้ า เกษตรหรื อ ความต้ อ งการเป็ นตั ว นํ า
   โดยมีความหลากหลายของตลาดหรื อความต้ องการ
    2.1 ตลาดในประเทศ
       - เพือบริ โภคในรูปสินค้ าเกษตรขั นต้ น
            คุณภาพดี ราคาแพง สํา หรั บผู ้ บ ริ โภครายได้ สูง ส่วนใหญ่ อยู่ใ น
              เมือง
            คุ ณ ภาพตํ า ราคาถู ก สํ า หรั บ ผู ้ มี ร ายได้ น้ อ ย ส่ ว นใหญ่ อ ยู่ ใ น
              ชนบท

        - เพือเป็ นปั จจัยการผลิต
             ผลิตสินค้ าเกษตรแปรรู ป คุณภาพดีและปริ มาณสมําเสมอ
             ใช้ ผลิตสินค้ าอืน เช่น อาหารสั ตว์
                                                                                       8
2.2 ตลาดต่ างประเทศ
     - เพือบริ โภคในรูปสินค้ าเกษตรขั นต้ น
     คุณภาพดี ราคาแพง ขายในประเทศทีพัฒนา ซึงประชากร
      มีรายได้ มากต้ องการบริ โภคอาหารทีได้ มาตรฐานสากล
      คุณภาพไม่ค่อยดี ราคาถูก ขายในประเทศทีกําลังพัฒนา
       ด้ อยพัฒนา ซึงประชากรมีรายได้ น้อย
 - เพือเป็ นปั จจัยการผลิต
    ผลิ ต สิ น ค้ าเกษตรแปรรู ป คุ ณ ภาพดี ไ ด้ มาตรฐานและ

     ปริ มาณสมําเสมอ
    ใช้ ผลิตสินค้ าอืนๆ เช่น อาหารสั ตว์
                                                          9
3. ปั จจัยสําคัญที กระทบตลาดอาหาร
 3.1 การเปลียนแปลงโครงสร้ างอายุของคน การตั งและขยายชุมชน
 และเมือง
     - คนสูงอายุมีมากขึ น ซึงต้ องการอาหารสําหรับคนสูงอายุ
     - การตั งเมืองหรื อชุมชนใหม่ หรื อขยายเพิมขึ น ทําให้ เกิดตลาด
       ใหม่ และโครงข่ายการกระจายอาหารเปลียนไป
 3.2 การเปลียนแปลงเทคโนโลยีในการแปรรูปอาหาร และปรุงอาหาร
     - แปรรูปอาหารได้ หลากหลายมากขึ น เก็บได้ นานขึ น โดยคุณค่า
       ไม่เปลียน ทําให้ ขอบเขตตลาดกว้ างขึ น
                                                                10
- เทคโนโลยีในการแช่เย็น แช่ แข็ ง มีป ระสิทธิ ภ าพในการเก็ บ
      อาหารได้ ดีขึ น ทําให้ ไม่ต้ องซื อบ่อยและซื อครั งละมากๆ ซึง
      ประหยัดเวลาและค่าใช้ จ่าย
    - เทคโนโลยีทีเป็ นของใช้ ในครั ว เช่น เครื องบด เครื องตี Food
      processors Microwaves ทําให้ การปรุงอาหารมีประสิทธิภาพ
      เพิมขึ น ประหยัดเวลา
3.3 สตรี ทํางานนอกบ้ านมากขึ น
    - มีเวลาในการเตรี ยมอาหารน้ อยลง
    - ต้ องการซื ออาหารประเภททีนําไปปรุงต่อไม่มากก็เสร็ จ(Ready
      to cook) หรื อพร้ อมบริ โภค (Ready to eat)
                                                                 11
3.4 ความปลอดภัยด้ านสุขภาพ และความสนใจด้ านโภชนาการ
     - อาหารทีเป็ นประโยชน์ต่อร่ างกาย
       - ความปลอดภัยในการบริ โภค เช่น ไม่มีสารพิษตกค้ าง ความสะอาด
       ได้ มาตรฐาน ถูกสุขอนามัย
3.5 รายได้ เพิมขึ น ฐานะทางเศรษฐกิจดีขึ น
     - ต้ องการบริ โภคอาหารประเภทมีมูลค่าสูงขึ น เช่น ผัก ผลไม้ เนื อสัตว์
     - ต้ องการซื ออาหารทีมีการเพิมบริ การทางการตลาดเข้ าไปมากขึ น
3.6 นโยบายเกียวกับเกษตรทั งในประเทศ และระหว่างประเทศ
     - นโยบายของประเทศทีซื อ
     - นโยบายของประเทศทีขายแข่ง
     - ข้ อกําหนด หรื อข้ อตกลงระหว่างประเทศ

                                                                        12
4. การแข่ งขันในตลาดระหว่ างประเทศ การกีดกันทาง
   การค้ า ค่ าใช้ จ่ายในการตลาดและผลกระทบ

     4.1 มีการแข่งขันในตลาดโลกมากขึ น เป็ นผลจากข้ อตกลง
         ทางการค้ าและเทคโนโลยีการผลิตทีก้ าวหน้ าขึ น
     4.2 มี ก ารใช้ มาตรการกี ด กั น ทางการค้ าที ไม่ ใ ช่ ภ าษี
        การกําหนดมาตรฐานทีเข้ มงวดขึ น
     4.3 ค่ า ใช้ จ่ า ยในการตลาด ส่ ว นเหลื อมการตลาด
        ระบบโลจิ ส ติ ก ส์ และผลกระทบต่ อ เกษตรก ร
        การพัฒนาภาคเกษตรและผู ้ บริ โภค
                                                                   13
4.4 การบังคับใช้ มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช
    (Agreement on the Application of Sanitary and
    Phytosanitary Measures ; SPS)

4.5 การควบคุม คุณภาพผลิต ภัณ ฑ์ สัตว์ นํ า กํ า หนดให้
    โรงงานใช้ ระบบ HACCP (Hazard Analysis Critical
    Control Point) หรื อระบบการจัดการผลิ ตอาหาร
    โดยควบคุ ม ตรวจสอบในขั นตอนการผลิ ต แปรรู ป
    เก็บรักษา และขนส่ง มีขั นตอนใดจะเป็ นอันตรายต่อ
    ผู ้ บริโภคหรื อไม่
                                                    14
5. การผลิตสินค้ าเกษตรขั นต้ นและแปรรู ป
     5.1 สนองความหลากหลายของตลาด
     5.2 ต้ องสอดคล้ องกั บ สภาพทางกายภาพ ได้ แก่
         ดิน ฟาอากาศ และเศรษฐศาสตร์
              ้
     5.3 สอดคล้ องกับลักษณะ วัตถุประสงค์หรื อเปาหมาย
                                               ้
         ของแต่ละครัวเรื อนซึงอาจไม่เหมือนกัน
     5.4 ต้ อ งเพิ มหรื อ เน้ น ที ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต และ
         ลดต้ นทุนการผลิต
                                                                 15
6. แนวโน้ มในอนาคตและแนวทางการพัฒนาการเกษตร
     6.1 ต้ องยอมรับว่าเกษตรกรมีความสามารถ มีเหตุผล และภาค
         เกษตรเปลียนแปลงอยู่ตลอดไม่ได้ หยุดนิง
     6.2 ปรับโครงสร้ างการผลิตเพือสนองตอบต่อตลาดทีเปลียนไป
         และมีความหลากหลาย
          - ผลิตสินค้ าเกษตรทีคุณภาพไม่สูงนัก เพือการบริ โภคใน
            ประเทศ และส่งออกไปประเทศทีกําลังพัฒนาหรื อด้ อย
            พัฒนา อาจเป็ นฟาร์ มขนาดเล็ก ใช้ เทคโนโลยีการผลิต
            ไม่ ทัน สมัย มากนั ก เช่ น เกษตรทฤษฎี ใ หม่ เกษตร
            ผสมผสาน วนเกษตร เกษตรอินทรี ย์
                                                            16
- ผลิตสินค้ าเกษตรทีคุณภาพสูง ได้ มาตรฐานสากลเพือบริ โภค
       ของคนในเมื องที รายได้ สูง ส่ง ออกไปประเทศที พัฒ นาแล้ ว
       เป็ นวัตถุดิบแปรรู ป อาจเป็ นฟาร์ มขนาดใหญ่ในรูปบริ ษัทหรื อ
       สหกรณ์ ใช้ ระบบการบริ หารจัดการและเทคโนโลยีการผลิตที
       ทัน สมั ย เพื อเพิ มประสิ ท ธิ ภ าพและความสามารถในการ
       แข่งขันในตลาดโลก อาจผลิตโดยใช้ ระบบความผูกพันสัญญา

6.3 ผลิตสินค้ าเกษตรฮาลาล
6.4 ผลิ ตสิ นค้ าเกษตรแปรรู ปเพิ มขึ น เพราะไทยมี ข้อได้ เ ปรี ยบใน
    ขั นตอนการแปรรู ป โดยนํ าเข้ าวัตถุดิบสินค้ าเกษตรขั นต้ นบาง
    ชนิดมาแปรรูป
                                                                 17
6.5 พัฒนาการตลาด ระบบการขนส่ง และกักเก็บ
    ระบบโลจิสติกส์เพือลดค่าใช้ จ่ายการตลาด
6.6 การวิจัยและพัฒนา (R&D) ด้ านเครื องจักรกล-
    การเกษตร พันธุ์และการผลิตปุ ๋ ยชีวภาพ
6.7 พัฒนาการชลประทานและระบบการใช้ นํ าเพือ
    การเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพ
6.8 เกษตร GMOs

                                                 18
7. นโยบายและมาตรการแทรกแซงตลาดและราคา(ข้ าว)
7.1 การรับจํานํากับการประกันรายได้
    แนวคิดทางทฤษฎีกรณีรับจํานํา

                       P                   S
                            D
                      Ps        a   b
                       P*               E*
                      Pm                 C


                                               Q
                       0        Q1 Q* Q2




                                                   19
แนวคิดทางทฤษฎีกรณีรับจํานํา
     P* และ Q* เป็ นราคาและปริ มาณทีซื   อขายในตลาด ทีรัฐบาล
      ไม่ได้ แทรกแซง
     Ps เป็ นราคาประกัน (ราคาขั นตํา )
     Q2 เป็ นปริ มาณผลผลิตทั งหมด

     Q1 เป็ นปริ มาณทีซื อขายในตลาดในราคาPs

     Q1 Q2 เป็ นปริ มาณทีรัฐบาลรับซื อ(รับจํานํา) ในราคา Ps

     Q1 a b Q2 เป็ นปริ มาณเงินทีรัฐบาลจ่ายทั งหมด



                                                                20
แนวคิดทางทฤษฎีกรณีประกันรายได้
   Ps เป็ นราคาประกัน (ราคาเปาหมาย)
                                 ้
   Pm เป็ นราคาทีเกษตรกรขายได้ ในตลาด (ราคาอ้ างอิง)
   Q2 เป็ นปริ มาณทีเกษตรกรขายทั งหมด
   Pm Ps b c เป็ นเงินทีรัฐบาลจ่ายทั งหมด




                                                        21
การรับจํานํา
   วัตถุประสงค์
         1. เพือช่วยเหลือเกษตรกร (ชาวนา) ให้ ขายข้ าวได้ ในราคาทีสูง
    กว่าราคาตลาด เพราะราคาตลาดตําเกินไป ทําให้ ชาวนาขาดทุน
         2. ช่วงฤดูเก็บเกียวข้ าวผลผลิตจะออกมามาก ราคาจะตํา และ
    ราคาจะค่อยๆสูงขึ นหลังฤดูเก็บเกียว โครงการรับจํานําจะช่วยให้
    เกษตรกรไม่ต้องรี บขายข้ าว สามารถเก็บไว้ รอขายเมือราคาสูงขึ นได้




                                                                   22
วิธีการและหลักการ
1. เกษตรกรทีเข้ าร่วมโครงการทีไม่มียุ ้ งฉาง เก็บกักข้ าวของตนเอง สามารถนําข้ าวมา
จํานําทีโรงสีทีเข้ าร่วมโครงการในราคารับจํานํา ในปริ มาณเท่าไหร่ก็ได้ ทีสามารถผลิต
ได้ และไปรับเงินทีธนาคารเพือการเกษตรและสหกรณ์ (ธกส.)
2. เกษตรกรทีมียุ ้ งฉางสามารถนําข้ าวไปจํานําที ธกส. รับเงินที ธกส. โดยเก็บข้ าวไว้ ทียุ ้ ง
ฉางของตนเอง
3. ทั ง2 กรณีหากครบกําหนดเวลารับจํานํา ถ้ าเกษตรกรไม่มาไถ่ถอนคืน ก็จะเป็ นการ
ขายข้ าวให้ รัฐบาลตามราคารับจํานํา ฉะนั นเท่ากับเป็ นการประกันราคาขั นตําในราคา
รับจํานํา ซึงสู งกว่าราคาตลาด (ขณะทีนําข้ าวมาจํานํา) และในอนาคตหากราคาข้ าวใน
ตลาดสูงขึ น เกษตรกรก็สามารถมาไถ่ถอนคืนขายในตลาดได้ โดยจะได้ ราคาสู งกว่า
ราคารับจํานํา

                                                                                      23
วิธีการและหลักการ
 4. ปริ มาณข้ าวทีรับจํานําไว้ เมือตกเป็ นของรัฐบาล ก็จะนําออกมาประมูลขายให้ แก่
 พ่อค้ าส่งออก โดยควรยึดหลั ก
        (ก) แบ่งปริมาณประมูล แต่ละกองไม่มากนัก เพือให้ พ่อค้ ารายย่อยสามารถ
 เข้ ามาร่วมแข่งขันประมูลได้
        (ข) ควรมีการวิเคราะห์สภาวะตลาดและราคาข้ าวในตลาดโลกเพือหาจังหวะ
 ขายในช่วงทีตลาดราคาสูง
        (ค) ไม่ควรเก็บกักข้ าวไว้ นานจนข้ ามปี เพราะข้ าวจะเสือมคุณภาพ ค่าใช้ จ่าย
 ในการเก็บกักสูง และยั งมีข้าวทีผลิตได้ ใหม่ออกมาสมทบด้ วย จะทําให้ ราคาตก


                                                                               24
ปั ญหาที ผ่ านมา

1.   ข้ าวเสือมคุณภาพเร็ว เพราะสถานทีเก็บไม่ได้ มาตรฐาน และ
     เก็บนานเกินไป
2.   มีปัญหาทุจริตคอร์ รัปชัน จากบุคคลหลายฝ่ ายทีเกียวข้ องและ
     ในหลายขั นตอน
3.   มีปัญหาทั งขั นตอนการรับจํานํา ขั นตอนการกักเก็บ และ
     ขั นตอนการขาย

                                                             25
การประกันรายได้
1. โครงการประกันรายได้ จะมีการกําหนดค่า 3 อย่าง คือ
    (ก) ราคาเปาหมายหรื อราคาประกัน
                ้
    (ข) ปริ มาณข้ าวทีเกษตรกรผลิตได้ หรื อปริ มาณข้ าวทีประกัน
    (ค) ราคาอ้ างอิงหรื อราคาทีเกษตรกรขายได้
2. ตามทฤษฎี จะมีการกําหนดราคาประกันสูงกว่าราคาตลาด และให้ เกษตรกรขายข้ าวตาม
    ราคาตลาด ซึงจะตํากว่าราคาประกัน โดยรัฐบาลจะจ่ายเงินชดเชยส่วนต่างให้ ซึงจะทํา
    ให้ เกษตรกรได้ รับเงินจากการขายข้ าวตามราคาประกัน
3. แต่การกําหนดปริ มาณทีเกษตรกรผลิตหรื อปริ มาณประกันตายตัว ทําให้ มีปัญหาคือ ถ้ า
    เกษตรกรผลิตได้ มากกว่านั น ก็จะไม่ได้ รับเงินชดเชย แต่ถ้าเกษตรกรผลิตได้ น้อยกว่านั น
    ก็จะได้ รับเงินชดเชยตามปริ มาณทีกําหนดหรื อประกัน จะทําให้ ไม่เป็ นสิงจูงใจให้
    เกษตรกรพัฒนาเพิมปริ มาณการผลิตขึ น ซึงจะมีผลต่อประสิทธิภาพการผลิตทีจะไม่
    เพิมขึ นในระยะยาว หรื ออาจลดลงได้
                                                                                     26
การประกันรายได้
4. การกําหนดราคาอ้ างอิงมีปัญหามาก เพราะราคาทีเกษตรกรขายได้ จริ ง ค่อนข้ างแตกต่าง
     ตามคุณภาพข้ าว แตกต่างระหว่างพื นทีใกล้ ไกลตลาด และช่วงเวลาทีเกษตรกรแต่ละ
     รายขาย ทําให้ ร าคาทีเกษตรกรขายได้ จริ ง มีความแตกต่างและหลากหลาย ฉะนั น
     ราคาอ้ างอิงจึงไม่ได้ สะท้ อนหรื อใช้ แทนราคาทีเกษตรกรจะขายได้ จริ ง เกษตรกรส่วน
     ใหญ่ จะขายได้ จริ งตํากว่าราคาอ้ างอิง ทําให้ ขายข้ าวได้ ถึงแม้ จะได้ รับเงินชดเชยแล้ วก็
     ยังตํากว่าราคาประกัน เช่น สมมุติการประกันราคาข้ าว (ราคาเปาหมาย) ทีตันละ้
     15,000 บาท ราคาอ้ างอิงตันละ 13,000 บาท รัฐบาลจะจ่ายเงินชดเชยให้ ตันละ 2,000
     บาท แต่ถ้าราคาทีเกษตรกรขายได้ จริ งเพียงตันละ 10,000 บวกเงินชดเชยอีก 2,000
     บาทก็จะได้ รับเงินจากการขายข้ าวได้ เพียงตันละ 12,000 บาท ซึงตํากว่าราคาประกัน
     ปั ญ หานี เคยมี เกษตรกรเดินขบวนร้ องเรี ยนมาแล้ ว และรั ฐบาลก็ได้ นํามาตรการรั บ
     จํานํ าข้ าวมาช่วยแก้ ไขปั ญ หา รวมทั งให้ อ.ค.ส. และ อ.ต.ก. เข้ าไปแทรกแซงรั บซื อ
     เพือให้ ราคาข้ าวทีเกษตรกรขายได้ จริ งเพิมสูงขึ น
                                                                                            27
7.2 ปาล์ มนํ ามัน และปาล์ มสด
 แนวคิดทางทฤษฎี
                P
                    D                       S


