SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
ประวัติประธานมูลนิธิเพชรภาษา
                      รองศาสตราจารยสมถวิล วิเศษสมบัติ

        รองศาสตราจารยสมถวิล วิเศษสมบัติ เกิดเมื่อวันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๔๘๐ ปจจุบันเปน
ประธานมูลนิธิเพชรภาษา ซึ่งเริ่มกอตั้งเมื่อป พ.ศ. ๒๕๓๖ มีผลงานในการคัดกรองครูภาษาไทย
ประกายเพชร สื่อมวลชนประกายเพชร ศิลปนนักรองประกายเพชร ผูมีผลงานการใชภาษาไทยได
อยางถูกตองและเปนแบบอยางที่ดีงาม

การศึกษา
       ปริญญาตรีอักษรศาสตรบัณฑิต จากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
       ปริญญาตรีครุศาสตรบัณฑิต จากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
       ปริญญาโทการศึกษามหาบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร


ผลงาน ตํารา บทความ
       •   วิธีสอนภาษาไทยระดับมัธยมศึกษา (พ.ศ. ๒๕๒๕)
       •   วรรณคดีการละคร (พ.ศ. ๒๕๒๗)
       •   วิธีสอนภาษาไทยมัธยมศึกษา (พ.ศ. ๒๕๒๘)
       •   สมเด็จพระปยมหาราชเจา องคผูทรงใหกําเนิดการฝกหัดครูไทย (พ.ศ. ๒๕๓๕)
       •   คูมือภาษาไทยฉบับรวม ม.๔ – ๕ – ๖ สามัญ ๑ – สามัญ ๒ (พ.ศ. ๒๕๓๘)
       •   การศึกษาแบบเรียนภาษาไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐)
       •   สอนภาษาไทย...งายนิดเดียว (พ.ศ. ๒๕๔๒)
       •   ลิลิตตะเลงพาย : ยุทธศาสตรการสอนวรรณคดีไทย (พ.ศ. ๒๕๔๘)
       •   ภาษาไทย...งายนิดเดียว (เลม ๑) (พ.ศ. ๒๕๔๘)
       •   ประลองสนามสอบภาษาไทย (เลม ๒) (พ.ศ. ๒๕๔๙)
       •   คลังภาษา (เลม ๑) (พ.ศ. ๒๕๕๑)
ปาฐกถาและบทความ
      •   มิติการสอนหลักภาษาไทย
      •   เทคนิคการสอนวรรณคดีไทย ระดับมัธยมศึกษา
      •   คูมือการสอนภาษาไทย ระดับประถมศึกษา
      •   การใชภาษาไทยใหถูกตอง ในการเขียนบทความ
      •   การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาไทย
      •   การใชภาษาในการเขียนผลงานทางวิชาการ
      •   พระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ที่มีตอการละครไทย
      •   ความรูทางหลักภาษา
      •   การใชศิลปะในดานวรรณศิลป


ประวัติการทํางาน
      • พ.ศ. ๒๕๐๗ อาจารยสอนภาษาไทยและอาจารยแนะแนว โรงเรียนสตรีฝกหัดครู
        นครปฐม (มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครปฐม)
      • พ.ศ. ๒๕๑๗ รองผู อํ า นวยการฝ า ยวิ ช าการ วิ ท ยาลั ย ครู เ พชรบุ รี วิ ท ยาลงกรณ
        (มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรีวิทยาลงกรณ)
      • พ.ศ. ๒๕๑๘ รองคณบดี คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร วิทยาลัยครูสวนสุนัน
        ทา (มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา)
      • พ.ศ. ๒๕๒๒ ผูอํานวยการศูนยวัฒนธรรม วิทยาลัยครูสวนสุนันทา (มหาวิทยาลัย
        ราชภัฏสวนสุนันทา)
      • พ.ศ. ๒๕๒๖ รองศาสตราจารย วิทยาลัยครูสวนสุนันทา (มหาวิทยาลัยราชภัฏสวน
        สุนันทา)
      • พ.ศ. ๒๕๓๐ – ๒๕๓๑ อาจารยโครงการแลกเปลี่ยน สอนภาษาไทยและวัฒนธรรม
        ไทยที่รัฐเวอรจิเนีย สหรัฐอเมริกา
      • พ.ศ. ๒๕๓๖ - ปจจุบัน ประธานมูลนิธิเพชรภาษา ทําหนาที่คัดกรองผูสอนและผูใช
        ภาษาไทยดีเดน
เครื่องราชอิสริยาภรณ
        • ปถมาภรณชางเผือก
คําคม
       • ครูตองรูเรื่องที่จะสอนอยางดีที่สุด คนหาความรูกอนเขาหองสอน
       • ตองเตรียมการสอนและมีเทคนิคการสอนทุกครั้ง
       • จริงจังกับอาชีพ จริงใจกับลูกศิษย

