SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
ความเป็นมาของนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คาโคลง แต่งขึ้นโดยนายนรินทรธิเบศร์ (อิน) มหาดเล็กหุ้มแพร รับราชการวังหน้า
ในสมัยรัชกาลที่ ๒ นายนรินทรธิเบศร์แต่งนิราศเรื่องนี้ขึ้นเมื่อคราวตามเสด็จกรมพระราชวัง
บวรมหาเสนานุรักษ์เสด็จยกทัพหลวงไปปราบพม่าซึ่งยกลงมาที่เมืองถลางและชุมพร โดยเริ่ม
เรื่องด้วยร่ายสุภาพยอพระเกียรติพระมหากษัตริย์แล้วกล่าวถึงความเจริญของบ้านเมือง จากนั้น
จึงราพันถึงการจากนางอันเป็นที่รักและพรรณนาสถานที่ที่ผ่านไป นิราศเรื่องนี้นับว่าเป็นนิราศที่
มีชื่อเสียงเรื่องหนึ่งในสมัยรัตนโกสินทร์ เนื่องจากมีสานวนโวหารไพเราะและมีคุณค่าในด้าน
วรรณศิลป์ จึงได้รับการยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่าเป็นยอดของนิราศคาโคลง เหมาะสาหรับ
การนาไปเป็นแบบอย่างในการประพันธ์โคลงที่มีเนื้อหาเป็นการพรรณนาอารมณ์ ความรัก และ
ธรรมชาติ ที่คงรูปแบบทางฉันทลักษณ์ของร้อยกรองไทยได้เป็นอย่างดี
หนังสือประเภทนิราศ สันนิษฐานว่ามีมาช้านานและปรากฏในหลายชาติภาษา ด้วยบุคคลที่
เป็นกวีนั้น เมื่อต้องเดินทางย่อมคิดอ่านที่จะพรรณนาถึงความรู้สึกต่างๆ ที่ตนเองมี หากเป็นการ
เดินทางชนิดที่ต้องพลัดพรากด้วยแล้ว อารมณ์สะเทือนใจจะยิ่งสูงเป็นพิเศษ นอกจากนี้การ
เดินทางยังเป็นแหล่งข้อมูลอย่างดีที่กวีสามารถนามาร้อยเรียงเล่าเรื่องได้อย่างเพลิดเพลิน
หนังสือที่แต่งตามขนบของนิราศนั้นมีปรากฏมาตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา เช่น แต่งสมัยพระเจ้า
ปราสาททอง, แต่งในเมฆทูตสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชนอกจากนี้ยังมีโคลงทวาทศมาส
เป็นต้น นิราศหลายเรื่องจะตั้งชื่อขึ้นด้วยด้วยคาว่า นิราศ ดังปรากฏให้เห็นอยู่แล้วในบทความ
อย่างไรก็ตามยังมีนิราศอีกหลายเรื่องที่ไม่ได้ตั้งชื่อหรือเรียกชื่อว่านิราศเช่นราพันพิลาป เป็นต้น
ลักษณะคำประพันธ์
นิราศนรินทร์คาโคลง แต่งด้วยคาประพันธ์ประเภทร่ายสุภาพ จานวน ๑ บท และโคลงสี่
สุภาพจานวน ๑๔๓ บท
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพแต่งเป็นวรรค วรรคละประมาณ ๕ คา หรือมากกว่านั้น และจะแต่งให้ยาวกี่วรรค
ก็ได้แต่สามวรรคสุดท้ายก่อนที่จะจบบทจะต้องมีฉันทลักษณ์เป็นโคลงสองสุภาพเสมอ
ส่วนการสัมผัสนั้นคาสุดท้ายของวรรคหน้าจะสัมผัสกับคาที่ ๑,๒ หรือ ๓ ของวรรคต่อไป
แต่ถ้าคาสุดท้ายของวรรคหน้าส่งสัมผัสเป็นคาเอกหรือคาโท คาที่รับสัมผัสในวรรคต่อไปจะต้อง
เป็นคาเอกหรือคาโทเช่นเดียวกัน
ร่ายสุภาพ มีลักษณะบังคับ ดังแผนภาพต่อไปนี้
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ มีลักษณะบังคับ ดังแผนภาพต่อไปนี้
จุดมุ่งหมาย
นิราศนรินทร์คาโคลงนี้ถูกประพันธ์โดยนายนรินทรธิเบศร์(อิน) เมื่อตามเสด็จ
กรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์เสด็จยกทัพหลวงไปปราบพม่าซึ่งยกลงมาที่เมืองถางและ
ชุมพร โดยเริ่มเรื่องด้วยร่ายสุภาพยอพระเกียรติพระมหากษัตริย์ แล้วกล่าวถึงความเจริญของ
บ้านเมือง จากนั้นจึงราพันถึงการจากนางอันเป็นที่รักและพรรณนาสถานที่ที่ผ่านไป ในนิราศนี้มี
การคร่าครวญถึงนางอันเป็นที่รักอยู่เป็นส่วนใหญ่ เช่น
โคลงบทนี้เขียนตามความรู้สึกสะเทือนใจของกวีโดยแท้ ตามความหมายก็ว่า ถ้าดวงใจดวงเดียว
ของกวี (นายนรินทร์) ผ่าแยกออกเป็นสองส่วนได้ ก็จะขอแยกออกเป็นสองส่วน จะฝากไว้แนบ
นางส่วนหนึ่ง นายนรินทร์เอาไปส่วนหนึ่งคาว่าใจในที่นี้หมายถึง ตัวนายนรินทร์ นั่นเองคาว่า
ปลิดอกคือ ปลิดนางไปจากอก
ประวัติผู้แต่ง
ประวัติของนายนรินทร์นั้น ไม่เป็นที่ทราบกันแน่นอน แต่เดิมทีนายนรินทร์มีชื่อว่า "นาย
ทองอินทร์" (อิน) ซึ่งได้รับราชการเป็นมหาดเล็ก ฝ่ายพระรับราชวังบวร (วังหน้า) ในสมัย
รัชกาลที่ ๒ ได้รับพระราชทานยศเป็นหุ้มแพร หรือว่า เป็นที่รู้จักกันในนามบรรดาศักดิ์ในสมัย
โบราณ นั้นคือ "นายนรินทรธิเบศร์" (อิน) นายนรินทร์เป็นโอรสกรมขุนอินทรพิทักษ์์ (พระราช
โอรสพระเจ้ากรุงธนบุรี) กับ หม่อมเจ้าหญิงโสภา (ธิดากรมหมื่นสุนทรเทพ) เมื่อหม่อมเจ้าหญิง
โสภาทรงครรภ์นั้น สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีโปรดให้กรมขุนอินทรพิทักษ์ยกทัพไปตีเมือง
เชียงใหม่ แต่ตีไม่สาเร็จ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีกริ้ว จึงให้หม่อมเจ้าหญิงโสภาไปเป็นภรรยา
เจ้าพระยาสวรรคโลก ซึ่งตีเมืองเชียงใหม่ เมื่อทารกเกิดได้ชื่อทองอินทร์ สมเด็จพระเจ้ากรุง
ธนบุรีทรงเมตตาทองอินทร์เสมอ เมื่อทองอินทร์โตขึ้นให้ไปอยู่ด้วยกับเจ้าพระยาสุรสิห์
ในภายหลังเราได้ทราบประวัติของท่านจากหนังสือนิราศนรินทร์ ที่สมเด็จกรมพระยา
ดารงราชานุภาพได้ทรงพระนิพนธ์ไว้ โดยทรงเล่าเพิ่มเติมว่า "...นายนรินทรธิเบศร์ (อิน) ไม่ใคร่
จะได้แต่งหนังสือไว้มากนัก และแต่งไว้บ้างก็ล้วนแต่เป็นโคลง ที่ปรากฏว่าเป็นกลอนนั้นน้อย
เต็มที โคลงยอพระเกียรติตอนท้ายหนังสือปฐมมาลา ก็เป็นฝีปากของนายนรินทร์ (อิน) จึง
สันนิษฐานว่า ...นายนรินทรธิเบศร์ (อิน) ชอบโคลงมากกว่าคาประพันธ์อื่นๆ"
ผลงานการประพันธ์ของนายนรินทรธิเบศร์นั้นไม่ปรากฏแพร่หลาย แต่สมเด็จกรมพระ
ยาดารงราชานุภาพทรงกล่าวไว้ว่า "..ส่วนที่แต่งไว้ในที่อื่นๆ นั้น ไม่มีที่ใดจะเปรียบกับโคลง
นิราศนี้ได้" แต่ทรงมิได้ระบุว่านายนรินทร์ได้แต่งเรื่องอื่นใดไว้นอกจากที่กล่าวมาข้างต้น
เนื้อเรื่องย่อ
นิราศนรินทร์คาโคลงเริ่มเรื่องด้วยร่ายสุภาพยอพระเกียรติพระมหากษัตริย์แล้วกว่าถึง
ความเจริญของบ้านเมือง จากนั้นราพันถึงการจากนางอันเป็นที่รักและพรรณนาสถานที่ที่เดิน
ทางผ่านไปโดยนายนรินทรธิเบศร์ (อิน) ออกเดินทางจากคลองขุด ผ่านวัดแจ้ง คลองบางกอก
(ใหญ่) วัดหงส์ วัดสังข์กระจาย บางยี่เรือ (คลอง) ด่านนางทอง บางขุนเทียน บางบอน บางกก
หัวกระบือ โคกขาม คลองโคกเต่า มหาชัย ท่าจีน บ้านบ่อ นาขวาง คลองสามสิบสองคด คลอง
ย่านซื่อแม่กลอง ปากน้า (ออกทะเล) บ้านแหลม คุ้งคดอ้อย เพชรบุรี ชะอา ห้วยขมิ้น ท่าข้าม
เมืองปราณ (บุรี) สามร้อยยอด ทุ่งโคแดง (ทุ่งวัวแดง) อ่าวนางรม (อ่าวประจวบ) บางสะพาน
ขามสาวบ่าว อู่แห้ง เขาหมอนเจ้า โพสลับ ลับยักษ์เมืองแม่น้า อู่สะเภา หนองบัว แก่งตุ่ม แก่ง
คุลาตีอก แก่งแก้ว (แก่งแก้วสงสาร) แก่งนางครวญ ปาก (ร่วม) น้า เขาเพชร จนถึงตระนาว
(ตะนาวศรี) เป็นที่หมายปลายทาง
ข้อคิดที่ได้จากนิราศนรินทร์คำโคลง
๑.พระบารมีของพระมหากษัตริย์นั้นเกิดแต่การบาเพ็ญกุศลทั้งในกาลก่อนและกาลปัจจุบัน
๒. ศิลปะการก่อสร้างที่ประณีตงดงาม ย่อมเป็นสิ่งดลใจให้กวีสร้างสรรค์บทประพันธ์ที่ประณีต
ไปด้วย
๓. ความห่วงใยหวงแหนอันเนื่องมาจากความรักของมนุษย์ เมื่อเกิดขึ้นกับคนที่มีอารมณ์กวี ย่อม
จรรโลงใจให้แสดงออกซึ่งงานสร้างสรรค์บทประพันธ์ที่ประณีตไปด้วย
๔. วรรณคดีนิราศ แม้จะแสดงอารมณ์นึกคิดจินตนาการเป็นส่วนใหญ่ แต่ก็ให้ความรู้เกี่ยวกับ
ข้อเท็จจริงบางประการของสังคมไว้ด้วย
๕. คติความเชื่อของอินเดียโบราณ มีอิทธิพลต่อความคิดของคนไทยเป็นอันมาก ความเชื่อ ใน
เรื่องสวรรค์ คนไทยมีความเชื่อว่าคนที่ทาความดีจะได้ขึ้นสวรรค์ คนทาชั่วจะตกนรก ดังนั้นจึง
พยายามสร้างสมแต่สิ่งที่ดีงาม และมักจะเปรียบเทียบว่าถ้าเป็นของดี ของวิเศษ มักจะเปรียบกับ
ของบนสวรรค์ซึ่งตามความเชื่อของคนไทย สวรรค์แบ่งออกเป็น ๖ ชั้น ดังนี้
๕.๑ จตุมหาราชิก เป็นที่อยู่ของท้าวโลกบาลทั้ง ๔
๕.๒ ดาวดึงส์ เป็นที่สถิตของพระอินทร์
๕.๓ ยามะ อยู่สูงกว่าดวงอาทิตย์เป็นที่อยู่ของสยามเทวาธิราช
๕.๔ ดุสิต เป็นที่อยู่ของสัมดุสิตเทวราช เป็นที่สถิตของพระโพธิสัตว์
๕.๕ นิมมานรดี เป็นที่อยู่ของเทวดาที่สามารถเนรมิตสิ่งใดก็ได้ตามความต้องการ
๕.๖ ปรนิมมิตวสวัตดี เป็นสวรรค์ชั้นสูงสุด เป็นที่อยู่ของปรนิมมิตวสวัตดีเทพเจ้าและพระยา
มาราธิราช ผู้เป็นใหญ่แห่งหมู่มาร
คำศัพท์ที่น่าสนใจ
๑. ศรีสิทธิ์พิศาลภพ เลอหล้าลบล่มสวรรค์ จรรโลงโลกกว่ากว้าง แผนแผ่นผ้างเมือง
เมรุ ศรีอยุธเยนทร์แย้มฟ้า แจกแสงจ้าเจิดจันทร์ เพียงรพิพรรณผ่องด้าว ขุนหาญห้าวแหนบาท