           P*
                                  E*

                        a
           Pc                               b



                                                Q
                0            Q*
                        Q1             Q2




                                                    28
แนวคิดทางทฤษฎี
 P* และ Q* เป็ นราคาและปริ มาณทีซื      อขายในตลาด ทีไม่มีการแทรกแซงจาก
    รัฐบาล
   Pc เป็ นราคาขั นสูงทีรัฐบาลกําหนดให้ ขายเพือช่วยเหลือผู ้ บริโภค
   ณ ราคา Pc ทําให้ เกิดอุปสงค์ส่วนเกิน (excess demand) เท่ากับ a b หรื อ
    Q1 Q2
   การกําหนดราคา Pc ทําให้ ความต้ องการเพิมขึ นเท่ากับQ* Q2 และผลผลิต
    ทีนําออกมาขายลดลงเท่ากับ Q1 Q*
   อุปสงค์ส่วนเกิน ทําให้ เกิดตลาดมืด คือ ซื อขายอย่างผิดกฎหมายในราคาที
    สูงกว่า Pc ทําให้ เกิดการกักตุนทั งพ่อค้ าและผู ้ บริ โภค และทําให้ เกิดความ
    ขาดแคลนสินค้ า
                                                                            29
ปั ญหาที ผ่ านมา
 กําหนด Pc   ตําเกินไปเมือเทียบกับ P* เพราะเป็ นช่วงทีผลปาล์ม
  สดมีน้อย
 นโยบายให้ นําเข้ า กระทบราคาปาล์มสด ราคาปาล์มสดแกว่ง
  มาก (ไร้ เสถียรภาพ)
 ผลกระทบต่อเกษตรกรทีขายปาล์มสด ประกันราคาไว้ ทีกิโลกรัม
  ละ 6 บาท แต่เกษตรกรขายได้ ไม่ถึง เพราะไม่มีมาตรการอะไรที
  จะมีผลบังคับ

                                                            30
7.3 ผลกระทบของการนําพืชผลเกษตรไปผลิตพลังงานต่ ออาหาร
     พืชพลังงาน ใช้ อ้อย มันสําปะหลัง ข้ าวโพดและข้ าวฟ่ างหวาน ผลิต
      แอลกอฮอล์ไร้ นํ า เพือผสมเป็ น เอธานอล และใช้ ปาล์มนํ ามัน และสบู่ดํา
      ผลิตเป็ น ไบโอดีเซล
     ไม่กระทบการผลิตข้ าว เพราะใช้ พื นทีแตกต่างกัน
     มีปัญหาพลังงานทีใช้ ในการกลันแอลกอฮอล์
     ต้ นทุนการผลิตส่วนใหญ่จะอยู่ทีค่าพืชพลังงานทีใช้ เป็ นวัตถุดิบ และ
      พลังงานทีใช้ ในการกลัน
     ค่าพลังงานต่อลิตรจะตํากว่านํ ามันเบนซิน
     ทดแทนนํ ามันเบนซินได้ ไม่เกิน20% ถ้ าเกินต้ องปรับเปลียนเครื องยนต์
                                                                         31
7.3 ผลกระทบของการนําพืชผลเกษตรไปผลิตพลังงานต่ ออาหาร

   กระทบพืชอาหาร เพราะแย่งพื นทีกัน ยกเว้ นจะเพิมผลผลิตต่อไร่
   นํามาผลิตพลังงาน จะกระทบการนําไปใช้ อย่างอืน เช่น นําอ้ อยมาผลิต
    แอลกอฮอล์ จะกระทบการผลิตนํ าตาล กระทบการบริโภคและส่งออก
    นํ าตาล นํามันสําปะหลังมาผลิตแอลกอฮอล์ จะกระทบ นํามันสําปะหลัง
    ไปใช้ อย่างอืน เช่น แปงมัน อาหารสัตว์ ฯลฯ
                           ้
   สรุปการนําผลผลิตเกษตรมาผลิตพลังงาน ไม่ง่าย และไม่ดีอย่างทีคิด
    ปั จจุบั นยังต้ องอุดหนุน ยังไม่คุ ้ ม


                                                                32
GMOs ความสําคัญต่ อการพัฒนา
     การเกษตรและผลกระทบ



                         33
GMOs ความสําคัญต่ อการพัฒนาการเกษตรและผลกระทบ
  1. ความหมาย : องค์การอนามัยโลกให้ ความหมาย GMOs (Genetically
     Modified Organisms) คือสิงมีชีวิตทีมีการเปลียนแปลงสารพันธุกรรม
     (DNA) ไปในลั กษณะทีไม่ได้ เกิดขึ นเองตามธรรมชาติ

  2. มีการทํามานานแล้ วและแพร่หลายในหลายประเทศ

  3. วัตถุประสงค์เพือต้ านทานโรคและแมลง เพิมผลผลิต เพิมคุณค่าผลผลิต
     และลดการใช้ สารเคมีซึงเป็ นอันตรายต่อร่างกาย

  4. มีการทําสั ตว์บก สั ตว์นํ า และพืช
                                                                      34
ผลิตภัณฑ์ มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ผลิตภัณฑ์ มวลรวมภาค
 เกษตรกรรม และสั ดส่ วนภาคเกษตรกรรมต่ อทั งหมด ณ ราคาคงที ปี 2531

            รายการ                                พ.ศ.
                               2550      2551      2552      2553      2554
ผลิตภัณฑ์ มวลรวม              4,259.0   4,364.8   4,263.1   4,596.1   4598.4
ภายในประเทศ (พันล้ านบาท)
ผลิตภัณฑ์ มวลรวม               369.7    385.2     390.3     381.4     395.8
ภาคเกษตรกรรม (พันล้ านบาท)
สัดส่ วนผลิตภัณฑ์ มวลรวม       8.68      8.83      9.16      8.30      8.6
ภาคเกษตรกรรมต่ อทั งหมด
(ร้ อยละ)

                                                                        35
มูลค่ าส่ งออกสินค้ าทั งหมดเกษตรกรรม
                           และอุตสาหกรรมเกษตรปี 2550-2554
           รายการ                  2550        2551        2552        2553        2554
มูลค่ าส่ งออกสินค้ าทั งหมด      5,302,119   5,581,371   5,194,588   6,176,423   6,882,780
(ล้ านบาท)
มูลค่ าส่ งออกสินค้ าเกษตรกรรม    849,832     1,008,000   943,756     1,099,035   1,402,411
และอุตสาหกรรมเกษตร
(ล้ านบาท)
มูลค่ าส่ งออกสินค้ าเกษตรกรรม    522,532     622,229     559,458     679,718     875,661
(กสิกรรม,ปศุสัตว์ ,ประมง)
(ล้ านบาท)
มูลค่ าส่ งออกสินค้ าอุตสาหกรรม   327,300     385,771     384,298     419,317     526,750
เกษตร (ล้ านบาท)



                                                                                              36
สัดส่ วนสินค้ าเกษตรกรรม และอุตสาหกรรมเกษตรส่ งออกต่ อมูลค่ าส่ งออก
                           ทั งหมด ปี 2550-2554
                รายการ                       2550    2551        2552      2553    2554
สัดส่ วนมูลค่ าส่ งออกสินค้ าเกษตรกรรม       16.03   17.91       18.17 17.80       20.37
และอุตสาหกรรมเกษตรต่ อส่ งออกทั งหมด
(ร้ อยละ)

สัดส่ วนมูลค่ าส่ งออกสินค้ าเกษตรกรรมต่ อ   9.86    11.32       10.77     11.01   12.72
ส่ งออกทั งหมด (ร้ อยละ)
สัดส่ วนมูลค่ าส่ งออกสินค้ าอุตสาหกรรม      6.17     6.59        7.40     6.79    7.65
เกษตรต่ อส่ งออกทั งหมด (ร้ อยละ)
สัดส่ วนมูลค่ าส่ งออกสินค้ าอุตสาหกรรม      38.49   36.80       40.73 38.15       37.56
เกษตรต่ อส่ งออกสินค้ าเกษตรกรรมและ
อุตสาหกรรมเกษตร (ร้ อยละ)

ที มา : ศูนย์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์
                                                                                           37
มูลค่ าสินค้ าส่ งออก 10 อันดับแรกของไทย ปี 2553-2554
                                                                                                 หน่ วย : ล้ านบาท
อันดับ               สินค้ า                    2553                        สินค้ า                      2554
   1                ยางพารา                     249,262.50                 ยางพารา                       382,903.5
   2                   ข้ าว                    168,193.06                     ข้ าว                      193,842.5
   3         ผลิตภัณฑ์ มันสําปะหลัง               68,592.10        ผลิตภัณฑ์ มันสําปะหลัง                  79,805.2
   4          กุ ้ งสดแช่ เย็น แช่ แข็ง           53,023.03              ไก่ แปรรู ป                       57,045.4
   5                ไก่ แปรรู ป                   50,346.10          กุ ้ งสดแช่ เย็น แช่ แข็ง             52,101.9

   6     ผลไม้ สดแช่ เย็น แช่ แข็งและแห้ ง        17,225.24 ผลไม้ สดแช่ เย็น แช่ แข็งและแห้ ง              28,809.0

   7        เนื อปลาสดแช่ เย็น แช่ แข็ง           12,526.53       เนื อปลาสดแช่ เย็น แช่ แข็ง              12,398.6
   8       ปลาหมึกสดแช่ เย็น แช่ แข็ง             11,115.77      ปลาหมึกสดแช่ เย็น แช่ แข็ง                12,286.5
   9         ปลาสด แช่ เย็น แช่ แข็ง               6,756.00     ผักสดแช่ เย็น แช่ แข็งและแห้ ง              7,308.8

  10      ผักสดแช่ เย็น แช่ แข็งและแห้ ง           6,579.14        ปลาสด แช่ เย็น แช่ แข็ง                  7,151.3

ทีมา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่ วมมือจากกรมศุลกากร            38
มูลค่ าสินค้ าส่ งออก 10 อันดับแรกของไทยแยกเป็ นรายสินค้ า
            รายประเทศ 5 ประเทศแรก ปี 2553-2554         หน่ วย : ล้ านบาท
 สินค้ า       ประเทศ         2553             ประเทศ        2554
ยางพารา           จีน             77,039          จีน            139,096
               มาเลเซีย           40,515       มาเลเซีย           45,836
                ญี ปุ ่ น         34,513        ญี ปุ ่ น         51,858
             สหรัฐอเมริกา         18,116     สหรัฐอเมริกา         30,312
              เกาหลีใต้           17,669      เกาหลีใต้           26,653
            รวมทุกประเทศ         249,263    รวมทุกประเทศ         382,904
 สินค้ า       ประเทศ                2553      ประเทศ              2554
  ข้ าว         ไนจีเรีย          19,984        ไนจีเรีย         23,272
              อินโดนีเซีย         13,864      อินโดนีเซีย        14,595
               โกตดิวัวร์         10,453        อเมริกา          12,616
              แอฟริกาใต้           9,614      บังคลาเทศ          10,435
               ฟิ ลิปปิ นส์        7,989      แอฟริกาใต้         10,021
            รวมทุกประเทศ         168,193    รวมทุกประเทศ        193,843    39
หน่ วย : ล้ านบาท
       สินค้ า                   ประเทศ        2553        ประเทศ         2554
ผลิตภัณฑ์ มันสําปะหลัง              จีน          36,706       จีน           41,045
                                   ญี ปุ ่ น      7,217      ญี ปุ ่ น       8,637
                                อินโดนีเซีย       5,275 อินโดนีเซีย          8,058
                                  ไต้ หวัน        4,059     ไต้ หวัน         4,419
                                 มาเลเซีย         3,197    มาเลเซีย          3,741
                              รวมทุกประเทศ       68,592 รวมทุกประเทศ        79,805
          สินค้ า                ประเทศ        2553        ประเทศ         2554
 กุ ้ งสดแช่ เย็น แช่ แข็ง     สหรัฐอเมริกา      23,976 สหรัฐอเมริ กา       21,809
                                   ญี ปุ ่ น     10,377      ญี ปุ ่ น      11,357
                                 แคนาดา           2,836    แคนาดา            3,256
                                   สเปน           1,932 สหราชอาณาจักร        2,472
                             สหราชอาณาจักร        1,901      สเปน            1,664
                              รวมทุกประเทศ       53,023 รวมทุกประเทศ        52,102       40
หน่ วย : ล้ านบาท
        สินค้ า                ประเทศ        2553         ประเทศ               2554
      ไก่ แปรรู ป                ญี ปุ ่ น      23,422      ญี ปุ ่ น            27,901
                          สหราชอาณาจักร         15,667 สหราชอาณาจักร             16,741
                            เนเธอร์ แลนด์        3,936 เนเธอร์ แลนด์              3,898
                               เยอรมนี           1,493    เยอรมนี                 1,879
                               สิงคโปร์          1,402    สิงคโปร์                1,651
                           รวมทุกประเทศ         50,346 รวมทุกประเทศ              57,045
        สินค้ า                ประเทศ        2553
ผลไม้ สดแช่ เย็น แช่ แข็ง          จีน           6,438        จีน                  13,952
       และแห้ ง                 ฮ่ องกง          2,926     ฮ่ องกง                  4,482
                             อินโดนีเซีย         1,659 อินโดนีเซีย                  2,830
                            สหรั ฐอเมริ กา       1,095 เวียดนาม                     1,416
                              เวียดนาม             586 สหรั ฐอเมริ กา               1,088
                           รวมทุกประเทศ         17,225 รวมทุกประเทศ                28,809
                                                                                     41
หน่ วย : ล้ านบาท
         สินค้ า              ประเทศ       2553          ประเทศ                2554
เนื อปลาสดแช่ เย็น แช่ แข็ง    ญี ปุ ่ น      8,388       ญี ปุ ่ น               9,169
                            สหรัฐอเมริกา      1,192    สหรั ฐอเมริ กา             1,007
                              นอร์ เวย์         384      ฝรั งเศส                   251
                              ฝรั งเศส          327     เกาหลีใต้                   236
                             เกาหลีใต้          300       สวีเดน                    196
                           รวมทุกประเทศ      12,527   รวมทุกประเทศ               12,399
        สินค้ า               ประเทศ       2553          ประเทศ                2554
ปลาหมึกสดแช่ เย็น แช่ แข็ง     ญี ปุ ่ น      4,876       ญี ปุ ่ น               5,490
                               อิตาลี         3,122       อิตาลี                  3,335
                            สหรัฐอเมริกา        751    สหรั ฐอเมริ กา               753
                             เกาหลีใต้          353     เกาหลีใต้                   628
                             เวียดนาม           329      แคนาดา                     383
                           รวมทุกประเทศ      11,116   รวมทุกประเทศ               12,286
                                                                                      42
หน่ วย : ล้ านบาท
           สินค้ า                  ประเทศ        2553       ประเทศ             2554
      ปลาสดแช่ เย็นแช่ แข็ง            จีน          1,799       จีน               1,679
                                      ญี ปุ ่ น     1,183     ญี ปุ ่ น           1,386
                                    มาเลเซีย          799   มาเลเซีย                816
                                   เวียดนาม           485 เวียดนาม                  654
                                      คูเวต           305     อิตาลี                382
                                 รวมทุกประเทศ       6,756 รวมทุกประเทศ            7,151
             สินค้ า                ประเทศ        2553       ประเทศ             2554
 ผักสดแช่ เย็น แช่ แข็งและแห้ ง       ญี ปุ ่ น     3,037     ญี ปุ ่ น           3,182
                                  สหรัฐอเมริกา        414 อินโดนีเซีย               578
                                สหราชอาณาจักร         380 สหรั ฐอเมริ กา            419
                                    มาเลเซีย          377   มาเลเซีย                400
                                     ไต้ หวัน         307    ไต้ หวัน               364
                                 รวมทุกประเทศ       6,579 รวมทุกประเทศ            7,309
ที มา : สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์                                                43
พื นที เพาะปลูกพืชเกษตรมากที สุด8 อันดับแรกปี 2553
อันดับ                     สินค้ า                  พื นที           สัดส่ วนต่ อพื นที ถือครองเพื อ
                                                  (ล้ านไร่ )*           การเกษตร (ร้ อยละ)
   1.          ข้ าวนาปี                            57.04                        43.34
   2.          ข้ าวนาปรั ง                         15.22                        11.57
   3.          ยางพารา                              12.07                        9.17
   4.          มันสําปะหลัง                          7.56                        5.74
   5.          ข้ าวโพดเลี ยงสัตว์                   7.11                         5.4
   6.          อ้ อยโรงงาน (รวมพันธุ)์               6.58                          5
   7.          ปาล์ มนํ ามัน                         3.64                        2.77
   8.          ถั วเหลือง                           0.755                        0.57
*ทีมา : โดยการพยากรณ์ข้อมูล จากสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
หมายเหตุ : พื นทีถือครองเพือการเกษตรทั งหมด
                                          131.6 ล้ านไร่ (ข้ อมูลปี พ.ศ. 2552)
                                                                                                 44
จํานวนประชากร กําลังแรงงาน และผู ้ มีงานทําในภาคเกษตร ปี 2554
                                                                       พ.ศ.
             รายการ
                                         2549         2550         2551        2552      2553   2554
จํานวนประชากร (ล้ านคน)                  62.83        63.04       63.39       63.53 63.88       64.07
ผู ้ อยู ่ ในกําลังแรงงาน(ล้ านคน)
                                         36.43        36.94       37.07       38.43 38.64       38.92
(อายุ 15 ปี ขึ นไป)
ผู ้ มีงานทําทั งหมด(ล้ านคน)            35.69        36.25       37.02       37.71 38.04       38.46
ผู ้ มีงานทําในภาคเกษตร (ล้ าน
                                         14.17        14.31       14.70       14.69 14.55       14.88
คน)
สัดส่ วนผู ้ มีงานทําในภาค
เกษตรต่ อ                                39.7         39.48       39.71       38.96 38.25       38.68
ผู ้ อยู ่ ในกําลังแรงงาน(ร้ อยละ)
  ทีมา : กรมการปกครอง และสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
                                                                                                   45
  โดย ธนาคารแห่งประเทศไทย , เครื องชี ภาวะเศรษฐกิจทีสําคัญ, ตารางที 17 : ประชากรและค่าจ้ าง
การพัฒนาภาคเกษตรตามแนว
      ธนินท์ เจียรวนนท์ (ซีพ)
                            ี



