SlideShare a Scribd company logo
1 of 63
EMOTION
อารมณ์
อารมณ์และแรงจูงใจเป็นกระบวนการทางจิตวิทยาอย่างเด่นชัด สามารถ
เกิดขึ้นได้อย่างเป็นอิสระของกันและกัน แต่มีโอกาส ที่จะมาเชื่อมโยงกันได้อย่าง
ใกล้ชิดเสมอ อารมณ์สามารถที่จะกระทาสิ่งต่าง ๆ เหมือนเป็นผู้ที่จูงใจ
สามารถที่จะกระตุ้น เมื่อพฤติกรรมการจูงใจมีอุปสรรค
อารมณ์ (Emotion) มีความหมายว่า การเกิดการเคลื่อนไหว หรือภาวะที่ตื่นเต้น
มีแนวคิดหนึ่ง ที่ให้ความเข้าใจได้ง่ายกล่าวไว้ว่า อารมณ์เป็นความรู้สึกภายในที่เร้า
ให้บุคคลกระทา หรือเปลี่ยนแปลงภายในตัว ของเขาเอง ซึ่งอารมณ์เป็นสิ่งที่ไม่
คงที่มีการแปรเปลี่ยน อยู่ตลอดเวลา
นักจิตวิทยาทั้งหลายมีความเห็นว่าองค์ประกอบของอารมณ์จะแบ่ง
ออกเป็น 3 อย่าง คือ
สภาวะการรู้คิด ปฏิกิริยาทางสรีระ
การแสดงออกพฤติกรรม
1. สภาวะการรู้คิด (cognitive states)
เป็นความรู้สึกของผู้ที่กระทาหรือประสบการณ์ต่าง ๆ ของ
บุคคล อย่างเช่น เราเคยรู้สึกโกรธ ร่าเริง สะอิดสะเอียน เป็นต้น
2. ปฏิกิริยาทางสรีระ (physiological reactions)
เป็นการเกิดการเปลี่ยนแปลงภายในร่างกายของเรา
เช่น หัวใจเต้นเร็วขึ้นเมื่อรู้สึกตื่นเต้นหรือตกใจ
3. การแสดงออกของพฤติกรรม (expressive bahaviors)
เป็นสัญญาณการแสดงออกของสภาวะภายใน เช่น เกิดความ
พอใจก็จะแสดงการยิ้ม หรือเมื่อโกรธก็อาจกล่าววาจาต่อว่าออกมา
หรือแสดงการกระทืบเท้า, ตบตี
อารมณ์มีอยู่มากมายหลายชนิดซึ่งเราอาจเรียกมันว่าอะไรก็ตาม แต่ว่า
อารมณ์เหล่านั้น ก็มีความเด่นชัดและเป็นอิสระ นักจิตวิทยาได้จาแนก อารมณ์
โดยคานึง สิ่งเร้าที่มาเป็นตัวกระตุ้น และรูปแบบการตอบสนองพฤติกรรมที่มี
ต่อสิ่งเร้านั้น เชื่อว่าบุคคลมีอารมณ์พื้นฐานอยู่ 3 ชนิด คือ
ความโกรธ (anger)
ความกลัว (fear)
ความพึงพอใจ (pleasure)
เป็นอารมณ์ที่ไม่พึงพอใจอย่างแท้จริง มักเกิดขึ้นเนื่องจากถูกขัดขวาง
ไม่ให้ทากิจกรรมที่ตนต้องการ ในบุคคลแต่ละวัย ความโกรธจะแตกต่างกันไป
ซึ่งความโกรธ ก็จะแสดงออกในรูปของการก้าวร้าวทางกาย หน้าตาบูดบึ้ง ทุบตี
สิ่งของ ต่อยตี หรือแม้แต่การแสดงอารมณ์โกรธจะออกมาในรูปวาจา พูดติติง
นินทา พูดจาเสียดสี ทั้งนี้เนื่องจากได้เรียนรู้หรือได้รับการปลูกฝังในสังคมที่เขา
เป็นอยู่
นอกจากนี้ความโกรธนับว่าเป็นอารมณ์ที่สาคัญยิ่ง เพราะมีพลังที่เชื่องโยงกับ
พฤติกรรมการจูงใจเป็นอย่างมาก ซึ่งเราจะพบได้เสมอ ในทุกสังคม เมื่อบุคคลมี
ความโกรธพฤติกรรมการจูงใจ ที่เกิดตามมาก็คือไม่อยากทากิจกรรมต่าง ๆ
ความโกรธ
(anger)
นักจิตวิทยามองว่า อารมณ์เป็นได้ทั้งสิ่งที่ผ่านความคิดและที่ไม่ผ่าน
ความคิด สนับสนุนแนวความคิดสายกลางคือ อย่างไรก็ตามอารมณ์ก็ยังมี
พื้นฐานที่เกิดจากผลทางจิตวิทยา มันน่าจะเป็นส่วนประกอบของโครงสร้าง
รวม ของระบบความคิด แต่อยู่ในต่างระบบกันกับ ส่วนของสมองที่ประมวล
ด้านความคิดซึ่งมีการทางานที่มีหน้าที่ต่างกันและ สามารถทางานเป็นอิสระต่อ
กัน
เดวิด ดับเบอร์ยู ออกส์เบอร์เกอร์ ค้นพบว่า ความโกรธที่มี การ
แสดงออกอย่างหนักแน่นนั้น สามารถรักษา ระงับและเยียวยาได้