เกร็ดความรูเรื่อง การใชภาษาไทย
       • คําวา “อํานาจบาตรใหญ”
              เมื่ อ ได รั บ บทความของเพื่ อ นคนหนึ่ ง เขี ย นข อ ความตอนหนึ่ ง มาว า “ไม ใ ช
              อํานาจบาตรใหญ” โดยใหความหมายมาวา เขามีอํานาจและเปนใหญเปนโต ซึ่ง
              สามารถใชอํานาจสั่งการได แตเขาไมทํา เพราะฉะนั้น คําวา บาท จึงใชคํานี้ ซึ่ง
              แปลวาเทา อาจารยสมถวิลอธิบายวา ในความหมายของสํานวนนี้ ควรจะใช
              บาตร เพราะมี ค วามหมายว า เขามี อํ า นาจมี เ งิ น มี ท องมากมาย ซึ่ ง บาตรนี้
              หมายถึงขันใสขาว หมายถึงมีเงินมีทองมากมาย
       • เขียน “ไมยนยอรอรา” ใหถูกตอง
              พบกลอนบทหนึ่งเขียนวา “ไมยนยอรอลา” เรียนถามอาจารยสมถวิล อาจารย
              อธิ บ ายความว า ควรใช “รอรา” เพราะคํ า ว า ลา หมายถึ ง จากไป แต ใ น
              ความหมายของ รอรา คือไมรอใหเสียเวลา
       • “ภาคภูมิใจ” หรือ “ความภูมิใจ”
              อาจารยสมถวิล อธิบายความหมายวา ภูมิใจ เปนคํากริยา แปลวา กระหยิ่มใจ
              รูสึกวามีเกียรติยศ สวนคําวา ภาคภูมิใจ เปนคําวิเศษ แปลวา มีสงา ผาเผย
              เพราะฉะนั้น ถาจะใชคําที่หมายถึง สิ่งที่ตนเองทําแลวเกิดความพึงพอใจอยาง
              สูงสุด ก็นาจะใชคําวา ความภาคภูมิใจ
       • ตัวอยางการละบุพบทที่นาสนใจ
              เพื่อนคนหนึ่งมีบานพักตากอากาศที่ชะอํา และตั้งชื่อบานวา “บานทะเลลอมดาว”
              เมื่ออาจารยสมถวิลทราบ ทานชมวา ชื่อเพราะและมีความหมายดี คือบานอยู
              ชายทะเลซึ่งแวดลอมดวยหมูดวงดาวยามค่ําคืน ฉะนั้น เมื่อมาตั้งเปนชื่อบาน
              สามารถละ บุพบท ดวย โดยไมตองเขียนลงไป ก็จะไดความหมายเหมือนกัน
              เขาใจไดเชนกัน
• ใชคําวา “เกษียณ” ใหถูกตอง
       รศ.สมถวิล วิเศษสมบัติ ไดเขียนบทความใหกับลูกศิษยที่ไปกราบเรียนขอทาน
       เพื่อนํามาลงในหนังสือรุน ที่จะจัดทําขึ้นใหม ขอความตอนหนึ่งทานกลาวถึงคํา
       วา “เกษียณ” เพราะคนสวนใหญ จะใชคําวา “เกษียณ” เพียงคําเดียว ซึ่งผิด
       หลักการใชภาษาไทยที่ถูกตอง ทานอธิบายความวา คําวา “เกษียณ” แปลเปน
       ภาษาไทยวา “สิ้นไป” เพราะฉะนั้นจะหมายถึง การหมดไป ตายไป หรือมีบาง
       คนก็จะใชตอไปวา “เกษียณอายุ” ทานก็บอกวา ใชไมได เพราะความหมายก็จะ
       หมายถึง อายุ สิ้นไป ก็คื อตายไปแลวนั่นเอง เพราะฉะนั้น คํา ที่ควรจะใชใ ห
       ถู ก ต อ ง ควรจะเป น การใช คํ า ให ห มดความ คื อ ควรใช ว า “เกษี ย ณอายุ ท าง
       ราชการ” นั่นหมายถึง ผูที่จะตองหมดชีวิตการทําราชการเมื่ออายุ ๖๐ ป การใช
       ภาษาใหหมดความเชนนี้จึงจะถูกตอง
• คําวา กล้ํากลาย ที่ถูกควรเปน กล้ํากราย
       รศ.สมถวิล อธิบาย คําวา กล้ํากราย ความหมายคือ ไมมาใกล ไมมาเฉียด แตคํา
       วา กลาย หมายถึง กลับกลายไปเปนอยางอื่น
• คําวา ปรีดิ์เปรม
       ลูกศิษยของอาจารยสมถวิลไดเรียนถามอาจารยวา ทําไมคําวา ปรีดิ์ จึงตองมี
       สระอิ และมีทัณฑฆาตบน ด.เด็ก อาจารยไดอธิบายความวา เพราะคําวา ปรีดิ์
       มาจาก ปรีดา ซึ่งหมายถึงความยินดียิ่ง