                           46
การพัฒนาภาคเกษตรตามแนว ธนินท์ เจียรวนนท์ (ซีพ)
                                             ี
 1. สินค้ าเกษตรมีราคาสูงและเงินเดือนทั งภาคเอกชนและราชการ
    ต้ องสูงด้ วย
 2. สินค้ าเกษตรเหมือนบ่อนํ ามันบนดิน ต้ องทําให้ ราคาแพงด้ วย
 3. ราคาสิ นค้ าเกษตรแพง เกษตรกรจะกระตือรื อ ร้ นเพิ มผลผลิ ต
    ธนาคารก็กล้ าปล่อยเงินกู ้ และนักธุรกิจก็กล้ าสนับสนุน
 4. ประเทศไทยมีทีดิน 130 ล้ านไร่ ทํานา 62 ล้ านไร่ และพื นทีเขต
    ชลประทานไม่เกิน 25 ล้ านไร่

                                                             47
5. เสนอปรั บใหม่ ดังนี
        5.1 พื นทีเขตชลประทาน25 ล้ านไร่ปลูกข้ าว โดยพัฒนาพันธุ์
          ระบบชลประทานและเทคโนโลยี จะได้ ผลผลิตมากกว่าใช้ ทีดิน
          62 ล้ านไร่

        5.2 พื นทีปลูกยางพารา ปั จจุบัน13.4 ล้ านไร่ เพิมเป็ น 30
            ล้ านไร่
        5.3 พื นทีปลูกปาล์ม ปั จจุบัน3.1 ล้ านไร่ เพิมเป็ น 12 ล้ านไร่




                                                                          48
5.4 เพิมราคาโดยจับมือกับประเทศผู ้ ส่งออกรายใหญ่
5.5 ลดปริ ม าณส่ ง ออกเพื อให้ ราคาสู ง ขึ น โดยร่ ว มมื อ กั บ
    ประเทศอืน
5.6 ปล่อยให้ ราคาสินค้ าทีเกษตรกรขายได้ เป็ นไปตามกลไก
    ตลาด ปี ทีราคาตําขาดทุนจะชดเชยกับปี ทีราคาสูงได้ กําไร
    ทําให้ พออยู่ได้
5.7 ทําการเกษตรแบบผูกพันสัญญากับบริ ษัทเพือให้ บริ ษัทรับ
    ความเสียงไป เกษตรกรไม่ต้องเสียง

                                                                  49
นโยบายการพัฒนาภาคเกษตรของรัฐบาลปั จจุบัน
1.นโยบายเร่ งด่ วนที จะเริ มดําเนินการในปี แรก

       ยกระดับราคาสินค้ าเกษตรและให้ เกษตรกรเข้ าถึงแหล่งเงินทุน โดยดูแลราคาสินค้ าเกษตรให้ มีเสถียรภาพ
ทีเหมาะสม คํานึงถึงกลไกราคาตลาดโลกโดยใช้ วิธีบริหารจัดการทางการตลาดและกลไกตลาดซื อขายล่วงหน้ า นํา
ระบบรับจํานําสินค้ าเกษตรมาใช้ ในการสร้ างความมันคงด้ านรายได้ ให้ แก่เกษตรกร พร้ อมทั งจัดให้ มีการเยียวยา
ความเสียหายของพืชผลจากภัยธรรมชาติให้ แก่เกษตรกร การจัดทําระบบทะเบียนครัวเรื อนเกษตรกรให้ สมบูรณ์
และการออกบัตรเครดิตสําหรับเกษตรกร


2. นโยบายสร้ างรายได้

       ขยายบทบาทให้ ธุรกิจการเกษตรและอาหารให้ ก้าวข้ ามไปสู่การเป็ นศูนย์กลางการผลิตและการค้ าอาหาร
คุณภาพสูง เป็ นทีต้ องการของผู ้ บริ โภคทีมีฐานะและรสนิยมเฉพาะตัว การพัฒนาประเทศไทยให้ เป็ นศูนย์กลาง
ตลาดซื อขายล่วงหน้ าสินค้ าเกษตรและอาหาร เช่น ข้ าว นํ าตาล นสําปะหลัง และอืนๆ
                                                            มั


3.นโยบายปรับโครงสร้ างเศรษฐกิจภาคเกษตร

         (1) ส่งเสริมสนับสนุนให้ สภาเกษตรกรแห่งชาติเป็ นกลไกของเกษตรกรในการสือสารกับรัฐบาลและร่วมกัน
พัฒนาเกษตรกรด้ วยตนเอง
         (2) เพิมประสิท ธิภาพการผลิตพื ช โดยการวิจัย และพัฒนาสายพันธุ์ พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเพือให้
ได้ ผลผลิตสูง ต้ านทานโรคและแมลงศัตรูพืช สอดคล้ องกับสถานการณ์การเปลียนแปลงของภูมิอากาศโลก และ
ถ่ายทอดองค์ความรู ้ จากการวิจัย ไปสู่เกษตรกรเพื อให้ มีการใช้ พัน ธุ์ดี ใช้ เทคโนโลยีที เหมาะสมกับ สภาพพื นท
                                                                                                           ี
โดยเฉพาะการใช้ ปุ ๋ ยตามคุณสมบัติของดินแต่ละชนิดพืเอลดต้ นทุนการผลิตและพัฒนาคุณภาพผลผลิต
         (3) เพิมศักยภาพกระบวนการการผลิตด้ านปศุสัตว์ใ ห้ ได้ มาตรฐานปลอดภัย เป็ นมิตรกับสิงแวดล้ อม
เพียงพอกับความต้ องการภายในประเทศและการส่งออก เพิมสมรรถนะการควบคุม ปองกัน วินิจฉัย และบําบัด
                                                                                    ้
โรค การติดต่อระหว่างสัตว์สู่คน การพัฒนาเทคโนโลยีด้านชีวภัณฑ์สัตว์และการตรวจสอบคุณภาพ
         (4) พัฒนาการประมง ทั งในการเพาะสัตว์เลี ยง และในแหล่งนํ าธรรมชาติ โดยการฟื นฟูทรัพยากรประมง
และจัดระเบียบการทําประมงให้ สมดุลกับศักยภาพการผลิตตามธรรมชาติ ขยายพื นทีอนุรักษ์ เพือการประมงทะเล
พื นบ้ านส่งเสริมการเพ ยงสัตว์นํ าเศรษฐกิจทีเป็ นมิตรกับสิงแวดล้ อม แสวงหาลู่ทางการทําประมงในน่านนํ า
                       าะเลี
ต่างประเทศทีไม่ขัดต่อระเบียบขององค์การระหว่างประเทศและประเทศทีนําเข้ า โดยการพัฒนากองเรื อประมงนํ า
ลึกและความร่วมมือกับต่างประเทศ รวมทั งพัฒนาสินค้ าประมงให้ มีคุณภาพและปลอดภัยงแต่ต้นนํ าถึงปลายนํ า
                                                                                          ตั
ตลอดจนพัฒนากระบวนการตรวจสอบคุณภาพสัตว์นํ าตามมาตรฐานสากล

                                                    1
(5) เสริ มสร้ างฐานรากของครัวเรื อนเกษตรกรให้ เข้ มแข็ง โดยการเพิมประสิทธิภาพการเพาะปลูก ลด
ต้ นทุนการผลิต พัฒนาระบบการผลิตทีเป็ นขั นตอน โดยมีการวางแผนการผลิตและการจําหน่ายล่วงหน้ าทีแม่ า
                                                                                                นยํ
และประสานโครงสร้ างพื นฐานของทางราชการและเอกชนให้ เกิดประโยชน์สูงสุด สร้ างกระบวนการผสมผสาน
ระหว่างเทคโนโลยีและภูมิปัญญาชาวบ้ าน

         (6) จัดทําระบบทะเบียนครัวเรือนเกษตรทีมีข้อมูลการเกษตรของครัวเรื อนครบถ้ วน สามารถเชือมโยงกับ
บัตรเครดิตสําหรับเกษตรกรและมีการปรับปรุงทันสมัยอยู่เสมอเพือความสะดวกในการสนับสนุนช่วยเหลือและ
พัฒนาเกษตรกร สร้ างหลัก ประกันความมันคงในการประกอบอาชี พให้ เ กษตรกร จัดให้ มีอาสาสมัครเกษตร
หมู่บ้านเพือสนับสนุนการทํางานภาครัฐ ตลอดจนจัดให้ มีรายการโทรทัศน์เพือการเกษตร เผยแพร่ความรู ้ ด้านการ
ผลิตและการตลาดแก่เกษตรกรทัวไป
         (7) เร่งรัดพัฒนาธุรกิจการเกษตร โดยการพัฒนาสถาบันเกษตรกรในด้ านธุรกิจสร้ างเกษตรกรรุ่นใหม่จาก
โครงการกองทุนตั งตัวได้ ร่วมมือสนับสนุนสถาบันการศึ    กษาเพือความเป็ นเลิศทางวิชาการเกษตรทุกสาขาและ
ดําเนินการให้ บุคลากรของสถาบันการศึกษาทําหน้ าทีสนับสนุนการส่งเสริมการเกษตร พัฒนารูปแบบการจัดการ
ผลิต การบรรจุและพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการตรวจสอบย้ อนกลับแหล่งผลิตเร่งรัดการพัฒนาเกษตรอุตสาหกรรม
เช่น ยางพาราและพืชพลังงาน เช่น ปาล์มนํ ามัน อ้ อย มันสําปะหลัง เพือรองรับวิกฤตพลังงานโลกส่งเสริ มการ
ผลิตสินค้ าใหม่ทีให้ ผลตอบแทนสูง โดยมีเป าหมายเพิมมูลค่าภาคการเกษตรต่อผลผลิตมวลรวมของประเทศ
                                            ้
อย่างต่อเนือง
         (8) พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรมูลค่าเพิมเพือศักยภาพการแข่งขันในตลาดโลกโดยการส่งเสริ มการผลิต
สินค้ าใหม่ทีมีกําไรสูง มีก ารแปรรู ปอย่างครบวงจรเพือแสวงหามูลค่าเพิมสูงสุด พัฒนาระบบตลาดทุกขั นตอน
ยกระดับผลผลิตให้ มีคุณภาพและเป็ นทียอมรับในตลาดต่างประเทศ สร้ างกลุ่มธุรกิจรายสินค้ าระดับภูมิภาคเพือ
เพิมศักยภาพในการแข่งขัน และสร้ างโอกาสชี นําในเรืองราคา โดยเฉพาะตลาดข้ าว เร่งรัดการเจรจาข้ อตกลงต่าๆ  ง
ทีเกียวกับมาตรฐานสินค้ าเกษตรและอาหารในตลาดโลก ส่งเสริมให้ ประเทศไทยเป็ นครัวโลกทั งในแง่สินค้ าเกษตร
อาหารไทย และสนับสนุนการลงทุนภาคเกษตรในต่างประเทศ
         (9) ส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ ส่งเสริมการวิจยและพัฒนาพันธุ์ ดําเนินการฟื นฟูสภาพแวดล้ อมสร้ างความ
                                                  ั
เข้ มแข็งภาคเกษตรและสร้ างความมันคงทางอาหารเพือเผชิญกับวิกฤตอาหารโลก สร้ างความสมดุลระหว่างพืช
อาหารและพื ช พลังงาน ส่งเสริ มเกษตรอิน ทรี ย์ และเกษตรทางเลือก ปรับ โครงสร้ างและจัดหาที ทํ ากิ น ให้ แก่
เกษตรกรผู ้ ยากไร้ และดําเนินการฟื นฟูคุณภาพดิน ให้ คงความอุดมสมบูรณ์อย่างยังยืนตลอดจนการคุ ้ มครองทีดิน
เพือเกษตรกรรม




                                                   2
แนวทางการพัฒนาภาคเกษตรในช่ วง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ
                            ฉบับที 11 (พ.ศ.2555-2559)
1.กรอบแนวคิด

       กรอบแนวคิดเบื อต้ นเพือประกอบการจัดทําแผนพัฒนาการเกษตร ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติฉบับ ที 11 (พ.ศ.255-2559) พิ จารณาจากความสําคัญ ของภาคเกษตรภาพรวมด้ านต่างๆจํ านวน 9
ประเด็น ได้ แก่