สระทุกข์ราษฎร์รอนเสี้ยน ส่ายเศิกเหลี้ยนล่งหล้า ราญราบหน้าเภริน เข็ญข่าวยินยอบตัว ควบ
ค้อมหัวไหว้ละล้าว ทุกไทน้าวมาลย์น้อม ขอออกอ้อมมาอ่อนผ่อนแผ่นดินให้ผาย ขยายแผ่นฟ้า
ให้แผ้ว เลี้ยงทแกล้วให้กล้า พระยศไท้เทิดฟ้า เฟื่องฟุ้งทศธรรม ท่านแฮ
พิศาลภพ แผ่นดินอันกว้างใหญ่
เลอหล้า เหนือโลก บนโลก สูงเด่นในโลก
ลบล่มสวรรค์ ลบ = หายไป ล่ม = ทาให้จม เช่น ล่มเรือ หมายความว่า ชนะเมืองสวรรค์
จรรโลงโลก พยุงโลก ค้าจุนโลก
กว่ากว้าง (กว่า มาก เกิน โบราณใช้กว้า ก็มี) ให้กว้างขวางมาก
แผ่นผ้าง แผ่นพื้น
เมืองเมรุ เมืองที่ตั้งอยู่บนยอดเขาพระสุเมรุ คือ เมืองสวรรค์ชั้นดาวดึงส์
ศรีอยุธเยนทร์ กรุงศรีอยุธยา หมายถึง ประเทศสยาม ก็ได้แต่ในที่นี้หมายถึง กรุงเทพฯ
แย้มฟ้า เบิกบานในท้องฟ้า รุ่งเรืองในท้องฟ้า
แจกแสงจ้า ส่องแสงจ้า
เจิดจันทร์ (เจิด เชิด เกิน) งามกว่าแสงจันทร์
รพิพรรณ แสงอาทิตย์
ขุนหาญ ขุนพล แม่ทัพ
ห้าว กล้า
แหนบาท เฝ้าพระบาท เฝ้าพระเจ้าแผ่นดิน
ส่ายเศิก สลัดข้าศึก ปราบข้าศึก
เหลี้ยนล่งหล้า เตียนตลอดโลก
เกริน กลอง
เข็ญข่าวยืน ได้ฟังข่าวอันน่ากลัว
ยอบตัว มอบตัว
ควบ รวมกัน
ละล้าว เกรงกลัว
ไท ผู้เป็นใหญ่ พระเจ้าแผ่นดิน
มาลย์ ดอกไม้ในที่นี้คือ ดอกไม้เงินดอกไม้ทองเป็นเครื่องบรรณาการ
ขอออกขอขึ้น ขอเป็นเมืองขึ้น
อ้อมมาอ่อน พยายามมาอ่อนน้อม
แผ่นฟ้า เมืองสวรรค์
ให้แผ้ว ให้แจ่มเจ้ง
เลี้ยงทแกล้วให้กล้า บารุงทหารให้กล้าแข็ง
พระยศไท้เทิดฟ้า พระเกียรติยศพระองค์(ไท้) ชูเชิดถึงเมืองสวรรค์(เทิดเชิด)
ทศธรรม ทศพิธราชธรรม หมายถึง ธรรม ๑๐ ประการของพระเจ้าแผ่นดิน ได้แก่
ทาน ศีล บริจาค ความซื่อตรง ความอ่อนโยน การข่มกิเลส ความไม่โกรธ
ความไม่เบียดเบียน ความอดทน และความไม่ผิดจากธรรม
๒.อยุธยายศล่มแล้ว ลอยสวรรค์ลงฤา
สิงหาสน์ปรางค์รัตน์บรร เจิดหล้า
บุญเพรงพระหากสรรค์ ศาสน์รุ่ง เรืองแฮ
บังอบายเบิกฟ้า ฝึกฟื้นใจเมือง
สิงหาสน์ (สิงห+อาสน์) ที่นั่งแห่งผู้มีอานาจดังราชสีห์ คือ พระที่นั่งเจ้าแผ่นดิน
บรรเจิดหล้า งามในโลก
เพรง เก่า ก่อน
บังอบาย ปิดทางไปสู่ความชั่ว
เบิกฟ้า เปิดทางไปสู่ความดี
ฝึกฟื้นใจเมือง ฟื้นฟูจิตใจชาวเมืองให้พ้นจากความทุกข์
๓. เรื่องเรืองไตรรัตน์พ้น พันแสง
รินรสพระธรรมแสดง ค่าเช้า
เจดีย์ระดะแซง เสียดยอด
ยลยิ่งแสงแก้วเก้า แก่นหล้าหลากสวรรค์
ไตรรัตน์ แก้วสามดวง คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์หมายถึง
พระพุทธศาสนา
พันแสง พระอาทิตย์(ออกจากศัพท์“สหัสรังสี”)
รินรสพระธรรม เกิดความรู้สึกซาบซึ้งในรสพระธรรม
เสียดยอด ยอดเบียดกัน คือ ยอดเจดีย์จานวนมากเรียงตัวชิดกัน
แก่นหล้า เป็นแก่นโลก หลักโลก
หลากสวรรค์ ล้นฟ้า (หลาก = ท่วม ล้น แปลกประหลาด ต่างๆ) พระพุทธศาสนา
รุ่งเรืองยิ่งกว่าแสงพระอาทิตย์มีการแสดงธรรมทุกค่าเช้า มีพระเจดีย์(ซึ่ง
เป็นเครื่องแสดงความรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนา) ยอดออกระกะแลดู
เห็นแสงแวววาวยิ่งกว่าแก้วเก้าประการ พระพุทธศาสนาเป็นหลักของ
โลก ทาให้เป็นที่อัศจรรย์ใจแก่เทวดาบนสวรรค์
๔. โบสถ์ระเบียงมรฑปพื้น ไพหาร
ธรรมาสน์ศาลาลาน พระแผ้ว
หอไตรระฆังขาน ภายค่า
ไขประทีปโคมแก้ว ก่าฟ้าเฟือนจันทร์
ระฆังขาน ระฆังบอก คือ ระฆังตีบอกเวลา
ก่าฟ้า สว่างทั่วท้องฟ้า (ก่า = แดงจัด , สุกจัด)
เฟือน ทาให้หมองลง
๘. จาใจจากแม่เปลื้อง ปลิดอก อรเอย
เยียวว่าแดเดียวยก แยกได้
สองซีกแล่งทรวงตก แตกภาค ออกแม่
ภาคพี่ไปหนึ่งไว้ แนบเนื้อนวลถนอม
เปลื้องปลิดอก พรากเอาหัวใจ หมายความว่า ต้องจาใจจากไป ราวกับต้องปลิดหัวใจของ
ตนออกไปจากนาง
เยียวยา ถ้าว่า แม้ว่า
แล่ง ฝาออก
๑๐. โฉมควรจักฝากฟ้า ฤาดิน ดีฤา
เกรงเทพไท้ธรณินทร์ ลอบกล้า
ฝากลมเลื่อนโฉมบิน บนเล่า นะแม่
ลมจะชายชักช้า ชอกเนื้อเรียมสงวน
เทพไท้เทวดาผู้เป็นใหญ่
ธรณินทร์ ผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน พระเจ้าแผ่นดิน
กล้า ในที่นี้หมายถึง เชยชน
เลื่อน พาไป
ชาย พัด
ชัก ทาให้
๑๑. ฝากอุมาสมรแม่แล้ ลักษมี เล่านา
ทราบสวยมภูวจักรี เกลือกใกล้
เรียมคิดจบจนตรี โลกล่วง แล้วแม่
โฉมฝากใจแม่ได้ ยิ่งด้วยใครครอง
อุมา คือ พระอุมา ชายาพระอิศวร
ลักษมี คือ พระลักษมี ชายาพระนารายณ์
สยามภูว พระผู้เป็นเอง คือ พระอิศวร
จักรี ผู้ทรงจักร คือ พระนารายณ์
เกลือก หาก บางที
ตรีโลก สามโลก คือ มนุษย์สวรรค์บาดาล
๒๒. จากมามาลิ่วล้า ลาบาง
บางยี่เรือราพลาง พี่พร้อง
เรือแผงช่วยพานาง เมียงม่าน มานา
บางบ่รับคาคล้อง คล่าวน้าตาคลอ
เมียงม่าน แอบมองผ่านหลังม่าน
คล่าว ไหลหลั่ง
เรือแผง เรือมีม่านบัง สาหรับกุลสตรีในสมัยก่อนนั่ง
คล้อง รับ
๓๗. บ้านบ่อน้าบกแห้ง ไป่เห็น
บ่อเนตรคงขังเป็น เลือดไล้
อ้าโฉมแม่แบบเบญ จลักษณ์ เรียมเอย
มาซับอัสสุชลให้ พี่แล้วจักลา
บก แห้ง
ไล้ ลูบหรือทาละเลงทั่วไป
เบญจลักษณ์ ลักษณะอันงดงาม ๕ ประการของสตรี ได้แก่ ผมงาม คือ มีผมเป็นเงางามเนื้อ
งาม คือ มีริมฝีปากงามแดงดังผลตาลึง ฟันงาม คือ มีฟันเรียบขาว ผิวงาม คือ มีผิว
ละเอียดอ่อน และวัยงาม คือ เนื้อหนัง ยังเต่งตึงอยู่จนแก่หรือแม้จะคลอดบุตรกี่ครั้งแล้วก็ตาม
๔๑. เห็นจากจากแจกก้าน แกมระกา
ถนัดระกากรรมจา จากช้า
บาปใดที่โททา แทนเท่า ราแม่
จากแต่คาบนี้หน้า พี่น้องคงถนอม
จาก ชื่อต้นไม้(กริยา = จาก)
แจกก้าน แตกกิ่งก้าน
โท สอง (เราทั้งสอง)
๔๕. ชมแขคิดใช่หน้า นวลนาง
เดือนดาหนิวงกลาง ต่ายแต้ม
พิมพ์พักตร์แม่เพ็ญปราง จักเปรียบ ใดเลย
ขากว่าแขไขแย้ม ยิ่งยิ้มอัปสร
ขา งาม
ต่ายแต้ม มีรูปรอยกระต่าย
๑๑๘. ถึงตระนาวตระหน่าซ้า สงสาร อรเอย
จรศึกโศกมานาน เนิ่นช้า
เดินดงท่งทางละหาน หิมเวศ
สารสั่งทุกหย่อมหญ้า ย่านน้าลานาง
ตระนาว ชื่อเมืองน่าจะหมายถึง ตะนาวศรี
ตระหน่า ซ้าเติม
ท่ง ทุ่ง
หิมเวศ หิมพานต์ เป็นชื่อป่าเชิงเขาพระสุเมรุ ในที่นี้หมายถึงป่าทั่วๆ ไป
๑๒๒. พันเนตรภูวนาถตั้ง ตาระวัง ใดฮา
พักตร์สี่แปดโสตฟัง อื่นอื้อ
กฤษณนิทรเลอหลัง นาคหลับ ฤาพ่อ
สองพิโยคร่ารื้อ เทพท้าวทาเมิน
พันเนตร พระอินทร์ ซึ่งมีนามว่า สหัสนัยน์
พักตร์สี่แปดโสต สี่หน้า คือ พระพรหม
กฤษณะ คือ พระนารายณ์
พิโยค พลัดพราก
ร่ารื้อ คร่าครวญซ้าไปซ้ามา
๑๓๔. นทีสี่สมุทรม้วย หมดสาย
ติมิงคล์มังกรนาคผาย ผาดส้อน
หยาดเหมพิรุณหาย เหือดโลก แล้งแม่
แรมราคแสนร้อยร้อน ฤเถ้า เรียมทน
นทีสี่สมุทร มหาสมุทรที่อยู่รอบเขาพระสุเมรุจากไตรภูมิโลกวินิจฉยกถา กล่าวว่า
มหาสมุทรด้านทิศตะวันออกชื่อ ขีรสาคร มีน้าสีขาว
มหาสมุทรด้านทิศใต้ชื่อ นีลสาคร มีน้าสีน้าเงินอมม่วง
มหาสมุทรด้านทิศตะวันตกชื่อ ผลิกสาคร มีน้าสีขาวใส
มหาสมุทรด้านทิศเหนือชื่อ ปีตสาคร มีน้าสีเหลือง
ติมิงคล์ชื่อปลาใหญ่หนึ่งในเจ็ดตัวที่อยู่ในแม่น้าสีทันดรที่กั้นระหว่าง
เขาสัตตบริภัณฑ์ (เขา ๗ ลูก) ที่อยู่รอบเขาพระสุเมรุ
ผาย แผ่กว้างออก
ผาด ผ่าน เคลื่อนไปอย่างเร็ว
เถ้า คาโทโทษคือ เท่า
๑๓๘. ลมพัดคือพิษต้อง ตากทรวง
หนาวอกรุมในดวง จิตช้า
โฉมแม่พิมลพวง มาเลศ กูเอย
มือแม่วีเดียวล้า ยิ่งล้าลมพาน
รุม ร้อน
พวงมาเทศ พวงดอกไม้หมายถึง นางอันเป็นที่รัก
พิมล ปราศจากมลทิน
๑๓๙. เอียงอกเทออกอ้าง อวดองค์อรเอย
เมรุชุบสมุทรดินลง เลขแต้ม
อากาศจักจานผจง จารึก พอฤา
โฉมแม่หยาดฟ้าแย้ม อยู่ร้อนฤาเห็น
จาร จารึก บันทึก
เลข เขียนหนังสือ
หยาดฟ้า งามราวกับลงมาจากฟ้า
๑๔๐. ตราบขุนคิริข้น ขาดสลาย แลแม่
รักบ่หายตราบหาย หกฟ้า
สุริยจันทรขจาย จากโลก ไปฤา
ไฟแล่นล้างสี่หล้า ห่อนล้างอาลัย
ข้น มาจากโค่น หมายถึง ล้ม ทลายลง
หกฟ้า สวรรค์ ๖ ชั้น
สี่หล้า ทวีปทั้งสี่ คือ อุตตรกุรุทวีป (เหนือ)ชมพูทวีป (ใต้) บุพพวิเทหทวีป (ตะวันออก)
อมรโคยานทวีป (ตะวันตก)
๑๔๑. ร่ารักร่าเรื่องร้าง แรมนวล นาฎฤา
เสนาะสนั่นดินครวญ ครุ่นฟ้า
สารสั่งพี่กาสรวล แสนเสน่ห์ นุชเอย
ควรแม่ไว้ต่างหน้า พี่พู้นภายหลัง
ร่า พูดซ้าๆ
กาสรวล โศกเศร้าคร่าครวญ
ครุ่น บ่อย
ความรู้เพิ่มเติม
วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า วัดอรุณ เป็นวัดโบราณ สร้างในสมัยอยุธยา ว่ากันว่า
เดิมเรียกว่า วัดมะกอก และกลายเป็นวัดมะกอกนอกในเวลาต่อมาเพราะได้มีการสร้างวัดขึ้นอีก
