SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
อาหารผู้สูงอายุ 
เอกสารเผยแพร่ทางวิชาการ 
ฝ่ายโภชนาการ โรงพยาบาลศิริราช 
SIPI : ND007147 
หมู่ที่ 5 : ไขมัน/น้ำมันพืช รายการอาหารสำหรับผู้สูงอายใน 1 วัน 
มื้ออาหาร อาหาร 
ก๋วยเตี๋ยวไก่ 
มะละกอสุก 
เรียบเรียงโดย 
รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงสุพัตรา แสงรุจิ 
สนับสนุนการพิมพ์โดย 
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล 
พิมพ์ครั้งที่ 1 
จำนวน 1000 ฉบับ 
ปี พศ. 2555 
รหัสหน่วยงาน 8699 
สงวนลิขสิทธิ์โดย พรบ.การพิมพ์ 2537 
อาหารผู้สูงอายุ 
ควรใช้น้ำมันพืชปรุงอาหาร เช่น น้ำมันถั่ว 
เหลือง น้ำมันรำ หลีกเลี่ยงการใช้น้ำมันจากสัตว์และ 
น้ำมันพืชบางชนิด เช่นน้ำปาล์มและน้ำมันมะพร้าว 
แนวทางการปฏิบัติตัวเพื่อส่งเสริมสุขภาพ 
สำหรับผู้สูงอายุ 
นอกจากการ 
รับประทานอาหารให้ 
ครบทั้ง 5 หมู่ทุกมื้อ 
เพื่อส่งเสริมสุขภาพ 
ร่างกายให้แข็งแรงควร 
ปฏิบัติตัว ดังต่อไปนี้ 
• พักผ่อนให้เพียงพอวันละ 6-8 ชั่วโมง 
• พยายามอยู่ในที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ 
• ฝึกการขับถ่าย อย่าให้ท้องผูก 
• ดูแลสุขภาพ ช่องปาก ฟัน และเหงือก อยู่เสมอ 
• ตรวจสุขภาพร่างกายเป็นประจำ ปีละ 2 ครั้ง 
• ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอให้ เหมาะสมกับ 
สภาพของร่างกาย 
• งดสิ่งเสพติดที่บั่นทอนสุขภาพ เช่น บุหรี่ เหล้า 
• ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 
• มองโลกในแง่ดี จะทำให้จิตใจสดใส อารมณ์ดี 
• ควรหาโอกาสพบปะสังสรรค์ กับเพื่อนบ้าน 
มื้อเช้า 
อาหารว่าง 
มื้อกลางวัน 
อาหารว่าง 
มื้อเย็น 
ก่อนนอน 
ข้าวต้มปลาช่อน 
นมถั่วเหลือง 
ขนมกล้วย 
ถั่วเขียวต้มน้ำตาล 
ข้าวสวย 
น้ำพริกกะปิ 
ปลาทูทอด 
แกงเลียง 
กล้วยน้ำว้า 
นมอุ่น
อาหารผู้สูงอายุ อาหารผู้สูงอายุ อาหารผู้สูงอายุ 
อาหารผู้สูงวัย ปริมาณอาหารที่ผู้สูงอายุควรกินใน 1 วัน • ถั่วเมล็ดแห้ง เป็นอาหารที่ให้โปรตีนสูง 
ผู้สูงอายุคือ 
ผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป 
เมื่อร่างกายเจริญเติบ 
โตถึงขีดสุดแล้ว การ 
เปลี่ยนแปลงภายใน 
ร่างกายจะเป็นไปใน 
ด้านเสื่อมสลาย มาก 
กว่าการสร้างเสริม 
เมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ การทำงานของระบบ 
ประสาทจะด้อยลง ผู้สูงอายุมีปัญหาเรื่องนี้อย่างมาก 
อาจเป็นโรคฟันผุ หรือไม่มีฟันทั้งปาก ต่อมน้ำลาย 
หลั่งสารน้ำลายน้อยลง มีผลทำให้การบดเคี้ยวอาหาร 
ภายในปากเป็นไปได้ไม่ดี เมื่ออาหารมาถึงกระเพาะ 