      1.1 การพัฒนาโครงสร้ างพื นฐานด้ านการเกษตร เพือเพิมประสิทธิภาพการผลิตสินค้ าเกษตรด้ านการใช้
          ประโยชน์จากดินให้ เหมาะสม การจัดการนํ าให้ เพียงพอ การพัฒนาทีดินนอกเขตชลประทานและการ
          จัดการด้ านโลจิสติกส์
      1.2 การเสริ มสร้ างความเข้ มแข็งให้ เกษตรกร เพื อพัฒนาหรื อเสริ ม สร้ างความเข้ มแข็งและยกระดับ
          คุณภาพชีวิตของเกษตรกร ส่งเสริ มการรวมกลุ่มสถาบันเกษตรกร ตลอดจนการพัฒนาเกษตรกรรุ่น
          ใหม่
      1.3 ส่งเสริ มการทําการเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอพียง เพือสร้ างความมันคงในการประกอบ
          อาชีพให้ เกษตรกรในระดับครัวเรือนให้ พึงพาตนเอง
      1.4 ส่ง เสริ ม การทํ าการเกษตรในรู ป แบบของการพัฒ นาเครื อ ข่า ยวิ สาหกิ จ (Cluster) เพื อเพิ มขี ด
          ความสามารถในการแข่งขันของภาคเกษตรตั งแต่ต้นนํ าถึงปลายนํ า
      1.5 ความมันคงด้ านอาหารและพลังงาน โดยให้ การศึกษาและส่งเสริ มด้ านอาหาร (Food Education)
          ตลอดกระบวนการผลิต (Supply Chain) ได้ แก่ การทําให้ อาหารมีคุณภาพ (Food Quality) เป็ น
          อาหารทีปลอดภัยสําหรับการบริ โภค (Food Safety) รวมทั งพอเพียงสําหรับเลี ยงประชากร(Food
          Security)
      1.6 เศรษฐกิจสร้ างสรรค์ในภาคเกษตร การทําการเกษตรควรขับเคลือนด้ วยประสิทธิภาพ (Efficiency-
          driven Economy) และนวัตกรรม (Innovation-driven Economy) โดยการนําภูมิปัญญาผนวกกับ
          วัฒนธรรมทีดีงามในท้ องถินและเทคโนโลยี มาสร้ างมูลค่าให้ สินค้ าเกษตรมีเอกลักษณ์ เฉพาะตัว
          แตกต่างกันในแต่ละท้ องถิน
      1.7 เศรษฐกิจการเกษตรสีเขีย ว (Green and Cool Agricultural Economy) หรื อการทําเกษตรที ไม่
          ทําลายสิงแวดล้ อม โดยการดําเนิ นนโยบายและกําหนดวิธีปฏิบัติให้ สามารถใช้ ท รัพยากรได้ อย่าง
          ยังยืน
      1.8 ความร่ วมมือและข้ อตกลงระหว่างประเทศ โดยติดตามกระแสการเปลียนแปลงของโลกเพือการ
          ปรับตัวและกําหนดมาตรการรองรับให้ ภาคธุรกิจและภาคการเกษตรในประเทศมีความเข้ มแข็งและ
          สามารถแข่งขันได้

                                                  3
1.9 การพัฒนาบุคลากรด้ านการเกษตร เพือเตรี ยมความพร้ อมให้ สามารถรองรับการเปลียนแปลงตาม
               สถานการณ์ เ ศรษฐกิ จ และสังคมโลกาภิวัฒน์ โดยการพัฒนาบุคลากรด้ านการเกษตร ปรับ ปรุ ง
               กระบวนการทํางานของหน่วยงานและบุคลากรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ให้ มีการบูรณาการมาก
               ยิ งขึ น รวมทั งการปรั บ โครงสร้ างหน่ว ยงา ง กัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ใ ห้ เหมาะสม
                                                         นในสั
               สอดคล้ องกับสถานการณ์ทั งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค


2. วัตถุประสงค์ และเปาหมาย
                     ้

           2.1 วัตถุประสงค์

           (1) เพือให้ เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตทีดี มีอาชีพทีมันคง รายได้ เพียงพอต่อการเลี ยงชีพและมีความภูมิใจใน
อาชีพ
           (2) เพือเพิมประสิทธิภาพการผลิตสินค้ าเกษตรและอาหาร ใหม่ทั งคุณภาพและปริ มาณเพียงพอต่อความ
ต้ องการ
           (3) เพือให้ มีการบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพ สมดุล และยังยืน


           2.2 เปาหมาย
                ้

           (1) ความผาสุกของเกษตรกรเพิมขึ นร้ อยละ80 ในปี 2559
           (2) เศรษฐกิจภาคเกษตรเติบโตเฉลียร้ อยละ3.0 ต่อปี
           (3) ทรัพยากรเกษตรมีความเหมาะสมต่อการผลิตทางการเกษตรเพิมขึ น

3. ยุทธศาสตร์ การพัฒนาการเกษตร

        การพัฒนาการเกษตรให้ ความสําคั ญต่อการพัฒนาเกษตรกรให้ มีคุ ณภาพชีวิตทีดี ก้ าวทันต่อการ
เปลียนแปลง การพัฒนาการผลิตสินค้ าเกษตรกรให้ มีประสิทธิภาพและมีความหลากหลายให้ ประชาชนมีความ
มันคงทางด้ านอาหารและมีผลผลิตเพียงพอต่อความต้ องการด้ านอาหารและพลังงาน ร่วมสร้ างเศรษฐกิจของ
ประเทศให้ เจริญเติบโตอย่างมีคุ ณภาพและมันคง เตรียมพร้ อมรองรับสถานการณ์การเปลียนแปลงทั งในและนอก
ประเทศทีปรับเปลียนอย่างรวดเร็ว เพิมขีดความสามารถในการแข่งขันและการพัฒนาทรัพยากรการเกษตรให้ มี
การใช้ อย่างมีประสิทธิภาพควบคู่ไปกับการอนุรักษ์ ฟืนฟูสร้ างโอกาสการเข้ าถึงทรัพยากรและมีการใช้ อย่างมี
ประโยชน์อย่างทัวถึงและเป็ นธรรม จึงได้ กําหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาการเกษตรทีสําคัญในช่วงระยะเวลา 5 ปี
ดังนี



                                                      4
ยุทธศาสตร์ ที 1 พัฒนาคุณ ภาพชีวิต เกษตรกร เพื อให้ เ กษตรกรมีความสามารถพึงพาตนเองได้
มีภูมิคุ ้ มกัน พร้ อมรับความเสียงด้ านการผลิต การตลาดและมีการกระจายรายได้ ทีทัวถึง มีความสามารถในการ
ผลิตและการตลาด ก้ าวสู่ผู ้ จัดการฟาร์ มทีเป็ นมืออาชีพ (Smart Farmer) รวมทั งสร้ างเกษตรกรรุ่นใหม่ทดแทน
รุ่นเดิม ตลอดจนส่งเสริมองค์กรเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรให้ มีการดําเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพและยังยืน
โดยการ

       (1) สร้ างความมันคงในการประกอบอาชีพและรายได้ ใ ห้ แก่เ กษตรกร ในการพัฒนาระบบการประกัน
           ความเสียงการเกษตรให้ เหมาะสมกับสินค้ าเกษตรและถานการณ์ทีเกิดจากภัยธรรมชาติ ผลักดันให้ มี
           ระบบสวัสดิการให้ ครอบคลุมอย่างทัวถึง และพัฒนาระบบการคุ ้ มครองทีดินให้ เกษตรกรรายย่อยมี
           ทีดินเป็ นของตนเองหรือมีสิทธิทํากินในทีดิน
       (2) สร้ างองค์ความรู ้ ให้ กับเกษตรกรในด้ านบัญชีต้นทุนอาชีพและด้ านวิทยาศาสตร์ เข้ าสู่ Smart Farmer
           และถ่ายทอดเทคโนโลยีสมัยใหม่ผสมผสานภูมิปัญญาท้ องถิน
       (3) สร้ างขีดความสามารถให้ กับเกษตรกรและชุมชน ในการรับมือกับความเสียงจากภัยธรรมชาติด้วยการ
           ประชาสัมพันธ์ ให้ ชุมชนรู ้ และเข้ าใจผลกระทบของโลกร้ อน ถ่ายทอดความรู ้ และเทคโนโลยี ในการ
           ปรับ ตัว และสร้ างขีดความสามารถให้ กับ เกษตรกรและชุมชน ในการรับมือกับ ความเสียงจากภัย
           ธรรมชาติ
       (4) สร้ างความมันคง ปลอดภัย ด้ านอาหารในครัวเรือนเกษตรในด้ านการผลิตอาหารเพียงพอปลอดภัย
           สนับสนุนให้ มีการปลูกผักสวนครัว ปลอดสารพิษเพือบริโภคในครัวเรือน(City Farm) และส่งเสริ มการ
           ทําเกษตรกรรมยังยืน
       (5) ส่งเสริ มและสนับ สนุน เกษตรกรรุ่ น ใหม่ให้ เ ข้ าสู่ภาคเกษตร โดยการร่วมมือกับ สถาบันการศึก ษา
           การปรับปรุงระบบการเรียนการสอนให้ เป็ นหลักสูตรทีสอดคล้ องกับสภาพปั ญหาและความต้ องการ
           แต่ละท้ องถิน และให้ ชุมชนเป็ นแหล่งเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร แลกเปลียนประสบการณ์
       (6) สนับสนุนการดําเนินงานขององค์กรเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร รวมทั งสภาเกษตรกรแห่งชาติ
           และพัฒนาระบบการรวมกลุ่มทั งในรูปแบบของสหกรณ์และกลุ่มส่งเสริมอาชีพต่างๆ
       (7) สร้ างฐานข้ อมูลชุมชนด้ านการเกษตร นําความรู ้ ภูมิปัญญาท้ องถินมาใช้ ประโยชน์ในการพัฒนาการ
           เกษตร เพิมความสามารถ และช่องทางการรับรู ้ ข่าวสารอย่างทัวถึง

       ยุทธศาสตร์ ที 2 พัฒนาขีดความสามารถในการผลิต การจัดการสินค้ าเกษตรและความมันคงด้ าน
อาหาร เพือสร้ างฐานการผลิตภาคเกษตรให้ เข้ มแข็ง ทําให้ เกิดความมันคงในอาชี พและรายได้ ใ ห้ กับเกษตรกร
พัฒนาคุณภาพสินค้ าเกษตรและอาหารให้ มีความสามารถในการแข่งขัน ประชาชนมีความมันคงด้ านอาหารและมี

                                                    5
ผลผลิตเพียงพอกับความต้ องการด้ านอาหารและพลังรวมทั งส่งเสริมให้ มีและนําผลงานวิจัยพัฒนาด้ านการเกษตร
ไปใช้ ประโยชน์มากขึ น โดยการ

       (1) พัฒนาการผลิตและการสร้ างมูลค่าเพิม เน้ นลดต้ นทุนการผลิต และพัฒนาคุณภาพผลักดันแนวคิด
           เศรษฐกิจสร้ างสรรค์ภาคเกษตร ส่งเสริ มการทําการเกษตรแบบกลุ่มการผลิตหรื อเครื อข่ายวิสาหกิจ
           (Cluster) สร้ างมูลค่าเพิมให้ กับสินค้ าเกษตร และเพิมประสิทธิภาพการบริหารโลจิสติกส์
       (2) ส่งเสริมการผลิตทีเป็ นมิตรกับสิงแวดล้ อม (Green Product) ด้ วยการส่งเสริมการใช้ เทคโนโลยีสะอาด
           การเกษตรสีเขียว การปฏิบัติทางการเกษตรทีดี (GAP : Good Agricultural Practices) การทําเกษตร
           อินทรีย์ ลดการเผาตอซังลดมลพิษจากแหล่งผลิตภาคเกษตร ศึกษาการปลดปล่อยก๊ าซเรื อนกระจก
           และสร้ างความรู ้ ความเข้ าใจ รวมทั งประโยชน์ทีจะได้ รับจากการซื อขายค บอนเครดิต
                                                                                าร์
       (3) เสริมสร้ างการผลิตสินค้ าเกษตรทีเป็ นพืชอาหารและพลังงานให้ เกิดความมันคง รวมทั งสนับสนุนเพือ
           จัดสรรผลผลิตพืชอาหารและพลังงานให้ เพียงพอต่อการบริโภคและทดแทนพลังงาน
       (4) สนับสนุนการพัฒนาระบบตลาดสินค้ าเกษตร ด้ วยการพัฒนาทักษะ องค์ความรู ้ และการใช้ ประโยชน์
           จากตลาดกลาง ตลาดสินค้ าเกษตรล่วงหน้ า รวมทั งสนับสนุนการสร้ างเครือข่ายการผลิตการตลาด
       (5) สร้ างความเชื อมโยงกับเศรษฐกิจ ภูมิภาคและระหว่างประเทศ มุ่งเน้ นการสร้ างความร่วมมือทาง
           เหลียมเศรษฐกิจต่างๆเพือเพิมช่องทางการจําหน่ายและกระจายรายได้ โดยเฉพาะจากกลุ่มประชาคม
           เศรษฐกิจอาเซียน รวมทั งการเตรียมการรองรับการลงทุนด้ านเกษตรกรรมข้ ามชาติเพือให้ มีการลงทุน
           ด้ านเกษตรกรรมอย่างรับผิดชอบ (RAI : Responsible Agricultural Investment)
       (6) ส่งเสริมและพัฒนางานวิจัยด้ านการเกษตร สนับสนุนงานวิจัย พันธุ์พืช สัตว์ สัตว์นํ าจุลินทรี ย์ รวมทั ง
           พืชพลังงานทดแทน โดยให้ มีการบูรณาการงานวิจัยระหว่างภาครัฐ เอกชน สถาบันการศึกษาและ
           สถาบันวิจัย ตลอดจนการพัฒนางานวิจัยตามความต้ องการใช้ ประโยชน์

       ยุทธศาสตร์ ที 3 พัฒนาทรัพยากรการเกษตรอย่ างมีประสิทธิภาพ สมดุลและยังยืนเพือสร้ างและ
พัฒนาการใช้ ทรั พยากรการเกษตรและโครงสร้ างพื นฐานการเกษตรอย่า งมี ป ระสิ ท ธิ ภาพ ฟื นฟูท รั พยากร
การเกษตรให้ มีความเหมาะสมต่อการผลิตทางการเกษตรอย่างยังยืน และเตรี ยมความพร้ อมในการรองรับและ
ปรับตัวต่อผลกระทบจากการเปลียนแปลงของสภาพภูมิอากาศ รวมทั งสนับสนุนให้ ชุมชนท้ องถินเข้ ามามีส่วนร่วม
ในการบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิงแวดล้ อมโดยการ

       (1) ส่ง เสริ ม และสนับ สนุ น การใช้ ทรั พ ยากรการเกษตรและโครงสร้ างพื นฐานการเกษตรอย่ า งมี
           ประสิทธิ ภาพและยังยืน ด้ วยการเร่ งรัดการฟื นฟูและปรับ ปรุ งคุณภาพดินที เสือมโทรม วางระบบ


                                                    6
Merged document

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (13)

Expozitie virtuală: Rolul părinților în dezvoltarea armonioasă a copilului
Expozitie virtuală: Rolul părinților în dezvoltarea armonioasă a copiluluiExpozitie virtuală: Rolul părinților în dezvoltarea armonioasă a copilului
Expozitie virtuală: Rolul părinților în dezvoltarea armonioasă a copilului
 
Elezioni 2013 : Unanazione
Elezioni 2013 : UnanazioneElezioni 2013 : Unanazione
Elezioni 2013 : Unanazione
 
Paul Goma
Paul GomaPaul Goma
Paul Goma
 
Programma movimento-5-stelle
Programma movimento-5-stelleProgramma movimento-5-stelle
Programma movimento-5-stelle
 
Raja glp
Raja glpRaja glp
Raja glp
 
Îndrumător al culturii româneşti
Îndrumător al culturii româneştiÎndrumător al culturii româneşti
Îndrumător al culturii româneşti
 
La nostra rivoluzione_civile
La nostra rivoluzione_civileLa nostra rivoluzione_civile
La nostra rivoluzione_civile
 
Expoziție virtuală: „Micul Geniu”
Expoziție virtuală: „Micul Geniu”Expoziție virtuală: „Micul Geniu”
Expoziție virtuală: „Micul Geniu”
 
Jubileusz Przedszkole 2
Jubileusz Przedszkole 2Jubileusz Przedszkole 2
Jubileusz Przedszkole 2
 
Ludoteca
LudotecaLudoteca
Ludoteca
 
Agreed customer requirements
Agreed customer requirementsAgreed customer requirements
Agreed customer requirements
 
What is deficit financing
What is deficit financingWhat is deficit financing
What is deficit financing
 
Romane de dragoste
Romane de dragosteRomane de dragoste
Romane de dragoste
 

Similar to Merged document

ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
Somporn Isvilanonda
 
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
somporn Isvilanonda
 
เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
IFon Lapthavon
 
อาหารสุขภาพ 3
อาหารสุขภาพ 3อาหารสุขภาพ 3
อาหารสุขภาพ 3
Utai Sukviwatsirikul
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
punloveh
 
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทยยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
วราภรณ์ ทรัพย์รวงทอง
 

Similar to Merged document (20)

4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
 
case study Cp
case study Cpcase study Cp
case study Cp
 
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
 
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
 
สถิติการเกษตร
สถิติการเกษตรสถิติการเกษตร
สถิติการเกษตร
 
เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
 
7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)
7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)
7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)
 
อาหารสุขภาพ 3
อาหารสุขภาพ 3อาหารสุขภาพ 3
อาหารสุขภาพ 3
 
6 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กฤษณา)
6 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กฤษณา)6 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กฤษณา)
6 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กฤษณา)
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทยยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
 
Smart farm lecture-ku
Smart farm lecture-kuSmart farm lecture-ku
Smart farm lecture-ku
 
Farming System 23/06/54
Farming System 23/06/54Farming System 23/06/54
Farming System 23/06/54
 
