SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
ก

เรื่อง
ผู้วจัย
ิ
โรงเรียน
ปี ทีทาวิจัย
่ ํ

การพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่ อง โครงสร้างข้อมูลแบบกราฟ วิชา
คอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5
นายนพคุณ สื บเลย
ชุมแพศึกษา
2555

บทคัดย่ อ
การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้มีวตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่ อง
ั
โครงสร้างข้อมูลแบบกราฟ วิชาคอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ที่มีประสิ ทธิ ภาพ
ตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนของนักเรี ยนที่
เรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่ อง โครงสร้างข้อมูลแบบกราฟ วิชาคอมพิวเตอร์ และ
ขั้นตอนวิธี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อการเรี ยนด้วย
บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่ อง โครงสร้างข้อมูลแบบกราฟ วิชาคอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธี
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ที่ผศึกษาค้นคว้าพัฒนาขึ้น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ เป็ น
ู้
นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรี ยนชุมแพศึกษา จํานวน 1 ห้องเรี ยน ที่ลงทะเบียนเรี ยนในภาค
เรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2555 ได้มาจากวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Simple) ระยะเวลาในการ
ทดลอง คือ ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2555 เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า คือ 1) บทเรี ยน
คอมพิ วเตอร์ ช่วยสอน เรื่ อง โครงสร้ างข้อมูลแบบกราฟ วิชาคอมพิวเตอร์ และขั้นตอนวิธี ชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 5 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเป็ นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จํานวน
30 ข้อ ซึ่ งมีค่าอํานาจจําแนกตั้งแต่ 0.29 ถึง 0.78 มีค่าความเชื่อมันทั้งฉบับเท่ากับ 0.87 และ
่
3) แบบวัดความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อการเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เป็ นแบบ
มาตราส่ วนประมาณค่า 5 ระดับ ซึ่ งมีค่าอํานาจจําแนกตั้งแต่ 0.33 ถึง 0.74 มีค่าความเชื่อมันทั้งฉบับ
่
เท่ากับ 0.81 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการ
้
ทดสอบทีแบบกลุ่มไม่อิสระ (Dependent Sample t-test) ผลการศึกษาปรากฏดังนี้
1.
บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่ อง โครงสร้างข้อมูลแบบกราฟ วิชาคอมพิวเตอร์
ั
และขั้นตอนวิธี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 มีประสิ ทธิภาพเท่ากับ 89.00/84.11 ซึ่งเป็ นไปตามเกณฑ์ที่ต้ ง
ไว้
2.
นักเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนหลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยน อย่างมีนยสําคัญทาง
ั
สถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็ นไปตามสมมติฐานที่ต้ งไว้
ั
ข

3.
นักเรี ยนที่เรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีความพึงพอใจต่อการเรี ยนด้วย
่
บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโดยรวมอยูในระดับมากที่สุด
โดยสรุ ป บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่พฒนาขึ้นมีประสิ ทธิภาพเหมาะสมสามารถ
ั
นําไปใช้ประกอบการเรี ยนการสอน เพื่อให้ผเู ้ รี ยนบรรลุตามจุดมุ่งหมายได้

More Related Content

What's hot

Computer for learning unit 7
Computer for learning unit 7Computer for learning unit 7
Computer for learning unit 7Isaiah Thuesayom
 
Researchkrutom
ResearchkrutomResearchkrutom
Researchkrutomkrutomnbp
 
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”ปรียา พรมเสน
 
โครงงานประเภท4
โครงงานประเภท4โครงงานประเภท4
โครงงานประเภท4Yong Panupun
 
โครงการE learning2559
โครงการE learning2559โครงการE learning2559
โครงการE learning2559Pa'rig Prig
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...Meenarat Bunkanha
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5Pop Nattakarn
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาThitinun Phoawleeklee
 

What's hot (20)

comproject2
comproject2comproject2
comproject2
 
Computer for learning unit 7
Computer for learning unit 7Computer for learning unit 7
Computer for learning unit 7
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
Presentation Activity 2
Presentation Activity 2Presentation Activity 2
Presentation Activity 2
 
ปก
ปกปก
ปก
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Researchkrutom
ResearchkrutomResearchkrutom
Researchkrutom
 