อาหารและลำไส้เล็ก มีปัญหาการย่อยและการดูดซึม 
เพราะน้ำย่อยในกระเพาะอาหารและลำไส้เล็กมีน้อย 
ลงอาหารที่ย่อยไม่ได้ เมื่อผ่านมาถึงลำไส้ใหญ่ก็จะ 
เกิดการสะสมเกิดเชื้อแบคทีเรียในลำไส้ใหญ่ และ 
ปล่อยก๊าซออกมาทำให้ท้องขึ้นท้องอืดได้ การเคลื่อน 
ไหวของลำไส้ก็มีน้อยกว่าวัยหนุ่มสาว ทำให้เกิด 
อาการท้องผูก 
อาหารเป็นปัจจัยสำคัญในการดำรงชีวิต โดย 
เฉพาะผู้สูงอายุยังคงมีความต้องการพลังงานและ 
สารอาหารที่มีคุณภาพสูงเพื่อการดำรงชีวิตอย่างมี 
คุณภาพ จึงควรกิน อาหารให้ครบทั้ง 5 หมู่เพียงพอ 
และเหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย 
และมีราคาถูก ใช้แทนอาหารจำพวกเนื้อสัตว์ได้ 
เช่น เต้าหู้ โปรตีนเกษตร เป็นต้น 
อาหาร ปริมาณ/วัน ข้อเสนอแนะ 
ใช้ประกอบเป็น 
อาหารคาวหวาน 
หมู่ที่ 1 : เนื้อสัตว์ต่างๆ ไข่ นม 
ถั่วเมล็ดแห้งต่างๆ 
เพื่อเสริมสร้างและซ่อมแซมร่างกาย 
• เนื้อปลาจะเหมาะมากสำหรับผู้สูงวัยเพราะ 
ย่อยง่าย 
• ไข่ไก่หรือไข่เป็ดควรต้มจนสุก 
• นมสดพร่องมันเนย เป็นอาหารที่ให้แคลเซียม 
และโปรตีน 
หมู่ที่ 2 : ข้าว แป้ง น้ำตาล เผือก มัน 
สารอาหารหมู่นี้ 
เป็นอาหารที่ให้พลังงาน 
เป็น ส่วนใหญ่ ผู้สูงวัยควร 
กินในปริมาณที่พอเหมาะ 
ไม่ควรกินมากเกินไป 
หมู่ที่ 3 : ผักต่าง ๆ 
ผักเป็นอาหารที่อุดมด้วยวิตามินและแร่ธาตุ 
ผู้สูงวัยควรเลือกกินผัก 
หลายๆ ชนิดสลับกัน ควร 
ต้ม หรือนึ่งจนสุกไม่ควร 
บริโภคผักดิบ เพราะย่อย 
ยากและทำให้ท้องอืดได้ 
หมู่ที่ 4 : ผลไม้ต่างๆ 
ผู้สูงวัยสามารถกินผลไม้ได้ทุกชนิดและควร 
กินผลไม้ทุกวัน เพื่อให้ได้ 
วิตามินซีและเส้นใยอาหาร 
และควรเลือกผลไม้ที่มี 
เนื้อนุ่ม เคี้ยวง่าย ได้แก่ 
มะละกอสุก กล้วยสุก 
ส้ม ฯลฯ 
เนื้อสัตว์ 
นมสด 
ไข่ 
ถั่วและผลิตภัณฑ์ 
ข้าวและอาหาร 
ประเภทแป้งอื่นๆ 
ผักใบเขียวสด/ต้ม 
ผักสีเหลือง, ส้ม 
ผลไม้/ผลไม้สุก 
ไขมัน/น้ำมันพืช 
น้ำดื่ม 
4-5 ช้อนโต๊ะ 
240 มิลลิลิตร 
3-4 ฟอง 
ต่อสัปดาห์ 
รับประทาน 
เป็นประจำ 
6-8 ทัพพี 
2 ทัพพี 
1 ทัพพี 
มื้อละ 1 ส่วน 
2 ช้อนโต๊ะ 
6-8 แก้ว 
ควรกินปลาเป็นประจำ 
นมพร่องมันเนย 1 แก้วทุกวัน 
แต่ถ้ามีปัญหาด้านไขมันและ 
คลอเลสเตอรอลในเลือดสูง 
ควรเลือกบริโภคเฉพาะไข่ขาว 
ควรเลือกข้าวหรืออาหาร 
ประเภทแป้งอื่นๆ ที่ผ่านการ 
ขัดสีน้อย 
ตำลึง คะน้า ผักบุ้ง ฯลฯ 
ฟักทอง แครอท มะเขือเทศ ฯลฯ 
หลีกเลี่ยงผลไม้รสหวานจัด 
เช่น ทุเรียน ขนุน ลำไย องุ่น ฯลฯ 
หลีกเลี่ยงไขมันสัตว์ เนย 
น้ำบริสุทธิ์หรือน้ำผลไม้คั้นสด 
ได้บ้าง ควรหลีกเหลี่ยง 
น้ำอัดลม ชา กาแฟ