(David W. Augsburger, Anger and Assertiveness in Pastoral
Care 1979)
ดังนั้นน่าจะสรุปได้ว่า ความโกรธเป็นสภาวะที่เกิดอารมณ์แบบไม่สมปรารถนา
ซึ่งเกิดจากความรู้สึกที่ ถูกกระทาอย่างไม่ยุติธรรม ถูกหยามหรือ ได้รับการข่มขู่
เป็นต้น เป็นความรู้สึกที่สามารถรุกลามและจะขยายเกินขีดที่จะควบคุมได้โดยง่าย
นักจิตวิทยามองว่า ความโกรธจะต้องมีส่วนสัมพันธ์กับ สมองด้านความคิดของ
มนุษย์ แต่อยู่ในส่วนที่ทาหน้าที่แตกต่างจากสมองความคิดตามปกติ ซึ่งเราเคย
รู้จักกันมาตั้งแต่อดีตแล้ว
การดูแลความโกรธ
ขณะที่เรากาลังโกรธ มีสามสิ่งเกิดขึ้น คือ
1. เรากาลังไม่พอใจ เพราะความต้องการบางอย่างของเราไม่ได้รับการตอบสนอง
2. เรากาลังโทษ ใครบางคนหรืออะไรบางอย่างว่า ทาให้เราไม่ได้ในสิ่งที่เรา
ต้องการ
3. เรากาลังจะพูดหรือทาอะไร
บางอย่าง ที่เกือบจะแน่นอนว่าถ้าทาไปแล้วเราจะไม่ได้สิ่งที่เราต้องการหรือไม่ก็
ต้องมาเสียใจภายหลัง
เมื่อเรากาลังโกรธ เรามักพุ่งความสนใจเกือบทั้งหมดไปในที่สิ่งที่
เราไม่ต้องการ เรามักคิดแต่ว่าคนอื่นทาผิดอย่างไรบ้าง เราลืมไป
เสียสนิทว่า จริงๆ แล้วเราต้องการอะไร
2 ข้อ ต่อไปนี้ จะช่วยให้เราเปลี่ยนพฤติกรรม และช่วยให้เราหันกลับมา
เห็นคุณประโยชน์ของความโกรธ ค้นพบว่าความโกรธนี้มาจากไหนและเรียนรู้การ
แสดงความโกรธออกมา ในวิถีทางที่จะทาให้ทั้งความต้องการของเรา และผู้อื่น
ได้รับการตอบสนอง เราสามารถใช้ขั้นตอนเหล่านี้ในการปรับความสนใจขณะตกอยู่
ในความโกรธและความขัดแย้ง พร้อมทั้งเรียนรู้ ที่จะทาให้เกิดผลลัพธ์ที่น่าพึงพอใจ
สาหรับทุกฝ่าย
ชนะความโกรธกันเถอะ
1. คิดว่าความโกรธเป็นเหมือนสัญญาณเตือน
ความโกรธก็เป็นเหมือนไฟเตือนบนหน้าปัดรถ เมื่อคุณเห็นสัญญาณเตือน
คุณจะรีบใส่ใจดูว่ามีอะไรผิดปกติในรถแล้วรีบแก้ไข เมื่อแก้ไขแล้ว คุณก็จะ
สามารถขับรถไปสู่จุดหมายปลายทางด้วยดี
ดังนั้นเมื่ออารมณ์ความรู้สึกของคุณกาลังคุกรุ่น หรือความรุนแรงภายในกาลัง
ปรากฏตัวขึ้น สิ่งที่จะช่วยให้ชีวิตคุณและผู้อื่นเป็นสุขมากขึ้นก็คือ มุ่งความสนใจ
ไปยังสิ่งที่คุณต้องการ และละวางความคิดว่าอีกฝ่าย "ผิด" หรือ คิดว่าเธอคนนั้น
เป็น "ศัตรู" ของเรา ตั้งเป้าหมายไว้ว่า เราจะดูแลความต้องการของเรา และมุ่ง
หาวิธีแก้ไขปัญหาที่ทาให้ความต้องการของทุกๆ ฝ่ายได้รับการตอบสนอง
2.ดูให้ชัดว่าเกิดอะไรขึ้น
ในขั้นนี้คุณพยายามดูให้ชัดว่า สิ่งที่ทาให้คุณเกิดปฏิกิริยาต่อต้านนั้นคืออะไร
เมื่อคุณอธิบายได้ชัดเจนว่าเกิดอะไรขึ้น คุณจะสามารถเห็น ความต้องการของคุณ
ชัดขึ้นด้วย อีกฝ่ายจะมีท่าทีต่อต้านน้อยลงด้วย เพราะเขาจะเห็นด้วยกับสิ่งที่คุณ
พูด ดังนั้นในสถานการณ์ความขัดแย้ง ขอให้คุณสังเกตสิ่งที่เกิดขึ้นให้ชัดและ
อธิบายว่าเกิดอะไรขึ้น
เมื่อคุณสามารถอธิบายได้อย่างตรงไปตรงมาว่าคุณมีปฏิกิริยากับอะไร โดย
ไม่ใส่การตีความหรือตัดสินลงไป คนอื่นที่ฟังคาพูดคุณ มักจะไม่มีปฏิกิริยาต่อต้าน
กลับมา
ความกลัว (fear)
เป็นอารมณ์ที่แสดงออกถึงความรู้สึกว่าเป็นอันตราย ซึ่งจะมีอยู่มากมายทั้ง
