SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน ไดโนเสาร์ (Dinosaur)
ชื่อผู้ทำโครงงาน
นายธนัตถ์ ใจกว้าง เลขที่ 13 ชั้น ม.6 ห้อง 15
นายณัฐกรธ์ อัศวธีรศักดิ์ เลขที่ 22 ชั้น ม.6 ห้อง15
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดำเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทำข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.นาย ธนัตถ์ ใจกว้าง เลขที่ 13
2.นายณัฐกรธ์ อัศวธีรศักดิ์ เลขที่ 21
ค าชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
-ไดโนเสาร์
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
-Dinosaur
ประเภทโครงงาน - โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ท าโครงงาน - นาย ธนัตถ์ ใจกว้าง
ชื่อที่ปรึกษา - นาย ณัฐกรธ์ อัศวธีรศักดิ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม - นาย ณัฐปรัชญ์ รักสวน
ระยะเวลาด าเนินงาน - 1-2 สัปดาห์
ที่มาและความส าคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการท าโครงงาน)
ที่มาของการศึกษาเรื่องไดโนเสาร์ของผม คือ การได้ไปท่องเที่ยวที่พิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ที่ต่างจังหวัด
และได้ศึกษาที่มาที่ไปของมันรวมทั้งรอยเท้าของมัน นอกจากจะได้ความรู้ในเรื่องไดโนเสาร์แล้ว ยังได้ความรู้
เรื่อง ธรณีวิทยามาด้วย เช่น ชั้นของดินสามารถบ่งบอกอายุของไดโนเสาร์ตัวนี้ได้ ยกตัวอย่างคือชั้นดินมีการ
ปกคลุมเป็นชั้นๆ(และจะแบ่งสีของดินได้ชัดเจน) ถ้าชั้นดินยิ่งลึกเท่าไหร่ก็จะสามารถบ่งบอกอายุของดินได้ เช่น
ในชั้นดินที่10 (ที่มีอายุของดินประมาณ 1ล้านปีที่แล้ว) และถ้ามีซากไดโนเสาร์อยู่ในชั้นนั้น นักวิทยาศาสตร์จะ
ประมาณอายุของไดโนเสาร์ตัวนี้ว่ามีอายุประมาณ 1ล้านปีที่แล้ว และในไทยมีช่วงปี พ.ศ.2519 เกิดข่าวที่ดัง
มากใน เขตอ าเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น มีการค้นพบซากของไดโนเสาร์ที่มีชื่อว่า ซอโรพอต มีความยาว
ประมาณ 15 เมตร ซึ่งนับว่าเป็น ซากไดโนเสาร์ตัวแรกที่ถูกค้นพบในประเทศไทย นั้นตอนนั้นถือว่าเป็นข่าวที่
3
ถูก ทั่วโลกจับตามองไดโนเสาร์ในประเทศไทย ถ้าสังเกต ไดโนเสาร์ที่ถูกค้นพบในไทยมักจะพบในพื้นที่ แถบ
ภาคอีสาน เพราะแถวอีสานจะเป็นที่ราบ
ซึ่งไดโนเสาร์ชอบที่ราบ ในภาคเหนือจึงไม่พบซากไดโนเสาร์เลยแม้แต่ตัวเดียว เพราะสภาพแวดล้อมเป็นภูเขา
และป่าไดโนเสาร์จึงไม่ค่อยจะอยู่ในแถบภาคเหนือสักเท่าไหร่
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการท าโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพิ่มเติมความรู้ในด้านธรณีวิทยา
2.เพิ่มความรู้เกี่ยวกับสัตว์ล้านปี
3.วิเคราะห์การแก้ไขปัญหา
4.น าความรู้ที่ได้จากเรื่องนี้ไปต่อยอดในเรื่องต่างๆได้อีก
5.เพิ่มความสามารถในการหาข้อมูลเพื่อน าไปใช้ในงานอื่นๆได้อีก
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจ ากัดของการท าโครงงาน)
-ไม่สามารถน าไดโนเสาร์ตัวเป็นๆมาให้ดูได้
-พิพิธภัณฑ์อยู่ค่อนข้างไกล จึงไม่สามารถหาข้อมูลได้มากนัก
-งานการวิจัยส่วนใหญ่เป็นภาษาอังกฤษจึงค่อนข้างยากในการหาข้อมูลมาลง