Gap
GapGap
Gap
 
Smart farm initiative
Smart farm initiativeSmart farm initiative
Smart farm initiative
 
20100905 wp ch3-smart farm
20100905 wp ch3-smart farm20100905 wp ch3-smart farm
20100905 wp ch3-smart farm
 
Smart Agriculture
Smart Agriculture Smart Agriculture
Smart Agriculture
 
Smart farm concept
Smart farm conceptSmart farm concept
Smart farm concept
 
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Curri 02 11
Curri 02 11Curri 02 11
Curri 02 11
 

Merged document

  • 1. การพัฒนาภาคเกษตรของไทย ศ.ดร.ประยงค์ เนตยารั กษ์ ศูนย์ ศึกษาความร่ วมมือระหว่ างประเทศ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 1
  • 2. เนื อหาในเอกสารและการบรรยาย 1.การพัฒนาภาคเกษตรไทยตามแนวคิดของผู ้ บรรยาย 1.1 การผลิตสินค้ าเกษตรในอดีตทีผ่านมา 1.2 ความสําคัญของตลาดกับการพัฒนาภาคเกษตร 1.3 ปั จจัยทีมีผลกระทบตลาดอาหาร 1.4 การแข่งขันในตลาดระหว่างประเทศ การกีดกันและข้ อกําหนดต่างๆ 1.5 วิเคราะห์นโยบายและมาตรการแทรกแซงตลาด ราคาข้ าว และปาล์ม 1.6 วิเคราะห์การนําพืชผลเกษตรไปผลิตพลังงานทดแทนและผลกระทบ 2
  • 3. เนือหาในเอกสารและการบรรยาย 2. GMOs ความสําคัญต่อการพัฒนาการเกษตรและผลกระทบ 3.การพัฒนาภาคเกษตรตามแนว ธนินทร์ เจียรวนนท์ (ซีพี) 4.นโยบายการพัฒนาภาคเกษตรของรัฐบาลปั จจุบัน 5.แนวทางการพัฒนาภาคเกษตรในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม แห่งชาติฉบั บที 1 (พ.ศ. 2555-2559) 6.ข้ อมูลเกียวกับการผลิตและการค้ าสินค้ าเกษตรทีสําคัญของไทย 3
  • 4. 1. การผลิตสินค้ าเกษตรในอดีตที ผ่ านมา 1.1 ภาคเกษตรไม่หยุดนิงและโครงสร้ างการผลิตเปลียนมาก - ผลิตสินค้ าหลักเดิมเพิมขึ น ข้ าว อ้ อย มันสําปะหลัง : ยางพารา ไก่ - ผลิตสินค้ าใหม่ๆ หรื อสําคั ญเพิมขึ น: ผักและ ผลไม้ ไม้ ดอก และไม้ ประดับ สัตว์เลี ยง ปาล์ม ปลานํ าจืด นํ าเค็มประเภทต่างๆ รวมปลาสวยงาม 4
  • 5. 1.2 สินค้ าทีเคยเหลือส่งออกกลับผลิตไม่พอหรื อเลิกผลิต - ข้ าวโพดเลี ยงสัตว์เคยเหลือส่งออก ปั จจุบันต้ องนําเข้ าบางปี - ปอหมดไป - กุ ้ งกุลาดําต้ องนําเข้ า และเปลียนไปเลี ยงกุ ้ งขาว 1.3 ผลิตสินค้ าเกษตรแปรรูปเพิมขึ น: กุ ้ ง ไก่ ปลาทูน่า และอาหารทะเล ผักและ ผลไม้ 5
  • 6. 1.4 เปลียนแหล่งผลิต - ยางพาราไปอีสาน - อ้ อยจากภาคกลางด้ านตะวันตกและตะวันออกไป เหนือตอนล่างและอีสาน - ลําไยจากเหนือตอนบนและกล้ วยไข่จากเหนือตอนล่าง ไปภาคกลางด้ านตะวันออก 1.5 เทคโนโลยีการผลิตเปลียนมาก - ปั จจัยการผลิต : พันธุ์ เครื องจักร ปุ ๋ ย - วิธีการผลิต และดูแลรักษา - การจัดการฟาร์ ม : เกษตรทฤษฎีใหม่ เกษตรผสมผสาน เกษตรอินทรี ย์ เกษตรแบบผูกพันสัญญา 6
  • 7. 1.6 สภาพแวดล้ อมทางกายภาพเปลียนไปมาก - ความอุดมสมบูรณ์ของดินลดลงมาก - ขนาดทีดินทํากินเล็กลง - ฝนตกนํ าท่วม และความแห้ งแล้ งสลับกัน และรุนแรงขึ น - สภาวะโลกร้ อน และสภาพอากาศเปลียน - ค่ า จ้ า งแรงงานในภาคเกษตรเพิ มขึ นมากเกิ ด ขาดแคลน แรงงาน และลูกหลานไม่ทําการเกษตรต่อ - ความอุดมสมบูรณ์ของสัตว์นํ าจืดและนํ าเค็มลดน้ อยลง 7
  • 8. หลักการพัฒนาภาคเกษตรของไทยต้ องใช้ ตลาดนํา 2. ต้ อ งใช้ ตลาดสิ น ค้ า เกษตรหรื อ ความต้ อ งการเป็ นตั ว นํ า โดยมีความหลากหลายของตลาดหรื อความต้ องการ 2.1 ตลาดในประเทศ - เพือบริ โภคในรูปสินค้ าเกษตรขั นต้ น  คุณภาพดี ราคาแพง สํา หรั บผู ้ บ ริ โภครายได้ สูง ส่วนใหญ่ อยู่ใ น เมือง  คุ ณ ภาพตํ า ราคาถู ก สํ า หรั บ ผู ้ มี ร ายได้ น้ อ ย ส่ ว นใหญ่ อ ยู่ ใ น ชนบท - เพือเป็ นปั จจัยการผลิต  ผลิตสินค้ าเกษตรแปรรู ป คุณภาพดีและปริ มาณสมําเสมอ  ใช้ ผลิตสินค้ าอืน เช่น อาหารสั ตว์ 8
  • 9. 2.2 ตลาดต่ างประเทศ - เพือบริ โภคในรูปสินค้ าเกษตรขั นต้ น  คุณภาพดี ราคาแพง ขายในประเทศทีพัฒนา ซึงประชากร มีรายได้ มากต้ องการบริ โภคอาหารทีได้ มาตรฐานสากล  คุณภาพไม่ค่อยดี ราคาถูก ขายในประเทศทีกําลังพัฒนา ด้ อยพัฒนา ซึงประชากรมีรายได้ น้อย - เพือเป็ นปั จจัยการผลิต  ผลิ ต สิ น ค้ าเกษตรแปรรู ป คุ ณ ภาพดี ไ ด้ มาตรฐานและ ปริ มาณสมําเสมอ  ใช้ ผลิตสินค้ าอืนๆ เช่น อาหารสั ตว์ 9
  • 10. 3. ปั จจัยสําคัญที กระทบตลาดอาหาร 3.1 การเปลียนแปลงโครงสร้ างอายุของคน การตั งและขยายชุมชน และเมือง - คนสูงอายุมีมากขึ น ซึงต้ องการอาหารสําหรับคนสูงอายุ - การตั งเมืองหรื อชุมชนใหม่ หรื อขยายเพิมขึ น ทําให้ เกิดตลาด ใหม่ และโครงข่ายการกระจายอาหารเปลียนไป 3.2 การเปลียนแปลงเทคโนโลยีในการแปรรูปอาหาร และปรุงอาหาร - แปรรูปอาหารได้ หลากหลายมากขึ น เก็บได้ นานขึ น โดยคุณค่า ไม่เปลียน ทําให้ ขอบเขตตลาดกว้ างขึ น 10
  • 11. - เทคโนโลยีในการแช่เย็น แช่ แข็ ง มีป ระสิทธิ ภ าพในการเก็ บ อาหารได้ ดีขึ น ทําให้ ไม่ต้ องซื อบ่อยและซื อครั งละมากๆ ซึง ประหยัดเวลาและค่าใช้ จ่าย - เทคโนโลยีทีเป็ นของใช้ ในครั ว เช่น เครื องบด เครื องตี Food processors Microwaves ทําให้ การปรุงอาหารมีประสิทธิภาพ เพิมขึ น ประหยัดเวลา 3.3 สตรี ทํางานนอกบ้ านมากขึ น - มีเวลาในการเตรี ยมอาหารน้ อยลง - ต้ องการซื ออาหารประเภททีนําไปปรุงต่อไม่มากก็เสร็ จ(Ready to cook) หรื อพร้ อมบริ โภค (Ready to eat) 11
  • 12. 3.4 ความปลอดภัยด้ านสุขภาพ และความสนใจด้ านโภชนาการ - อาหารทีเป็ นประโยชน์ต่อร่ างกาย - ความปลอดภัยในการบริ โภค เช่น ไม่มีสารพิษตกค้ าง ความสะอาด ได้ มาตรฐาน ถูกสุขอนามัย 3.5 รายได้ เพิมขึ น ฐานะทางเศรษฐกิจดีขึ น - ต้ องการบริ โภคอาหารประเภทมีมูลค่าสูงขึ น เช่น ผัก ผลไม้ เนื อสัตว์ - ต้ องการซื ออาหารทีมีการเพิมบริ การทางการตลาดเข้ าไปมากขึ น 3.6 นโยบายเกียวกับเกษตรทั งในประเทศ และระหว่างประเทศ - นโยบายของประเทศทีซื อ - นโยบายของประเทศทีขายแข่ง - ข้ อกําหนด หรื อข้ อตกลงระหว่างประเทศ 12
  • 13. 4. การแข่ งขันในตลาดระหว่ างประเทศ การกีดกันทาง การค้ า ค่ าใช้ จ่ายในการตลาดและผลกระทบ 4.1 มีการแข่งขันในตลาดโลกมากขึ น เป็ นผลจากข้ อตกลง ทางการค้ าและเทคโนโลยีการผลิตทีก้ าวหน้ าขึ น 4.2 มี ก ารใช้ มาตรการกี ด กั น ทางการค้ าที ไม่ ใ ช่ ภ าษี การกําหนดมาตรฐานทีเข้ มงวดขึ น 4.3 ค่ า ใช้ จ่ า ยในการตลาด ส่ ว นเหลื อมการตลาด ระบบโลจิ ส ติ ก ส์ และผลกระทบต่ อ เกษตรก ร การพัฒนาภาคเกษตรและผู ้ บริ โภค 13
  • 14. 4.4 การบังคับใช้ มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (Agreement on the Application of Sanitary and Phytosanitary Measures ; SPS) 4.5 การควบคุม คุณภาพผลิต ภัณ ฑ์ สัตว์ นํ า กํ า หนดให้ โรงงานใช้ ระบบ HACCP (Hazard Analysis Critical Control Point) หรื อระบบการจัดการผลิ ตอาหาร โดยควบคุ ม ตรวจสอบในขั นตอนการผลิ ต แปรรู ป เก็บรักษา และขนส่ง มีขั นตอนใดจะเป็ นอันตรายต่อ ผู ้ บริโภคหรื อไม่ 14
  • 15. 5. การผลิตสินค้ าเกษตรขั นต้ นและแปรรู ป 5.1 สนองความหลากหลายของตลาด 5.2 ต้ องสอดคล้ องกั บ สภาพทางกายภาพ ได้ แก่ ดิน ฟาอากาศ และเศรษฐศาสตร์ ้ 5.3 สอดคล้ องกับลักษณะ วัตถุประสงค์หรื อเปาหมาย ้ ของแต่ละครัวเรื อนซึงอาจไม่เหมือนกัน 5.4 ต้ อ งเพิ มหรื อ เน้ น ที ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต และ ลดต้ นทุนการผลิต 15
  • 16. 6. แนวโน้ มในอนาคตและแนวทางการพัฒนาการเกษตร 6.1 ต้ องยอมรับว่าเกษตรกรมีความสามารถ มีเหตุผล และภาค เกษตรเปลียนแปลงอยู่ตลอดไม่ได้ หยุดนิง 6.2 ปรับโครงสร้ างการผลิตเพือสนองตอบต่อตลาดทีเปลียนไป และมีความหลากหลาย - ผลิตสินค้ าเกษตรทีคุณภาพไม่สูงนัก เพือการบริ โภคใน ประเทศ และส่งออกไปประเทศทีกําลังพัฒนาหรื อด้ อย พัฒนา อาจเป็ นฟาร์ มขนาดเล็ก ใช้ เทคโนโลยีการผลิต ไม่ ทัน สมัย มากนั ก เช่ น เกษตรทฤษฎี ใ หม่ เกษตร ผสมผสาน วนเกษตร เกษตรอินทรี ย์ 16
  • 17. - ผลิตสินค้ าเกษตรทีคุณภาพสูง ได้ มาตรฐานสากลเพือบริ โภค ของคนในเมื องที รายได้ สูง ส่ง ออกไปประเทศที พัฒ นาแล้ ว เป็ นวัตถุดิบแปรรู ป อาจเป็ นฟาร์ มขนาดใหญ่ในรูปบริ ษัทหรื อ สหกรณ์ ใช้ ระบบการบริ หารจัดการและเทคโนโลยีการผลิตที ทัน สมั ย เพื อเพิ มประสิ ท ธิ ภ าพและความสามารถในการ แข่งขันในตลาดโลก อาจผลิตโดยใช้ ระบบความผูกพันสัญญา 6.3 ผลิตสินค้ าเกษตรฮาลาล 6.4 ผลิ ตสิ นค้ าเกษตรแปรรู ปเพิ มขึ น เพราะไทยมี ข้อได้ เ ปรี ยบใน ขั นตอนการแปรรู ป โดยนํ าเข้ าวัตถุดิบสินค้ าเกษตรขั นต้ นบาง ชนิดมาแปรรูป 17
  • 18. 6.5 พัฒนาการตลาด ระบบการขนส่ง และกักเก็บ ระบบโลจิสติกส์เพือลดค่าใช้ จ่ายการตลาด 6.6 การวิจัยและพัฒนา (R&D) ด้ านเครื องจักรกล- การเกษตร พันธุ์และการผลิตปุ ๋ ยชีวภาพ 6.7 พัฒนาการชลประทานและระบบการใช้ นํ าเพือ การเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพ 6.8 เกษตร GMOs 18
  • 19. 7. นโยบายและมาตรการแทรกแซงตลาดและราคา(ข้ าว) 7.1 การรับจํานํากับการประกันรายได้ แนวคิดทางทฤษฎีกรณีรับจํานํา P S D Ps a b P* E* Pm C Q 0 Q1 Q* Q2 19
  • 20. แนวคิดทางทฤษฎีกรณีรับจํานํา  P* และ Q* เป็ นราคาและปริ มาณทีซื อขายในตลาด ทีรัฐบาล ไม่ได้ แทรกแซง  Ps เป็ นราคาประกัน (ราคาขั นตํา )  Q2 เป็ นปริ มาณผลผลิตทั งหมด  Q1 เป็ นปริ มาณทีซื อขายในตลาดในราคาPs  Q1 Q2 เป็ นปริ มาณทีรัฐบาลรับซื อ(รับจํานํา) ในราคา Ps  Q1 a b Q2 เป็ นปริ มาณเงินทีรัฐบาลจ่ายทั งหมด 20
  • 21. แนวคิดทางทฤษฎีกรณีประกันรายได้  Ps เป็ นราคาประกัน (ราคาเปาหมาย) ้  Pm เป็ นราคาทีเกษตรกรขายได้ ในตลาด (ราคาอ้ างอิง)  Q2 เป็ นปริ มาณทีเกษตรกรขายทั งหมด  Pm Ps b c เป็ นเงินทีรัฐบาลจ่ายทั งหมด 21
  • 22. การรับจํานํา  วัตถุประสงค์ 1. เพือช่วยเหลือเกษตรกร (ชาวนา) ให้ ขายข้ าวได้ ในราคาทีสูง กว่าราคาตลาด เพราะราคาตลาดตําเกินไป ทําให้ ชาวนาขาดทุน 2. ช่วงฤดูเก็บเกียวข้ าวผลผลิตจะออกมามาก ราคาจะตํา และ ราคาจะค่อยๆสูงขึ นหลังฤดูเก็บเกียว โครงการรับจํานําจะช่วยให้ เกษตรกรไม่ต้องรี บขายข้ าว สามารถเก็บไว้ รอขายเมือราคาสูงขึ นได้ 22