More Related Content

What's hot

การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาPpor Elf'ish
 
ความหมายของสำนวน
ความหมายของสำนวนความหมายของสำนวน
ความหมายของสำนวนJoice Naka
 
สำนวนสุภาษิต คำพังเพย
สำนวนสุภาษิต คำพังเพยสำนวนสุภาษิต คำพังเพย
สำนวนสุภาษิต คำพังเพย0856124557
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยAj.Mallika Phongphaew
 
คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์IamPloy JunSeop
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลังchontee55
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2Wilawun Wisanuvekin
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาพัน พัน
 
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายchontee55
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมNomoretear Cuimhne
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
 คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวันthunchanokteenzaa54
 
หน่วยที่๑
หน่วยที่๑หน่วยที่๑
หน่วยที่๑panjit
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาWilawun Wisanuvekin
 

What's hot (20)

การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
ความหมายของสำนวน
ความหมายของสำนวนความหมายของสำนวน
ความหมายของสำนวน
 
สำนวนสุภาษิต คำพังเพย
สำนวนสุภาษิต คำพังเพยสำนวนสุภาษิต คำพังเพย
สำนวนสุภาษิต คำพังเพย
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 
คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
 
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
 
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
วรรณกรรม
วรรณกรรมวรรณกรรม
วรรณกรรม
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
 คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
 
หน่วยที่๑
หน่วยที่๑หน่วยที่๑
หน่วยที่๑
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
สุภาษิตไทย
สุภาษิตไทยสุภาษิตไทย
สุภาษิตไทย
 

Similar to กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร

ประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยpinyada
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1Mameaw Pawa
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์kruthai40
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิตพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิตTongsamut vorasan
 

Similar to กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร (20)

ประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทย
 
Satthatharachan
SatthatharachanSatthatharachan
Satthatharachan
 
01
0101
01
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
 
Phuchongkhaprayatachan
PhuchongkhaprayatachanPhuchongkhaprayatachan
Phuchongkhaprayatachan
 
