SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
กิตติกรรมประกาศ
รายงานฉบับนี้สาเร็ จและสมบรู ณ์เป็ นรู ปเล่ม ด้วยความกรุ ณาและเอาใจใส่ เป็ น
อย่างดีจากคุณครู พรทิพย์ มโนเลิศ คุณครู ประจาวิชา และคุณครู นฤมล ปรุ งเสริ ม คุณครู
ที่ปรึ กษา ที่ได้กรุ ณาให้คาปรึ กษาและแนะแนวทางในการดาเนินการทารายงานในครั้งนี้
รวมทั้งข้อเสนอแนะและข้อคิดต่างๆตลอดทั้งการตรวจแก้ไขรายงานฉบับนี้ ให้สาเร็ จ
สมบรู ณ์ยงขึ้น ทางคณะผูจดทาจึงขอขอบคุณเป็ นอย่างสู งไว้ ณ โอกาสนี้
ิ่
้ั
ขอขอบพระคุ ณ คุ ณ ครู ทุ ก ท่ า นที่ ไ ด้ป ระสิ ท ธิ ป ระสาทวิ ช า ความรู ้ และ
ประสบการณ์ ตลอดจนอานวยความสาเร็ จให้บงเกิดขึ้น
ั
สุ ดท้ายนี้ ขอขอบคุ ณครู พรทิ พย์ มโนเลิ ศ และเพื่อนๆที่ เป็ นกาลังใจและให้
ความช่วยเหลือในการเก็บรวบรวมข้อมูลและให้คาแนะนาในการทารายงานครั้ งนี้ ให้
สาเร็ จลุล่วงด้วยดีตลอดมา
คณะผูจดทา
้ั
กลุ่มที่ ๔
บทคัดย่ อ
การศึ กษาครั้ งนี้ มี วต ถุ ป ระสงค์เพื่ อ ศึ กษาเศรษฐกิ จ ข้าวไทยในปั จ จุ บันและเพื่ อ
ั
วิเคราะห์นโยบายของรัฐบาลในการแก้ปัญหาเรื่ องข้าว ผลการศึกษาพบว่า เศรษฐกิจข้าว
ไทยในปั จจุบน ประเทศไทยส่ งออกข้าวเป็ นอันดับ ๑ ของโลก โดยปริ มาณการส่ งออก
ั
ข้าวของไทยทาสถิติสูงถึง ๑๐.๒๑๖ ล้านตัน ส่ วนนโยบายของรัฐบาลที่ว่าการรับจานา
ข้าวและการประกันราคาข้าวนั้น รั ฐบาลได้สร้ างโครงการนี้ ข้ ึ นมาเพื่อช่ วยเกษตรกร
ชาวนาแต่ก็ยงไม่สามารถทาได้ผลเท่าที่ ควรเท่าไหร่ นักเพราะปั จจุ บนนี้ ยงมีประชากร
ั
ั ั
ชาวนาจานวนมากที่ ยงมีปัญหาเกี่ ยวกับกาไรจากการค้าข้าว รวมไปถึงต้นทุนการผลิต
ั
การนาเข้า การส่ งออกของข้าว และยังพบว่ายังมี ชาวนาบางส่ วนที่ ยงไม่มีที่ทากิ นเป็ น
ั
ของตัวเองทาให้กลายเป็ นแรงงานของที่ดินผูอื่น
้
วัตถุประสงค์
รายงาน เรื่ อง เศรษฐกิจข้าวไทยในปั จจุบน มีวตถุประสงค์ในการศึกษาค้นคว้า
ั ั
ดังนี้