วัดหนึ่งในตาบลเดียวกัน แต่อยู่ในคลองบางกอกใหญ่ชาวบ้านเรียกวัดที่สร้างใหม่ว่า วัดมะกอก
ใน (วัดนวลนรดิศ) แล้วจึงเรียกวัดมะกอกซึ่งอยู่ปากคลองบางกอกใหญ่ว่า วัดมะกอกนอก
คลองบางกอกน้อย
คลองบางกอกน้อย ตั้งอยู่ในเขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร เดิมเคยเป็นส่วนหนึ่งของแม่น้า
เจ้าพระยา จนกระทั่งรัชสมัยสมเด็จพระไชยราชาธิราชแห่งกรุงศรีอยุธยา ได้โปรดฯ ให้ขุดคลอง
ลัดแม่น้าขึ้นจากปากคลองบางกอกน้อยไปยังปากคลองบางกอกใหญ่ ซึ่งกล่าวกันว่าช่วยย่น
ระยะทางได้ถึง 1 วันต่อมากระแสน้าส่วนใหญ่ได้ไหลเข้าสู่คลองลัดทาให้คลองกว้างขึ้นเรื่อยๆ
กลายเป็นแม่น้าเจ้าพระยาสายใหม่ ส่วนแม่น้าสายเดิมแคบลงกลายเป็นคลองบางกอกน้อย คลอง
ชักพระ และคลองบางกอกใหญ่แทน
อ่าวไทย
อ่าวไทย เป็นน่านน้าที่อยู่ในทะเลจีนใต้มหาสมุทรแปซิฟิก ล้อมรอบด้วยประเทศไทย มาเลเซีย
กัมพูชา เวียดนามอ่าวไทยไม่เพียงแต่มีความสาคัญในทางภูมิศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ แต่
ยังมีความสาคัญในทางกฎหมายอาญาอย่างยิ่ง โดยถือเป็นอาณาเขตที่ศาลไทยมีอานาจพิจารณา
คดีเกี่ยวกับความผิดที่เกิดขึ้นในอาณาบริเวณอ่าวไทยตามที่กาหนดเขตไว้ในกฎหมายให้ถือเป็น
ราชอาณาจักรไทยด้วย
บทวิเคราะห์
ด้านกลวิธี การแต่ง
1.การใช้คา
กวีใช้คาที่งดงามทั้งรูป ความหมายและเสียงที่ไพเราะ โดยเฉพาะร่ายสดุดีที่มีลักษณะเด่น
สะดุดความสนใจมีการเลือกสรรคาที่เหมาะกับเนื้อเรื่อง
1.1 เลือกสรรคาที่เหมาะกับเนื้อเรื่อง
-แย้มฟ้า เป็นคาที่ใช้ง่ายที่มีรูปคางาม เสียงไพเราะ มีความหมายดี และให้ภาพที่ชัดเจน
ว่ากรุงรัตนโกสินทร์เผยโฉมเด่นอยู่บนท้องฟ้า
1.2 การเลือกสรรคาที่มีเสียงเสนาะ
-สัมผัส มีการเล่นเรียงสัมผัสทั้งสัมผัสสระและสัมผัสอักษรภายในวรรคและระหว่าง
วรรคเพื่อความไพเราะเช่น
ถึงตระนาวตระหน่าซ้า สงสาร อรเอย
จรศึกโศกมานาน เนิ่นช้า
เดินดงท่งทางละหาน หิมเวศ
สารสั่งทุกหย่อมหญ้า ย่านน้าลานาง
สัมผัสสระ หน่า-ซ้า ดง-ท่ง
สัมผัสอักษร สง-สาร เดิน-ดง ท่ง-ทาง สาร-สั่ง หย่อม-หญ้า ตระนาว-ตระหน่า
สัมผัสระหว่างวรรค ซ้า-สง(สาร) นาน-เนิ่น หาน-หิม(เวศ) หญ้า-ย่าน
-การเล่นคา มีการใช้คาเดียวกันซ้าหลายแห่งในบทประพันธ์ แต่คาที่ซ้ากันนั้นมี
ความหมายต่างกันเช่น
เห็นจากจากแจกก้าน แกมระกา
ถนัดระกากรรมจา จากช้า
บาปใดที่โททา แทนเท่า ราแม่
จากแต่คาบนี้หน้า พี่น้องคงถนอม
จาก ซึ่งหมายถึง ต้นจาก และการจากลา
กา ซึ่งหมายถึง ต้นระกา ความระกาช้าใจ และเวรกรรม
2.ภาพพจน์
2.1การเปรียบเทียบเกินจริง คือการกล่าวเกินจริง เพื่อให้ได้คุณค่าทางด้านอารมณ์เป็น
สาคัญ เช่น
เอียงอกเทออกอ้าง อวดองค์อรเอย
เมรุชุบสมุทรดินลง เลขแต้ม
อากาศจักจารผจง จารึก พอฤา
โฉมแม่หยาดฟ้าแย้ม อยู่ร้อนฤาเห็น
เอียงอกเท ใช้แทนสิ่งที่อยู่ในใจ ใช้เขาพระสุเมรุชุบน้าและดินแทนปากกาเขียนข้อความใน
อากาศ เป็นลักษณะการเปรียบเทียบที่เกินจริง
2.2การใช้บุคคลวัต กวีใช้คาสมมุติต่างๆ ที่ไม่ใช่มนุษย์ให้มีกิริยาอาการความรู้สึกเหมือน
มนุษย์ เช่น
จากมามาลิ่วล้า ลาบาง
บางยี่เรือราพลาง พี่พร้อง
เรือแผงช่วยพานาง เมียงม่าน มานา
บางบ่รับคาคล้อง คล่าวน้าตาคลอ
มีการใช้บางยี่เรือและเรือแผงให้มีกิริยาเหมือนมนุษย์คือให้บางยี่เรือช่วยเอาเรือแผงไป
รับนางมา แต่บางยี่เรือก็ไม่รับคา
ด้านสังคม
1.นิราศนรินทร์คาโคลงมีเนื้อหาสาระที่จรรโลงวัฒนธรรม
2.นิราศนรินทร์คาโคลงมีคุณค่าที่สะท้อนให้เห็นสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนในสมัย
รัชการที่ 2
นิราศนรินทร์คาโคลง เป็นตัวอย่างของโคลงนิราศชั้นเยี่ยมที่เปี่ยมด้วยความไพเราะและมี
คุณค่าทางวรรณศิลป์ เหมาะสาหรับเยาวชนจะนาไปเป็นแบบอย่างในการประพันธุ์โคลงที่มี
เนื้อหาพรรณอารมณ์ ความรัก และธรรมชาติ รวมทั้งรูปแบบทางฉันทลักษณ์ของร้อยกรองไทย
ได้เป็นอย่างดี
สิ่งที่ได้รับ
๑) ด้านความรู้
การใช้คา กวีใช้คาที่งดงามทั้งรูป ความหมายและเสียงที่ไพเราะ โดยเฉพาะร่ายสดุดีที่มีลักษณะ
เด่นสะดุดความสนใจ
๑.๑) เลือกสรรคาที่เหมาะกับเนื้อเรื่อง
๑.๒) การเลือกสรรคาที่มีเสียงเสนาะ
๑.๓) ภาพพจน์
๑.๔) การเปรียบเทียบเกินจริง คือการกล่าวเกินจริง เพื่อให้ได้คุณค่าทางด้านอารมณ์เป็น
สาคัญ
๑.๕) การใช้บุคคลวัต กวีใช้คาสมมุติต่างๆ ที่ไม่ใช่มนุษย์ให้มีกิริยาอาการความรู้สึก
เหมือนมนุษย์
๒) ด้านคุณธรรม
๒.๑) มีความซื่อสัตย์ต่อชาติบ้านเมือง
๒.๒) มีความกตัญญู
๓) ด้านอารายธรรม
๓.๑) นิราศนรินทร์คาโคลงมีเนื้อหาสาระที่จรรโลงวัฒนธรรม
๓.๒) นิราศนรินทร์คาโคลงมีคุณค่าที่สะท้อนให้เห็นสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนใน
สมัยรัชการที่ ๒
บรรณานุกรม
9 PEOPLE.ประวัติผู้แต่งนิราศนรินทร์.[ออนไลน์].http://nirard-narind.exteen.com/narind.
exteen.com/20071218/entry-1.(วันที่สืบค้นข้อมูล : ๔ มิถุนายน ๒๕๕๙).
ครูอาสา.ความเป็นมาของนิราศนรินทร์คาโคลง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :http://sm-
smile.exteen.com/20091030/entry. (วันที่สืบค้นข้อมูล : ๔ มิถุนายน ๒๕๕๙).
ทีมงานทรูปลูกปัญญา. นิราศนรินทร์คาโคลง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.trueplook
panya.com /new/cms_detail/knowledge/2269-00/.(วันที่สืบค้นข้อมูล ๔ มิถุนายน
๒๕๕๙).
ปัทมะ ไตรสนธิ. นิราศนรินทร์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.gotoknow.org/posts
/114205&usg=AFQjCNG2U5sSMzD5DiZr1_2qCKm9X8sICA. (วันที่สืบค้นข้อมูล : ๔
มิถุนายน ๒๕๕๙).
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. นิราศนรินทร์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://th.wikipedia.org.
(วันที่สืบค้นข้อมูล : ๕ มิถุนายน ๒๕๕๙).
สานักงานราชบัณฑิตยสภา. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ. ๒๕๕๔. [ออนไลน์].
เข้าถึงได้จาก : http://www.royin.go.th/. (วันที่สืบค้นข้อมูล : ๔ มิถุนายน ๒๕๕๙).
เอกรินทร์ สี่มหาศาล. (บรรณาธิการ). (๒๕๕๑). ภาษาไทยวรรณคดีและวรรณกรรม ม.๔.
พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์ จากัด.
คำนำ
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา ท๓๑๑๐๑ ภาษาไทย จัดทาขึ้นเพื่อเป็นเป็นความรู้
เกี่ยวกับนิราศนรินทร์คาโคลง และได้ศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็นประโยชน์ต่อการเรียน
ผู้จัดทาหวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่านหรือนักศึกษาที่สนใจนิราศ
นรินทร์คาโคลง หากมีข้อแนะนาหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทาขอน้อมรับไว้และขออภัย
มา ณ ที่นี้ด้วย
คณะผู้จัดทา
๘ มิ.ย. ๒๕๕๙
รายงาน
เรื่อง
นิราศนรินทร์คำโคลง
จัดทำโดย
นายกฤติพงศ์ ฐิติธนากุล ม.๔/๒ เลขที่ ๑
นายเฉลิมศักดิ์ ศรชัย ม.๔/๒ เลขที่ ๓
นายนรุตชัย จันทร์จิราวัฒน์ ม.๔/๒ เลขที่ ๔
นายพงศธร สีเมฆ ม.๔/๒ เลขที่ ๖
นายมโนชา เครือเทศ ม.๔/๒ เลขที่ ๗
นายพชรพล เสือประดิษฐ์ ม.๔/๒ เลขที่ ๑๑
นางสาวกัลยาณี ผ่องภิรมย์ ม.๔/๒ เลขที่ ๑๒
นางสาวฐิศากร มั่งลิ้ม ม.๔/๒ เลขที่ ๑๔
นางสาวธาริณี ทัพชัย ม.๔/๒ เลขที่ ๑๖
นางสาววนัชพร สุริยันต์ ม.๔/๒ เลขที่ ๑๗
นางสาวศรัญญา ธนิกกุล ม.๔/๒ เลขที่ ๑๙
นางสาวสุภาสินี ช่างสุวรรณ ม.๔/๒ เลขที่ ๒๐
ส่ง
อ.มาลัย รอดประดิษฐ์
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของ
วิชา ท๓๑๑๐๑ ภาษาไทย
โรงเรียนถาวรานุกูล
ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๙
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
บันทึกข้อความ
บันทึกข้อความบันทึกข้อความ
บันทึกข้อความHom Rim
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3teerachon
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2Chalermsak Sornchai
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดMethaporn Meeyai
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงWan Wan
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศSuwannaphum Charoensiri
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 