History
HistoryHistory
History
 
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทยภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
ข้อสอบThai+math
ข้อสอบThai+mathข้อสอบThai+math
ข้อสอบThai+math
 
ข้อสอบThai+math
ข้อสอบThai+mathข้อสอบThai+math
ข้อสอบThai+math
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
99
9999
99
 
Manawakachan
ManawakachanManawakachan
Manawakachan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิตพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 

More from kruthai40

กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรกาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรkruthai40
 
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔kruthai40
 
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)kruthai40
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยkruthai40
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
ทิศทางแผนพัฒนา 11
ทิศทางแผนพัฒนา 11ทิศทางแผนพัฒนา 11
ทิศทางแผนพัฒนา 11kruthai40
 
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51หลักสูตรแกนกลาง Thai 51
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51kruthai40
 
50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์  พรหมวงศ์50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์  พรหมวงศ์
50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์kruthai40
 
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒kruthai40
 
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗kruthai40
 
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูkruthai40
 
ที่มาของวันสุนทรภู่
ที่มาของวันสุนทรภู่ที่มาของวันสุนทรภู่
ที่มาของวันสุนทรภู่kruthai40
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551kruthai40
 
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้ายคำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้ายkruthai40
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานkruthai40
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางkruthai40
 
การอ่านวิจารณญาณ
การอ่านวิจารณญาณการอ่านวิจารณญาณ
การอ่านวิจารณญาณkruthai40
 
ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี2
ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี2ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี2
ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี2kruthai40
 
ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี
ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณีภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี
ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณีkruthai40
 

More from kruthai40 (20)

กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรกาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
 
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔
 
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
ทิศทางแผนพัฒนา 11
ทิศทางแผนพัฒนา 11ทิศทางแผนพัฒนา 11
ทิศทางแผนพัฒนา 11
 
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51หลักสูตรแกนกลาง Thai 51
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51
 
50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์  พรหมวงศ์50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์  พรหมวงศ์
50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
 
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒
 
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗
 
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
 
ที่มาของวันสุนทรภู่
ที่มาของวันสุนทรภู่ที่มาของวันสุนทรภู่
ที่มาของวันสุนทรภู่
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
 
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้ายคำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
การอ่านวิจารณญาณ
การอ่านวิจารณญาณการอ่านวิจารณญาณ
การอ่านวิจารณญาณ
 
ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี2
ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี2ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี2
ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี2
 
ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี
ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณีภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี
ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี
 

กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร

  • 1. ประวัติประธานมูลนิธิเพชรภาษา รองศาสตราจารยสมถวิล วิเศษสมบัติ รองศาสตราจารยสมถวิล วิเศษสมบัติ เกิดเมื่อวันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๔๘๐ ปจจุบันเปน ประธานมูลนิธิเพชรภาษา ซึ่งเริ่มกอตั้งเมื่อป พ.ศ. ๒๕๓๖ มีผลงานในการคัดกรองครูภาษาไทย ประกายเพชร สื่อมวลชนประกายเพชร ศิลปนนักรองประกายเพชร ผูมีผลงานการใชภาษาไทยได อยางถูกตองและเปนแบบอยางที่ดีงาม การศึกษา ปริญญาตรีอักษรศาสตรบัณฑิต จากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาตรีครุศาสตรบัณฑิต จากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาโทการศึกษามหาบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ผลงาน ตํารา บทความ • วิธีสอนภาษาไทยระดับมัธยมศึกษา (พ.ศ. ๒๕๒๕) • วรรณคดีการละคร (พ.ศ. ๒๕๒๗) • วิธีสอนภาษาไทยมัธยมศึกษา (พ.ศ. ๒๕๒๘) • สมเด็จพระปยมหาราชเจา องคผูทรงใหกําเนิดการฝกหัดครูไทย (พ.ศ. ๒๕๓๕) • คูมือภาษาไทยฉบับรวม ม.๔ – ๕ – ๖ สามัญ ๑ – สามัญ ๒ (พ.ศ. ๒๕๓๘) • การศึกษาแบบเรียนภาษาไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐) • สอนภาษาไทย...งายนิดเดียว (พ.ศ. ๒๕๔๒) • ลิลิตตะเลงพาย : ยุทธศาสตรการสอนวรรณคดีไทย (พ.ศ. ๒๕๔๘) • ภาษาไทย...งายนิดเดียว (เลม ๑) (พ.ศ. ๒๕๔๘) • ประลองสนามสอบภาษาไทย (เลม ๒) (พ.ศ. ๒๕๔๙) • คลังภาษา (เลม ๑) (พ.ศ. ๒๕๕๑)
  • 2. ปาฐกถาและบทความ • มิติการสอนหลักภาษาไทย • เทคนิคการสอนวรรณคดีไทย ระดับมัธยมศึกษา • คูมือการสอนภาษาไทย ระดับประถมศึกษา • การใชภาษาไทยใหถูกตอง ในการเขียนบทความ • การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาไทย • การใชภาษาในการเขียนผลงานทางวิชาการ • พระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ที่มีตอการละครไทย • ความรูทางหลักภาษา • การใชศิลปะในดานวรรณศิลป ประวัติการทํางาน • พ.ศ. ๒๕๐๗ อาจารยสอนภาษาไทยและอาจารยแนะแนว โรงเรียนสตรีฝกหัดครู นครปฐม (มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครปฐม) • พ.ศ. ๒๕๑๗ รองผู อํ า นวยการฝ า ยวิ ช าการ วิ ท ยาลั ย ครู เ พชรบุ รี วิ ท ยาลงกรณ (มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรีวิทยาลงกรณ) • พ.ศ. ๒๕๑๘ รองคณบดี คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร วิทยาลัยครูสวนสุนัน ทา (มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา) • พ.ศ. ๒๕๒๒ ผูอํานวยการศูนยวัฒนธรรม วิทยาลัยครูสวนสุนันทา (มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุนันทา) • พ.ศ. ๒๕๒๖ รองศาสตราจารย วิทยาลัยครูสวนสุนันทา (มหาวิทยาลัยราชภัฏสวน สุนันทา) • พ.ศ. ๒๕๓๐ – ๒๕๓๑ อาจารยโครงการแลกเปลี่ยน สอนภาษาไทยและวัฒนธรรม ไทยที่รัฐเวอรจิเนีย สหรัฐอเมริกา • พ.ศ. ๒๕๓๖ - ปจจุบัน ประธานมูลนิธิเพชรภาษา ทําหนาที่คัดกรองผูสอนและผูใช ภาษาไทยดีเดน