ที่มองเห็นและมองไม่เห็น เช่น เด็กเล็กๆ จะกลัวเสียงดัง สิ่งแปลกประหลาด
ถึงแม้จะเป็นเด็กโตก็ยังกลัว นอกจากนี้ยังกลัวความมืด กลัวคาขู่ กลัวถูกทอดทิ้ง
ตามลาพัง ในเด็กตอนปลายเด็ก จะกลัวคาเยาะเย้ยจากเพื่อน กลัวตัวเองจะไม่
เท่าเทียมกับเพื่อน
เมื่อเข้าสู่วัยรุ่นไปจนถึงวัยผู้ใหญ่ จะเกิดความกลัวในทางสังคมมากขึ้น กลัว
ความผิดหวัง กลัวในความมีบทบาททางเพศ กลัวจะไม่ได้รับการยอมรับ พอเป็น
ผู้ใหญ่สูงอายุก็จะกลัว ในเรื่องสังขารร่างกาย ตลอดจนความสาเร็จในการงาน
การตอบสนองของเด็กแรกเกิดซึ่งจะค่อยๆ เปลี่ยนไป เมื่อโตขึ้น
และเมื่อได้มีการเรียนรู้ทั้งโดยการประสบด้วยตนเอง และจากการดูคนอื่น
เป็นตัวอย่าง การมีแนวโน้มที่จะตกใจกลัวได้ง่ายเรียกว่าความขลาด
(timidity) ส่วนหนึ่งเกิดจากพันธุกรรม ความกลัวที่ “กาหนด” โดย
ธรรมชาติ แม้ว่าทั้งคน และสัตว์จะกลัวบางสิ่งบางอย่างในบางครั้ง แต่ก็มี
บางสิ่งบางอย่างเช่นกัน ที่เรากลัวมากเป็นพิเศษทั้งๆ ที่ไม่เคยเจอมาก่อน
สิ่งเหล่านี้อาจมีความสาคัญในวิวัฒนาการของมนุษย์ก็ได้ คน หรือสัตว์อาจ
เกิดกลัวอะไรหลังจากเคยมีประสบการณ์ไม่ดีกับ สิ่งนั้นได้แต่ของบางอย่าง
ก็ทาให้เกิดความประสาทกลัวได้ง่ายกว่าของอื่นๆ
โดยทั่วไปความกลัว และความวิตกกังวลเกิดขึ้นจากปัจจัย 3
อย่างร่วมกัน คือ
1.สิ่งที่เป็นมาตั้งแต่เกิด
2.สิ่งที่ต้องอาศัยการพัฒนาของสมอง
3.สิ่งที่ได้รับจากการเรียนรู้
การขจัดความกลัว
1.เชื่อมั่นและศรัทธาในมือ
ข้างขวาของคุณ
3. อย่ากลัวผิดถ้าคิดจะพูด…
อย่าคิดว่าสิ่งที่คนอื่นพูดนั้นผิด
2. ปัญหามีไว้แก้ไข...หลบได้
พักได้แต่อย่าหนี
1.เชื่อมั่นและศรัทธาในมือข้างขวาของคุณ
ธรรมชาติสร้างแขนมาให้มนุษย์สองข้าง พร้อมมือสวยๆ อีกหนึ่งคู่
คนส่วนมากถนัดขวา ใช้มือขวามากกว่ามือซ้าย
“ มือซ้ายคือมือแห่งโชคชะตา
มือขวาคือมือที่สร้างและทา ”
แต่คนหลายคนกลับปล่อยให้โชคชะตามากาหนดชีวิต
…โชคชะตาเป็นสิ่งนามธรรมที่คนเราคิดขึ้นมาเอง
มันจะไม่มีทางมีอิทธิพลเหนือกว่าจิตใจเราได้เลย
2. ปัญหามีไว้แก้ไข...หลบได้ พักได้แต่อย่าหนี
การนั่งดูปัญหาตีกันแม้มันจะไม่ถูกต้องนัก
แต่อย่างน้อยเราจะเป็นคนคุมเกม
ดีกว่าลงไปแก้ปัญหา ทั้งที่หัวใจยังอ่อนแอ.
เวลาที่เชือกพันกัน คนส่วนมาก มักจะใช้มีดตัดออก
จะมีใครสักกี่คนมานั่งแก้ด้วยมือ
ปัญหาของคนเรา จริงๆแล้วคือ
การหนีปัญหานั่นแหละ เพราะถ้าเราตั้งใจแก้มัน
มีหรือจะไม่มีทางออก แพ้บ้าง ชนะบ้าง เป็นเรื่องปกติ
3. อย่ากลัวผิดถ้าคิดจะพูด… อย่าคิดว่าสิ่งที่คนอื่นพูดนั้นผิด
บางทีความเงียบสงบก็สยบความเคลื่อนไหวไม่ได้เสมอไปหรอก
แม้ว่าเราจะนั่งในที่ตัวเองเราก็มีสิทธิ์ถูกชน
ถ้าเราไม่ส่งเสียงให้เขารู้ว่าเรานั่งอยู่.
คนที่พยายามทาทุกอย่างให้ถูกใจคนอื่น
คนนั้นจะเป็นคนที่เหนื่อยที่สุดตลอดชีวิต
การตอบคาถามเพื่อเอาใจคนถาม ก็เท่ากับว่าเรายอมให้เขาครอบงา
.. เมื่อสูญเสียความเป็นตัวเองไปแล้ว
เธอจะเรียกมันกลับคืนมาได้ยาก อย่าลืมว่า
คนแต่ละคน พูด ฟัง คิด ไม่เหมือนกัน
ไม่มีใครทาอะไรถูกใจใครได้ทั้งหมด
ความพึงพอใจ (pleasure)