What's hot (20)

แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
บันทึกข้อความ
บันทึกข้อความบันทึกข้อความ
บันทึกข้อความ
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
แบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
แบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอมแบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
แบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
 
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 

Viewers also liked

ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลงnarongsak kalong
 
How to Craft Your Company's Storytelling Voice by Ann Handley of MarketingProfs
How to Craft Your Company's Storytelling Voice by Ann Handley of MarketingProfsHow to Craft Your Company's Storytelling Voice by Ann Handley of MarketingProfs
How to Craft Your Company's Storytelling Voice by Ann Handley of MarketingProfsMarketingProfs
 
Creating Powerful Customer Experiences
Creating Powerful Customer ExperiencesCreating Powerful Customer Experiences
Creating Powerful Customer ExperiencesDigital Surgeons
 
What REALLY Differentiates The Best Content Marketers From The Rest
What REALLY Differentiates The Best Content Marketers From The RestWhat REALLY Differentiates The Best Content Marketers From The Rest
What REALLY Differentiates The Best Content Marketers From The RestRoss Simmonds
 
20 Tweetable Quotes to Inspire Marketing & Design Creative Genius
20 Tweetable Quotes to Inspire Marketing & Design Creative Genius20 Tweetable Quotes to Inspire Marketing & Design Creative Genius
20 Tweetable Quotes to Inspire Marketing & Design Creative GeniusIMPACT Branding & Design LLC
 
40 Tools in 20 Minutes: Hacking your Marketing Career
40 Tools in 20 Minutes: Hacking your Marketing Career40 Tools in 20 Minutes: Hacking your Marketing Career
40 Tools in 20 Minutes: Hacking your Marketing CareerEric Leist
 
Digital transformation in 50 soundbites
Digital transformation in 50 soundbitesDigital transformation in 50 soundbites
Digital transformation in 50 soundbitesJulie Dodd
 
Eco-nomics, The hidden costs of consumption
Eco-nomics, The hidden costs of consumptionEco-nomics, The hidden costs of consumption
Eco-nomics, The hidden costs of consumptionJosh Beatty
 
6 Snapchat Hacks Too Easy To Ignore
6 Snapchat Hacks Too Easy To Ignore6 Snapchat Hacks Too Easy To Ignore
6 Snapchat Hacks Too Easy To IgnoreGary Vaynerchuk
 
All About Beer
All About Beer All About Beer
All About Beer Ethos3
 
Healthcare Napkins All
Healthcare Napkins AllHealthcare Napkins All
Healthcare Napkins AllDan Roam
 
SMOKE - The Convenient Truth [1st place Worlds Best Presentation Contest] by ...
SMOKE - The Convenient Truth [1st place Worlds Best Presentation Contest] by ...SMOKE - The Convenient Truth [1st place Worlds Best Presentation Contest] by ...
SMOKE - The Convenient Truth [1st place Worlds Best Presentation Contest] by ...Empowered Presentations
 
Pixar's 22 Rules to Phenomenal Storytelling
Pixar's 22 Rules to Phenomenal StorytellingPixar's 22 Rules to Phenomenal Storytelling
Pixar's 22 Rules to Phenomenal StorytellingGavin McMahon
 
The Search for Meaning in B2B Marketing
The Search for Meaning in B2B MarketingThe Search for Meaning in B2B Marketing
The Search for Meaning in B2B MarketingVelocity Partners
 
10 Powerful Body Language Tips for your next Presentation
10 Powerful Body Language Tips for your next Presentation10 Powerful Body Language Tips for your next Presentation
10 Powerful Body Language Tips for your next PresentationSOAP Presentations
 

Viewers also liked (20)

ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
 
How to Craft Your Company's Storytelling Voice by Ann Handley of MarketingProfs
How to Craft Your Company's Storytelling Voice by Ann Handley of MarketingProfsHow to Craft Your Company's Storytelling Voice by Ann Handley of MarketingProfs
How to Craft Your Company's Storytelling Voice by Ann Handley of MarketingProfs
 
Creating Powerful Customer Experiences
Creating Powerful Customer ExperiencesCreating Powerful Customer Experiences
Creating Powerful Customer Experiences
 
What REALLY Differentiates The Best Content Marketers From The Rest
What REALLY Differentiates The Best Content Marketers From The RestWhat REALLY Differentiates The Best Content Marketers From The Rest
What REALLY Differentiates The Best Content Marketers From The Rest
 
20 Tweetable Quotes to Inspire Marketing & Design Creative Genius
20 Tweetable Quotes to Inspire Marketing & Design Creative Genius20 Tweetable Quotes to Inspire Marketing & Design Creative Genius
20 Tweetable Quotes to Inspire Marketing & Design Creative Genius
 