  • 23. วิธีการและหลักการ 1. เกษตรกรทีเข้ าร่วมโครงการทีไม่มียุ ้ งฉาง เก็บกักข้ าวของตนเอง สามารถนําข้ าวมา จํานําทีโรงสีทีเข้ าร่วมโครงการในราคารับจํานํา ในปริ มาณเท่าไหร่ก็ได้ ทีสามารถผลิต ได้ และไปรับเงินทีธนาคารเพือการเกษตรและสหกรณ์ (ธกส.) 2. เกษตรกรทีมียุ ้ งฉางสามารถนําข้ าวไปจํานําที ธกส. รับเงินที ธกส. โดยเก็บข้ าวไว้ ทียุ ้ ง ฉางของตนเอง 3. ทั ง2 กรณีหากครบกําหนดเวลารับจํานํา ถ้ าเกษตรกรไม่มาไถ่ถอนคืน ก็จะเป็ นการ ขายข้ าวให้ รัฐบาลตามราคารับจํานํา ฉะนั นเท่ากับเป็ นการประกันราคาขั นตําในราคา รับจํานํา ซึงสู งกว่าราคาตลาด (ขณะทีนําข้ าวมาจํานํา) และในอนาคตหากราคาข้ าวใน ตลาดสูงขึ น เกษตรกรก็สามารถมาไถ่ถอนคืนขายในตลาดได้ โดยจะได้ ราคาสู งกว่า ราคารับจํานํา 23
  • 24. วิธีการและหลักการ 4. ปริ มาณข้ าวทีรับจํานําไว้ เมือตกเป็ นของรัฐบาล ก็จะนําออกมาประมูลขายให้ แก่ พ่อค้ าส่งออก โดยควรยึดหลั ก (ก) แบ่งปริมาณประมูล แต่ละกองไม่มากนัก เพือให้ พ่อค้ ารายย่อยสามารถ เข้ ามาร่วมแข่งขันประมูลได้ (ข) ควรมีการวิเคราะห์สภาวะตลาดและราคาข้ าวในตลาดโลกเพือหาจังหวะ ขายในช่วงทีตลาดราคาสูง (ค) ไม่ควรเก็บกักข้ าวไว้ นานจนข้ ามปี เพราะข้ าวจะเสือมคุณภาพ ค่าใช้ จ่าย ในการเก็บกักสูง และยั งมีข้าวทีผลิตได้ ใหม่ออกมาสมทบด้ วย จะทําให้ ราคาตก 24
  • 25. ปั ญหาที ผ่ านมา 1. ข้ าวเสือมคุณภาพเร็ว เพราะสถานทีเก็บไม่ได้ มาตรฐาน และ เก็บนานเกินไป 2. มีปัญหาทุจริตคอร์ รัปชัน จากบุคคลหลายฝ่ ายทีเกียวข้ องและ ในหลายขั นตอน 3. มีปัญหาทั งขั นตอนการรับจํานํา ขั นตอนการกักเก็บ และ ขั นตอนการขาย 25
  • 26. การประกันรายได้ 1. โครงการประกันรายได้ จะมีการกําหนดค่า 3 อย่าง คือ (ก) ราคาเปาหมายหรื อราคาประกัน ้ (ข) ปริ มาณข้ าวทีเกษตรกรผลิตได้ หรื อปริ มาณข้ าวทีประกัน (ค) ราคาอ้ างอิงหรื อราคาทีเกษตรกรขายได้ 2. ตามทฤษฎี จะมีการกําหนดราคาประกันสูงกว่าราคาตลาด และให้ เกษตรกรขายข้ าวตาม ราคาตลาด ซึงจะตํากว่าราคาประกัน โดยรัฐบาลจะจ่ายเงินชดเชยส่วนต่างให้ ซึงจะทํา ให้ เกษตรกรได้ รับเงินจากการขายข้ าวตามราคาประกัน 3. แต่การกําหนดปริ มาณทีเกษตรกรผลิตหรื อปริ มาณประกันตายตัว ทําให้ มีปัญหาคือ ถ้ า เกษตรกรผลิตได้ มากกว่านั น ก็จะไม่ได้ รับเงินชดเชย แต่ถ้าเกษตรกรผลิตได้ น้อยกว่านั น ก็จะได้ รับเงินชดเชยตามปริ มาณทีกําหนดหรื อประกัน จะทําให้ ไม่เป็ นสิงจูงใจให้ เกษตรกรพัฒนาเพิมปริ มาณการผลิตขึ น ซึงจะมีผลต่อประสิทธิภาพการผลิตทีจะไม่ เพิมขึ นในระยะยาว หรื ออาจลดลงได้ 26
  • 27. การประกันรายได้ 4. การกําหนดราคาอ้ างอิงมีปัญหามาก เพราะราคาทีเกษตรกรขายได้ จริ ง ค่อนข้ างแตกต่าง ตามคุณภาพข้ าว แตกต่างระหว่างพื นทีใกล้ ไกลตลาด และช่วงเวลาทีเกษตรกรแต่ละ รายขาย ทําให้ ร าคาทีเกษตรกรขายได้ จริ ง มีความแตกต่างและหลากหลาย ฉะนั น ราคาอ้ างอิงจึงไม่ได้ สะท้ อนหรื อใช้ แทนราคาทีเกษตรกรจะขายได้ จริ ง เกษตรกรส่วน ใหญ่ จะขายได้ จริ งตํากว่าราคาอ้ างอิง ทําให้ ขายข้ าวได้ ถึงแม้ จะได้ รับเงินชดเชยแล้ วก็ ยังตํากว่าราคาประกัน เช่น สมมุติการประกันราคาข้ าว (ราคาเปาหมาย) ทีตันละ้ 15,000 บาท ราคาอ้ างอิงตันละ 13,000 บาท รัฐบาลจะจ่ายเงินชดเชยให้ ตันละ 2,000 บาท แต่ถ้าราคาทีเกษตรกรขายได้ จริ งเพียงตันละ 10,000 บวกเงินชดเชยอีก 2,000 บาทก็จะได้ รับเงินจากการขายข้ าวได้ เพียงตันละ 12,000 บาท ซึงตํากว่าราคาประกัน ปั ญ หานี เคยมี เกษตรกรเดินขบวนร้ องเรี ยนมาแล้ ว และรั ฐบาลก็ได้ นํามาตรการรั บ จํานํ าข้ าวมาช่วยแก้ ไขปั ญ หา รวมทั งให้ อ.ค.ส. และ อ.ต.ก. เข้ าไปแทรกแซงรั บซื อ เพือให้ ราคาข้ าวทีเกษตรกรขายได้ จริ งเพิมสูงขึ น 27
  • 28. 7.2 ปาล์ มนํ ามัน และปาล์ มสด  แนวคิดทางทฤษฎี P D S P* E* a Pc b Q 0 Q* Q1 Q2 28
  • 29. แนวคิดทางทฤษฎี  P* และ Q* เป็ นราคาและปริ มาณทีซื อขายในตลาด ทีไม่มีการแทรกแซงจาก รัฐบาล  Pc เป็ นราคาขั นสูงทีรัฐบาลกําหนดให้ ขายเพือช่วยเหลือผู ้ บริโภค  ณ ราคา Pc ทําให้ เกิดอุปสงค์ส่วนเกิน (excess demand) เท่ากับ a b หรื อ Q1 Q2  การกําหนดราคา Pc ทําให้ ความต้ องการเพิมขึ นเท่ากับQ* Q2 และผลผลิต ทีนําออกมาขายลดลงเท่ากับ Q1 Q*  อุปสงค์ส่วนเกิน ทําให้ เกิดตลาดมืด คือ ซื อขายอย่างผิดกฎหมายในราคาที สูงกว่า Pc ทําให้ เกิดการกักตุนทั งพ่อค้ าและผู ้ บริ โภค และทําให้ เกิดความ ขาดแคลนสินค้ า 29
  • 30. ปั ญหาที ผ่ านมา  กําหนด Pc ตําเกินไปเมือเทียบกับ P* เพราะเป็ นช่วงทีผลปาล์ม สดมีน้อย  นโยบายให้ นําเข้ า กระทบราคาปาล์มสด ราคาปาล์มสดแกว่ง มาก (ไร้ เสถียรภาพ)  ผลกระทบต่อเกษตรกรทีขายปาล์มสด ประกันราคาไว้ ทีกิโลกรัม ละ 6 บาท แต่เกษตรกรขายได้ ไม่ถึง เพราะไม่มีมาตรการอะไรที จะมีผลบังคับ 30
  • 31. 7.3 ผลกระทบของการนําพืชผลเกษตรไปผลิตพลังงานต่ ออาหาร  พืชพลังงาน ใช้ อ้อย มันสําปะหลัง ข้ าวโพดและข้ าวฟ่ างหวาน ผลิต แอลกอฮอล์ไร้ นํ า เพือผสมเป็ น เอธานอล และใช้ ปาล์มนํ ามัน และสบู่ดํา ผลิตเป็ น ไบโอดีเซล  ไม่กระทบการผลิตข้ าว เพราะใช้ พื นทีแตกต่างกัน  มีปัญหาพลังงานทีใช้ ในการกลันแอลกอฮอล์  ต้ นทุนการผลิตส่วนใหญ่จะอยู่ทีค่าพืชพลังงานทีใช้ เป็ นวัตถุดิบ และ พลังงานทีใช้ ในการกลัน  ค่าพลังงานต่อลิตรจะตํากว่านํ ามันเบนซิน  ทดแทนนํ ามันเบนซินได้ ไม่เกิน20% ถ้ าเกินต้ องปรับเปลียนเครื องยนต์ 31
  • 32. 7.3 ผลกระทบของการนําพืชผลเกษตรไปผลิตพลังงานต่ ออาหาร  กระทบพืชอาหาร เพราะแย่งพื นทีกัน ยกเว้ นจะเพิมผลผลิตต่อไร่  นํามาผลิตพลังงาน จะกระทบการนําไปใช้ อย่างอืน เช่น นําอ้ อยมาผลิต แอลกอฮอล์ จะกระทบการผลิตนํ าตาล กระทบการบริโภคและส่งออก นํ าตาล นํามันสําปะหลังมาผลิตแอลกอฮอล์ จะกระทบ นํามันสําปะหลัง ไปใช้ อย่างอืน เช่น แปงมัน อาหารสัตว์ ฯลฯ ้  สรุปการนําผลผลิตเกษตรมาผลิตพลังงาน ไม่ง่าย และไม่ดีอย่างทีคิด ปั จจุบั นยังต้ องอุดหนุน ยังไม่คุ ้ ม 32
  • 33. GMOs ความสําคัญต่ อการพัฒนา การเกษตรและผลกระทบ 33
  • 34. GMOs ความสําคัญต่ อการพัฒนาการเกษตรและผลกระทบ 1. ความหมาย : องค์การอนามัยโลกให้ ความหมาย GMOs (Genetically Modified Organisms) คือสิงมีชีวิตทีมีการเปลียนแปลงสารพันธุกรรม (DNA) ไปในลั กษณะทีไม่ได้ เกิดขึ นเองตามธรรมชาติ 2. มีการทํามานานแล้ วและแพร่หลายในหลายประเทศ 3. วัตถุประสงค์เพือต้ านทานโรคและแมลง เพิมผลผลิต เพิมคุณค่าผลผลิต และลดการใช้ สารเคมีซึงเป็ นอันตรายต่อร่างกาย 4. มีการทําสั ตว์บก สั ตว์นํ า และพืช 34
  • 35. ผลิตภัณฑ์ มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ผลิตภัณฑ์ มวลรวมภาค เกษตรกรรม และสั ดส่ วนภาคเกษตรกรรมต่ อทั งหมด ณ ราคาคงที ปี 2531 รายการ พ.ศ. 2550 2551 2552 2553 2554 ผลิตภัณฑ์ มวลรวม 4,259.0 4,364.8 4,263.1 4,596.1 4598.4 ภายในประเทศ (พันล้ านบาท) ผลิตภัณฑ์ มวลรวม 369.7 385.2 390.3 381.4 395.8 ภาคเกษตรกรรม (พันล้ านบาท) สัดส่ วนผลิตภัณฑ์ มวลรวม 8.68 8.83 9.16 8.30 8.6 ภาคเกษตรกรรมต่ อทั งหมด (ร้ อยละ) 35
  • 36. มูลค่ าส่ งออกสินค้ าทั งหมดเกษตรกรรม และอุตสาหกรรมเกษตรปี 2550-2554 รายการ 2550 2551 2552 2553 2554 มูลค่ าส่ งออกสินค้ าทั งหมด 5,302,119 5,581,371 5,194,588 6,176,423 6,882,780 (ล้ านบาท) มูลค่ าส่ งออกสินค้ าเกษตรกรรม 849,832 1,008,000 943,756 1,099,035 1,402,411 และอุตสาหกรรมเกษตร (ล้ านบาท) มูลค่ าส่ งออกสินค้ าเกษตรกรรม 522,532 622,229 559,458 679,718 875,661 (กสิกรรม,ปศุสัตว์ ,ประมง) (ล้ านบาท) มูลค่ าส่ งออกสินค้ าอุตสาหกรรม 327,300 385,771 384,298 419,317 526,750 เกษตร (ล้ านบาท) 36
  • 37. สัดส่ วนสินค้ าเกษตรกรรม และอุตสาหกรรมเกษตรส่ งออกต่ อมูลค่ าส่ งออก ทั งหมด ปี 2550-2554 รายการ 2550 2551 2552 2553 2554 สัดส่ วนมูลค่ าส่ งออกสินค้ าเกษตรกรรม 16.03 17.91 18.17 17.80 20.37 และอุตสาหกรรมเกษตรต่ อส่ งออกทั งหมด (ร้ อยละ) สัดส่ วนมูลค่ าส่ งออกสินค้ าเกษตรกรรมต่ อ 9.86 11.32 10.77 11.01 12.72 ส่ งออกทั งหมด (ร้ อยละ) สัดส่ วนมูลค่ าส่ งออกสินค้ าอุตสาหกรรม 6.17 6.59 7.40 6.79 7.65 เกษตรต่ อส่ งออกทั งหมด (ร้ อยละ) สัดส่ วนมูลค่ าส่ งออกสินค้ าอุตสาหกรรม 38.49 36.80 40.73 38.15 37.56 เกษตรต่ อส่ งออกสินค้ าเกษตรกรรมและ อุตสาหกรรมเกษตร (ร้ อยละ) ที มา : ศูนย์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ 37
  • 38. มูลค่ าสินค้ าส่ งออก 10 อันดับแรกของไทย ปี 2553-2554 หน่ วย : ล้ านบาท อันดับ สินค้ า 2553 สินค้ า 2554 1 ยางพารา 249,262.50 ยางพารา 382,903.5 2 ข้ าว 168,193.06 ข้ าว 193,842.5 3 ผลิตภัณฑ์ มันสําปะหลัง 68,592.10 ผลิตภัณฑ์ มันสําปะหลัง 79,805.2 4 กุ ้ งสดแช่ เย็น แช่ แข็ง 53,023.03 ไก่ แปรรู ป 57,045.4 5 ไก่ แปรรู ป 50,346.10 กุ ้ งสดแช่ เย็น แช่ แข็ง 52,101.9 6 ผลไม้ สดแช่ เย็น แช่ แข็งและแห้ ง 17,225.24 ผลไม้ สดแช่ เย็น แช่ แข็งและแห้ ง 28,809.0 7 เนื อปลาสดแช่ เย็น แช่ แข็ง 12,526.53 เนื อปลาสดแช่ เย็น แช่ แข็ง 12,398.6 8 ปลาหมึกสดแช่ เย็น แช่ แข็ง 11,115.77 ปลาหมึกสดแช่ เย็น แช่ แข็ง 12,286.5 9 ปลาสด แช่ เย็น แช่ แข็ง 6,756.00 ผักสดแช่ เย็น แช่ แข็งและแห้ ง 7,308.8 10 ผักสดแช่ เย็น แช่ แข็งและแห้ ง 6,579.14 ปลาสด แช่ เย็น แช่ แข็ง 7,151.3 ทีมา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่ วมมือจากกรมศุลกากร 38
  • 39. มูลค่ าสินค้ าส่ งออก 10 อันดับแรกของไทยแยกเป็ นรายสินค้ า รายประเทศ 5 ประเทศแรก ปี 2553-2554 หน่ วย : ล้ านบาท สินค้ า ประเทศ 2553 ประเทศ 2554 ยางพารา จีน 77,039 จีน 139,096 มาเลเซีย 40,515 มาเลเซีย 45,836 ญี ปุ ่ น 34,513 ญี ปุ ่ น 51,858 สหรัฐอเมริกา 18,116 สหรัฐอเมริกา 30,312 เกาหลีใต้ 17,669 เกาหลีใต้ 26,653 รวมทุกประเทศ 249,263 รวมทุกประเทศ 382,904 สินค้ า ประเทศ 2553 ประเทศ 2554 ข้ าว ไนจีเรีย 19,984 ไนจีเรีย 23,272 อินโดนีเซีย 13,864 อินโดนีเซีย 14,595 โกตดิวัวร์ 10,453 อเมริกา 12,616 แอฟริกาใต้ 9,614 บังคลาเทศ 10,435 ฟิ ลิปปิ นส์ 7,989 แอฟริกาใต้ 10,021 รวมทุกประเทศ 168,193 รวมทุกประเทศ 193,843 39
  • 40. หน่ วย : ล้ านบาท สินค้ า ประเทศ 2553 ประเทศ 2554 ผลิตภัณฑ์ มันสําปะหลัง จีน 36,706 จีน 41,045 ญี ปุ ่ น 7,217 ญี ปุ ่ น 8,637 อินโดนีเซีย 5,275 อินโดนีเซีย 8,058 ไต้ หวัน 4,059 ไต้ หวัน 4,419 มาเลเซีย 3,197 มาเลเซีย 3,741 รวมทุกประเทศ 68,592 รวมทุกประเทศ 79,805 สินค้ า ประเทศ 2553 ประเทศ 2554 กุ ้ งสดแช่ เย็น แช่ แข็ง สหรัฐอเมริกา 23,976 สหรัฐอเมริ กา 21,809 ญี ปุ ่ น 10,377 ญี ปุ ่ น 11,357 แคนาดา 2,836 แคนาดา 3,256 สเปน 1,932 สหราชอาณาจักร 2,472 สหราชอาณาจักร 1,901 สเปน 1,664 รวมทุกประเทศ 53,023 รวมทุกประเทศ 52,102 40