เป็นอารมณ์ของความรู้สึกที่มีความสุขที่ร่าเริงอย่างมากเป็น
ความสาเร็จหรือความสุขสดชื่นเกิดขึ้น เมื่อบุคคลได้รับผลการตอบ
สนองตามที่ต้องการ ไม่ว่าจะเป็นความต้องการทางด้านร่างกายและ
ด้านจิตใจ
อารมณ์ หมายถึง การแสดงออกของภาวะจิตใจที่ได้รับการกระทบหรือ
กระตุ้นให้เกิดมีการแสดงออกต่อสิ่งที่มากระตุ้น อารมณ์สามารถจาแนกออก
ได้ 2 ประเภทใหญ่
1.อารมณ์สุข คือ อารมณ์ที่เกิดขึ้นจากความสบายใจ หรือ ได้รับความสมหวัง
2.อารมณ์ทุกข์ คือ อารมณ์ที่เกิดขึ้นจากความไม่สบายใจ หรือ ได้รับความไม่
สมหวัง
อารมณ์
อารมณ์พื้นฐาน
อารมณ์พื้นฐานของคนเรา ได้แก่ โกรธ กลัว รังเกียจ แปลกใจ ดีใจ
และเสียใจ ซึ่งเป็นอารมณ์พื้นฐานที่มีในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัมพันธ์กับการ
ทางานของระบบลิมบิก (limbic system) ในสมองส่วนกลาง ในคนเรานั้นพบว่า
ยังมีการทางานของสมองส่วนหน้าบริเวณ Prefrontal มาเกี่ยวข้องด้วย โดยมี
การเชื่อมโยงกับระบบลิมบิกที่ซับซ้อนจึงทาให้คนเรามีลักษณะ อารมณ์ความรู้สึก
ที่หลายหลากมากกว่าในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
อารมณ์จะประกอบไปด้วยองค์ประกอบ 3 ประการ
1. องค์ประกอบด้านสรีระ
(Physiological dimension)
3. องค์ประกอบทางด้านการมีประสบการณ์
(Experiential dimension)
2. องค์ประกอบทางด้านการนึกคิด
(Cognitive dimension)
1. องค์ประกอบด้านสรีระ (Physiological dimension)
การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ทางร่างกายที่จะต้องเกิดขึ้น ควบคู่กับ
ปฏิกิริยาทางอารมณ์ เช่น หัวใจเต้นเร็ว เหงื่อออกตามร่างกาย หรือ
ใบหน้าร้อนผ่าว เป็นต้น อารมณ์ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีระ
ได้มากที่สุดคือ อารมณ์กลัว และ อารมณ์โกรธ อารมณ์กลัวจะก่อให้เกิด
การหลั่งของฮอร์โมน แอดรีนาลีนจากต่อมแอดรีนัล (Adrenal gland)
ส่วนอารมณ์โกรธ จะก่อให้เกิดการหลั่งของฮอร์โมน นอร์แอดรีนาลีน
(Noradrenalin)
2. องค์ประกอบทางด้านการนึกคิด (Cognitive dimension)
การมีปฏิกิริยาด้านจิตใจที่เกิดขึ้น ต่อสถานการณ์ ที่กาลัง
เป็นอยู่และเกิดเป็นอารมณ์ขึ้นมา เช่น ชอบ -ไม่ชอบ หรือ
ถูกใจ- ไม่ถูกใจ เป็นต้น
3. องค์ประกอบทางด้านการมีประสบการณ์ (Experiential
dimension)
การเรียนรู้ที่เกิดขึ้นภายใน จิตใจของแต่ละ บุคคลซึ่งจะมี
ความแตกต่างกันไป
การตอบสนองทางอารมณ์ ประกอบด้วยปัจจัยต่างๆ
1. ปฏิกิริยาทางอารมณ์ เช่น การวิ่งหนีจากสิ่งที่เรากลัว
2. การตอบสนองทางระบบประสาทอิสระ เช่น หัวใจเต้นแรงขึ้นและเหงื่อออก
บริเวณฝ่ามือเมื่อตกใจกลัว
3. พฤติกรรมที่แสดงออกมา เช่น การยิ้ม หน้านิ่วคิ้วขมวด
4. ความรู้สึก เช่น ความโกรธ ความปีติ ความเศร้าโศก
การแสดงออกทางอารมณ์
>>> การแสดงออกทางอารมณ์โดยกาเนิด การแสดงอารมณ์พื้นฐานเป็น
สิ่งที่มีมาตั้งแต่กาเนิด เด็กทุกชาติทุกภาษาจะร้องไห้เมื่อเจ็บปวดหรือเสียใจ
และหัวเราะเมื่อสุขใจ จากการศึกษาเด็กที่ตาบอดหรือหูหนวกตั้งแต่แรกเกิด
พบว่าการแสดงออกของสีหน้า ท่าทาง และท่วงทีกิริยาหลายๆ อย่างซึ่งเรา