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการท าโครงงาน) ไดโนเสาร์ (dinosaur)
เป็นชื่อเรียกโดยรวมของสัตว์ดึกด าบรรพ์ในอันดับใหญ่ Dinosauria ซึ่งเคยครอง ระบบนิเวศบนพื้นพิภพ
ในมหายุคมีโซโซอิก เป็นเวลานานถึง 165 ล้านปี ก่อนจะสูญพันธุ์ ไปเมื่อ 65 ล้านปีที่แล้ว คน
ส่วนใหญ่เข้าใจว่าไดโนเสาร์เป็นสัตว์เลื้อยคลาน แต่อันที่จริงไดโนเสาร์เป็นสัตว์ในอันดับหนึ่งที่มีลักษณะก้ ากึ่งระหว่าง
สัตว์เลื้อยคลานและนก ค าว่า ไดโนเสาร์ ในภาษาอังกฤษ dinosaur ถูกตั้งขึ้นโดย เซอร์ ริชาร์ด โอเวน
นักบรรพชีวิน วิทยา ชาวอังกฤษ ซึ่งเป็นการผสมของค าในภาษากรีกสองค า คือค าว่า (ใหญ่จนน่าสะพรึงกลัว)
และค าว่า sauros (สัตว์เลื้อยคลาน) หลายคนเข้าใจผิดว่า ไดโนเสาร์ คือสัตว์ที่อาศัยอยู่ในมหายุคมีโซโซอิกทั้งหมด
แต่จริง ๆ แล้ว ไดโนเสาร์ คือสัตว์ชนิดหนึ่งที่อาศัยอยู่บนพื้นดินเท่านั้น สัตว์บกบางชนิดที่คล้ายไดโนเสาร์ สัตว์น้
าและสัตว์ปีกที่มี ลักษณะคล้ายไดโนเสาร์ ไม่ถือว่าเป็นไดโนเสาร์
เป็นเพียงสัตว์ชนิดที่อาศัยอยู่ในยุคเดียวกับไดโนเสาร์เท่านั้น
4
https://f4.jarm.com/news/00/1k/jr/1481267962_11.jpg
ประวัติการค้นพบ มนุษย์ค้นพบซากดึกด าบรรพ์ไดโนเสาร์มาเป็นเวลานับพันปีแล้ว แต่ยังไม่มีผู้ใดเข้าใจอย่าง
ถ่องแท้ว่าเศษซากเหล่านี้เป็นของสัตว์ชนิดใด และพากันคาดเดาไปต่าง ๆ นานา ชาวจีนมีความคิดว่านี่คือกระดูกของ
มังกร ขณะที่ชาวยุโรปเชื่อว่านี่เป็นสิ่งหลงเหลือของสัตว์ที่สูญพันธุ์ไปเมื่อครั้งเกิดน้ าท่วมโลกครั้งใหญ่ จนกระทั่งเมื่อมี
การค้นพบซากดึกด าบรรพ์ในปี ค.ศ. 1822 โดย กิเดียน แมนเทล นักธรณีวิทยาชาวอังกฤษ ไดโนเสาร์ชนิดแรกของ
โลกจึงได้ถูกตั้งชื่อขึ้นว่า อิกัวโนดอน เนื่องจากซากดึกด
าบรรพ์นี้มีลักษณะละม้ายคล้ายคลึงกับโครงกระดูกของตัวอิกัว นาในปัจจุบัน สองปีต่อมา วิลเลียม บักแลนด์
ศาสตราจารย์ด้านธรณีวิทยา ประจ ามหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด ก็ได้เป็น
คนแรกที่ตีพิมพ์ข้อเขียนอธิบายเกี่ยวกับไดโนเสาร์ในวารสารทางวิทยาศาสตร์ โดยเป็นไดโนเสาร์ชนิด เมกะโลซอรัส
บักแลนดี และการศึกษาซากดึกด าบรรรพ์ของสัตว์พวกกิ้งก่า ขนาดใหญ่นี้ก็ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จาก
นักวิทยาศาสตร์ทั้งในยุโรปและอเมริกา จากนั้นในปี ค.ศ. 1842 เซอร์ ริชาร์ด โอเวน เห็นว่าซากดึกด าบรรพ์ขนาด
ใหญ่ที่ถูกค้นพบมีลักษณะหลายอย่างร่วมกัน จึงได้บัญญัติค าว่า ไดโนเสาร์ เพื่อจัดให้สัตว์เหล่านี้อยู่ในกลุ่ม
อนุกรมวิธานเดียวกัน นอกจากนี้ เซอร์ริชาร์ด โอเวน ยังได้จัดตั้งพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ ขึ้น ที่เซาท์เคนซิง
ตัน กรุงลอนดอน เพื่อแสดงซากดึกด าบรรพ์ไดโนเสาร์
5
http://www.majorcineplex.com/uploads/content/images/tyrannosaurus-rex-info-graphic.png
ลักษณะทางชีววิทยา ไดโนเสาร์เป็นสัตว์เลื้อยคลานขนาดยักษ์ซึ่งพวกมันมีผิวหนังที่ปกคลุมเป็นเกล็ด
เช่นเดียวกับ งู จระเข้ หรือ เต่า กระเพาะอาหารของไดโนเสาร์กินพืช มักมีขนาดใหญ่แต่อย่างไรก็ตามเนื่องจาก