๑.เพื่อศึกษาเกี่ยวกับเศรษฐกิจข้าวไทยในปั จจุบน
ั
๒.ศึกษานโยบายรัฐแก้ไขปั ญหาเรื่ องข้าวได้จริ งหรื อไม่
๓.เพื่อได้รับทราบถึงความเป็ นธรรมทั้งผูผลิตและบริ โภค
้
สมมุตฐาน
ิ
๑.นโยบายของรัฐช่วยแก้ปัญหาเรื่ องข้าวได้จริ ง
๒.ผูผลิตและผูบริ โภคได้รับผลประโยชน์อย่างเหมาะสม
้
้
ขอบเขต
๑.ศึกษาค้นคว้าระบบเศรษฐกิจข้าวไทย ปั ญหา ผลกระทบและนโยบายที่รัฐ
ช่วยเหลือข้าวไทย
๒.ศึกษาค้นคว้าระบบเศรษฐกิจในประเทศ
๓.ระยะเวลาศึกษาเป็ นเวลาปั จจุบน พุทธศักราช ๒๕๕๖
ั
ระยะเวลาและสถานทีดาเนินการ
่
รายงานเรื่ อง เศรษฐกิ จข้าวไทยในปั จจุ บน ใช้ระยะเวลาในศึ กษาค้นคว้า ตั้งแต่
ั
วันที่ ๑๐ เดื อน พฤศจิ กายน พ.ศ.๒๕๕๖ ถึ ง วันที่ ๑๒ เดื อน ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๖
สถานที่ดาเนินการ ได้แก่
๑.โรงเรี ยนโยธินบารุ ง
๒.บ้า นเลขที่ ๗๓/๑๒๕ ถนนพัฒ นาการคู ข วาง ต าบลท่ า วัง อ าเภอเมื อ ง
จังหวัดนครศรี ธรรมราช
๓.๓๐๒ หอพักแพทย์หญิงจุฑาทิพย์ ถนนพัฒนาการทุ่งปรัง ซอยมหาราช ๑
ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดนครศรี ธรรมราช
่
ข้ าว เป็ นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญของไทย เชื่อมโยงกับชีวตความเป็ นอยูของคนไทย เป็ นทั้งอาหาร
ิ
่
หลักและแหล่งที่มาของเงินตราต่างประเทศ ซึ่ งปริ มาณการส่ งออกข้าวที่ผานมามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นโดย
ตลอด ในปี 2551 ปริ มาณการค้าข้าวของโลกทั้งสิ้ น ๒๙.๖๐ ล้านตันข้าวสาร ประเทศไทยมีส่วนแบ่ง
การตลาดส่ งออกข้าวสารถึงร้อยละ ๓๔.๕๓
ปั จจุบน ประเทศไทยส่ งออกข้าวเป็ นอันดับ ๑ ของโลก โดยปริ มาณการส่ งออกข้าวของไทย
ั
ทาสถิติสูงถึง ๑๐.๒๑๖ ล้านตัน คิดเป็ นมูลค่าประมาณ ๒๐๓,๒๑๙ ล้านบาท มีขาวเปลือกหลากหลาย
้
ชนิดพันธุ์ โดยมีขาวหอมมะลิดีที่สุดในโลก ผลผลิต ๒๘% เป็ นข้าวหอมมะลิ ๔๕% เป็ นข้าวเจ้าอื่นๆ
้
และ ๒๗% เป็ นข้าวเหนียว เวียดนาม อินเดีย พม่า และ อาร์เจนตินา ก็เริ่ มส่ งออกข้าวมากขึ้น กอปรกับ
ภัย ธรรมชาติ ในประเทศต่างๆ ส่ งผลกระทบต่ อ การผลิ ตอาหาร ซึ่ งปั จ จัย เหล่ านี้ เป็ นแรงกดดันให้
ประเทศต่างๆ เพิ่มระดับการแข่ งขันการค้า ข้าวในตลาดโลกมากขึ้ น อย่างไรก็ดี ข้าวจากไทยมี ข อ
ได้เปรี ยบด้านความหลากหลายทางพันธุกรรมและมีคุณภาพสู ง รวมถึงสามารถนามาผลิตสารสกัดและ
อาหารเสริ มต่างๆ ได้ ซึ่ งเป็ นกลยุทธ์ท างการตลาดที่ ดี ตอบสนองต่ อกระแสความนิ ยมอาหารเพื่ อ
สุ ขภาพที่กาลังมีเพิ่มมากขึ้น
ปัญหาเกียวกับเศรษฐกิจข้ าวไทย
่
๑.การนาเข้ า-การส่ งออกข้ าว
การนาเข้ าส่ งออกข้ าว
ประเทศต่างๆ ผลิ ตและบริ โภคข้าวประมาณ ๔๓๐ ล้านตัน/ปี แต่ส่วนใหญ่
เป็ นการผลิตและบริ โภคภายในประเทศ ปริ มาณข้าวที่เหลือสาหรับขายระหว่างประเทศ
่
อยูที่ประมาณ ๒๙-๓๐ ล้านตัน/ปี ประเทศที่ผลิตข้าวเป็ นดับ ๑ คือจีน (ประมาณ ๑๓๐
ล้านตัน/ปี ) และอันดับ ๒ คืออินเดีย (ประมาณ ๘๐-๙๐ ล้านตัน/ปี ) ส่ วนไทยผลิตข้าว
มากเป็ นอันดับ ๖ (ประมาณ ๑๙ ล้านตัน/ปี ) แต่เป็ นผูส่งออกข้าวอันดับ ๑ ของโลก ส่ วน
้
คู่แ ข่ งที่ ส าคัญ ของไทยมี ห ลายประเทศเช่ น เวีย ดนาม บราซิ ล โดยขณะนี้ เวียดนาม
สามารถผลิตข้าวได้มากกว่าไทย (ประมาณ ๒๔ ล้านตัน/ปี ) และสามารถส่ งออกข้าว
เป็ นอันดับ สองของโลก ในขณะที่ ประเทศที่ นาเข้าข้าวที่ สู ง ที่ สุ ดคื อ ฟิ ลิ ป ปิ นส์ แ ละ
ไนจีเรี ย โดยทั้งสองประเทศนาเข้าข้าวในปี ๒๕๕๒ กว่า ๒ ล้านตัน
จุดแข็งของประเทศไทย
๑.ชื่อเสี ยงของประเทศไทยในการส่ งออกอาหาร จนได้ชื่อว่าเป็ น “ครัวของโลก”
๒.ข้าวมีคุณภาพดี
๓.มีข้ นตอนการผลิตที่ครบวงจรและเข้มแข็ง
ั
๔. สภาพอากาศ/ความหลากหลายของพันธุ์ขาว/ประสบการณ์การค้าข้าวที่ยาวนาน
้
๕.การบริ การที่ดี ซื่ อตรงต่อผูคา
้้
ั
๖.สามารถปรับตัวได้กบทุกมาตรฐานสุ ขภาพที่มีการกาหนดขึ้น
จุดอ่ อนของประเทศไทย
๑.ปลูกข้าวมากเกินไปเพราะรัฐมีมาตรการ ช่วยเหลือเกษตรกรตลอดเวลา
๒.มีผลผลิตต่อไร่ ต่า ทาให้ตนทุนสู ง
้
๓.ขาดการทานาขนาดใหญ่ จึงทาให้การผลิตไม่ได้การประหยัดต่อขนาด
๔.ไม่มียทธศาสตร์ ในด้านการผลิตและการส่ งออกระยะยาว
ุ
๕.การทุจริ ตของภาครัฐ (เช่น เรื่ องการบริ หาร สต๊อกข้าว)
๒.คู่แข่ งทีสาคัญของไทย
่
ประเทศที่เป็ นคู่แข่งสาคัญในการส่ งออกข้าวของไทยในตอนนี้ คือ เวียดนาม โดยในปี ๒๕๕๒
ไทยผลิตข้าวได้ ๓๑.๖๕ ล้านตัน (เวียดนาม ๓๘.๙๐ ล้านตัน) ในขณะที่ไทยมีความสามารถในการผลิต
่
๔๗๔กิโลกรัมต่อไร่ (เวียดนาม ๘๓๗ กก./ไร่ ) ทาให้ราคาข้าวไทยอยูทีประมาณ ๖,๕๗๕ –๘,๗๑๕
บาท / ตัน (เวียดนาม ๓,๙๖๐ บาท/ตัน)
สาหรับโครงสร้างการส่ งออกข้าวคือ ไทยส่ งออกข้าวขาวประมาณ ๒.๓ ล้านตัน (เวียดนาม ๕.๓
ล้านตัน) ข้าวหอม ๒.๖ ล้านตัน (เวียดนาม ๒.๖ แสนตัน) ข้าวนึ่ง ๒.๘ ล้านตัน (เวียดนามไม่ส่งออกข้าว
ประเภทนี้) โดยระหว่างปี ๒๕๕๔–๒๕๕๖ ไทยส่ งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ ๓๑ (เวียดนามร้อยละ ๗๖.๕)
นอกจากนี้ ในอนาคตอันใกล้ ไทยยังมีคู่แข่งสาคัญคืออินเดี ย ซึ่ งขณะนี้ งดการส่ งออกข้าว ด้วย
เหตุผลเพื่อการบริ โภคภายในและเก็บสต๊อกเพื่อความปลอดภัยทางอาหาร ทาให้ไทยครองตลาดข้าวนึ่ ง
ในแอฟริ กา แต่หากอินเดียเปลี่ยนนโยบายดังกล่าว ตลาดข้าวนึ่งไทยอาจลดลงกว่าร้อยละ ๕๐ เนื่องจาก
่
ข้าวนึ่งจากประเทศอินเดียมีตนทุนการผลิตและราคาขายต่ากว่าไทย แม้วาคุณภาพจะด้อยกว่า แต่ก็เป็ นที่
้
ต้องการของผูบริ โภคเพราะราคาถูก
้
นอกจากนี้ พม่าก็เป็ นคู่แข่งที่ควรจับตามอง เนื่ องจากในปี ๒๕๕๕ สามารถส่ งออกได้ถึง ๑ ล้าน
ตัน ท าให้พ ม่ าเริ่ ม ตื่ น ตัว ในการสนับ สนุ นการส่ ง ออกดังกล่ า ว และพื้น ที่ ใ นพม่ า มี การชลประทาน
ธรรมชาติที่ดี อีกทั้งในอดีต พม่าเคยเป็ นผูส่งออกข้าวอันดับ ๑ ของโลกมาแล้ว
้
๓.ต้ นทุนการผลิต
เนื่องจากในปั จจุบนนี้ เศรษฐกิจของประเทศไทยได้มีเปลี่ยนแปลงไปมากมาย
ั
ทาให้ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจบางประเภท อย่างเช่น เศรษฐกิจของข้าวไทยในปั จจุบน
ั
่
ซึ่ งมีผลกับต้นทุนการผลิต ไม่วาจะเป็ นต้นทุนในการจัดหาซื้ ออุปกรณ์ ค่าจ้างแรงงาน การ
เช่าที่ดินในการเพาะปลูก ซึ่ งต้นทุนเหล่านี้ ในปั จจุบนต้องใช้ตนทุนที่ค่อนข้างสู ง ทาให้ไม่
ั
้
พอต่อความเป็ นจริ งกับผลผลิตที่ได้มา ซึ่ งทาให้เกิดปั ญหากับต้นทุนการผลิต
ผลกระทบต่ อชาวนา
ในปั จจุบนสมัยนี้ ชาวนาจานวนมากกลับไม่สามารถรักษาที่ดินที่พวกเขาใช้สาหรับ
ั
เก็บเกี่ยวข้าวและจาเป็ นต้องเช่าที่ดินทากินเพื่อเลี้ยงชีพตัวเอง รัฐบาลมักจะคาดหวังรายได้
จากภาษีอยูเ่ สมอ ซึ่ งเหตุผลนี้ได้ผลักดันให้ชาวนาจานวนมากเข้าใกล้สภาวะการขาดทุน
มากยิงขึ้น เทคโนโลยีใหม่ๆยังได้ขยับราคาต้นทุนในการทานาสู งขึ้นและทาให้เป็ นการ
่
ยากขึ้นสาหรับชาวนาที่จะเป็ นเจ้าของที่ดินและปลูกข้าว ชาวนาที่ค่อนข้างมีการผลิตที่
่
ค่อนข้างใหญ่อยูแล้วหรื อสามารถแบกรับค่าใช้จ่ายสารเคมีใหม่ๆ สายพันธุ์ขาว และ
้
แทรกเตอร์ จะได้รับประโยชน์อย่างมาก
ขณะที่ ชาวนาธรรมดาต้องหันจากจากผูผลิ ตข้าวที่ มี ที่ดินเป็ นของตั วเองไปเป็ น
้
แรงงานมนุษย์ในที่ดินของคนอื่น
นอกจากนี้ ปั ญ หาเรื่ องประสิ ทธิ ภาพการผลิ ต ราคาและการส่ งออก โครงสร้ าง
พื้นฐานของการผลิตข้าว สภาพพื้นที่ เพาะปลูก ในพื้นที่ นาน้ าฝนมักเป็ นกระทงนาผืน
เล็กผืนน้อย เนื่ องจากพื้นที่สูงต่าต่างระดับ ทาให้ใช้เครื่ องมือทุ่นแรงยาก นอกจากนั้นก็
ยังมี ปัญหาการแปรรู ปข้าวเปลือกในโรงสี สหกรณ์ที่มีอยู่ไม่เพียงพอ ทาให้มีกาลังการ
ผลิตน้อย นอกจากนี้ ยงมีปัญหาราคาข้าวในตลาดโลกที่มกมีการผันผวนมาก บางครั้งผู ้
ั
ั
ส่ งออกต้องซื้ อข้าวในราคาสู ง แต่ตอนขายกลับขายได้ในราคาต่า ซึ่ งย่อมส่ งผลกระทบ
ต่อราคารับซื้ อข้าวจากชาวนา
นโยบายของรัฐบาลกับการแก้ ปัญหาเศรษฐกิจข้ าว
๑.การรับจานาข้ าว
โครงการรับจานาข้าว เป็ นโครงการที่เกิดขึ้นในสมัยพรรคไทยรักไทยเป็ นรัฐบาล และ
มาหยุดโครงการดังกล่าวในรัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์ เนื่องจากพรรคประชาธิปัตย์เห็นว่า มี
้
ช่องโหวในเรื่ องของการคอรัปชัน ในขณะที่รัฐบาลพรรคเพื่อไทยได้กาวเข้ามาครั้งนี้ จึงนา
นโยบายดังกล่าวกลับมาใช้อีกครั้งหนึ่ง
ข้ อดี
๑.จากการประกาศจานาราคาข้าวที่ ๑๕,๐๐๐ บาท ชาวนาจะได้รับเงิน ๑๕,๐๐๐ เลย (กรณี
ข้าวมีความชื้นที่๑๕ เปอร์เซ็นต์) ซึ่งเป็ นเงินสด
๒.ชาวนา มีขาวเท่าไรก็ขายได้ตาม จานวนผลผลิตที่ได้ เช่น หากทานา มีขาว ๑๐ ตัน ก็ได้
้
้
ทั้ง ๑๐ ตัน เป็ นเงิน ๑๕๐,๐๐๐ บาท
๓.ชาวนาจะได้รับเป็ นเงินสดทันทีเมื่อขายข้าว
๔.จะทาให้ ราคาข้าวในท้องตลาดเพิ่มขึ้น เนื่องจากถ้าพ่อค้าไม่รับซื้อ ในราคาสูงก็ไม่มี
ข้าวขายเพราะรัฐจะซื้อเองหมด
๕.รัฐบาลสามารถควบคุมราคาซื้อ-ขาย ข้าวได้ (ในการส่ งออกและบริ โภคภาย ใน
ประเทศ)
ข้ อเสี ย
่
๑.จากอดีตที่ผานมามีการคอรัปชันสูง ทาให้รัฐต้องขาดทุนปี ละหลายหมื่น ล้าน
๒.รัฐอาจต้องสร้างโกดังไว้เก็บข้าวเอง จานวนมาก
๓.เป็ นการ บิดเบือนกลไกตลาดทาให้ รัฐต้องใช้เงินจานวนมากไปซื้ อข้าวซึ่ ง รัฐไม่น่าจะ
่
มีเงินมากมาซื้อข้าวชาวนาได้ท้ งหมดในกรณี ที่พอค้าไม่รับซื้อข้าวแข่ง
ั
๔.รัฐต้องเสี ยเงินจานวนไม่นอยในการสต๊อกข้าวและรักษาคุณภาพข้าวจานวนมากถ้าขาย
้
ข้าวไม่ได้
๕.อาจมีขาวจากต่างประเทศเข้ามาสวมสิ ทธิ์
้
๒.การประกันราคาข้ าว
โครงการการประกันราคาข้าวเป็ นโครงการที่รัฐบาลเสนอขึ้นเพื่อช่วยแก้ไขปั ญหาของ
ชาว โดยโครงการการประกัน ราคาข้า วนั้น เป็ นโครงการที่ ช่ ว ยพยุง ราคาข้า วไม่ ใ ห้ต กต่ า
จนเกินไป เป็ นโครงการที่สามารถช่วยเหลือชาวนาไม่ให้เกิดภาวะราคาข้าวตกต่านั้นเอง
บทสรุปและอภิปรายผล
สรุ ป