เอาไปสัมพันธ์กับอารมณ์ชนิดต่างๆ ได้รับการพัฒนาโดยความสุขสมบูรณ์ การ
แสดงออกของอารมณ์เหล่านี้เกิดขึ้นในช่วงอายุที่เหมาะสม
>>>บทบาทของการเรียนรู้ในการแสดงออกทางอารมณ์ แม้ว่าการแสดง
ออกของอารมณ์บางอย่างมีมาตั้งแต่กาเนิดเป็นส่วนใหญ่แล้ว แต่อารมณ์ก็อาจ
ได้รับการดัดแปลงมากมายโดยการเรียนรู้ ตัวอย่าง ความโกรธ อาจแสดงออกมา
โดยการต่อสู้โดยการใช้ภาษาที่ก้าวร้าว หรือโดยการลุกออกไปนอกห้องอาจแตก
ต่างกันในแต่ละวัฒนธรรม
1.ปรัชญาของคุณ : เหมือนเลนส์กระจกที่เราใช้มองทะลุทุกปัญหาและทุกโอกาส
บางครั้งก็เป็นเหตุผลที่ให้กับตัวเองเพื่อยืนหยัดต่อไปหรือเลิกล้ม
2. ให้ผ่านพ้นไปทีละวัน : "เขี่ยนิสัยขี้กังวลออกไป" อยู่กับปัจจุบัน ทาสิ่งที่คุณ
ทาได้ในวันนี้และปล่อยความกังวลทิ้งไป พยายามพัฒนา
“บุคลิกลักษณะ” นั้นก็คือ ความซื่อสัตย์ ความมุ่งมั่น ความใจดีมี
เมตตาความถ่อมตน และความ กล้าหาญของตัวคุณเอง
การมีความสุขอย่างมีประสิทธิภาพ ^ ^
3. กฎของชีวิต : คือการอย่าคาดหวังที่จะควบคุมผู้อื่น สร้างจินตภาพในใจอย่าง
สม่าเสมอระวังคาพูดของตนเอง สังเกตว่าพูด ถึงตัวเองอย่างไรบ้าง เลือกที่จะคิด
บวกเสมอๆ และการตั้งเป้าหมายในชีวิต
4. ผองเพื่อนและครอบครัว : หากมองสิ่งดีๆ เราก็จะพบกับสิ่งดีๆ หากมองความ
ผิดพลาด เราก็จะพบแต่ความผิดพลาด และอย่าพยายามเปลี่ยนแปลงคนอื่น
เพราะคนเราแบ่งได้เป็นสองกลุ่ม คือ
1. คนที่คอยปรับกลยุทธ์ในการดาเนินชีวิตอย่างสม่าเสมอเป็นประจา
2. คนที่ชอบรอให้ชนกาแพงอิฐก่อน แล้วจึงค่อยเปลี่ยนแปลง
5. กลยุทธ์แห่งความสาเร็จ สิ่งที่ต้องทาในตอนนี้
- ผู้ที่ประสบความสาเร็จ จะทุ่มเทความพยายามส่วนใหญ่ให้กับสิ่งที่สาคัญก่อน
- คบหาสมาคมกับคนที่มองโลกในแง่ดีเอาไว้
- ทัศนคติ จะทาให้เกิดความสาเร็จ
- พูดให้ฟังดูจริงจัง เพราะ คาพูดจะกาหนดอนาคตของคุณเอง
- มุ่งมั่นในสิ่งที่คุณต้องการ
- นับถือตัวเอง แล้วเราจะได้รับความนับถือจากผู้อื่นด้วย
- หากบางอย่างที่อยากทาจริงๆ ไม่ต้องรอเวลาที่เหมาะสม แต่ลงมือทาเลย
เคล็ดลับแรกสู่ความสุขและความสาเร็จ คือ การเห็นคุณค่าของสิ่งที่เรามีอยู่แล้ว
1. ทุกคนสนใจเรื่องของความสุข และอยากมีความสุข เพราะโลกปัจจุบันทาให้
คนเครียดและเป็นทุกข์มาก
2. เมื่อคนมีความสุขจะเกิดการ transformation หรือการเปลี่ยนแปลงตนเอง
อย่างถึงรากถึงโคน
3. เมื่อคนมีความสุขจะทาให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีกับคนอื่น
เรื่องของความสุขจึงเริ่มต้นจากจุดเล็กๆ ที่ความสุขของคนแต่ละคน เชื่อมสู่ความสุข
ของคนใกล้ๆ ตัว และขยายวงความสุขออกไปเรื่อยๆ จนน่าจะนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงเชิง
องค์กร สถาบัน สังคม และเปลี่ยนแปลงโลกได้
กาย
ปัญญา
จิต
สังคม
18. สุนทรีย์สนทนาทฤษฏีตัว u
ร่างกาย
สมอง
DNA
สารเคมีในสมอง
1.ร่างกาย
: การออกกาลังกายทาให้เรามีความสุขและแข็งแรง เมื่อออกกาลัง
จนถึงจุดหนึ่ง เอนโดฟิน หรือ สารความสุขจะหลั่งออกมา การบริหาร
กายบางอย่าง เช่น โยคะและไท้เก๊ก ก็เชื่อมโยงกับการบริหารจิตด้วย