More Related Content

What's hot

อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการtumetr
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายKan Pan
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัดnoppadolbunnum
 
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้านบทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้านPa'rig Prig
 
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copyWatcharin Chongkonsatit
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลChutchavarn Wongsaree
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
Module 5 ntr dm htn ckd final
Module 5 ntr dm  htn ckd  finalModule 5 ntr dm  htn ckd  final
Module 5 ntr dm htn ckd finalCAPD AngThong
 
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่kasocute
 
หนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไตหนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไตCAPD AngThong
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชนคู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชนUtai Sukviwatsirikul
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัดเอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัดsucheera Leethochawalit
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 

What's hot (20)

Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรัง
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
 
Drug
DrugDrug
Drug
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัด
 
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้านบทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
 
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
Module 5 ntr dm htn ckd final
Module 5 ntr dm  htn ckd  finalModule 5 ntr dm  htn ckd  final
Module 5 ntr dm htn ckd final
 
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
 
หนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไตหนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
 
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชนคู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัดเอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 

Similar to การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ

ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์Tawadchai Wong-anan
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่Janjira Majai
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพOnrapanee Kettawong
 
อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่an1030
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพOnrapanee Kettawong
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพrubtumproject.com
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติanutidabulakorn
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติanutidabulakorn
 
ปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วนปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วนaousarach
 

Similar to การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ (20)

ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
 
อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่
 
อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่
 
อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติ
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติ
 
Pompea3
Pompea3Pompea3
Pompea3
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
ปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วนปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วน
 

การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ

  • 1. อาหารผู้สูงอายุ เอกสารเผยแพร่ทางวิชาการ ฝ่ายโภชนาการ โรงพยาบาลศิริราช SIPI : ND007147 หมู่ที่ 5 : ไขมัน/น้ำมันพืช รายการอาหารสำหรับผู้สูงอายใน 1 วัน มื้ออาหาร อาหาร ก๋วยเตี๋ยวไก่ มะละกอสุก เรียบเรียงโดย รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงสุพัตรา แสงรุจิ สนับสนุนการพิมพ์โดย คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล พิมพ์ครั้งที่ 1 จำนวน 1000 ฉบับ ปี พศ. 2555 รหัสหน่วยงาน 8699 สงวนลิขสิทธิ์โดย พรบ.การพิมพ์ 2537 อาหารผู้สูงอายุ ควรใช้น้ำมันพืชปรุงอาหาร เช่น น้ำมันถั่ว เหลือง น้ำมันรำ หลีกเลี่ยงการใช้น้ำมันจากสัตว์และ น้ำมันพืชบางชนิด เช่นน้ำปาล์มและน้ำมันมะพร้าว แนวทางการปฏิบัติตัวเพื่อส่งเสริมสุขภาพ สำหรับผู้สูงอายุ นอกจากการ รับประทานอาหารให้ ครบทั้ง 5 หมู่ทุกมื้อ เพื่อส่งเสริมสุขภาพ ร่างกายให้แข็งแรงควร ปฏิบัติตัว ดังต่อไปนี้ • พักผ่อนให้เพียงพอวันละ 6-8 ชั่วโมง • พยายามอยู่ในที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ • ฝึกการขับถ่าย อย่าให้ท้องผูก • ดูแลสุขภาพ ช่องปาก ฟัน และเหงือก อยู่เสมอ • ตรวจสุขภาพร่างกายเป็นประจำ ปีละ 2 ครั้ง • ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอให้ เหมาะสมกับ สภาพของร่างกาย • งดสิ่งเสพติดที่บั่นทอนสุขภาพ เช่น บุหรี่ เหล้า • ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ • มองโลกในแง่ดี จะทำให้จิตใจสดใส อารมณ์ดี • ควรหาโอกาสพบปะสังสรรค์ กับเพื่อนบ้าน มื้อเช้า อาหารว่าง มื้อกลางวัน อาหารว่าง มื้อเย็น ก่อนนอน ข้าวต้มปลาช่อน นมถั่วเหลือง ขนมกล้วย ถั่วเขียวต้มน้ำตาล ข้าวสวย น้ำพริกกะปิ ปลาทูทอด แกงเลียง กล้วยน้ำว้า นมอุ่น
  • 2. อาหารผู้สูงอายุ อาหารผู้สูงอายุ อาหารผู้สูงอายุ อาหารผู้สูงวัย ปริมาณอาหารที่ผู้สูงอายุควรกินใน 1 วัน • ถั่วเมล็ดแห้ง เป็นอาหารที่ให้โปรตีนสูง ผู้สูงอายุคือ ผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป เมื่อร่างกายเจริญเติบ โตถึงขีดสุดแล้ว การ เปลี่ยนแปลงภายใน ร่างกายจะเป็นไปใน ด้านเสื่อมสลาย มาก กว่าการสร้างเสริม เมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ การทำงานของระบบ ประสาทจะด้อยลง ผู้สูงอายุมีปัญหาเรื่องนี้อย่างมาก อาจเป็นโรคฟันผุ หรือไม่มีฟันทั้งปาก ต่อมน้ำลาย หลั่งสารน้ำลายน้อยลง มีผลทำให้การบดเคี้ยวอาหาร ภายในปากเป็นไปได้ไม่ดี เมื่ออาหารมาถึงกระเพาะ อาหารและลำไส้เล็ก มีปัญหาการย่อยและการดูดซึม เพราะน้ำย่อยในกระเพาะอาหารและลำไส้เล็กมีน้อย ลงอาหารที่ย่อยไม่ได้ เมื่อผ่านมาถึงลำไส้ใหญ่ก็จะ เกิดการสะสมเกิดเชื้อแบคทีเรียในลำไส้ใหญ่ และ ปล่อยก๊าซออกมาทำให้ท้องขึ้นท้องอืดได้ การเคลื่อน ไหวของลำไส้ก็มีน้อยกว่าวัยหนุ่มสาว ทำให้เกิด อาการท้องผูก อาหารเป็นปัจจัยสำคัญในการดำรงชีวิต โดย เฉพาะผู้สูงอายุยังคงมีความต้องการพลังงานและ สารอาหารที่มีคุณภาพสูงเพื่อการดำรงชีวิตอย่างมี คุณภาพ จึงควรกิน อาหารให้ครบทั้ง 5 หมู่เพียงพอ และเหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย และมีราคาถูก ใช้แทนอาหารจำพวกเนื้อสัตว์ได้ เช่น เต้าหู้ โปรตีนเกษตร เป็นต้น อาหาร ปริมาณ/วัน ข้อเสนอแนะ ใช้ประกอบเป็น อาหารคาวหวาน หมู่ที่ 1 : เนื้อสัตว์ต่างๆ ไข่ นม ถั่วเมล็ดแห้งต่างๆ เพื่อเสริมสร้างและซ่อมแซมร่างกาย • เนื้อปลาจะเหมาะมากสำหรับผู้สูงวัยเพราะ ย่อยง่าย • ไข่ไก่หรือไข่เป็ดควรต้มจนสุก • นมสดพร่องมันเนย เป็นอาหารที่ให้แคลเซียม และโปรตีน หมู่ที่ 2 : ข้าว แป้ง น้ำตาล เผือก มัน สารอาหารหมู่นี้ เป็นอาหารที่ให้พลังงาน เป็น ส่วนใหญ่ ผู้สูงวัยควร กินในปริมาณที่พอเหมาะ ไม่ควรกินมากเกินไป หมู่ที่ 3 : ผักต่าง ๆ ผักเป็นอาหารที่อุดมด้วยวิตามินและแร่ธาตุ ผู้สูงวัยควรเลือกกินผัก หลายๆ ชนิดสลับกัน ควร ต้ม หรือนึ่งจนสุกไม่ควร บริโภคผักดิบ เพราะย่อย ยากและทำให้ท้องอืดได้ หมู่ที่ 4 : ผลไม้ต่างๆ ผู้สูงวัยสามารถกินผลไม้ได้ทุกชนิดและควร กินผลไม้ทุกวัน เพื่อให้ได้ วิตามินซีและเส้นใยอาหาร และควรเลือกผลไม้ที่มี เนื้อนุ่ม เคี้ยวง่าย ได้แก่ มะละกอสุก กล้วยสุก ส้ม ฯลฯ เนื้อสัตว์ นมสด ไข่ ถั่วและผลิตภัณฑ์ ข้าวและอาหาร ประเภทแป้งอื่นๆ ผักใบเขียวสด/ต้ม ผักสีเหลือง, ส้ม ผลไม้/ผลไม้สุก ไขมัน/น้ำมันพืช น้ำดื่ม 4-5 ช้อนโต๊ะ 240 มิลลิลิตร 3-4 ฟอง ต่อสัปดาห์ รับประทาน เป็นประจำ 6-8 ทัพพี 2 ทัพพี 1 ทัพพี มื้อละ 1 ส่วน 2 ช้อนโต๊ะ 6-8 แก้ว ควรกินปลาเป็นประจำ นมพร่องมันเนย 1 แก้วทุกวัน แต่ถ้ามีปัญหาด้านไขมันและ คลอเลสเตอรอลในเลือดสูง ควรเลือกบริโภคเฉพาะไข่ขาว ควรเลือกข้าวหรืออาหาร ประเภทแป้งอื่นๆ ที่ผ่านการ ขัดสีน้อย ตำลึง คะน้า ผักบุ้ง ฯลฯ ฟักทอง แครอท มะเขือเทศ ฯลฯ หลีกเลี่ยงผลไม้รสหวานจัด เช่น ทุเรียน ขนุน ลำไย องุ่น ฯลฯ หลีกเลี่ยงไขมันสัตว์ เนย น้ำบริสุทธิ์หรือน้ำผลไม้คั้นสด ได้บ้าง ควรหลีกเหลี่ยง น้ำอัดลม ชา กาแฟ