เรื่ อง เศรษฐกิจข้าวไทยในปั จจุบน สามารถสรุ ปได้ ดังนี้
ั
๑. นโยบายของรั ฐบาลสามารถช่ วยแก้ปัญหาเรื่ องข้าวได้จริ งแต่ก็ยงไม่ ได้ผล
ั
เท่ า ที่ ค วรเท่ า ไหร่ เ พราะชาวนาบางส่ ว นยัง ได้ผ ลกระทบจากต้น ทุ น การผลิ ต การ
ส่ งออกการนาเข้า เป็ นต้น
๒.ผูผ ลิ ตที่ มี ตน ทุ นในการผลิ ตสู ง ก็ส ามารถได้รั บ ผลประโยชน์ ได้ม าก ส่ ว น
้
้
ผูผลิตที่ มีตนทุนการผลิตต่านั้นก็จะได้รับผลประโยชน์ที่ต่าลงมา และส่ วนผูบริ โภค
้
้
้
หากราคาข้าวสู งผูบริ โภคก็จะได้รับการบริ โภคที่ สูง แต่ถาราคาข้าต่าผูบริ โภคได้รับ
้
้
้
การบริ โภคที่ต่าไปด้วย
อภิปรายผล
เรื่ อง เศรษฐกิจข้าวไทยในปั จจุบน สามารถอภิปรายผลได้ ดังนี้
ั
ข้าวเป็ นอาหารหลักของคนไทยมาตั้งสมัยในอดีต คนไทยส่ วนมากนิ ยมบริ โภค
ข้าวเป็ นอาหารหลักเพื่อใช้ในการดารงชี วิตให้อยู่รอด และคาว่าข้าวยังเป็ นอาชี พของ
ชาวนาที่ใช้ในการทามาหากินเลี้ยงชีพตนเอง
ข้าวไทยในปั จ จุ บ ัน มี การส่ งออกเป็ นอันดับ ที่ ๑ ของโลก โดยปริ มาณการ
ส่ งออกข้าวของไทยทาสถิติสูงถึง ๑๐.๒๑๖ ล้านตัน คิดเป็ นมูลค่าประมาณ ๒๐๓,๒๑๙
ล้านบาท มีขาวเปลือกหลากหลายชนิ ดพันธุ์ โดยมีขาวหอมมะลิดีที่สุดในโลก ผลผลิต
้
้
๒๘% เป็ นข้าวหอมมะลิ ๔๕% เป็ นข้าวเจ้าอื่นๆ
ปั จจุ บนรั ฐบาลได้มีการจัดทาโครงการขึ้ นมา คื อ โครงการรั บจานาข้าว
ั
และโครงการประกันราคาข้าว เมื่อเปรี ยบเทียบกันแล้ว ๒ โครงการนี้ เป็ นโครงการที่
รั ฐบาลต้องการที่ จะช่ วยเหลื อเกษตรกรชาวนาเพื่อ ให้ชาวนากิ นดี อยู่ดี มี สุข แต่
็
โครงการนี้ กไม่เป็ นผลเป็ นผลเท่าที่ควรเท่าไหร่ นกเนื่ องจากต้นทุนการการผลิตมีผล
ั
สู งกว่าของค่าตอบแทนที่ จะได้รับ ซึ่ งทาให้ชาวนาบางส่ วนที่ มีกาลังในการจัดหา
ต้นทุ นการผลิ ตต่ ามี หนี้ สิน นอกจากนี้ ปั ญหาเรื่ องการผลิ ต ราคาและการส่ งออก
สภาพพื้นที่ เพาะปลูก ในพื้นที่ นาน้ าฝนมักเป็ นกระทงนาผืนเล็กผืนน้อย เนื่ องจาก
พื้นที่สูงต่าต่างระดับ ทาให้ใช้เครื่ องมือทุ่นแรงยาก นอกจากนั้นก็ยงมีปัญหาการแปร
ั
่
รู ปข้าวเปลือกในโรงสี สหกรณ์ที่มีอยูไม่เพียงพอ ทาให้มีกาลังการผลิตน้อย
๑.นายฤทธิเกียรติ รอดภัย เลขที่ ๑๓
๒.นางสาวนรวรรณ วังบุญคง เลขที่ ๑๗
๓.นางสาวปริยานุช อุปลา เลขที่ ๑๘
๔.นางสาวอัครศิตา ขุนจันทร์ เลขที่ ๒๓
ชันมัธยมศึกษาปี ที่ ๕/๑
้
๓. นางสาวปริยานุช อุปลา
ม.๕/๑ เลขที่๑๘