2. ดีเอ็นเอ : เกี่ยวพันกับระบบร่างกายอย่างใกล้ชิด โรคบางโรคเกิด
จากที่ดีเอ็นเอ ผิดปกติเพียงตัวเดียว เช่น ธาลัสซีเมีย ก็ทาให้
ร่างกายรวนไปทุกระบบ
3. สมอง : การทางานของสมองส่วนที่เรียกว่า อมิกดาลา กับ สมอง
ชั้นนอกซีกซ้ายด้านหน้ามีความน่าสนใจมากก็คือ ขณะที่อมิกดาลา
ทางานอย่างกระฉับกระเฉง เจ้าของร่างกายจะรับรู้เรื่องราวต่างๆ
ผิดไปจากความเป็นจริง กลายเป็นความทุกข์ ความขัดแย้งกับคน
อื่น แต่ถ้าเจ้าของ ร่างกายรู้สึกสงบและมีความสุข จะพบว่า
สมองชั้นนอกซีกซ้ายด้านหน้าตื่นตัวสดชื่นขึ้นมา และอมิกดาลา
จะเฉื่อยชาไป โดยอัตโนมัติ
4. สารเคมีในสมอง
: มีหลายกลุ่ม เช่น สารเคมีตระกูลเอนโดฟิน เมื่อหลั่งออกมามากๆ จะ
ทาให้คนมีความสุขทั้งเนื้อทั้งตัว หรือสารเคมีตระกูลซีโรโทนิน ที่เมื่อหลั่ง
ออกมาจะทาให้เกิดความทุกข์ ซึมเศร้า ไม่กล้าทาแม้แต่เรื่องง่ายๆ ที่เคย
ทาได้ และอยากฆ่าตัวตาย การรักษาทาได้โดยกินยาปรับสมดุลสารเคมี
ในสมองที่ชื่อ โปรแซค วันละ 1 เม็ด ราคาเม็ดละบาทกว่า
ความกรุณา
ศรัทธา
การให้อภัย
สติ สมาธิ
5. ความกรุณา : ความกรุณาทาให้จิตใจของเราดี อยากช่วยเหลือคน
อื่นและมี ความสัมพันธ์ที่ดีกับ คนรอบข้าง
6. ความสัมพันธ์ที่ดี : เวลาใจเรามีความกรุณา เราจะหายเกลียด หายกลัว
โดยอัตโนมัติ การบ่มเพาะความกรุณาคือ ให้หมั่นดูใจตัวเองว่า คิดแบบ
ไหนแล้วสุข และคิดแบบไหนแล้วทุกข์ การมองดูใจตัวเองเช่นนี้บ่อยๆ
จะทาให้ความกรุณางอกงามขึ้นได้
7. ศรัทธา : เป็นเรื่องสาคัญมาก เป็นหนึ่งใน "อินทรีย์ 5" หรือ "พละ 5"
คือธรรมที่เป็นกาลังและเป็นใหญ่ในการทาหน้าที่ต่างๆ หรือการที่ผู้หญิง
มุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ยังมีชีวิตอยู่ต่อได้อย่างไม่ทุกข์
สาหัสนัก หลังจากสามีถูกฆ่าตาย ก็เพราะความเชื่อว่าเป็นความประสงค์
ของพระเจ้า
การเข้าถึงสิ่งสูงสุด
ความเป็นอนิจจัง อิทัปปัจจยตา
การเข้าถึงความเป็นหนึ่งเดียว
8. การเข้าถึงสิ่งสูงสุด : การเข้าถึงสิ่งสูงสุดนี้บางครั้งก็เรียกว่าปัญญา
เพราะเป็นความศรัทธาในสิ่งถูกต้อง
9. การให้อภัย : สังคมไทยยังไม่คุ้นเคยกับการขอโทษและให้อภัย ที่
ประเทศแอฟริกาใต้ คนขาวกดขี่คนดามานานกว่า 100 ปี จน
คนขาวเองก็ไม่กล้าลงจากอานาจเพราะกลัวถูกคนดาฆ่า จึงเกิด
กระบวนการทางานเรื่อง "สัจจะและการสมานฉันท์" นั้นก็คือ
การให้อภัยกัน
10. สติ สมาธิ : การเจริญสติควรเป็นวิถีชีวิตของคนทุกคน คนส่วนใหญ่มัก
ไม่รู้ ว่าตนเองทุกข์เพราะความคิดแต่ถ้าเจริญสติและอยู่กับ
ปัจจุบันจะหายทุกข์เพราะหยุดคิดได้ จะสงบจากความคิด และ
ร่ารวยความสุขมาก
ความสัมพันธ์ที่ดี ระบบเศรษฐกิจ
โครงสร้างองค์กร
สันติภาพ
ความยุติธรรม สิทธิมนุษยชน
ชุมชน
11. ชุมชน : ความเป็นชุมชนทาให้คนอยู่ร่วมกันได้โดยลดความเห็นแก่ตัว มี
ความเมตตา จริงใจ เปิดเผย และเรียนรู้ร่วมกันได้ โดยการต้านทาน
โลกทุนนิยม เป็นการแบ่งปันเกื้อกูล
12. ความยุติธรรม สิทธิมนุษยชน : ประเทศไทยกาลังขาดความเป็น
ธรรมในสังคมขนาดหนัก เนื่องจากสังคมขาดศีลธรรมพื้นฐาน คือการเคารพ