2015 Travel Trends
2015 Travel Trends 2015 Travel Trends
2015 Travel Trends
 
40 Tools in 20 Minutes: Hacking your Marketing Career
40 Tools in 20 Minutes: Hacking your Marketing Career40 Tools in 20 Minutes: Hacking your Marketing Career
40 Tools in 20 Minutes: Hacking your Marketing Career
 
Digital transformation in 50 soundbites
Digital transformation in 50 soundbitesDigital transformation in 50 soundbites
Digital transformation in 50 soundbites
 
Build a Better Entrepreneur Pitch Deck
Build a Better Entrepreneur Pitch DeckBuild a Better Entrepreneur Pitch Deck
Build a Better Entrepreneur Pitch Deck
 
Digital, Social & Mobile in 2015
Digital, Social & Mobile in 2015Digital, Social & Mobile in 2015
Digital, Social & Mobile in 2015
 
Eco-nomics, The hidden costs of consumption
Eco-nomics, The hidden costs of consumptionEco-nomics, The hidden costs of consumption
Eco-nomics, The hidden costs of consumption
 
6 Snapchat Hacks Too Easy To Ignore
6 Snapchat Hacks Too Easy To Ignore6 Snapchat Hacks Too Easy To Ignore
6 Snapchat Hacks Too Easy To Ignore
 
All About Beer
All About Beer All About Beer
All About Beer
 
Healthcare Napkins All
Healthcare Napkins AllHealthcare Napkins All
Healthcare Napkins All
 
SMOKE - The Convenient Truth [1st place Worlds Best Presentation Contest] by ...
SMOKE - The Convenient Truth [1st place Worlds Best Presentation Contest] by ...SMOKE - The Convenient Truth [1st place Worlds Best Presentation Contest] by ...
SMOKE - The Convenient Truth [1st place Worlds Best Presentation Contest] by ...
 
Pixar's 22 Rules to Phenomenal Storytelling
Pixar's 22 Rules to Phenomenal StorytellingPixar's 22 Rules to Phenomenal Storytelling
Pixar's 22 Rules to Phenomenal Storytelling
 
You Suck At PowerPoint! by @jessedee
You Suck At PowerPoint! by @jessedeeYou Suck At PowerPoint! by @jessedee
You Suck At PowerPoint! by @jessedee
 
The Search for Meaning in B2B Marketing
The Search for Meaning in B2B MarketingThe Search for Meaning in B2B Marketing
The Search for Meaning in B2B Marketing
 
How Google Works
How Google WorksHow Google Works
How Google Works
 
10 Powerful Body Language Tips for your next Presentation
10 Powerful Body Language Tips for your next Presentation10 Powerful Body Language Tips for your next Presentation
10 Powerful Body Language Tips for your next Presentation
 

Similar to รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2

โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานBenjawan Hengkrathok
 
Nakhonnayokk
NakhonnayokkNakhonnayokk
Nakhonnayokkchompoo
 
งานนำเสนอไทยหมิว23256bbb
งานนำเสนอไทยหมิว23256bbbงานนำเสนอไทยหมิว23256bbb
งานนำเสนอไทยหมิว23256bbbอิ่' เฉิ่ม
 
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11teacherhistory
 
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์ ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์ vanichar
 
งานนำเสนอตัวละคร
งานนำเสนอตัวละครงานนำเสนอตัวละคร
งานนำเสนอตัวละครbambookruble
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมOrapan Chamnan
 
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdfสามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์PdfMind Candle Ka
 
มงกุฎไอยคุปต์ (ทดลอง)
มงกุฎไอยคุปต์ (ทดลอง)มงกุฎไอยคุปต์ (ทดลอง)
มงกุฎไอยคุปต์ (ทดลอง)Panda Jing
 
ประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรมประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรมDos Zaa
 
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรกาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรkruthai40
 

Similar to รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2 (20)

โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสาน
 
Nakhonnayokk
NakhonnayokkNakhonnayokk
Nakhonnayokk
 
Sukhothai
SukhothaiSukhothai
Sukhothai
 
งานนำเสนอไทยหมิว23256bbb
งานนำเสนอไทยหมิว23256bbbงานนำเสนอไทยหมิว23256bbb
งานนำเสนอไทยหมิว23256bbb
 
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
สมเด็จพระนเศวรมหาราช
สมเด็จพระนเศวรมหาราชสมเด็จพระนเศวรมหาราช
สมเด็จพระนเศวรมหาราช
 
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราชพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
 
Egypt
EgyptEgypt
Egypt
 
Egypt
EgyptEgypt
Egypt
 
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์ ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
 
งานนำเสนอตัวละคร
งานนำเสนอตัวละครงานนำเสนอตัวละคร
งานนำเสนอตัวละคร
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdfสามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
 
history602
history602history602
history602
 
มงกุฎไอยคุปต์ (ทดลอง)
มงกุฎไอยคุปต์ (ทดลอง)มงกุฎไอยคุปต์ (ทดลอง)
มงกุฎไอยคุปต์ (ทดลอง)
 
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
สมเด็จพระนเรศวรมหาราชสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
 
Ppt1
Ppt1Ppt1
Ppt1
 
ประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรมประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรม
 
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรกาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
 

รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2

  • 1. ความเป็นมาของนิราศนรินทร์คำโคลง นิราศนรินทร์คาโคลง แต่งขึ้นโดยนายนรินทรธิเบศร์ (อิน) มหาดเล็กหุ้มแพร รับราชการวังหน้า ในสมัยรัชกาลที่ ๒ นายนรินทรธิเบศร์แต่งนิราศเรื่องนี้ขึ้นเมื่อคราวตามเสด็จกรมพระราชวัง บวรมหาเสนานุรักษ์เสด็จยกทัพหลวงไปปราบพม่าซึ่งยกลงมาที่เมืองถลางและชุมพร โดยเริ่ม เรื่องด้วยร่ายสุภาพยอพระเกียรติพระมหากษัตริย์แล้วกล่าวถึงความเจริญของบ้านเมือง จากนั้น จึงราพันถึงการจากนางอันเป็นที่รักและพรรณนาสถานที่ที่ผ่านไป นิราศเรื่องนี้นับว่าเป็นนิราศที่ มีชื่อเสียงเรื่องหนึ่งในสมัยรัตนโกสินทร์ เนื่องจากมีสานวนโวหารไพเราะและมีคุณค่าในด้าน วรรณศิลป์ จึงได้รับการยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่าเป็นยอดของนิราศคาโคลง เหมาะสาหรับ การนาไปเป็นแบบอย่างในการประพันธ์โคลงที่มีเนื้อหาเป็นการพรรณนาอารมณ์ ความรัก และ ธรรมชาติ ที่คงรูปแบบทางฉันทลักษณ์ของร้อยกรองไทยได้เป็นอย่างดี หนังสือประเภทนิราศ สันนิษฐานว่ามีมาช้านานและปรากฏในหลายชาติภาษา ด้วยบุคคลที่ เป็นกวีนั้น เมื่อต้องเดินทางย่อมคิดอ่านที่จะพรรณนาถึงความรู้สึกต่างๆ ที่ตนเองมี หากเป็นการ เดินทางชนิดที่ต้องพลัดพรากด้วยแล้ว อารมณ์สะเทือนใจจะยิ่งสูงเป็นพิเศษ นอกจากนี้การ เดินทางยังเป็นแหล่งข้อมูลอย่างดีที่กวีสามารถนามาร้อยเรียงเล่าเรื่องได้อย่างเพลิดเพลิน หนังสือที่แต่งตามขนบของนิราศนั้นมีปรากฏมาตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา เช่น แต่งสมัยพระเจ้า ปราสาททอง, แต่งในเมฆทูตสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชนอกจากนี้ยังมีโคลงทวาทศมาส เป็นต้น นิราศหลายเรื่องจะตั้งชื่อขึ้นด้วยด้วยคาว่า นิราศ ดังปรากฏให้เห็นอยู่แล้วในบทความ อย่างไรก็ตามยังมีนิราศอีกหลายเรื่องที่ไม่ได้ตั้งชื่อหรือเรียกชื่อว่านิราศเช่นราพันพิลาป เป็นต้น ลักษณะคำประพันธ์ นิราศนรินทร์คาโคลง แต่งด้วยคาประพันธ์ประเภทร่ายสุภาพ จานวน ๑ บท และโคลงสี่ สุภาพจานวน ๑๔๓ บท
  • 2. ร่ายสุภาพ ร่ายสุภาพแต่งเป็นวรรค วรรคละประมาณ ๕ คา หรือมากกว่านั้น และจะแต่งให้ยาวกี่วรรค ก็ได้แต่สามวรรคสุดท้ายก่อนที่จะจบบทจะต้องมีฉันทลักษณ์เป็นโคลงสองสุภาพเสมอ ส่วนการสัมผัสนั้นคาสุดท้ายของวรรคหน้าจะสัมผัสกับคาที่ ๑,๒ หรือ ๓ ของวรรคต่อไป แต่ถ้าคาสุดท้ายของวรรคหน้าส่งสัมผัสเป็นคาเอกหรือคาโท คาที่รับสัมผัสในวรรคต่อไปจะต้อง เป็นคาเอกหรือคาโทเช่นเดียวกัน ร่ายสุภาพ มีลักษณะบังคับ ดังแผนภาพต่อไปนี้ โคลงสี่สุภาพ โคลงสี่สุภาพ มีลักษณะบังคับ ดังแผนภาพต่อไปนี้ จุดมุ่งหมาย นิราศนรินทร์คาโคลงนี้ถูกประพันธ์โดยนายนรินทรธิเบศร์(อิน) เมื่อตามเสด็จ กรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์เสด็จยกทัพหลวงไปปราบพม่าซึ่งยกลงมาที่เมืองถางและ ชุมพร โดยเริ่มเรื่องด้วยร่ายสุภาพยอพระเกียรติพระมหากษัตริย์ แล้วกล่าวถึงความเจริญของ
  • 3. บ้านเมือง จากนั้นจึงราพันถึงการจากนางอันเป็นที่รักและพรรณนาสถานที่ที่ผ่านไป ในนิราศนี้มี การคร่าครวญถึงนางอันเป็นที่รักอยู่เป็นส่วนใหญ่ เช่น โคลงบทนี้เขียนตามความรู้สึกสะเทือนใจของกวีโดยแท้ ตามความหมายก็ว่า ถ้าดวงใจดวงเดียว ของกวี (นายนรินทร์) ผ่าแยกออกเป็นสองส่วนได้ ก็จะขอแยกออกเป็นสองส่วน จะฝากไว้แนบ นางส่วนหนึ่ง นายนรินทร์เอาไปส่วนหนึ่งคาว่าใจในที่นี้หมายถึง ตัวนายนรินทร์ นั่นเองคาว่า ปลิดอกคือ ปลิดนางไปจากอก ประวัติผู้แต่ง ประวัติของนายนรินทร์นั้น ไม่เป็นที่ทราบกันแน่นอน แต่เดิมทีนายนรินทร์มีชื่อว่า "นาย ทองอินทร์" (อิน) ซึ่งได้รับราชการเป็นมหาดเล็ก ฝ่ายพระรับราชวังบวร (วังหน้า) ในสมัย รัชกาลที่ ๒ ได้รับพระราชทานยศเป็นหุ้มแพร หรือว่า เป็นที่รู้จักกันในนามบรรดาศักดิ์ในสมัย โบราณ นั้นคือ "นายนรินทรธิเบศร์" (อิน) นายนรินทร์เป็นโอรสกรมขุนอินทรพิทักษ์์ (พระราช โอรสพระเจ้ากรุงธนบุรี) กับ หม่อมเจ้าหญิงโสภา (ธิดากรมหมื่นสุนทรเทพ) เมื่อหม่อมเจ้าหญิง
  • 4. โสภาทรงครรภ์นั้น สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีโปรดให้กรมขุนอินทรพิทักษ์ยกทัพไปตีเมือง เชียงใหม่ แต่ตีไม่สาเร็จ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีกริ้ว จึงให้หม่อมเจ้าหญิงโสภาไปเป็นภรรยา เจ้าพระยาสวรรคโลก ซึ่งตีเมืองเชียงใหม่ เมื่อทารกเกิดได้ชื่อทองอินทร์ สมเด็จพระเจ้ากรุง ธนบุรีทรงเมตตาทองอินทร์เสมอ เมื่อทองอินทร์โตขึ้นให้ไปอยู่ด้วยกับเจ้าพระยาสุรสิห์ ในภายหลังเราได้ทราบประวัติของท่านจากหนังสือนิราศนรินทร์ ที่สมเด็จกรมพระยา ดารงราชานุภาพได้ทรงพระนิพนธ์ไว้ โดยทรงเล่าเพิ่มเติมว่า "...นายนรินทรธิเบศร์ (อิน) ไม่ใคร่ จะได้แต่งหนังสือไว้มากนัก และแต่งไว้บ้างก็ล้วนแต่เป็นโคลง ที่ปรากฏว่าเป็นกลอนนั้นน้อย เต็มที โคลงยอพระเกียรติตอนท้ายหนังสือปฐมมาลา ก็เป็นฝีปากของนายนรินทร์ (อิน) จึง สันนิษฐานว่า ...นายนรินทรธิเบศร์ (อิน) ชอบโคลงมากกว่าคาประพันธ์อื่นๆ" ผลงานการประพันธ์ของนายนรินทรธิเบศร์นั้นไม่ปรากฏแพร่หลาย แต่สมเด็จกรมพระ ยาดารงราชานุภาพทรงกล่าวไว้ว่า "..ส่วนที่แต่งไว้ในที่อื่นๆ นั้น ไม่มีที่ใดจะเปรียบกับโคลง นิราศนี้ได้" แต่ทรงมิได้ระบุว่านายนรินทร์ได้แต่งเรื่องอื่นใดไว้นอกจากที่กล่าวมาข้างต้น เนื้อเรื่องย่อ นิราศนรินทร์คาโคลงเริ่มเรื่องด้วยร่ายสุภาพยอพระเกียรติพระมหากษัตริย์แล้วกว่าถึง ความเจริญของบ้านเมือง จากนั้นราพันถึงการจากนางอันเป็นที่รักและพรรณนาสถานที่ที่เดิน ทางผ่านไปโดยนายนรินทรธิเบศร์ (อิน) ออกเดินทางจากคลองขุด ผ่านวัดแจ้ง คลองบางกอก (ใหญ่) วัดหงส์ วัดสังข์กระจาย บางยี่เรือ (คลอง) ด่านนางทอง บางขุนเทียน บางบอน บางกก หัวกระบือ โคกขาม คลองโคกเต่า มหาชัย ท่าจีน บ้านบ่อ นาขวาง คลองสามสิบสองคด คลอง ย่านซื่อแม่กลอง ปากน้า (ออกทะเล) บ้านแหลม คุ้งคดอ้อย เพชรบุรี ชะอา ห้วยขมิ้น ท่าข้าม เมืองปราณ (บุรี) สามร้อยยอด ทุ่งโคแดง (ทุ่งวัวแดง) อ่าวนางรม (อ่าวประจวบ) บางสะพาน ขามสาวบ่าว อู่แห้ง เขาหมอนเจ้า โพสลับ ลับยักษ์เมืองแม่น้า อู่สะเภา หนองบัว แก่งตุ่ม แก่ง
  • 5. คุลาตีอก แก่งแก้ว (แก่งแก้วสงสาร) แก่งนางครวญ ปาก (ร่วม) น้า เขาเพชร จนถึงตระนาว (ตะนาวศรี) เป็นที่หมายปลายทาง ข้อคิดที่ได้จากนิราศนรินทร์คำโคลง ๑.พระบารมีของพระมหากษัตริย์นั้นเกิดแต่การบาเพ็ญกุศลทั้งในกาลก่อนและกาลปัจจุบัน ๒. ศิลปะการก่อสร้างที่ประณีตงดงาม ย่อมเป็นสิ่งดลใจให้กวีสร้างสรรค์บทประพันธ์ที่ประณีต ไปด้วย ๓. ความห่วงใยหวงแหนอันเนื่องมาจากความรักของมนุษย์ เมื่อเกิดขึ้นกับคนที่มีอารมณ์กวี ย่อม จรรโลงใจให้แสดงออกซึ่งงานสร้างสรรค์บทประพันธ์ที่ประณีตไปด้วย ๔. วรรณคดีนิราศ แม้จะแสดงอารมณ์นึกคิดจินตนาการเป็นส่วนใหญ่ แต่ก็ให้ความรู้เกี่ยวกับ ข้อเท็จจริงบางประการของสังคมไว้ด้วย ๕. คติความเชื่อของอินเดียโบราณ มีอิทธิพลต่อความคิดของคนไทยเป็นอันมาก ความเชื่อ ใน เรื่องสวรรค์ คนไทยมีความเชื่อว่าคนที่ทาความดีจะได้ขึ้นสวรรค์ คนทาชั่วจะตกนรก ดังนั้นจึง พยายามสร้างสมแต่สิ่งที่ดีงาม และมักจะเปรียบเทียบว่าถ้าเป็นของดี ของวิเศษ มักจะเปรียบกับ ของบนสวรรค์ซึ่งตามความเชื่อของคนไทย สวรรค์แบ่งออกเป็น ๖ ชั้น ดังนี้ ๕.๑ จตุมหาราชิก เป็นที่อยู่ของท้าวโลกบาลทั้ง ๔ ๕.๒ ดาวดึงส์ เป็นที่สถิตของพระอินทร์ ๕.๓ ยามะ อยู่สูงกว่าดวงอาทิตย์เป็นที่อยู่ของสยามเทวาธิราช ๕.๔ ดุสิต เป็นที่อยู่ของสัมดุสิตเทวราช เป็นที่สถิตของพระโพธิสัตว์ ๕.๕ นิมมานรดี เป็นที่อยู่ของเทวดาที่สามารถเนรมิตสิ่งใดก็ได้ตามความต้องการ ๕.๖ ปรนิมมิตวสวัตดี เป็นสวรรค์ชั้นสูงสุด เป็นที่อยู่ของปรนิมมิตวสวัตดีเทพเจ้าและพระยา มาราธิราช ผู้เป็นใหญ่แห่งหมู่มาร