๔.นางสาวอัครศิตา ขุนจันทร์
ม.๕/๑ เลขที่ ๒๓
กลุ่ม4

More Related Content

Viewers also liked

Eidea Consultores
Eidea ConsultoresEidea Consultores
Eidea ConsultoresEidea
 
TALLER FIGURACIÓN ABSTRACCIÓN CIUDADES BURGUESAS
TALLER FIGURACIÓN ABSTRACCIÓN CIUDADES BURGUESASTALLER FIGURACIÓN ABSTRACCIÓN CIUDADES BURGUESAS
TALLER FIGURACIÓN ABSTRACCIÓN CIUDADES BURGUESASMaribel Garcia
 
TALLER FIGURACIÓN ABSTRACCIÓN CIUDADES MEDIEVALES
TALLER FIGURACIÓN ABSTRACCIÓN CIUDADES MEDIEVALESTALLER FIGURACIÓN ABSTRACCIÓN CIUDADES MEDIEVALES
TALLER FIGURACIÓN ABSTRACCIÓN CIUDADES MEDIEVALESMaribel Garcia
 
Maquinas empresariales
Maquinas empresarialesMaquinas empresariales
Maquinas empresarialesjoseriveros12
 
Oportunidades
OportunidadesOportunidades
Oportunidadesdondiegol
 
Apresentação sobre o tutorial
Apresentação sobre o tutorialApresentação sobre o tutorial
Apresentação sobre o tutorialguest03d9b
 
Cobertura Celular PE
Cobertura Celular PECobertura Celular PE
Cobertura Celular PEPortal NE10
 
Redes Sociais Virtuais3
Redes Sociais Virtuais3Redes Sociais Virtuais3
Redes Sociais Virtuais3PMBS 1995
 
Estructurar un aula donde se lea y se escriba
Estructurar un aula  donde se lea y se escriba Estructurar un aula  donde se lea y se escriba
Estructurar un aula donde se lea y se escriba Ana Laura Gallardo Conde
 
Web2_GoogleDocs
Web2_GoogleDocsWeb2_GoogleDocs
Web2_GoogleDocsmagiugni
 
Laoen (FotóGrafo AlemãO)
Laoen (FotóGrafo AlemãO)Laoen (FotóGrafo AlemãO)
Laoen (FotóGrafo AlemãO)josumar
 
Alerta dengue: Sistema de alertas de surtos usando dados híbridos
Alerta dengue: Sistema de alertas de surtos usando dados híbridosAlerta dengue: Sistema de alertas de surtos usando dados híbridos
Alerta dengue: Sistema de alertas de surtos usando dados híbridosFlávio Codeço Coelho
 
Trabajando con SPSS
Trabajando con SPSSTrabajando con SPSS
Trabajando con SPSSclaralgod
 

Viewers also liked (19)

Encuadre
EncuadreEncuadre
Encuadre
 
Castelos
CastelosCastelos
Castelos
 
Eidea Consultores
Eidea ConsultoresEidea Consultores
Eidea Consultores
 
TALLER FIGURACIÓN ABSTRACCIÓN CIUDADES BURGUESAS
TALLER FIGURACIÓN ABSTRACCIÓN CIUDADES BURGUESASTALLER FIGURACIÓN ABSTRACCIÓN CIUDADES BURGUESAS
TALLER FIGURACIÓN ABSTRACCIÓN CIUDADES BURGUESAS
 
TALLER FIGURACIÓN ABSTRACCIÓN CIUDADES MEDIEVALES
TALLER FIGURACIÓN ABSTRACCIÓN CIUDADES MEDIEVALESTALLER FIGURACIÓN ABSTRACCIÓN CIUDADES MEDIEVALES
TALLER FIGURACIÓN ABSTRACCIÓN CIUDADES MEDIEVALES
 
Maquinas empresariales
Maquinas empresarialesMaquinas empresariales
Maquinas empresariales
 
Oportunidades
OportunidadesOportunidades
Oportunidades
 
Leeryescribirenlaescuela delia lener
Leeryescribirenlaescuela delia lenerLeeryescribirenlaescuela delia lener
Leeryescribirenlaescuela delia lener
 
Apresentação sobre o tutorial
Apresentação sobre o tutorialApresentação sobre o tutorial
Apresentação sobre o tutorial
 