  • 3. เครื่องราชอิสริยาภรณ • ปถมาภรณชางเผือก คําคม • ครูตองรูเรื่องที่จะสอนอยางดีที่สุด คนหาความรูกอนเขาหองสอน • ตองเตรียมการสอนและมีเทคนิคการสอนทุกครั้ง • จริงจังกับอาชีพ จริงใจกับลูกศิษย เกร็ดความรูเรื่อง การใชภาษาไทย • คําวา “อํานาจบาตรใหญ” เมื่ อ ได รั บ บทความของเพื่ อ นคนหนึ่ ง เขี ย นข อ ความตอนหนึ่ ง มาว า “ไม ใ ช อํานาจบาตรใหญ” โดยใหความหมายมาวา เขามีอํานาจและเปนใหญเปนโต ซึ่ง สามารถใชอํานาจสั่งการได แตเขาไมทํา เพราะฉะนั้น คําวา บาท จึงใชคํานี้ ซึ่ง แปลวาเทา อาจารยสมถวิลอธิบายวา ในความหมายของสํานวนนี้ ควรจะใช บาตร เพราะมี ค วามหมายว า เขามี อํ า นาจมี เ งิ น มี ท องมากมาย ซึ่ ง บาตรนี้ หมายถึงขันใสขาว หมายถึงมีเงินมีทองมากมาย • เขียน “ไมยนยอรอรา” ใหถูกตอง พบกลอนบทหนึ่งเขียนวา “ไมยนยอรอลา” เรียนถามอาจารยสมถวิล อาจารย อธิ บ ายความว า ควรใช “รอรา” เพราะคํ า ว า ลา หมายถึ ง จากไป แต ใ น ความหมายของ รอรา คือไมรอใหเสียเวลา • “ภาคภูมิใจ” หรือ “ความภูมิใจ” อาจารยสมถวิล อธิบายความหมายวา ภูมิใจ เปนคํากริยา แปลวา กระหยิ่มใจ รูสึกวามีเกียรติยศ สวนคําวา ภาคภูมิใจ เปนคําวิเศษ แปลวา มีสงา ผาเผย เพราะฉะนั้น ถาจะใชคําที่หมายถึง สิ่งที่ตนเองทําแลวเกิดความพึงพอใจอยาง สูงสุด ก็นาจะใชคําวา ความภาคภูมิใจ • ตัวอยางการละบุพบทที่นาสนใจ เพื่อนคนหนึ่งมีบานพักตากอากาศที่ชะอํา และตั้งชื่อบานวา “บานทะเลลอมดาว” เมื่ออาจารยสมถวิลทราบ ทานชมวา ชื่อเพราะและมีความหมายดี คือบานอยู ชายทะเลซึ่งแวดลอมดวยหมูดวงดาวยามค่ําคืน ฉะนั้น เมื่อมาตั้งเปนชื่อบาน สามารถละ บุพบท ดวย โดยไมตองเขียนลงไป ก็จะไดความหมายเหมือนกัน เขาใจไดเชนกัน
  • 4. • ใชคําวา “เกษียณ” ใหถูกตอง รศ.สมถวิล วิเศษสมบัติ ไดเขียนบทความใหกับลูกศิษยที่ไปกราบเรียนขอทาน เพื่อนํามาลงในหนังสือรุน ที่จะจัดทําขึ้นใหม ขอความตอนหนึ่งทานกลาวถึงคํา วา “เกษียณ” เพราะคนสวนใหญ จะใชคําวา “เกษียณ” เพียงคําเดียว ซึ่งผิด หลักการใชภาษาไทยที่ถูกตอง ทานอธิบายความวา คําวา “เกษียณ” แปลเปน ภาษาไทยวา “สิ้นไป” เพราะฉะนั้นจะหมายถึง การหมดไป ตายไป หรือมีบาง คนก็จะใชตอไปวา “เกษียณอายุ” ทานก็บอกวา ใชไมได เพราะความหมายก็จะ หมายถึง อายุ สิ้นไป ก็คื อตายไปแลวนั่นเอง เพราะฉะนั้น คํา ที่ควรจะใชใ ห ถู ก ต อ ง ควรจะเป น การใช คํ า ให ห มดความ คื อ ควรใช ว า “เกษี ย ณอายุ ท าง ราชการ” นั่นหมายถึง ผูที่จะตองหมดชีวิตการทําราชการเมื่ออายุ ๖๐ ป การใช ภาษาใหหมดความเชนนี้จึงจะถูกตอง • คําวา กล้ํากลาย ที่ถูกควรเปน กล้ํากราย รศ.สมถวิล อธิบาย คําวา กล้ํากราย ความหมายคือ ไมมาใกล ไมมาเฉียด แตคํา วา กลาย หมายถึง กลับกลายไปเปนอยางอื่น • คําวา ปรีดิ์เปรม ลูกศิษยของอาจารยสมถวิลไดเรียนถามอาจารยวา ทําไมคําวา ปรีดิ์ จึงตองมี สระอิ และมีทัณฑฆาตบน ด.เด็ก อาจารยไดอธิบายความวา เพราะคําวา ปรีดิ์ มาจาก ปรีดา ซึ่งหมายถึงความยินดียิ่ง