  • 6. คำศัพท์ที่น่าสนใจ ๑. ศรีสิทธิ์พิศาลภพ เลอหล้าลบล่มสวรรค์ จรรโลงโลกกว่ากว้าง แผนแผ่นผ้างเมือง เมรุ ศรีอยุธเยนทร์แย้มฟ้า แจกแสงจ้าเจิดจันทร์ เพียงรพิพรรณผ่องด้าว ขุนหาญห้าวแหนบาท สระทุกข์ราษฎร์รอนเสี้ยน ส่ายเศิกเหลี้ยนล่งหล้า ราญราบหน้าเภริน เข็ญข่าวยินยอบตัว ควบ ค้อมหัวไหว้ละล้าว ทุกไทน้าวมาลย์น้อม ขอออกอ้อมมาอ่อนผ่อนแผ่นดินให้ผาย ขยายแผ่นฟ้า ให้แผ้ว เลี้ยงทแกล้วให้กล้า พระยศไท้เทิดฟ้า เฟื่องฟุ้งทศธรรม ท่านแฮ พิศาลภพ แผ่นดินอันกว้างใหญ่ เลอหล้า เหนือโลก บนโลก สูงเด่นในโลก ลบล่มสวรรค์ ลบ = หายไป ล่ม = ทาให้จม เช่น ล่มเรือ หมายความว่า ชนะเมืองสวรรค์ จรรโลงโลก พยุงโลก ค้าจุนโลก กว่ากว้าง (กว่า มาก เกิน โบราณใช้กว้า ก็มี) ให้กว้างขวางมาก แผ่นผ้าง แผ่นพื้น เมืองเมรุ เมืองที่ตั้งอยู่บนยอดเขาพระสุเมรุ คือ เมืองสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ศรีอยุธเยนทร์ กรุงศรีอยุธยา หมายถึง ประเทศสยาม ก็ได้แต่ในที่นี้หมายถึง กรุงเทพฯ แย้มฟ้า เบิกบานในท้องฟ้า รุ่งเรืองในท้องฟ้า แจกแสงจ้า ส่องแสงจ้า เจิดจันทร์ (เจิด เชิด เกิน) งามกว่าแสงจันทร์ รพิพรรณ แสงอาทิตย์ ขุนหาญ ขุนพล แม่ทัพ ห้าว กล้า แหนบาท เฝ้าพระบาท เฝ้าพระเจ้าแผ่นดิน ส่ายเศิก สลัดข้าศึก ปราบข้าศึก เหลี้ยนล่งหล้า เตียนตลอดโลก เกริน กลอง
  • 7. เข็ญข่าวยืน ได้ฟังข่าวอันน่ากลัว ยอบตัว มอบตัว ควบ รวมกัน ละล้าว เกรงกลัว ไท ผู้เป็นใหญ่ พระเจ้าแผ่นดิน มาลย์ ดอกไม้ในที่นี้คือ ดอกไม้เงินดอกไม้ทองเป็นเครื่องบรรณาการ ขอออกขอขึ้น ขอเป็นเมืองขึ้น อ้อมมาอ่อน พยายามมาอ่อนน้อม แผ่นฟ้า เมืองสวรรค์ ให้แผ้ว ให้แจ่มเจ้ง เลี้ยงทแกล้วให้กล้า บารุงทหารให้กล้าแข็ง พระยศไท้เทิดฟ้า พระเกียรติยศพระองค์(ไท้) ชูเชิดถึงเมืองสวรรค์(เทิดเชิด) ทศธรรม ทศพิธราชธรรม หมายถึง ธรรม ๑๐ ประการของพระเจ้าแผ่นดิน ได้แก่ ทาน ศีล บริจาค ความซื่อตรง ความอ่อนโยน การข่มกิเลส ความไม่โกรธ ความไม่เบียดเบียน ความอดทน และความไม่ผิดจากธรรม ๒.อยุธยายศล่มแล้ว ลอยสวรรค์ลงฤา สิงหาสน์ปรางค์รัตน์บรร เจิดหล้า บุญเพรงพระหากสรรค์ ศาสน์รุ่ง เรืองแฮ บังอบายเบิกฟ้า ฝึกฟื้นใจเมือง สิงหาสน์ (สิงห+อาสน์) ที่นั่งแห่งผู้มีอานาจดังราชสีห์ คือ พระที่นั่งเจ้าแผ่นดิน บรรเจิดหล้า งามในโลก เพรง เก่า ก่อน บังอบาย ปิดทางไปสู่ความชั่ว
  • 8. เบิกฟ้า เปิดทางไปสู่ความดี ฝึกฟื้นใจเมือง ฟื้นฟูจิตใจชาวเมืองให้พ้นจากความทุกข์ ๓. เรื่องเรืองไตรรัตน์พ้น พันแสง รินรสพระธรรมแสดง ค่าเช้า เจดีย์ระดะแซง เสียดยอด ยลยิ่งแสงแก้วเก้า แก่นหล้าหลากสวรรค์ ไตรรัตน์ แก้วสามดวง คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์หมายถึง พระพุทธศาสนา พันแสง พระอาทิตย์(ออกจากศัพท์“สหัสรังสี”) รินรสพระธรรม เกิดความรู้สึกซาบซึ้งในรสพระธรรม เสียดยอด ยอดเบียดกัน คือ ยอดเจดีย์จานวนมากเรียงตัวชิดกัน แก่นหล้า เป็นแก่นโลก หลักโลก หลากสวรรค์ ล้นฟ้า (หลาก = ท่วม ล้น แปลกประหลาด ต่างๆ) พระพุทธศาสนา รุ่งเรืองยิ่งกว่าแสงพระอาทิตย์มีการแสดงธรรมทุกค่าเช้า มีพระเจดีย์(ซึ่ง เป็นเครื่องแสดงความรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนา) ยอดออกระกะแลดู เห็นแสงแวววาวยิ่งกว่าแก้วเก้าประการ พระพุทธศาสนาเป็นหลักของ โลก ทาให้เป็นที่อัศจรรย์ใจแก่เทวดาบนสวรรค์ ๔. โบสถ์ระเบียงมรฑปพื้น ไพหาร ธรรมาสน์ศาลาลาน พระแผ้ว หอไตรระฆังขาน ภายค่า ไขประทีปโคมแก้ว ก่าฟ้าเฟือนจันทร์ ระฆังขาน ระฆังบอก คือ ระฆังตีบอกเวลา
  • 9. ก่าฟ้า สว่างทั่วท้องฟ้า (ก่า = แดงจัด , สุกจัด) เฟือน ทาให้หมองลง ๘. จาใจจากแม่เปลื้อง ปลิดอก อรเอย เยียวว่าแดเดียวยก แยกได้ สองซีกแล่งทรวงตก แตกภาค ออกแม่ ภาคพี่ไปหนึ่งไว้ แนบเนื้อนวลถนอม เปลื้องปลิดอก พรากเอาหัวใจ หมายความว่า ต้องจาใจจากไป ราวกับต้องปลิดหัวใจของ ตนออกไปจากนาง เยียวยา ถ้าว่า แม้ว่า แล่ง ฝาออก ๑๐. โฉมควรจักฝากฟ้า ฤาดิน ดีฤา เกรงเทพไท้ธรณินทร์ ลอบกล้า ฝากลมเลื่อนโฉมบิน บนเล่า นะแม่ ลมจะชายชักช้า ชอกเนื้อเรียมสงวน เทพไท้เทวดาผู้เป็นใหญ่ ธรณินทร์ ผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน พระเจ้าแผ่นดิน กล้า ในที่นี้หมายถึง เชยชน เลื่อน พาไป ชาย พัด ชัก ทาให้ ๑๑. ฝากอุมาสมรแม่แล้ ลักษมี เล่านา
  • 10. ทราบสวยมภูวจักรี เกลือกใกล้ เรียมคิดจบจนตรี โลกล่วง แล้วแม่ โฉมฝากใจแม่ได้ ยิ่งด้วยใครครอง อุมา คือ พระอุมา ชายาพระอิศวร ลักษมี คือ พระลักษมี ชายาพระนารายณ์ สยามภูว พระผู้เป็นเอง คือ พระอิศวร จักรี ผู้ทรงจักร คือ พระนารายณ์ เกลือก หาก บางที ตรีโลก สามโลก คือ มนุษย์สวรรค์บาดาล ๒๒. จากมามาลิ่วล้า ลาบาง บางยี่เรือราพลาง พี่พร้อง เรือแผงช่วยพานาง เมียงม่าน มานา บางบ่รับคาคล้อง คล่าวน้าตาคลอ เมียงม่าน แอบมองผ่านหลังม่าน คล่าว ไหลหลั่ง เรือแผง เรือมีม่านบัง สาหรับกุลสตรีในสมัยก่อนนั่ง คล้อง รับ ๓๗. บ้านบ่อน้าบกแห้ง ไป่เห็น บ่อเนตรคงขังเป็น เลือดไล้ อ้าโฉมแม่แบบเบญ จลักษณ์ เรียมเอย มาซับอัสสุชลให้ พี่แล้วจักลา บก แห้ง
  • 11. ไล้ ลูบหรือทาละเลงทั่วไป เบญจลักษณ์ ลักษณะอันงดงาม ๕ ประการของสตรี ได้แก่ ผมงาม คือ มีผมเป็นเงางามเนื้อ งาม คือ มีริมฝีปากงามแดงดังผลตาลึง ฟันงาม คือ มีฟันเรียบขาว ผิวงาม คือ มีผิว ละเอียดอ่อน และวัยงาม คือ เนื้อหนัง ยังเต่งตึงอยู่จนแก่หรือแม้จะคลอดบุตรกี่ครั้งแล้วก็ตาม ๔๑. เห็นจากจากแจกก้าน แกมระกา ถนัดระกากรรมจา จากช้า บาปใดที่โททา แทนเท่า ราแม่ จากแต่คาบนี้หน้า พี่น้องคงถนอม จาก ชื่อต้นไม้(กริยา = จาก) แจกก้าน แตกกิ่งก้าน โท สอง (เราทั้งสอง) ๔๕. ชมแขคิดใช่หน้า นวลนาง เดือนดาหนิวงกลาง ต่ายแต้ม พิมพ์พักตร์แม่เพ็ญปราง จักเปรียบ ใดเลย ขากว่าแขไขแย้ม ยิ่งยิ้มอัปสร ขา งาม ต่ายแต้ม มีรูปรอยกระต่าย ๑๑๘. ถึงตระนาวตระหน่าซ้า สงสาร อรเอย จรศึกโศกมานาน เนิ่นช้า เดินดงท่งทางละหาน หิมเวศ สารสั่งทุกหย่อมหญ้า ย่านน้าลานาง
  • 12. ตระนาว ชื่อเมืองน่าจะหมายถึง ตะนาวศรี ตระหน่า ซ้าเติม ท่ง ทุ่ง หิมเวศ หิมพานต์ เป็นชื่อป่าเชิงเขาพระสุเมรุ ในที่นี้หมายถึงป่าทั่วๆ ไป ๑๒๒. พันเนตรภูวนาถตั้ง ตาระวัง ใดฮา พักตร์สี่แปดโสตฟัง อื่นอื้อ กฤษณนิทรเลอหลัง นาคหลับ ฤาพ่อ สองพิโยคร่ารื้อ เทพท้าวทาเมิน พันเนตร พระอินทร์ ซึ่งมีนามว่า สหัสนัยน์ พักตร์สี่แปดโสต สี่หน้า คือ พระพรหม กฤษณะ คือ พระนารายณ์ พิโยค พลัดพราก ร่ารื้อ คร่าครวญซ้าไปซ้ามา ๑๓๔. นทีสี่สมุทรม้วย หมดสาย ติมิงคล์มังกรนาคผาย ผาดส้อน หยาดเหมพิรุณหาย เหือดโลก แล้งแม่ แรมราคแสนร้อยร้อน ฤเถ้า เรียมทน นทีสี่สมุทร มหาสมุทรที่อยู่รอบเขาพระสุเมรุจากไตรภูมิโลกวินิจฉยกถา กล่าวว่า มหาสมุทรด้านทิศตะวันออกชื่อ ขีรสาคร มีน้าสีขาว มหาสมุทรด้านทิศใต้ชื่อ นีลสาคร มีน้าสีน้าเงินอมม่วง มหาสมุทรด้านทิศตะวันตกชื่อ ผลิกสาคร มีน้าสีขาวใส มหาสมุทรด้านทิศเหนือชื่อ ปีตสาคร มีน้าสีเหลือง
  • 13. ติมิงคล์ชื่อปลาใหญ่หนึ่งในเจ็ดตัวที่อยู่ในแม่น้าสีทันดรที่กั้นระหว่าง เขาสัตตบริภัณฑ์ (เขา ๗ ลูก) ที่อยู่รอบเขาพระสุเมรุ ผาย แผ่กว้างออก ผาด ผ่าน เคลื่อนไปอย่างเร็ว เถ้า คาโทโทษคือ เท่า ๑๓๘. ลมพัดคือพิษต้อง ตากทรวง หนาวอกรุมในดวง จิตช้า โฉมแม่พิมลพวง มาเลศ กูเอย มือแม่วีเดียวล้า ยิ่งล้าลมพาน รุม ร้อน พวงมาเทศ พวงดอกไม้หมายถึง นางอันเป็นที่รัก พิมล ปราศจากมลทิน ๑๓๙. เอียงอกเทออกอ้าง อวดองค์อรเอย เมรุชุบสมุทรดินลง เลขแต้ม อากาศจักจานผจง จารึก พอฤา โฉมแม่หยาดฟ้าแย้ม อยู่ร้อนฤาเห็น จาร จารึก บันทึก เลข เขียนหนังสือ หยาดฟ้า งามราวกับลงมาจากฟ้า
  • 14. ๑๔๐. ตราบขุนคิริข้น ขาดสลาย แลแม่ รักบ่หายตราบหาย หกฟ้า สุริยจันทรขจาย จากโลก ไปฤา ไฟแล่นล้างสี่หล้า ห่อนล้างอาลัย ข้น มาจากโค่น หมายถึง ล้ม ทลายลง หกฟ้า สวรรค์ ๖ ชั้น สี่หล้า ทวีปทั้งสี่ คือ อุตตรกุรุทวีป (เหนือ)ชมพูทวีป (ใต้) บุพพวิเทหทวีป (ตะวันออก) อมรโคยานทวีป (ตะวันตก) ๑๔๑. ร่ารักร่าเรื่องร้าง แรมนวล นาฎฤา เสนาะสนั่นดินครวญ ครุ่นฟ้า สารสั่งพี่กาสรวล แสนเสน่ห์ นุชเอย ควรแม่ไว้ต่างหน้า พี่พู้นภายหลัง ร่า พูดซ้าๆ กาสรวล โศกเศร้าคร่าครวญ ครุ่น บ่อย ความรู้เพิ่มเติม วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร วัดอรุณราชวราราม หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า วัดอรุณ เป็นวัดโบราณ สร้างในสมัยอยุธยา ว่ากันว่า เดิมเรียกว่า วัดมะกอก และกลายเป็นวัดมะกอกนอกในเวลาต่อมาเพราะได้มีการสร้างวัดขึ้นอีก