Autos
AutosAutos
Autos
 
Cobertura Celular PE
Cobertura Celular PECobertura Celular PE
Cobertura Celular PE
 
Programação
ProgramaçãoProgramação
Programação
 
Redes Sociais Virtuais3
Redes Sociais Virtuais3Redes Sociais Virtuais3
Redes Sociais Virtuais3
 
Estructurar un aula donde se lea y se escriba
Estructurar un aula  donde se lea y se escriba Estructurar un aula  donde se lea y se escriba
Estructurar un aula donde se lea y se escriba
 
Web2_GoogleDocs
Web2_GoogleDocsWeb2_GoogleDocs
Web2_GoogleDocs
 
fasadai
fasadaifasadai
fasadai
 
Laoen (FotóGrafo AlemãO)
Laoen (FotóGrafo AlemãO)Laoen (FotóGrafo AlemãO)
Laoen (FotóGrafo AlemãO)
 
Alerta dengue: Sistema de alertas de surtos usando dados híbridos
Alerta dengue: Sistema de alertas de surtos usando dados híbridosAlerta dengue: Sistema de alertas de surtos usando dados híbridos
Alerta dengue: Sistema de alertas de surtos usando dados híbridos
 
Trabajando con SPSS
Trabajando con SPSSTrabajando con SPSS
Trabajando con SPSS
 

Similar to กลุ่ม4

เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรchompoo28
 
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวโครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวnam--nam-thanaporn
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองbenya_28030
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองbenya2013
 
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเจื๋อง เมืองลื้อ
 
Merged document
Merged documentMerged document
Merged documentapecthaitu
 
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)Nutthakorn Songkram
 
เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่kima203
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7Ploy Benjawan
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนpangminpm
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1mingpimon
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรdaiideah102
 
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทยยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทยวราภรณ์ ทรัพย์รวงทอง
 
7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)
7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)
7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)Nutthakorn Songkram
 
บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003bussayamas Baengtid
 
Farming System 23/06/54
Farming System 23/06/54Farming System 23/06/54
Farming System 23/06/54SkyPrimo
 
แผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for lifeแผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for lifeVitsanu Nittayathammakul
 
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยsomporn Isvilanonda
 

Similar to กลุ่ม4 (20)

เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวโครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
 
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Merged document
Merged documentMerged document
Merged document
 
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
 
เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลน
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทยยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
 
บทคัดย่อสำหรับผู้บริหาร
บทคัดย่อสำหรับผู้บริหารบทคัดย่อสำหรับผู้บริหาร
บทคัดย่อสำหรับผู้บริหาร
 
7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)
7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)
7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)
 
บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003
 
Farming System 23/06/54
Farming System 23/06/54Farming System 23/06/54
Farming System 23/06/54
 
แผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for lifeแผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for life
 
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
 

More from punloveh

กลุ่ม7
กลุ่ม7กลุ่ม7
กลุ่ม7punloveh
 
กลุ่ม6
กลุ่ม6กลุ่ม6
กลุ่ม6punloveh
 
กลุ่ม5
กลุ่ม5กลุ่ม5
กลุ่ม5punloveh
 
กลุ่ม3
กลุ่ม3กลุ่ม3
กลุ่ม3punloveh
 
กลุ่ม3
กลุ่ม3กลุ่ม3
กลุ่ม3punloveh
 
กลุ่ม2
กลุ่ม2กลุ่ม2
กลุ่ม2punloveh
 

More from punloveh (8)