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
 
ส่วนที่ ๓
ส่วนที่  ๓ส่วนที่  ๓
ส่วนที่ ๓
 
โครงงานประเภท4
โครงงานประเภท4โครงงานประเภท4
โครงงานประเภท4
 
โครงการE learning2559
โครงการE learning2559โครงการE learning2559
โครงการE learning2559
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
Stem education comed
Stem education comedStem education comed
Stem education comed
 
จุดเน้นที่ 6
จุดเน้นที่  6จุดเน้นที่  6
จุดเน้นที่ 6
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
Computer project 3
Computer project 3Computer project 3
Computer project 3
 
ชุดที่42
ชุดที่42ชุดที่42
ชุดที่42
 
กิจกรรม3
กิจกรรม3กิจกรรม3
กิจกรรม3
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 

Similar to การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบบกราฟ วิชา คอมพิวเตอร์และขั้น

การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...
การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์  วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์  วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...
การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...Noppakhun Suebloei
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอpranee Dummang
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอpranee Dummang
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3Nu_waew
 
บทความวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง ...
บทความวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง  ...บทความวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง  ...
บทความวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง ...Jaturapad Pratoom
 
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์Nattapon
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Researchkroojade
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Researchkroojade
 
บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)Annop Phetchakhong
 
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
รายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ ภูพานทอง
รายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ  ภูพานทองรายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ  ภูพานทอง
รายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ ภูพานทองเทวัญ ภูพานทอง
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อKruthai Kidsdee
 
1บทคัดย่อ
1บทคัดย่อ1บทคัดย่อ
1บทคัดย่อKruya Pekkrue
 
ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558
ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558  ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558
ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558 Duangnapa Inyayot
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...Nattapon
 
สไลด์นำเสนอผลงาน
สไลด์นำเสนอผลงานสไลด์นำเสนอผลงาน
สไลด์นำเสนอผลงานchutiwan
 

Similar to การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบบกราฟ วิชา คอมพิวเตอร์และขั้น (20)

การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...
การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์  วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์  วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...
การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทความวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง ...
บทความวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง  ...บทความวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง  ...
บทความวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง ...
 
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
3
33
3
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Research
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Research
 
บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)
 
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
 
B1
B1B1
B1
 
รายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ ภูพานทอง
รายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ  ภูพานทองรายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ  ภูพานทอง
รายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ ภูพานทอง
 
Research
ResearchResearch
Research
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
1บทคัดย่อ
1บทคัดย่อ1บทคัดย่อ
1บทคัดย่อ
 
ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558
ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558  ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558
ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558
 
Chapter 5 (1)
Chapter 5 (1)Chapter 5 (1)
Chapter 5 (1)
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
 
สไลด์นำเสนอผลงาน
สไลด์นำเสนอผลงานสไลด์นำเสนอผลงาน
สไลด์นำเสนอผลงาน
 

More from Noppakhun Suebloei

ระบบลงทะเบียนชุมชุม
ระบบลงทะเบียนชุมชุมระบบลงทะเบียนชุมชุม
ระบบลงทะเบียนชุมชุมNoppakhun Suebloei
 
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นNoppakhun Suebloei
 
การวิเคราะห์องค์ความรู้
การวิเคราะห์องค์ความรู้การวิเคราะห์องค์ความรู้
การวิเคราะห์องค์ความรู้Noppakhun Suebloei
 
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...Noppakhun Suebloei
 
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพ...รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพ...Noppakhun Suebloei
 
ปฏิทินการปฏิบัติกิจกรรมการนำองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคม
ปฏิทินการปฏิบัติกิจกรรมการนำองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคมปฏิทินการปฏิบัติกิจกรรมการนำองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคม
ปฏิทินการปฏิบัติกิจกรรมการนำองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคมNoppakhun Suebloei
 
คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3Noppakhun Suebloei
 

More from Noppakhun Suebloei (16)

ระบบลงทะเบียนชุมชุม
ระบบลงทะเบียนชุมชุมระบบลงทะเบียนชุมชุม
ระบบลงทะเบียนชุมชุม
 
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
การวิเคราะห์องค์ความรู้
การวิเคราะห์องค์ความรู้การวิเคราะห์องค์ความรู้
การวิเคราะห์องค์ความรู้
 
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
 
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพ...รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพ...
 