  • 15. วัดหนึ่งในตาบลเดียวกัน แต่อยู่ในคลองบางกอกใหญ่ชาวบ้านเรียกวัดที่สร้างใหม่ว่า วัดมะกอก ใน (วัดนวลนรดิศ) แล้วจึงเรียกวัดมะกอกซึ่งอยู่ปากคลองบางกอกใหญ่ว่า วัดมะกอกนอก คลองบางกอกน้อย คลองบางกอกน้อย ตั้งอยู่ในเขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร เดิมเคยเป็นส่วนหนึ่งของแม่น้า เจ้าพระยา จนกระทั่งรัชสมัยสมเด็จพระไชยราชาธิราชแห่งกรุงศรีอยุธยา ได้โปรดฯ ให้ขุดคลอง ลัดแม่น้าขึ้นจากปากคลองบางกอกน้อยไปยังปากคลองบางกอกใหญ่ ซึ่งกล่าวกันว่าช่วยย่น ระยะทางได้ถึง 1 วันต่อมากระแสน้าส่วนใหญ่ได้ไหลเข้าสู่คลองลัดทาให้คลองกว้างขึ้นเรื่อยๆ กลายเป็นแม่น้าเจ้าพระยาสายใหม่ ส่วนแม่น้าสายเดิมแคบลงกลายเป็นคลองบางกอกน้อย คลอง ชักพระ และคลองบางกอกใหญ่แทน อ่าวไทย อ่าวไทย เป็นน่านน้าที่อยู่ในทะเลจีนใต้มหาสมุทรแปซิฟิก ล้อมรอบด้วยประเทศไทย มาเลเซีย กัมพูชา เวียดนามอ่าวไทยไม่เพียงแต่มีความสาคัญในทางภูมิศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ แต่ ยังมีความสาคัญในทางกฎหมายอาญาอย่างยิ่ง โดยถือเป็นอาณาเขตที่ศาลไทยมีอานาจพิจารณา คดีเกี่ยวกับความผิดที่เกิดขึ้นในอาณาบริเวณอ่าวไทยตามที่กาหนดเขตไว้ในกฎหมายให้ถือเป็น ราชอาณาจักรไทยด้วย บทวิเคราะห์ ด้านกลวิธี การแต่ง 1.การใช้คา กวีใช้คาที่งดงามทั้งรูป ความหมายและเสียงที่ไพเราะ โดยเฉพาะร่ายสดุดีที่มีลักษณะเด่น สะดุดความสนใจมีการเลือกสรรคาที่เหมาะกับเนื้อเรื่อง 1.1 เลือกสรรคาที่เหมาะกับเนื้อเรื่อง
  • 16. -แย้มฟ้า เป็นคาที่ใช้ง่ายที่มีรูปคางาม เสียงไพเราะ มีความหมายดี และให้ภาพที่ชัดเจน ว่ากรุงรัตนโกสินทร์เผยโฉมเด่นอยู่บนท้องฟ้า 1.2 การเลือกสรรคาที่มีเสียงเสนาะ -สัมผัส มีการเล่นเรียงสัมผัสทั้งสัมผัสสระและสัมผัสอักษรภายในวรรคและระหว่าง วรรคเพื่อความไพเราะเช่น ถึงตระนาวตระหน่าซ้า สงสาร อรเอย จรศึกโศกมานาน เนิ่นช้า เดินดงท่งทางละหาน หิมเวศ สารสั่งทุกหย่อมหญ้า ย่านน้าลานาง สัมผัสสระ หน่า-ซ้า ดง-ท่ง สัมผัสอักษร สง-สาร เดิน-ดง ท่ง-ทาง สาร-สั่ง หย่อม-หญ้า ตระนาว-ตระหน่า สัมผัสระหว่างวรรค ซ้า-สง(สาร) นาน-เนิ่น หาน-หิม(เวศ) หญ้า-ย่าน -การเล่นคา มีการใช้คาเดียวกันซ้าหลายแห่งในบทประพันธ์ แต่คาที่ซ้ากันนั้นมี ความหมายต่างกันเช่น เห็นจากจากแจกก้าน แกมระกา ถนัดระกากรรมจา จากช้า บาปใดที่โททา แทนเท่า ราแม่ จากแต่คาบนี้หน้า พี่น้องคงถนอม จาก ซึ่งหมายถึง ต้นจาก และการจากลา กา ซึ่งหมายถึง ต้นระกา ความระกาช้าใจ และเวรกรรม 2.ภาพพจน์ 2.1การเปรียบเทียบเกินจริง คือการกล่าวเกินจริง เพื่อให้ได้คุณค่าทางด้านอารมณ์เป็น สาคัญ เช่น
  • 17. เอียงอกเทออกอ้าง อวดองค์อรเอย เมรุชุบสมุทรดินลง เลขแต้ม อากาศจักจารผจง จารึก พอฤา โฉมแม่หยาดฟ้าแย้ม อยู่ร้อนฤาเห็น เอียงอกเท ใช้แทนสิ่งที่อยู่ในใจ ใช้เขาพระสุเมรุชุบน้าและดินแทนปากกาเขียนข้อความใน อากาศ เป็นลักษณะการเปรียบเทียบที่เกินจริง 2.2การใช้บุคคลวัต กวีใช้คาสมมุติต่างๆ ที่ไม่ใช่มนุษย์ให้มีกิริยาอาการความรู้สึกเหมือน มนุษย์ เช่น จากมามาลิ่วล้า ลาบาง บางยี่เรือราพลาง พี่พร้อง เรือแผงช่วยพานาง เมียงม่าน มานา บางบ่รับคาคล้อง คล่าวน้าตาคลอ มีการใช้บางยี่เรือและเรือแผงให้มีกิริยาเหมือนมนุษย์คือให้บางยี่เรือช่วยเอาเรือแผงไป รับนางมา แต่บางยี่เรือก็ไม่รับคา ด้านสังคม 1.นิราศนรินทร์คาโคลงมีเนื้อหาสาระที่จรรโลงวัฒนธรรม 2.นิราศนรินทร์คาโคลงมีคุณค่าที่สะท้อนให้เห็นสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนในสมัย รัชการที่ 2 นิราศนรินทร์คาโคลง เป็นตัวอย่างของโคลงนิราศชั้นเยี่ยมที่เปี่ยมด้วยความไพเราะและมี คุณค่าทางวรรณศิลป์ เหมาะสาหรับเยาวชนจะนาไปเป็นแบบอย่างในการประพันธุ์โคลงที่มี เนื้อหาพรรณอารมณ์ ความรัก และธรรมชาติ รวมทั้งรูปแบบทางฉันทลักษณ์ของร้อยกรองไทย ได้เป็นอย่างดี
  • 18. สิ่งที่ได้รับ ๑) ด้านความรู้ การใช้คา กวีใช้คาที่งดงามทั้งรูป ความหมายและเสียงที่ไพเราะ โดยเฉพาะร่ายสดุดีที่มีลักษณะ เด่นสะดุดความสนใจ ๑.๑) เลือกสรรคาที่เหมาะกับเนื้อเรื่อง ๑.๒) การเลือกสรรคาที่มีเสียงเสนาะ ๑.๓) ภาพพจน์ ๑.๔) การเปรียบเทียบเกินจริง คือการกล่าวเกินจริง เพื่อให้ได้คุณค่าทางด้านอารมณ์เป็น สาคัญ ๑.๕) การใช้บุคคลวัต กวีใช้คาสมมุติต่างๆ ที่ไม่ใช่มนุษย์ให้มีกิริยาอาการความรู้สึก เหมือนมนุษย์ ๒) ด้านคุณธรรม ๒.๑) มีความซื่อสัตย์ต่อชาติบ้านเมือง ๒.๒) มีความกตัญญู ๓) ด้านอารายธรรม ๓.๑) นิราศนรินทร์คาโคลงมีเนื้อหาสาระที่จรรโลงวัฒนธรรม ๓.๒) นิราศนรินทร์คาโคลงมีคุณค่าที่สะท้อนให้เห็นสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนใน สมัยรัชการที่ ๒
  • 19. บรรณานุกรม 9 PEOPLE.ประวัติผู้แต่งนิราศนรินทร์.[ออนไลน์].http://nirard-narind.exteen.com/narind. exteen.com/20071218/entry-1.(วันที่สืบค้นข้อมูล : ๔ มิถุนายน ๒๕๕๙). ครูอาสา.ความเป็นมาของนิราศนรินทร์คาโคลง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :http://sm- smile.exteen.com/20091030/entry. (วันที่สืบค้นข้อมูล : ๔ มิถุนายน ๒๕๕๙). ทีมงานทรูปลูกปัญญา. นิราศนรินทร์คาโคลง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.trueplook panya.com /new/cms_detail/knowledge/2269-00/.(วันที่สืบค้นข้อมูล ๔ มิถุนายน ๒๕๕๙). ปัทมะ ไตรสนธิ. นิราศนรินทร์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.gotoknow.org/posts /114205&usg=AFQjCNG2U5sSMzD5DiZr1_2qCKm9X8sICA. (วันที่สืบค้นข้อมูล : ๔ มิถุนายน ๒๕๕๙). วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. นิราศนรินทร์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://th.wikipedia.org. (วันที่สืบค้นข้อมูล : ๕ มิถุนายน ๒๕๕๙). สานักงานราชบัณฑิตยสภา. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ. ๒๕๕๔. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.royin.go.th/. (วันที่สืบค้นข้อมูล : ๔ มิถุนายน ๒๕๕๙). เอกรินทร์ สี่มหาศาล. (บรรณาธิการ). (๒๕๕๑). ภาษาไทยวรรณคดีและวรรณกรรม ม.๔. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์ จากัด.
  • 20. คำนำ รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา ท๓๑๑๐๑ ภาษาไทย จัดทาขึ้นเพื่อเป็นเป็นความรู้ เกี่ยวกับนิราศนรินทร์คาโคลง และได้ศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็นประโยชน์ต่อการเรียน ผู้จัดทาหวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่านหรือนักศึกษาที่สนใจนิราศ นรินทร์คาโคลง หากมีข้อแนะนาหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทาขอน้อมรับไว้และขออภัย มา ณ ที่นี้ด้วย คณะผู้จัดทา ๘ มิ.ย. ๒๕๕๙
  • 21. รายงาน เรื่อง นิราศนรินทร์คำโคลง จัดทำโดย นายกฤติพงศ์ ฐิติธนากุล ม.๔/๒ เลขที่ ๑ นายเฉลิมศักดิ์ ศรชัย ม.๔/๒ เลขที่ ๓ นายนรุตชัย จันทร์จิราวัฒน์ ม.๔/๒ เลขที่ ๔ นายพงศธร สีเมฆ ม.๔/๒ เลขที่ ๖ นายมโนชา เครือเทศ ม.๔/๒ เลขที่ ๗ นายพชรพล เสือประดิษฐ์ ม.๔/๒ เลขที่ ๑๑ นางสาวกัลยาณี ผ่องภิรมย์ ม.๔/๒ เลขที่ ๑๒ นางสาวฐิศากร มั่งลิ้ม ม.๔/๒ เลขที่ ๑๔ นางสาวธาริณี ทัพชัย ม.๔/๒ เลขที่ ๑๖ นางสาววนัชพร สุริยันต์ ม.๔/๒ เลขที่ ๑๗ นางสาวศรัญญา ธนิกกุล ม.๔/๒ เลขที่ ๑๙ นางสาวสุภาสินี ช่างสุวรรณ ม.๔/๒ เลขที่ ๒๐ ส่ง อ.มาลัย รอดประดิษฐ์ รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของ วิชา ท๓๑๑๐๑ ภาษาไทย โรงเรียนถาวรานุกูล ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๙