กลุ่ม7
กลุ่ม7กลุ่ม7
กลุ่ม7
 
กลุ่ม6
กลุ่ม6กลุ่ม6
กลุ่ม6
 
กลุ่ม5
กลุ่ม5กลุ่ม5
กลุ่ม5
 
กลุ่ม3
กลุ่ม3กลุ่ม3
กลุ่ม3
 
กลุ่ม3
กลุ่ม3กลุ่ม3
กลุ่ม3
 
กลุ่ม2
กลุ่ม2กลุ่ม2
กลุ่ม2
 
ฟฟฟ
ฟฟฟฟฟฟ
ฟฟฟ
 
TEST
TESTTEST
TEST
 

กลุ่ม4

  • 1.
  • 2. กิตติกรรมประกาศ รายงานฉบับนี้สาเร็ จและสมบรู ณ์เป็ นรู ปเล่ม ด้วยความกรุ ณาและเอาใจใส่ เป็ น อย่างดีจากคุณครู พรทิพย์ มโนเลิศ คุณครู ประจาวิชา และคุณครู นฤมล ปรุ งเสริ ม คุณครู ที่ปรึ กษา ที่ได้กรุ ณาให้คาปรึ กษาและแนะแนวทางในการดาเนินการทารายงานในครั้งนี้ รวมทั้งข้อเสนอแนะและข้อคิดต่างๆตลอดทั้งการตรวจแก้ไขรายงานฉบับนี้ ให้สาเร็ จ สมบรู ณ์ยงขึ้น ทางคณะผูจดทาจึงขอขอบคุณเป็ นอย่างสู งไว้ ณ โอกาสนี้ ิ่ ้ั ขอขอบพระคุ ณ คุ ณ ครู ทุ ก ท่ า นที่ ไ ด้ป ระสิ ท ธิ ป ระสาทวิ ช า ความรู ้ และ ประสบการณ์ ตลอดจนอานวยความสาเร็ จให้บงเกิดขึ้น ั สุ ดท้ายนี้ ขอขอบคุ ณครู พรทิ พย์ มโนเลิ ศ และเพื่อนๆที่ เป็ นกาลังใจและให้ ความช่วยเหลือในการเก็บรวบรวมข้อมูลและให้คาแนะนาในการทารายงานครั้ งนี้ ให้ สาเร็ จลุล่วงด้วยดีตลอดมา คณะผูจดทา ้ั กลุ่มที่ ๔
  • 3. บทคัดย่ อ การศึ กษาครั้ งนี้ มี วต ถุ ป ระสงค์เพื่ อ ศึ กษาเศรษฐกิ จ ข้าวไทยในปั จ จุ บันและเพื่ อ ั วิเคราะห์นโยบายของรัฐบาลในการแก้ปัญหาเรื่ องข้าว ผลการศึกษาพบว่า เศรษฐกิจข้าว ไทยในปั จจุบน ประเทศไทยส่ งออกข้าวเป็ นอันดับ ๑ ของโลก โดยปริ มาณการส่ งออก ั ข้าวของไทยทาสถิติสูงถึง ๑๐.๒๑๖ ล้านตัน ส่ วนนโยบายของรัฐบาลที่ว่าการรับจานา ข้าวและการประกันราคาข้าวนั้น รั ฐบาลได้สร้ างโครงการนี้ ข้ ึ นมาเพื่อช่ วยเกษตรกร ชาวนาแต่ก็ยงไม่สามารถทาได้ผลเท่าที่ ควรเท่าไหร่ นักเพราะปั จจุ บนนี้ ยงมีประชากร ั ั ั ชาวนาจานวนมากที่ ยงมีปัญหาเกี่ ยวกับกาไรจากการค้าข้าว รวมไปถึงต้นทุนการผลิต ั การนาเข้า การส่ งออกของข้าว และยังพบว่ายังมี ชาวนาบางส่ วนที่ ยงไม่มีที่ทากิ นเป็ น ั ของตัวเองทาให้กลายเป็ นแรงงานของที่ดินผูอื่น ้
  • 4. วัตถุประสงค์ รายงาน เรื่ อง เศรษฐกิจข้าวไทยในปั จจุบน มีวตถุประสงค์ในการศึกษาค้นคว้า ั ั ดังนี้ ๑.เพื่อศึกษาเกี่ยวกับเศรษฐกิจข้าวไทยในปั จจุบน ั ๒.ศึกษานโยบายรัฐแก้ไขปั ญหาเรื่ องข้าวได้จริ งหรื อไม่ ๓.เพื่อได้รับทราบถึงความเป็ นธรรมทั้งผูผลิตและบริ โภค ้ สมมุตฐาน ิ ๑.นโยบายของรัฐช่วยแก้ปัญหาเรื่ องข้าวได้จริ ง ๒.ผูผลิตและผูบริ โภคได้รับผลประโยชน์อย่างเหมาะสม ้ ้ ขอบเขต ๑.ศึกษาค้นคว้าระบบเศรษฐกิจข้าวไทย ปั ญหา ผลกระทบและนโยบายที่รัฐ ช่วยเหลือข้าวไทย ๒.ศึกษาค้นคว้าระบบเศรษฐกิจในประเทศ ๓.ระยะเวลาศึกษาเป็ นเวลาปั จจุบน พุทธศักราช ๒๕๕๖ ั
  • 5. ระยะเวลาและสถานทีดาเนินการ ่ รายงานเรื่ อง เศรษฐกิ จข้าวไทยในปั จจุ บน ใช้ระยะเวลาในศึ กษาค้นคว้า ตั้งแต่ ั วันที่ ๑๐ เดื อน พฤศจิ กายน พ.ศ.๒๕๕๖ ถึ ง วันที่ ๑๒ เดื อน ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๖ สถานที่ดาเนินการ ได้แก่ ๑.โรงเรี ยนโยธินบารุ ง ๒.บ้า นเลขที่ ๗๓/๑๒๕ ถนนพัฒ นาการคู ข วาง ต าบลท่ า วัง อ าเภอเมื อ ง จังหวัดนครศรี ธรรมราช ๓.๓๐๒ หอพักแพทย์หญิงจุฑาทิพย์ ถนนพัฒนาการทุ่งปรัง ซอยมหาราช ๑ ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดนครศรี ธรรมราช
  • 6. ่ ข้ าว เป็ นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญของไทย เชื่อมโยงกับชีวตความเป็ นอยูของคนไทย เป็ นทั้งอาหาร ิ ่ หลักและแหล่งที่มาของเงินตราต่างประเทศ ซึ่ งปริ มาณการส่ งออกข้าวที่ผานมามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นโดย ตลอด ในปี 2551 ปริ มาณการค้าข้าวของโลกทั้งสิ้ น ๒๙.๖๐ ล้านตันข้าวสาร ประเทศไทยมีส่วนแบ่ง การตลาดส่ งออกข้าวสารถึงร้อยละ ๓๔.๕๓ ปั จจุบน ประเทศไทยส่ งออกข้าวเป็ นอันดับ ๑ ของโลก โดยปริ มาณการส่ งออกข้าวของไทย ั ทาสถิติสูงถึง ๑๐.๒๑๖ ล้านตัน คิดเป็ นมูลค่าประมาณ ๒๐๓,๒๑๙ ล้านบาท มีขาวเปลือกหลากหลาย ้ ชนิดพันธุ์ โดยมีขาวหอมมะลิดีที่สุดในโลก ผลผลิต ๒๘% เป็ นข้าวหอมมะลิ ๔๕% เป็ นข้าวเจ้าอื่นๆ ้ และ ๒๗% เป็ นข้าวเหนียว เวียดนาม อินเดีย พม่า และ อาร์เจนตินา ก็เริ่ มส่ งออกข้าวมากขึ้น กอปรกับ ภัย ธรรมชาติ ในประเทศต่างๆ ส่ งผลกระทบต่ อ การผลิ ตอาหาร ซึ่ งปั จ จัย เหล่ านี้ เป็ นแรงกดดันให้ ประเทศต่างๆ เพิ่มระดับการแข่ งขันการค้า ข้าวในตลาดโลกมากขึ้ น อย่างไรก็ดี ข้าวจากไทยมี ข อ ได้เปรี ยบด้านความหลากหลายทางพันธุกรรมและมีคุณภาพสู ง รวมถึงสามารถนามาผลิตสารสกัดและ อาหารเสริ มต่างๆ ได้ ซึ่ งเป็ นกลยุทธ์ท างการตลาดที่ ดี ตอบสนองต่ อกระแสความนิ ยมอาหารเพื่ อ สุ ขภาพที่กาลังมีเพิ่มมากขึ้น