Test sort
Test sortTest sort
Test sort
 
Sort
SortSort
Sort
 
Graph shortest
Graph shortestGraph shortest
Graph shortest
 
Graph
GraphGraph
Graph
 
ปฏิทินการปฏิบัติกิจกรรมการนำองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคม
ปฏิทินการปฏิบัติกิจกรรมการนำองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคมปฏิทินการปฏิบัติกิจกรรมการนำองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคม
ปฏิทินการปฏิบัติกิจกรรมการนำองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคม
 
กิจกรรม Is3
กิจกรรม Is3กิจกรรม Is3
กิจกรรม Is3
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3
 
IS3
IS3IS3
IS3
 
ActivityIS3
ActivityIS3ActivityIS3
ActivityIS3
 
Graph
GraphGraph
Graph
 

การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบบกราฟ วิชา คอมพิวเตอร์และขั้น

  • 1. ก เรื่อง ผู้วจัย ิ โรงเรียน ปี ทีทาวิจัย ่ ํ การพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่ อง โครงสร้างข้อมูลแบบกราฟ วิชา คอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 นายนพคุณ สื บเลย ชุมแพศึกษา 2555 บทคัดย่ อ การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้มีวตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่ อง ั โครงสร้างข้อมูลแบบกราฟ วิชาคอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ที่มีประสิ ทธิ ภาพ ตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนของนักเรี ยนที่ เรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่ อง โครงสร้างข้อมูลแบบกราฟ วิชาคอมพิวเตอร์ และ ขั้นตอนวิธี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อการเรี ยนด้วย บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่ อง โครงสร้างข้อมูลแบบกราฟ วิชาคอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ที่ผศึกษาค้นคว้าพัฒนาขึ้น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ เป็ น ู้ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรี ยนชุมแพศึกษา จํานวน 1 ห้องเรี ยน ที่ลงทะเบียนเรี ยนในภาค เรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2555 ได้มาจากวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Simple) ระยะเวลาในการ ทดลอง คือ ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2555 เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า คือ 1) บทเรี ยน คอมพิ วเตอร์ ช่วยสอน เรื่ อง โครงสร้ างข้อมูลแบบกราฟ วิชาคอมพิวเตอร์ และขั้นตอนวิธี ชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 5 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเป็ นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จํานวน 30 ข้อ ซึ่ งมีค่าอํานาจจําแนกตั้งแต่ 0.29 ถึง 0.78 มีค่าความเชื่อมันทั้งฉบับเท่ากับ 0.87 และ ่ 3) แบบวัดความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อการเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เป็ นแบบ มาตราส่ วนประมาณค่า 5 ระดับ ซึ่ งมีค่าอํานาจจําแนกตั้งแต่ 0.33 ถึง 0.74 มีค่าความเชื่อมันทั้งฉบับ ่ เท่ากับ 0.81 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการ ้ ทดสอบทีแบบกลุ่มไม่อิสระ (Dependent Sample t-test) ผลการศึกษาปรากฏดังนี้ 1. บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่ อง โครงสร้างข้อมูลแบบกราฟ วิชาคอมพิวเตอร์ ั และขั้นตอนวิธี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 มีประสิ ทธิภาพเท่ากับ 89.00/84.11 ซึ่งเป็ นไปตามเกณฑ์ที่ต้ ง ไว้ 2. นักเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนหลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยน อย่างมีนยสําคัญทาง ั สถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็ นไปตามสมมติฐานที่ต้ งไว้ ั
  • 2. ข 3. นักเรี ยนที่เรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีความพึงพอใจต่อการเรี ยนด้วย ่ บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโดยรวมอยูในระดับมากที่สุด โดยสรุ ป บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่พฒนาขึ้นมีประสิ ทธิภาพเหมาะสมสามารถ ั นําไปใช้ประกอบการเรี ยนการสอน เพื่อให้ผเู ้ รี ยนบรรลุตามจุดมุ่งหมายได้