ศักดิ์ศรีคุณค่าความเป็นคนของคนทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน ระบบการศึกษา
ปัจจุบันกดขี่คนส่วนใหญ่ และยกย่องคนเก่งเพียงไม่กี่คน การที่คนอื่นรู้เห็นว่าสิ่ง
ที่เขาทามีค่า และทั้งสังคมจะเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันอย่างมหาศาล จะ
เป็นการปลดปล่อยผู้คนจากความทุกข์ไปสู่อิสรภาพ เกียรติ ศักดิ์ศรี ศักยภาพ
และความสุข
13. ระบบเศรษฐกิจ : คาถามหลักของสังคมแต่เดิมคือ "ความจริง ความดี
คืออะไร" ทาให้สังคมอยู่ได้ด้วยความเมตตา ขยัน
ร่วมคิด ร่วมทา เมื่อถามว่าทาอย่างไรจะรวย ก็ทาให้
จนมากขึ้น แต่ถ้าถามว่าทาอย่างไรจะดี จึงจะหายจน
ระบบเศรษฐกิจที่เชื่อมกับศาสนาธรรมได้สนิท คือ
เศรษฐกิจพอเพียงที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ตรัสไว้
14. โครงสร้างองค์กร :
โครงสร้างองค์กรทุกแห่งคือโครงสร้างเชิงอานาจ ผู้บริหารองค์กรมักใช้
เวลาไปกับการบริหารอานาจ บริหารกฎระเบียบ โดยไม่ได้บริหารเนื้องาน ไม่ได้
เอาใจใส่คนทางานแต่ละคนซึ่งมีความฝันและแรงบันดาลใจของตนเอง ถือเป็น
ทรัพยากรอันมีค่าขององค์กร องค์กรต่างๆ ควรปรับตัวไปสู่ความเป็นองค์กร
เคออร์ดิก ตามแนวทางของดี ฮอค ผู้ก่อนตั้งวีซ่า อินเตอร์เนชั่นแนล ใน
ประเทศไทยมีผู้ศึกษาเรื่องนี้อย่างจริงจังคือ ศ.น.พ.วิจารณ์ พานิช แห่งสถาบัน
ส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อ สังคม (สคส.)
15. สันติภาพ : ระบบเศรษฐกิจทุนนิยมในปัจจุบันเป็นเศรษฐกิจแบบ
สงคราม เพราะประเทศผู้ผลิตสินค้าต้องล่าเมืองขึ้น เพื่อหาวัตถุดิบ
และตลาดแต่ในปัจจุบันสงครามเลยไปถึงขั้นที่ทาผู้คนกลายเป็นเหยื่อ
โดยกระตุ้นให้อยากบริโภคด้วยสื่อทุกรูปแบบ การโฆษณา และอัตรา
ดอกเบี้ยสันติภาพจึงเกิดขึ้นไม่ได้ในระบบทุนนิยม
16. ความเป็นอนิจจัง อิทัปปัจจยตา : ต้องเข้าใจว่าสิ่งต่างๆ เป็น
อนิจจังการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเป็นไป
ตามธรรมชาติ
17. การเข้าถึงความเป็นหนึ่งเดียว :
เนื่องจากทุกสิ่งเชื่อมโยงกันทั้งหมด ไม่แยกส่วน เป็นหนึ่งเดียว
ศาสนาที่มีพระเจ้าเรียกสิ่งนี้ว่า "เข้าถึงพระเจ้า" ศาสนาที่ไม่มีพระเจ้า
เรียกว่า "เข้าถึงธรรม" เมื่อเข้าถึงความเป็นหนึ่งเดียว จิตใจจะเป็น
อิสระและมีความสุข
18. สุนทรียสนทนาและทฤษฎีตัวU :
หัวใจของทั้งสองเรื่องอยู่ที่การห้อยแขวนการพูด การตัดสินใจ และการ
กระทาเอาไว้ก่อน เวลาเรารับรู้เรื่องอะไรมา ควรพิจารณาให้นานๆ เงียบๆ แล้ว
จะเกิดสติ เปรียบเสมือนเป็นการดึงเรื่องราวลงลึกมาทางขาซ้ายตัวยู จนแตะจุด
ใต้สุดของตัวยู คือเห็นความเชื่อมโยง สัมผัสกับความเป็นทั้งหมด เชื่อมอดีต
ปัจจุบัน และอนาคตเข้าด้วยกัน เป็นสภาวะที่จิตลงมาแตะกับปัญญา จากนั้นจึง
ไต่ขึ้นไปตามขาขวาของตัวยู ไปสู่คาพูดและการกระทาที่ผ่าน กระบวนการทาง
ปัญญาแล้ว
น.ส. ณัฐิดา แปงหลวง
ชั้นม. 6/4 เลขที่ 9
น.ส. วิรินท์ลดา พุทธขันธ์
ชั้นม. 6/4 เลขที่ 14
แหล่งอ้างอิง
http://www.novabizz.com/NovaA
ce/Emotional/Emotion.htm