  • 7. ปัญหาเกียวกับเศรษฐกิจข้ าวไทย ่ ๑.การนาเข้ า-การส่ งออกข้ าว การนาเข้ าส่ งออกข้ าว ประเทศต่างๆ ผลิ ตและบริ โภคข้าวประมาณ ๔๓๐ ล้านตัน/ปี แต่ส่วนใหญ่ เป็ นการผลิตและบริ โภคภายในประเทศ ปริ มาณข้าวที่เหลือสาหรับขายระหว่างประเทศ ่ อยูที่ประมาณ ๒๙-๓๐ ล้านตัน/ปี ประเทศที่ผลิตข้าวเป็ นดับ ๑ คือจีน (ประมาณ ๑๓๐ ล้านตัน/ปี ) และอันดับ ๒ คืออินเดีย (ประมาณ ๘๐-๙๐ ล้านตัน/ปี ) ส่ วนไทยผลิตข้าว มากเป็ นอันดับ ๖ (ประมาณ ๑๙ ล้านตัน/ปี ) แต่เป็ นผูส่งออกข้าวอันดับ ๑ ของโลก ส่ วน ้ คู่แ ข่ งที่ ส าคัญ ของไทยมี ห ลายประเทศเช่ น เวีย ดนาม บราซิ ล โดยขณะนี้ เวียดนาม สามารถผลิตข้าวได้มากกว่าไทย (ประมาณ ๒๔ ล้านตัน/ปี ) และสามารถส่ งออกข้าว เป็ นอันดับ สองของโลก ในขณะที่ ประเทศที่ นาเข้าข้าวที่ สู ง ที่ สุ ดคื อ ฟิ ลิ ป ปิ นส์ แ ละ ไนจีเรี ย โดยทั้งสองประเทศนาเข้าข้าวในปี ๒๕๕๒ กว่า ๒ ล้านตัน
  • 8. จุดแข็งของประเทศไทย ๑.ชื่อเสี ยงของประเทศไทยในการส่ งออกอาหาร จนได้ชื่อว่าเป็ น “ครัวของโลก” ๒.ข้าวมีคุณภาพดี ๓.มีข้ นตอนการผลิตที่ครบวงจรและเข้มแข็ง ั ๔. สภาพอากาศ/ความหลากหลายของพันธุ์ขาว/ประสบการณ์การค้าข้าวที่ยาวนาน ้ ๕.การบริ การที่ดี ซื่ อตรงต่อผูคา ้้ ั ๖.สามารถปรับตัวได้กบทุกมาตรฐานสุ ขภาพที่มีการกาหนดขึ้น จุดอ่ อนของประเทศไทย ๑.ปลูกข้าวมากเกินไปเพราะรัฐมีมาตรการ ช่วยเหลือเกษตรกรตลอดเวลา ๒.มีผลผลิตต่อไร่ ต่า ทาให้ตนทุนสู ง ้ ๓.ขาดการทานาขนาดใหญ่ จึงทาให้การผลิตไม่ได้การประหยัดต่อขนาด ๔.ไม่มียทธศาสตร์ ในด้านการผลิตและการส่ งออกระยะยาว ุ ๕.การทุจริ ตของภาครัฐ (เช่น เรื่ องการบริ หาร สต๊อกข้าว)
  • 9. ๒.คู่แข่ งทีสาคัญของไทย ่ ประเทศที่เป็ นคู่แข่งสาคัญในการส่ งออกข้าวของไทยในตอนนี้ คือ เวียดนาม โดยในปี ๒๕๕๒ ไทยผลิตข้าวได้ ๓๑.๖๕ ล้านตัน (เวียดนาม ๓๘.๙๐ ล้านตัน) ในขณะที่ไทยมีความสามารถในการผลิต ่ ๔๗๔กิโลกรัมต่อไร่ (เวียดนาม ๘๓๗ กก./ไร่ ) ทาให้ราคาข้าวไทยอยูทีประมาณ ๖,๕๗๕ –๘,๗๑๕ บาท / ตัน (เวียดนาม ๓,๙๖๐ บาท/ตัน) สาหรับโครงสร้างการส่ งออกข้าวคือ ไทยส่ งออกข้าวขาวประมาณ ๒.๓ ล้านตัน (เวียดนาม ๕.๓ ล้านตัน) ข้าวหอม ๒.๖ ล้านตัน (เวียดนาม ๒.๖ แสนตัน) ข้าวนึ่ง ๒.๘ ล้านตัน (เวียดนามไม่ส่งออกข้าว ประเภทนี้) โดยระหว่างปี ๒๕๕๔–๒๕๕๖ ไทยส่ งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ ๓๑ (เวียดนามร้อยละ ๗๖.๕) นอกจากนี้ ในอนาคตอันใกล้ ไทยยังมีคู่แข่งสาคัญคืออินเดี ย ซึ่ งขณะนี้ งดการส่ งออกข้าว ด้วย เหตุผลเพื่อการบริ โภคภายในและเก็บสต๊อกเพื่อความปลอดภัยทางอาหาร ทาให้ไทยครองตลาดข้าวนึ่ ง ในแอฟริ กา แต่หากอินเดียเปลี่ยนนโยบายดังกล่าว ตลาดข้าวนึ่งไทยอาจลดลงกว่าร้อยละ ๕๐ เนื่องจาก ่ ข้าวนึ่งจากประเทศอินเดียมีตนทุนการผลิตและราคาขายต่ากว่าไทย แม้วาคุณภาพจะด้อยกว่า แต่ก็เป็ นที่ ้ ต้องการของผูบริ โภคเพราะราคาถูก ้ นอกจากนี้ พม่าก็เป็ นคู่แข่งที่ควรจับตามอง เนื่ องจากในปี ๒๕๕๕ สามารถส่ งออกได้ถึง ๑ ล้าน ตัน ท าให้พ ม่ าเริ่ ม ตื่ น ตัว ในการสนับ สนุ นการส่ ง ออกดังกล่ า ว และพื้น ที่ ใ นพม่ า มี การชลประทาน ธรรมชาติที่ดี อีกทั้งในอดีต พม่าเคยเป็ นผูส่งออกข้าวอันดับ ๑ ของโลกมาแล้ว ้
  • 10. ๓.ต้ นทุนการผลิต เนื่องจากในปั จจุบนนี้ เศรษฐกิจของประเทศไทยได้มีเปลี่ยนแปลงไปมากมาย ั ทาให้ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจบางประเภท อย่างเช่น เศรษฐกิจของข้าวไทยในปั จจุบน ั ่ ซึ่ งมีผลกับต้นทุนการผลิต ไม่วาจะเป็ นต้นทุนในการจัดหาซื้ ออุปกรณ์ ค่าจ้างแรงงาน การ เช่าที่ดินในการเพาะปลูก ซึ่ งต้นทุนเหล่านี้ ในปั จจุบนต้องใช้ตนทุนที่ค่อนข้างสู ง ทาให้ไม่ ั ้ พอต่อความเป็ นจริ งกับผลผลิตที่ได้มา ซึ่ งทาให้เกิดปั ญหากับต้นทุนการผลิต ผลกระทบต่ อชาวนา ในปั จจุบนสมัยนี้ ชาวนาจานวนมากกลับไม่สามารถรักษาที่ดินที่พวกเขาใช้สาหรับ ั เก็บเกี่ยวข้าวและจาเป็ นต้องเช่าที่ดินทากินเพื่อเลี้ยงชีพตัวเอง รัฐบาลมักจะคาดหวังรายได้ จากภาษีอยูเ่ สมอ ซึ่ งเหตุผลนี้ได้ผลักดันให้ชาวนาจานวนมากเข้าใกล้สภาวะการขาดทุน มากยิงขึ้น เทคโนโลยีใหม่ๆยังได้ขยับราคาต้นทุนในการทานาสู งขึ้นและทาให้เป็ นการ ่ ยากขึ้นสาหรับชาวนาที่จะเป็ นเจ้าของที่ดินและปลูกข้าว ชาวนาที่ค่อนข้างมีการผลิตที่ ่ ค่อนข้างใหญ่อยูแล้วหรื อสามารถแบกรับค่าใช้จ่ายสารเคมีใหม่ๆ สายพันธุ์ขาว และ ้ แทรกเตอร์ จะได้รับประโยชน์อย่างมาก
  • 11. ขณะที่ ชาวนาธรรมดาต้องหันจากจากผูผลิ ตข้าวที่ มี ที่ดินเป็ นของตั วเองไปเป็ น ้ แรงงานมนุษย์ในที่ดินของคนอื่น นอกจากนี้ ปั ญ หาเรื่ องประสิ ทธิ ภาพการผลิ ต ราคาและการส่ งออก โครงสร้ าง พื้นฐานของการผลิตข้าว สภาพพื้นที่ เพาะปลูก ในพื้นที่ นาน้ าฝนมักเป็ นกระทงนาผืน เล็กผืนน้อย เนื่ องจากพื้นที่สูงต่าต่างระดับ ทาให้ใช้เครื่ องมือทุ่นแรงยาก นอกจากนั้นก็ ยังมี ปัญหาการแปรรู ปข้าวเปลือกในโรงสี สหกรณ์ที่มีอยู่ไม่เพียงพอ ทาให้มีกาลังการ ผลิตน้อย นอกจากนี้ ยงมีปัญหาราคาข้าวในตลาดโลกที่มกมีการผันผวนมาก บางครั้งผู ้ ั ั ส่ งออกต้องซื้ อข้าวในราคาสู ง แต่ตอนขายกลับขายได้ในราคาต่า ซึ่ งย่อมส่ งผลกระทบ ต่อราคารับซื้ อข้าวจากชาวนา