  • 41. หน่ วย : ล้ านบาท สินค้ า ประเทศ 2553 ประเทศ 2554 ไก่ แปรรู ป ญี ปุ ่ น 23,422 ญี ปุ ่ น 27,901 สหราชอาณาจักร 15,667 สหราชอาณาจักร 16,741 เนเธอร์ แลนด์ 3,936 เนเธอร์ แลนด์ 3,898 เยอรมนี 1,493 เยอรมนี 1,879 สิงคโปร์ 1,402 สิงคโปร์ 1,651 รวมทุกประเทศ 50,346 รวมทุกประเทศ 57,045 สินค้ า ประเทศ 2553 ผลไม้ สดแช่ เย็น แช่ แข็ง จีน 6,438 จีน 13,952 และแห้ ง ฮ่ องกง 2,926 ฮ่ องกง 4,482 อินโดนีเซีย 1,659 อินโดนีเซีย 2,830 สหรั ฐอเมริ กา 1,095 เวียดนาม 1,416 เวียดนาม 586 สหรั ฐอเมริ กา 1,088 รวมทุกประเทศ 17,225 รวมทุกประเทศ 28,809 41
  • 42. หน่ วย : ล้ านบาท สินค้ า ประเทศ 2553 ประเทศ 2554 เนื อปลาสดแช่ เย็น แช่ แข็ง ญี ปุ ่ น 8,388 ญี ปุ ่ น 9,169 สหรัฐอเมริกา 1,192 สหรั ฐอเมริ กา 1,007 นอร์ เวย์ 384 ฝรั งเศส 251 ฝรั งเศส 327 เกาหลีใต้ 236 เกาหลีใต้ 300 สวีเดน 196 รวมทุกประเทศ 12,527 รวมทุกประเทศ 12,399 สินค้ า ประเทศ 2553 ประเทศ 2554 ปลาหมึกสดแช่ เย็น แช่ แข็ง ญี ปุ ่ น 4,876 ญี ปุ ่ น 5,490 อิตาลี 3,122 อิตาลี 3,335 สหรัฐอเมริกา 751 สหรั ฐอเมริ กา 753 เกาหลีใต้ 353 เกาหลีใต้ 628 เวียดนาม 329 แคนาดา 383 รวมทุกประเทศ 11,116 รวมทุกประเทศ 12,286 42
  • 43. หน่ วย : ล้ านบาท สินค้ า ประเทศ 2553 ประเทศ 2554 ปลาสดแช่ เย็นแช่ แข็ง จีน 1,799 จีน 1,679 ญี ปุ ่ น 1,183 ญี ปุ ่ น 1,386 มาเลเซีย 799 มาเลเซีย 816 เวียดนาม 485 เวียดนาม 654 คูเวต 305 อิตาลี 382 รวมทุกประเทศ 6,756 รวมทุกประเทศ 7,151 สินค้ า ประเทศ 2553 ประเทศ 2554 ผักสดแช่ เย็น แช่ แข็งและแห้ ง ญี ปุ ่ น 3,037 ญี ปุ ่ น 3,182 สหรัฐอเมริกา 414 อินโดนีเซีย 578 สหราชอาณาจักร 380 สหรั ฐอเมริ กา 419 มาเลเซีย 377 มาเลเซีย 400 ไต้ หวัน 307 ไต้ หวัน 364 รวมทุกประเทศ 6,579 รวมทุกประเทศ 7,309 ที มา : สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ 43
  • 44. พื นที เพาะปลูกพืชเกษตรมากที สุด8 อันดับแรกปี 2553 อันดับ สินค้ า พื นที สัดส่ วนต่ อพื นที ถือครองเพื อ (ล้ านไร่ )* การเกษตร (ร้ อยละ) 1. ข้ าวนาปี 57.04 43.34 2. ข้ าวนาปรั ง 15.22 11.57 3. ยางพารา 12.07 9.17 4. มันสําปะหลัง 7.56 5.74 5. ข้ าวโพดเลี ยงสัตว์ 7.11 5.4 6. อ้ อยโรงงาน (รวมพันธุ)์ 6.58 5 7. ปาล์ มนํ ามัน 3.64 2.77 8. ถั วเหลือง 0.755 0.57 *ทีมา : โดยการพยากรณ์ข้อมูล จากสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร หมายเหตุ : พื นทีถือครองเพือการเกษตรทั งหมด 131.6 ล้ านไร่ (ข้ อมูลปี พ.ศ. 2552) 44
  • 45. จํานวนประชากร กําลังแรงงาน และผู ้ มีงานทําในภาคเกษตร ปี 2554 พ.ศ. รายการ 2549 2550 2551 2552 2553 2554 จํานวนประชากร (ล้ านคน) 62.83 63.04 63.39 63.53 63.88 64.07 ผู ้ อยู ่ ในกําลังแรงงาน(ล้ านคน) 36.43 36.94 37.07 38.43 38.64 38.92 (อายุ 15 ปี ขึ นไป) ผู ้ มีงานทําทั งหมด(ล้ านคน) 35.69 36.25 37.02 37.71 38.04 38.46 ผู ้ มีงานทําในภาคเกษตร (ล้ าน 14.17 14.31 14.70 14.69 14.55 14.88 คน) สัดส่ วนผู ้ มีงานทําในภาค เกษตรต่ อ 39.7 39.48 39.71 38.96 38.25 38.68 ผู ้ อยู ่ ในกําลังแรงงาน(ร้ อยละ) ทีมา : กรมการปกครอง และสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 45 โดย ธนาคารแห่งประเทศไทย , เครื องชี ภาวะเศรษฐกิจทีสําคัญ, ตารางที 17 : ประชากรและค่าจ้ าง
  • 46. การพัฒนาภาคเกษตรตามแนว ธนินท์ เจียรวนนท์ (ซีพ) ี 46
  • 47. การพัฒนาภาคเกษตรตามแนว ธนินท์ เจียรวนนท์ (ซีพ) ี 1. สินค้ าเกษตรมีราคาสูงและเงินเดือนทั งภาคเอกชนและราชการ ต้ องสูงด้ วย 2. สินค้ าเกษตรเหมือนบ่อนํ ามันบนดิน ต้ องทําให้ ราคาแพงด้ วย 3. ราคาสิ นค้ าเกษตรแพง เกษตรกรจะกระตือรื อ ร้ นเพิ มผลผลิ ต ธนาคารก็กล้ าปล่อยเงินกู ้ และนักธุรกิจก็กล้ าสนับสนุน 4. ประเทศไทยมีทีดิน 130 ล้ านไร่ ทํานา 62 ล้ านไร่ และพื นทีเขต ชลประทานไม่เกิน 25 ล้ านไร่ 47
  • 48. 5. เสนอปรั บใหม่ ดังนี 5.1 พื นทีเขตชลประทาน25 ล้ านไร่ปลูกข้ าว โดยพัฒนาพันธุ์ ระบบชลประทานและเทคโนโลยี จะได้ ผลผลิตมากกว่าใช้ ทีดิน 62 ล้ านไร่ 5.2 พื นทีปลูกยางพารา ปั จจุบัน13.4 ล้ านไร่ เพิมเป็ น 30 ล้ านไร่ 5.3 พื นทีปลูกปาล์ม ปั จจุบัน3.1 ล้ านไร่ เพิมเป็ น 12 ล้ านไร่ 48
  • 49. 5.4 เพิมราคาโดยจับมือกับประเทศผู ้ ส่งออกรายใหญ่ 5.5 ลดปริ ม าณส่ ง ออกเพื อให้ ราคาสู ง ขึ น โดยร่ ว มมื อ กั บ ประเทศอืน 5.6 ปล่อยให้ ราคาสินค้ าทีเกษตรกรขายได้ เป็ นไปตามกลไก ตลาด ปี ทีราคาตําขาดทุนจะชดเชยกับปี ทีราคาสูงได้ กําไร ทําให้ พออยู่ได้ 5.7 ทําการเกษตรแบบผูกพันสัญญากับบริ ษัทเพือให้ บริ ษัทรับ ความเสียงไป เกษตรกรไม่ต้องเสียง 49
  • 50. นโยบายการพัฒนาภาคเกษตรของรัฐบาลปั จจุบัน 1.นโยบายเร่ งด่ วนที จะเริ มดําเนินการในปี แรก ยกระดับราคาสินค้ าเกษตรและให้ เกษตรกรเข้ าถึงแหล่งเงินทุน โดยดูแลราคาสินค้ าเกษตรให้ มีเสถียรภาพ ทีเหมาะสม คํานึงถึงกลไกราคาตลาดโลกโดยใช้ วิธีบริหารจัดการทางการตลาดและกลไกตลาดซื อขายล่วงหน้ า นํา ระบบรับจํานําสินค้ าเกษตรมาใช้ ในการสร้ างความมันคงด้ านรายได้ ให้ แก่เกษตรกร พร้ อมทั งจัดให้ มีการเยียวยา ความเสียหายของพืชผลจากภัยธรรมชาติให้ แก่เกษตรกร การจัดทําระบบทะเบียนครัวเรื อนเกษตรกรให้ สมบูรณ์ และการออกบัตรเครดิตสําหรับเกษตรกร 2. นโยบายสร้ างรายได้ ขยายบทบาทให้ ธุรกิจการเกษตรและอาหารให้ ก้าวข้ ามไปสู่การเป็ นศูนย์กลางการผลิตและการค้ าอาหาร คุณภาพสูง เป็ นทีต้ องการของผู ้ บริ โภคทีมีฐานะและรสนิยมเฉพาะตัว การพัฒนาประเทศไทยให้ เป็ นศูนย์กลาง ตลาดซื อขายล่วงหน้ าสินค้ าเกษตรและอาหาร เช่น ข้ าว นํ าตาล นสําปะหลัง และอืนๆ มั 3.นโยบายปรับโครงสร้ างเศรษฐกิจภาคเกษตร (1) ส่งเสริมสนับสนุนให้ สภาเกษตรกรแห่งชาติเป็ นกลไกของเกษตรกรในการสือสารกับรัฐบาลและร่วมกัน พัฒนาเกษตรกรด้ วยตนเอง (2) เพิมประสิท ธิภาพการผลิตพื ช โดยการวิจัย และพัฒนาสายพันธุ์ พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเพือให้ ได้ ผลผลิตสูง ต้ านทานโรคและแมลงศัตรูพืช สอดคล้ องกับสถานการณ์การเปลียนแปลงของภูมิอากาศโลก และ ถ่ายทอดองค์ความรู ้ จากการวิจัย ไปสู่เกษตรกรเพื อให้ มีการใช้ พัน ธุ์ดี ใช้ เทคโนโลยีที เหมาะสมกับ สภาพพื นท ี โดยเฉพาะการใช้ ปุ ๋ ยตามคุณสมบัติของดินแต่ละชนิดพืเอลดต้ นทุนการผลิตและพัฒนาคุณภาพผลผลิต (3) เพิมศักยภาพกระบวนการการผลิตด้ านปศุสัตว์ใ ห้ ได้ มาตรฐานปลอดภัย เป็ นมิตรกับสิงแวดล้ อม เพียงพอกับความต้ องการภายในประเทศและการส่งออก เพิมสมรรถนะการควบคุม ปองกัน วินิจฉัย และบําบัด ้ โรค การติดต่อระหว่างสัตว์สู่คน การพัฒนาเทคโนโลยีด้านชีวภัณฑ์สัตว์และการตรวจสอบคุณภาพ (4) พัฒนาการประมง ทั งในการเพาะสัตว์เลี ยง และในแหล่งนํ าธรรมชาติ โดยการฟื นฟูทรัพยากรประมง และจัดระเบียบการทําประมงให้ สมดุลกับศักยภาพการผลิตตามธรรมชาติ ขยายพื นทีอนุรักษ์ เพือการประมงทะเล พื นบ้ านส่งเสริมการเพ ยงสัตว์นํ าเศรษฐกิจทีเป็ นมิตรกับสิงแวดล้ อม แสวงหาลู่ทางการทําประมงในน่านนํ า าะเลี ต่างประเทศทีไม่ขัดต่อระเบียบขององค์การระหว่างประเทศและประเทศทีนําเข้ า โดยการพัฒนากองเรื อประมงนํ า ลึกและความร่วมมือกับต่างประเทศ รวมทั งพัฒนาสินค้ าประมงให้ มีคุณภาพและปลอดภัยงแต่ต้นนํ าถึงปลายนํ า ตั ตลอดจนพัฒนากระบวนการตรวจสอบคุณภาพสัตว์นํ าตามมาตรฐานสากล 1
  • 51. (5) เสริ มสร้ างฐานรากของครัวเรื อนเกษตรกรให้ เข้ มแข็ง โดยการเพิมประสิทธิภาพการเพาะปลูก ลด ต้ นทุนการผลิต พัฒนาระบบการผลิตทีเป็ นขั นตอน โดยมีการวางแผนการผลิตและการจําหน่ายล่วงหน้ าทีแม่ า นยํ และประสานโครงสร้ างพื นฐานของทางราชการและเอกชนให้ เกิดประโยชน์สูงสุด สร้ างกระบวนการผสมผสาน ระหว่างเทคโนโลยีและภูมิปัญญาชาวบ้ าน (6) จัดทําระบบทะเบียนครัวเรือนเกษตรทีมีข้อมูลการเกษตรของครัวเรื อนครบถ้ วน สามารถเชือมโยงกับ บัตรเครดิตสําหรับเกษตรกรและมีการปรับปรุงทันสมัยอยู่เสมอเพือความสะดวกในการสนับสนุนช่วยเหลือและ พัฒนาเกษตรกร สร้ างหลัก ประกันความมันคงในการประกอบอาชี พให้ เ กษตรกร จัดให้ มีอาสาสมัครเกษตร หมู่บ้านเพือสนับสนุนการทํางานภาครัฐ ตลอดจนจัดให้ มีรายการโทรทัศน์เพือการเกษตร เผยแพร่ความรู ้ ด้านการ ผลิตและการตลาดแก่เกษตรกรทัวไป (7) เร่งรัดพัฒนาธุรกิจการเกษตร โดยการพัฒนาสถาบันเกษตรกรในด้ านธุรกิจสร้ างเกษตรกรรุ่นใหม่จาก โครงการกองทุนตั งตัวได้ ร่วมมือสนับสนุนสถาบันการศึ กษาเพือความเป็ นเลิศทางวิชาการเกษตรทุกสาขาและ ดําเนินการให้ บุคลากรของสถาบันการศึกษาทําหน้ าทีสนับสนุนการส่งเสริมการเกษตร พัฒนารูปแบบการจัดการ ผลิต การบรรจุและพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการตรวจสอบย้ อนกลับแหล่งผลิตเร่งรัดการพัฒนาเกษตรอุตสาหกรรม เช่น ยางพาราและพืชพลังงาน เช่น ปาล์มนํ ามัน อ้ อย มันสําปะหลัง เพือรองรับวิกฤตพลังงานโลกส่งเสริ มการ ผลิตสินค้ าใหม่ทีให้ ผลตอบแทนสูง โดยมีเป าหมายเพิมมูลค่าภาคการเกษตรต่อผลผลิตมวลรวมของประเทศ ้ อย่างต่อเนือง (8) พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรมูลค่าเพิมเพือศักยภาพการแข่งขันในตลาดโลกโดยการส่งเสริ มการผลิต สินค้ าใหม่ทีมีกําไรสูง มีก ารแปรรู ปอย่างครบวงจรเพือแสวงหามูลค่าเพิมสูงสุด พัฒนาระบบตลาดทุกขั นตอน ยกระดับผลผลิตให้ มีคุณภาพและเป็ นทียอมรับในตลาดต่างประเทศ สร้ างกลุ่มธุรกิจรายสินค้ าระดับภูมิภาคเพือ เพิมศักยภาพในการแข่งขัน และสร้ างโอกาสชี นําในเรืองราคา โดยเฉพาะตลาดข้ าว เร่งรัดการเจรจาข้ อตกลงต่าๆ ง ทีเกียวกับมาตรฐานสินค้ าเกษตรและอาหารในตลาดโลก ส่งเสริมให้ ประเทศไทยเป็ นครัวโลกทั งในแง่สินค้ าเกษตร อาหารไทย และสนับสนุนการลงทุนภาคเกษตรในต่างประเทศ (9) ส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ ส่งเสริมการวิจยและพัฒนาพันธุ์ ดําเนินการฟื นฟูสภาพแวดล้ อมสร้ างความ ั เข้ มแข็งภาคเกษตรและสร้ างความมันคงทางอาหารเพือเผชิญกับวิกฤตอาหารโลก สร้ างความสมดุลระหว่างพืช อาหารและพื ช พลังงาน ส่งเสริ มเกษตรอิน ทรี ย์ และเกษตรทางเลือก ปรับ โครงสร้ างและจัดหาที ทํ ากิ น ให้ แก่ เกษตรกรผู ้ ยากไร้ และดําเนินการฟื นฟูคุณภาพดิน ให้ คงความอุดมสมบูรณ์อย่างยังยืนตลอดจนการคุ ้ มครองทีดิน เพือเกษตรกรรม 2