More Related Content

Similar to Emotion604

กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตfreelance
 
พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์khuwawa2513
 
16-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
16-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ16-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
16-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษCMRU
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2pattamasatun
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2pattamasatun
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2New Born
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2ya035
 
สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12PaChArIn27
 
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Presentบทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา PresentKobchai Khamboonruang
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 

Similar to Emotion604 (20)

กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
Chapter 11
Chapter 11Chapter 11
Chapter 11
 
พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยมทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
 
16-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
16-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ16-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
16-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12
 
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Presentบทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
Aboutpdf
AboutpdfAboutpdf
Aboutpdf
 

More from Papam_Virinrda

ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8Papam_Virinrda
 
ใบงานที่7
ใบงานที่7ใบงานที่7
ใบงานที่7Papam_Virinrda
 
ใบงานที่6
ใบงานที่6ใบงานที่6
ใบงานที่6Papam_Virinrda
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5Papam_Virinrda
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4Papam_Virinrda
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3Papam_Virinrda
 
Blog 140627022109-phpapp01
Blog 140627022109-phpapp01Blog 140627022109-phpapp01
Blog 140627022109-phpapp01Papam_Virinrda
 
Correction onet m6_thai_53
Correction onet m6_thai_53Correction onet m6_thai_53
Correction onet m6_thai_53Papam_Virinrda
 
Correction onet m6_social_53
Correction onet m6_social_53Correction onet m6_social_53
Correction onet m6_social_53Papam_Virinrda
 
Key onet eng math m6 54
Key onet eng math m6 54Key onet eng math m6 54
Key onet eng math m6 54Papam_Virinrda
 
Pat 2 54 (ครั้งที่ 1)
Pat 2 54 (ครั้งที่ 1)Pat 2 54 (ครั้งที่ 1)
Pat 2 54 (ครั้งที่ 1)Papam_Virinrda
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)Papam_Virinrda
 

More from Papam_Virinrda (17)

ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8
 
ใบงานที่7
ใบงานที่7ใบงานที่7
ใบงานที่7
 
ใบงานที่6
ใบงานที่6ใบงานที่6
ใบงานที่6
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
Blog 140627022109-phpapp01
Blog 140627022109-phpapp01Blog 140627022109-phpapp01
Blog 140627022109-phpapp01
 
Correction onet m6_thai_53
Correction onet m6_thai_53Correction onet m6_thai_53
Correction onet m6_thai_53
 
M6thai54
M6thai54M6thai54
M6thai54
 
Correction onet m6_social_53
Correction onet m6_social_53Correction onet m6_social_53
Correction onet m6_social_53
 
M6social54
M6social54M6social54
M6social54
 
Key onet eng math m6 54
Key onet eng math m6 54Key onet eng math m6 54
Key onet eng math m6 54
 
O-NET M.6 54
O-NET M.6 54O-NET M.6 54
O-NET M.6 54
 
Keygatpat541
Keygatpat541Keygatpat541
Keygatpat541
 
Pat 2 54 (ครั้งที่ 1)
Pat 2 54 (ครั้งที่ 1)Pat 2 54 (ครั้งที่ 1)
Pat 2 54 (ครั้งที่ 1)
 
Pat157
Pat157Pat157
Pat157
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)
 

Emotion604