  • 12. นโยบายของรัฐบาลกับการแก้ ปัญหาเศรษฐกิจข้ าว ๑.การรับจานาข้ าว โครงการรับจานาข้าว เป็ นโครงการที่เกิดขึ้นในสมัยพรรคไทยรักไทยเป็ นรัฐบาล และ มาหยุดโครงการดังกล่าวในรัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์ เนื่องจากพรรคประชาธิปัตย์เห็นว่า มี ้ ช่องโหวในเรื่ องของการคอรัปชัน ในขณะที่รัฐบาลพรรคเพื่อไทยได้กาวเข้ามาครั้งนี้ จึงนา นโยบายดังกล่าวกลับมาใช้อีกครั้งหนึ่ง ข้ อดี ๑.จากการประกาศจานาราคาข้าวที่ ๑๕,๐๐๐ บาท ชาวนาจะได้รับเงิน ๑๕,๐๐๐ เลย (กรณี ข้าวมีความชื้นที่๑๕ เปอร์เซ็นต์) ซึ่งเป็ นเงินสด ๒.ชาวนา มีขาวเท่าไรก็ขายได้ตาม จานวนผลผลิตที่ได้ เช่น หากทานา มีขาว ๑๐ ตัน ก็ได้ ้ ้ ทั้ง ๑๐ ตัน เป็ นเงิน ๑๕๐,๐๐๐ บาท ๓.ชาวนาจะได้รับเป็ นเงินสดทันทีเมื่อขายข้าว ๔.จะทาให้ ราคาข้าวในท้องตลาดเพิ่มขึ้น เนื่องจากถ้าพ่อค้าไม่รับซื้อ ในราคาสูงก็ไม่มี ข้าวขายเพราะรัฐจะซื้อเองหมด ๕.รัฐบาลสามารถควบคุมราคาซื้อ-ขาย ข้าวได้ (ในการส่ งออกและบริ โภคภาย ใน ประเทศ)
  • 13. ข้ อเสี ย ่ ๑.จากอดีตที่ผานมามีการคอรัปชันสูง ทาให้รัฐต้องขาดทุนปี ละหลายหมื่น ล้าน ๒.รัฐอาจต้องสร้างโกดังไว้เก็บข้าวเอง จานวนมาก ๓.เป็ นการ บิดเบือนกลไกตลาดทาให้ รัฐต้องใช้เงินจานวนมากไปซื้ อข้าวซึ่ ง รัฐไม่น่าจะ ่ มีเงินมากมาซื้อข้าวชาวนาได้ท้ งหมดในกรณี ที่พอค้าไม่รับซื้อข้าวแข่ง ั ๔.รัฐต้องเสี ยเงินจานวนไม่นอยในการสต๊อกข้าวและรักษาคุณภาพข้าวจานวนมากถ้าขาย ้ ข้าวไม่ได้ ๕.อาจมีขาวจากต่างประเทศเข้ามาสวมสิ ทธิ์ ้ ๒.การประกันราคาข้ าว โครงการการประกันราคาข้าวเป็ นโครงการที่รัฐบาลเสนอขึ้นเพื่อช่วยแก้ไขปั ญหาของ ชาว โดยโครงการการประกัน ราคาข้า วนั้น เป็ นโครงการที่ ช่ ว ยพยุง ราคาข้า วไม่ ใ ห้ต กต่ า จนเกินไป เป็ นโครงการที่สามารถช่วยเหลือชาวนาไม่ให้เกิดภาวะราคาข้าวตกต่านั้นเอง
  • 14. บทสรุปและอภิปรายผล สรุ ป เรื่ อง เศรษฐกิจข้าวไทยในปั จจุบน สามารถสรุ ปได้ ดังนี้ ั ๑. นโยบายของรั ฐบาลสามารถช่ วยแก้ปัญหาเรื่ องข้าวได้จริ งแต่ก็ยงไม่ ได้ผล ั เท่ า ที่ ค วรเท่ า ไหร่ เ พราะชาวนาบางส่ ว นยัง ได้ผ ลกระทบจากต้น ทุ น การผลิ ต การ ส่ งออกการนาเข้า เป็ นต้น ๒.ผูผ ลิ ตที่ มี ตน ทุ นในการผลิ ตสู ง ก็ส ามารถได้รั บ ผลประโยชน์ ได้ม าก ส่ ว น ้ ้ ผูผลิตที่ มีตนทุนการผลิตต่านั้นก็จะได้รับผลประโยชน์ที่ต่าลงมา และส่ วนผูบริ โภค ้ ้ ้ หากราคาข้าวสู งผูบริ โภคก็จะได้รับการบริ โภคที่ สูง แต่ถาราคาข้าต่าผูบริ โภคได้รับ ้ ้ ้ การบริ โภคที่ต่าไปด้วย
  • 15. อภิปรายผล เรื่ อง เศรษฐกิจข้าวไทยในปั จจุบน สามารถอภิปรายผลได้ ดังนี้ ั ข้าวเป็ นอาหารหลักของคนไทยมาตั้งสมัยในอดีต คนไทยส่ วนมากนิ ยมบริ โภค ข้าวเป็ นอาหารหลักเพื่อใช้ในการดารงชี วิตให้อยู่รอด และคาว่าข้าวยังเป็ นอาชี พของ ชาวนาที่ใช้ในการทามาหากินเลี้ยงชีพตนเอง ข้าวไทยในปั จ จุ บ ัน มี การส่ งออกเป็ นอันดับ ที่ ๑ ของโลก โดยปริ มาณการ ส่ งออกข้าวของไทยทาสถิติสูงถึง ๑๐.๒๑๖ ล้านตัน คิดเป็ นมูลค่าประมาณ ๒๐๓,๒๑๙ ล้านบาท มีขาวเปลือกหลากหลายชนิ ดพันธุ์ โดยมีขาวหอมมะลิดีที่สุดในโลก ผลผลิต ้ ้ ๒๘% เป็ นข้าวหอมมะลิ ๔๕% เป็ นข้าวเจ้าอื่นๆ
  • 16. ปั จจุ บนรั ฐบาลได้มีการจัดทาโครงการขึ้ นมา คื อ โครงการรั บจานาข้าว ั และโครงการประกันราคาข้าว เมื่อเปรี ยบเทียบกันแล้ว ๒ โครงการนี้ เป็ นโครงการที่ รั ฐบาลต้องการที่ จะช่ วยเหลื อเกษตรกรชาวนาเพื่อ ให้ชาวนากิ นดี อยู่ดี มี สุข แต่ ็ โครงการนี้ กไม่เป็ นผลเป็ นผลเท่าที่ควรเท่าไหร่ นกเนื่ องจากต้นทุนการการผลิตมีผล ั สู งกว่าของค่าตอบแทนที่ จะได้รับ ซึ่ งทาให้ชาวนาบางส่ วนที่ มีกาลังในการจัดหา ต้นทุ นการผลิ ตต่ ามี หนี้ สิน นอกจากนี้ ปั ญหาเรื่ องการผลิ ต ราคาและการส่ งออก สภาพพื้นที่ เพาะปลูก ในพื้นที่ นาน้ าฝนมักเป็ นกระทงนาผืนเล็กผืนน้อย เนื่ องจาก พื้นที่สูงต่าต่างระดับ ทาให้ใช้เครื่ องมือทุ่นแรงยาก นอกจากนั้นก็ยงมีปัญหาการแปร ั ่ รู ปข้าวเปลือกในโรงสี สหกรณ์ที่มีอยูไม่เพียงพอ ทาให้มีกาลังการผลิตน้อย
  • 17.
  • 18. ๑.นายฤทธิเกียรติ รอดภัย เลขที่ ๑๓ ๒.นางสาวนรวรรณ วังบุญคง เลขที่ ๑๗ ๓.นางสาวปริยานุช อุปลา เลขที่ ๑๘ ๔.นางสาวอัครศิตา ขุนจันทร์ เลขที่ ๒๓ ชันมัธยมศึกษาปี ที่ ๕/๑ ้
  • 19. ๓. นางสาวปริยานุช อุปลา ม.๕/๑ เลขที่๑๘ ๔.นางสาวอัครศิตา ขุนจันทร์ ม.๕/๑ เลขที่ ๒๓