  • 52. แนวทางการพัฒนาภาคเกษตรในช่ วง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที 11 (พ.ศ.2555-2559) 1.กรอบแนวคิด กรอบแนวคิดเบื อต้ นเพือประกอบการจัดทําแผนพัฒนาการเกษตร ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติฉบับ ที 11 (พ.ศ.255-2559) พิ จารณาจากความสําคัญ ของภาคเกษตรภาพรวมด้ านต่างๆจํ านวน 9 ประเด็น ได้ แก่ 1.1 การพัฒนาโครงสร้ างพื นฐานด้ านการเกษตร เพือเพิมประสิทธิภาพการผลิตสินค้ าเกษตรด้ านการใช้ ประโยชน์จากดินให้ เหมาะสม การจัดการนํ าให้ เพียงพอ การพัฒนาทีดินนอกเขตชลประทานและการ จัดการด้ านโลจิสติกส์ 1.2 การเสริ มสร้ างความเข้ มแข็งให้ เกษตรกร เพื อพัฒนาหรื อเสริ ม สร้ างความเข้ มแข็งและยกระดับ คุณภาพชีวิตของเกษตรกร ส่งเสริ มการรวมกลุ่มสถาบันเกษตรกร ตลอดจนการพัฒนาเกษตรกรรุ่น ใหม่ 1.3 ส่งเสริ มการทําการเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอพียง เพือสร้ างความมันคงในการประกอบ อาชีพให้ เกษตรกรในระดับครัวเรือนให้ พึงพาตนเอง 1.4 ส่ง เสริ ม การทํ าการเกษตรในรู ป แบบของการพัฒ นาเครื อ ข่า ยวิ สาหกิ จ (Cluster) เพื อเพิ มขี ด ความสามารถในการแข่งขันของภาคเกษตรตั งแต่ต้นนํ าถึงปลายนํ า 1.5 ความมันคงด้ านอาหารและพลังงาน โดยให้ การศึกษาและส่งเสริ มด้ านอาหาร (Food Education) ตลอดกระบวนการผลิต (Supply Chain) ได้ แก่ การทําให้ อาหารมีคุณภาพ (Food Quality) เป็ น อาหารทีปลอดภัยสําหรับการบริ โภค (Food Safety) รวมทั งพอเพียงสําหรับเลี ยงประชากร(Food Security) 1.6 เศรษฐกิจสร้ างสรรค์ในภาคเกษตร การทําการเกษตรควรขับเคลือนด้ วยประสิทธิภาพ (Efficiency- driven Economy) และนวัตกรรม (Innovation-driven Economy) โดยการนําภูมิปัญญาผนวกกับ วัฒนธรรมทีดีงามในท้ องถินและเทคโนโลยี มาสร้ างมูลค่าให้ สินค้ าเกษตรมีเอกลักษณ์ เฉพาะตัว แตกต่างกันในแต่ละท้ องถิน 1.7 เศรษฐกิจการเกษตรสีเขีย ว (Green and Cool Agricultural Economy) หรื อการทําเกษตรที ไม่ ทําลายสิงแวดล้ อม โดยการดําเนิ นนโยบายและกําหนดวิธีปฏิบัติให้ สามารถใช้ ท รัพยากรได้ อย่าง ยังยืน 1.8 ความร่ วมมือและข้ อตกลงระหว่างประเทศ โดยติดตามกระแสการเปลียนแปลงของโลกเพือการ ปรับตัวและกําหนดมาตรการรองรับให้ ภาคธุรกิจและภาคการเกษตรในประเทศมีความเข้ มแข็งและ สามารถแข่งขันได้ 3
  • 53. 1.9 การพัฒนาบุคลากรด้ านการเกษตร เพือเตรี ยมความพร้ อมให้ สามารถรองรับการเปลียนแปลงตาม สถานการณ์ เ ศรษฐกิ จ และสังคมโลกาภิวัฒน์ โดยการพัฒนาบุคลากรด้ านการเกษตร ปรับ ปรุ ง กระบวนการทํางานของหน่วยงานและบุคลากรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ให้ มีการบูรณาการมาก ยิ งขึ น รวมทั งการปรั บ โครงสร้ างหน่ว ยงา ง กัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ใ ห้ เหมาะสม นในสั สอดคล้ องกับสถานการณ์ทั งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค 2. วัตถุประสงค์ และเปาหมาย ้ 2.1 วัตถุประสงค์ (1) เพือให้ เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตทีดี มีอาชีพทีมันคง รายได้ เพียงพอต่อการเลี ยงชีพและมีความภูมิใจใน อาชีพ (2) เพือเพิมประสิทธิภาพการผลิตสินค้ าเกษตรและอาหาร ใหม่ทั งคุณภาพและปริ มาณเพียงพอต่อความ ต้ องการ (3) เพือให้ มีการบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพ สมดุล และยังยืน 2.2 เปาหมาย ้ (1) ความผาสุกของเกษตรกรเพิมขึ นร้ อยละ80 ในปี 2559 (2) เศรษฐกิจภาคเกษตรเติบโตเฉลียร้ อยละ3.0 ต่อปี (3) ทรัพยากรเกษตรมีความเหมาะสมต่อการผลิตทางการเกษตรเพิมขึ น 3. ยุทธศาสตร์ การพัฒนาการเกษตร การพัฒนาการเกษตรให้ ความสําคั ญต่อการพัฒนาเกษตรกรให้ มีคุ ณภาพชีวิตทีดี ก้ าวทันต่อการ เปลียนแปลง การพัฒนาการผลิตสินค้ าเกษตรกรให้ มีประสิทธิภาพและมีความหลากหลายให้ ประชาชนมีความ มันคงทางด้ านอาหารและมีผลผลิตเพียงพอต่อความต้ องการด้ านอาหารและพลังงาน ร่วมสร้ างเศรษฐกิจของ ประเทศให้ เจริญเติบโตอย่างมีคุ ณภาพและมันคง เตรียมพร้ อมรองรับสถานการณ์การเปลียนแปลงทั งในและนอก ประเทศทีปรับเปลียนอย่างรวดเร็ว เพิมขีดความสามารถในการแข่งขันและการพัฒนาทรัพยากรการเกษตรให้ มี การใช้ อย่างมีประสิทธิภาพควบคู่ไปกับการอนุรักษ์ ฟืนฟูสร้ างโอกาสการเข้ าถึงทรัพยากรและมีการใช้ อย่างมี ประโยชน์อย่างทัวถึงและเป็ นธรรม จึงได้ กําหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาการเกษตรทีสําคัญในช่วงระยะเวลา 5 ปี ดังนี 4
  • 54. ยุทธศาสตร์ ที 1 พัฒนาคุณ ภาพชีวิต เกษตรกร เพื อให้ เ กษตรกรมีความสามารถพึงพาตนเองได้ มีภูมิคุ ้ มกัน พร้ อมรับความเสียงด้ านการผลิต การตลาดและมีการกระจายรายได้ ทีทัวถึง มีความสามารถในการ ผลิตและการตลาด ก้ าวสู่ผู ้ จัดการฟาร์ มทีเป็ นมืออาชีพ (Smart Farmer) รวมทั งสร้ างเกษตรกรรุ่นใหม่ทดแทน รุ่นเดิม ตลอดจนส่งเสริมองค์กรเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรให้ มีการดําเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพและยังยืน โดยการ (1) สร้ างความมันคงในการประกอบอาชีพและรายได้ ใ ห้ แก่เ กษตรกร ในการพัฒนาระบบการประกัน ความเสียงการเกษตรให้ เหมาะสมกับสินค้ าเกษตรและถานการณ์ทีเกิดจากภัยธรรมชาติ ผลักดันให้ มี ระบบสวัสดิการให้ ครอบคลุมอย่างทัวถึง และพัฒนาระบบการคุ ้ มครองทีดินให้ เกษตรกรรายย่อยมี ทีดินเป็ นของตนเองหรือมีสิทธิทํากินในทีดิน (2) สร้ างองค์ความรู ้ ให้ กับเกษตรกรในด้ านบัญชีต้นทุนอาชีพและด้ านวิทยาศาสตร์ เข้ าสู่ Smart Farmer และถ่ายทอดเทคโนโลยีสมัยใหม่ผสมผสานภูมิปัญญาท้ องถิน (3) สร้ างขีดความสามารถให้ กับเกษตรกรและชุมชน ในการรับมือกับความเสียงจากภัยธรรมชาติด้วยการ ประชาสัมพันธ์ ให้ ชุมชนรู ้ และเข้ าใจผลกระทบของโลกร้ อน ถ่ายทอดความรู ้ และเทคโนโลยี ในการ ปรับ ตัว และสร้ างขีดความสามารถให้ กับ เกษตรกรและชุมชน ในการรับมือกับ ความเสียงจากภัย ธรรมชาติ (4) สร้ างความมันคง ปลอดภัย ด้ านอาหารในครัวเรือนเกษตรในด้ านการผลิตอาหารเพียงพอปลอดภัย สนับสนุนให้ มีการปลูกผักสวนครัว ปลอดสารพิษเพือบริโภคในครัวเรือน(City Farm) และส่งเสริ มการ ทําเกษตรกรรมยังยืน (5) ส่งเสริ มและสนับ สนุน เกษตรกรรุ่ น ใหม่ให้ เ ข้ าสู่ภาคเกษตร โดยการร่วมมือกับ สถาบันการศึก ษา การปรับปรุงระบบการเรียนการสอนให้ เป็ นหลักสูตรทีสอดคล้ องกับสภาพปั ญหาและความต้ องการ แต่ละท้ องถิน และให้ ชุมชนเป็ นแหล่งเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร แลกเปลียนประสบการณ์ (6) สนับสนุนการดําเนินงานขององค์กรเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร รวมทั งสภาเกษตรกรแห่งชาติ และพัฒนาระบบการรวมกลุ่มทั งในรูปแบบของสหกรณ์และกลุ่มส่งเสริมอาชีพต่างๆ (7) สร้ างฐานข้ อมูลชุมชนด้ านการเกษตร นําความรู ้ ภูมิปัญญาท้ องถินมาใช้ ประโยชน์ในการพัฒนาการ เกษตร เพิมความสามารถ และช่องทางการรับรู ้ ข่าวสารอย่างทัวถึง ยุทธศาสตร์ ที 2 พัฒนาขีดความสามารถในการผลิต การจัดการสินค้ าเกษตรและความมันคงด้ าน อาหาร เพือสร้ างฐานการผลิตภาคเกษตรให้ เข้ มแข็ง ทําให้ เกิดความมันคงในอาชี พและรายได้ ใ ห้ กับเกษตรกร พัฒนาคุณภาพสินค้ าเกษตรและอาหารให้ มีความสามารถในการแข่งขัน ประชาชนมีความมันคงด้ านอาหารและมี 5
  • 55. ผลผลิตเพียงพอกับความต้ องการด้ านอาหารและพลังรวมทั งส่งเสริมให้ มีและนําผลงานวิจัยพัฒนาด้ านการเกษตร ไปใช้ ประโยชน์มากขึ น โดยการ (1) พัฒนาการผลิตและการสร้ างมูลค่าเพิม เน้ นลดต้ นทุนการผลิต และพัฒนาคุณภาพผลักดันแนวคิด เศรษฐกิจสร้ างสรรค์ภาคเกษตร ส่งเสริ มการทําการเกษตรแบบกลุ่มการผลิตหรื อเครื อข่ายวิสาหกิจ (Cluster) สร้ างมูลค่าเพิมให้ กับสินค้ าเกษตร และเพิมประสิทธิภาพการบริหารโลจิสติกส์ (2) ส่งเสริมการผลิตทีเป็ นมิตรกับสิงแวดล้ อม (Green Product) ด้ วยการส่งเสริมการใช้ เทคโนโลยีสะอาด การเกษตรสีเขียว การปฏิบัติทางการเกษตรทีดี (GAP : Good Agricultural Practices) การทําเกษตร อินทรีย์ ลดการเผาตอซังลดมลพิษจากแหล่งผลิตภาคเกษตร ศึกษาการปลดปล่อยก๊ าซเรื อนกระจก และสร้ างความรู ้ ความเข้ าใจ รวมทั งประโยชน์ทีจะได้ รับจากการซื อขายค บอนเครดิต าร์ (3) เสริมสร้ างการผลิตสินค้ าเกษตรทีเป็ นพืชอาหารและพลังงานให้ เกิดความมันคง รวมทั งสนับสนุนเพือ จัดสรรผลผลิตพืชอาหารและพลังงานให้ เพียงพอต่อการบริโภคและทดแทนพลังงาน (4) สนับสนุนการพัฒนาระบบตลาดสินค้ าเกษตร ด้ วยการพัฒนาทักษะ องค์ความรู ้ และการใช้ ประโยชน์ จากตลาดกลาง ตลาดสินค้ าเกษตรล่วงหน้ า รวมทั งสนับสนุนการสร้ างเครือข่ายการผลิตการตลาด (5) สร้ างความเชื อมโยงกับเศรษฐกิจ ภูมิภาคและระหว่างประเทศ มุ่งเน้ นการสร้ างความร่วมมือทาง เหลียมเศรษฐกิจต่างๆเพือเพิมช่องทางการจําหน่ายและกระจายรายได้ โดยเฉพาะจากกลุ่มประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน รวมทั งการเตรียมการรองรับการลงทุนด้ านเกษตรกรรมข้ ามชาติเพือให้ มีการลงทุน ด้ านเกษตรกรรมอย่างรับผิดชอบ (RAI : Responsible Agricultural Investment) (6) ส่งเสริมและพัฒนางานวิจัยด้ านการเกษตร สนับสนุนงานวิจัย พันธุ์พืช สัตว์ สัตว์นํ าจุลินทรี ย์ รวมทั ง พืชพลังงานทดแทน โดยให้ มีการบูรณาการงานวิจัยระหว่างภาครัฐ เอกชน สถาบันการศึกษาและ สถาบันวิจัย ตลอดจนการพัฒนางานวิจัยตามความต้ องการใช้ ประโยชน์ ยุทธศาสตร์ ที 3 พัฒนาทรัพยากรการเกษตรอย่ างมีประสิทธิภาพ สมดุลและยังยืนเพือสร้ างและ พัฒนาการใช้ ทรั พยากรการเกษตรและโครงสร้ างพื นฐานการเกษตรอย่า งมี ป ระสิ ท ธิ ภาพ ฟื นฟูท รั พยากร การเกษตรให้ มีความเหมาะสมต่อการผลิตทางการเกษตรอย่างยังยืน และเตรี ยมความพร้ อมในการรองรับและ ปรับตัวต่อผลกระทบจากการเปลียนแปลงของสภาพภูมิอากาศ รวมทั งสนับสนุนให้ ชุมชนท้ องถินเข้ ามามีส่วนร่วม ในการบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิงแวดล้ อมโดยการ (1) ส่ง เสริ ม และสนับ สนุ น การใช้ ทรั พ ยากรการเกษตรและโครงสร้ างพื นฐานการเกษตรอย่ า งมี ประสิทธิ ภาพและยังยืน ด้ วยการเร่ งรัดการฟื นฟูและปรับ ปรุ งคุณภาพดินที เสือมโทรม วางระบบ 6