เซลลูโลสของพืชท าให้บางครั้งมันจึงต้องกลืนก้อนหินไปช่วยย่อย ส่วนไดโนเสาร์กินเนื้อจะย่อยอาหาร ได้เร็วกว่า แต่
กระนั้น ข้อมุลของไดโนเสาร์ยังไม่ทราบแน่ชัดนัก เนื่องจากไดโนเสาร์สูญพันธ์ไปหมดเหลือเพียงซากดึกด าบรรพ์
ดังนั้น นักบรรพชีวินวิทยาจึงต้องใช้ซากฟอสซิลนี้ในการสันนิษฐานของ ข้อมูลต่าง ๆ พฤติกรรม การล่าเหยื่อ และการ
ด ารงชีวิตของไดโนเสาร์ขึ้นมาซึ่งอาจจะไม่ตรงกับความเป็นจริงเท่าไรนัก
วิวัฒนาการ บรรพบุรุษของไดโนเสาร์คือ อาร์โคซอร์ (archosaur) ซึ่งไดโนเสาร์เริ่มแยกตัวออกมาจากอาร์โค
ซอร์ในยุค ไทรแอสซิก ไดโนเสาร์ชนิดแรกถือก าเนิดขึ้นราว ๆ 230 ล้านปีที่แล้ว หรือ 20 ล้านปี หลังจากเกิดการสูญ
พันธุ์เพอร์เมียน-ไทรแอสซิก ซึ่งคร่าชีวิตของสิ่งมีชีวิตทั้งหมดบนโลกสมัยนั้นไปกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ สายพันธุ์ไดโนเสาร์
แพร่กระจายอย่างรวดเร็วหลังยุคไทรแอสซิก กล่าวได้ว่าในยุคทองของไดโนเสาร์ (ยุคจูแรสซิก และยุคครีเทเชียส) ทุก
สิ่งมีชีวิตบนพื้นพิภพที่มีขนาดใหญ่กว่าหนึ่งเมตรคือไดโนเสาร์ จนกระทั่งเมื่อ 65 ล้านปีที่แล้ว การการสูญพันธุ์ครีเท
เชียส-เทอร์เทียรี (Cretaceous-Tertiary extinction) ก็ได้กวาดล้างไดโนเสาร์จนสูญพันธุ์ เหลือเพียงไดโนเสาร์บาง
สายพันธุ์ที่เป็นบรรพบุรุษของนกในปัจจุบัน ยุคต่าง ๆของไดโนเสาร์ มหายุคมีโซโซอิก (Mesaozoic Era) 65-225
ล้านปี ในยุคนี้มี 3 ยุค คือ ยุคไทรแอสซิก ยุคจูแรสซิก และยุคครีเทเชียส ในยุคไทรแอสซิกนี้ สภาพอากาศในขณะนั้น
จะมี สภาพร้อนและแล้งมากขึ้นกว่าในอดีต ท าให้ต้นไม้ใหญ่น้อยในเขตร้อนสามารถเจริญเติบโตได้ ดีมาก จนกระทั่ง
ไดโนเสาร์ตัวแรกได้ถือก าเนิดขึ้นมาบนโลกนี้ ไดโนเสาร์กลุ่มแรกที่ได้ก าเนิดขึ้นมาจะมีขนาดเล็ก เดิน 2 เท้า และมี
6
ลักษณะพิเศษ คือ เท้ามีลักษณะคล้ายกับเท้าของนก ต่อมาในยุคจูแรสซิกนี้จัดว่าเป็นยุคที่เฟื่องฟูเป็นอย่างมาก
บรรดาพืชพรรณธัญญาหารที่อุดมสมบูรณ์ ท าให้ไดโนเสาร์จ านวนมากขยายพันธุ์ไปอย่างรวดเร็ว ท าให้มีร่างกาย
ใหญ่โต ซึ่งส่วนใหญ่จะกินพืชเป็นอาหาร และนกยังได้ถือก าเนิดขึ้นมาเป็นครั้งแรกในยุคนี้อีกด้วย ต่อมาในยุคครีเท
เชียสนี้ จัดว่า เป็นยุคที่ไดโนเสาร์นั้นรุ่งเรื่องที่สุด เพราะยุคนี้ไดโนเสาร์ได้มีการพัฒนาพันธุ์ออกมาอย่างมากมาย
https://f.ptcdn.info/483/032/000/1434429914-IndominusR-o.png
ยุคของไดโนเสาร์ ยุคไทรแอสซิก
การครอบครองโลกของไดโนเสาร์ในยุคนี้โลกถูกปกคลุมด้วยป่าไม้จ านวน
มาก พืชตระกูลที่ใช้สปอร์ในการขยายพันธ์ประสบความส าเร็จและมีวิวัฒนาการถึงขั้นสูงสุด ในป่ายุคไทรแอสซิก
ช่วงแรกนั้นมีสัตว์ใหญ่ไม่มากนักสัตว์ปีกที่ใหญ่ที่สุดคือแมลงปอยักษ์ที่ปีกกว้างถึง2ฟุตและได้ชื่อว่าเป็นนักล่าเวหาเพียง
ชนิดเดียวของยุคนี้ เนื่องจากในช่วงปลายของยุคเปอร์เมียนเกิดการสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ของสิ่งมีชีวิตท าให้พวก
สัตว์เลื้อยคลานกึ่งเลี้ยงลูกด้วยนมจ านวนมาก สูญพันธุ์ไปพวกที่เหลือได้สืบทอดเผ่าพันธุ์มาจนถึงต้นยุคไทรแอสซิกใน
กลุ่มสัตว์เหล่านี้เจ้าซินนอกนาตัสเป็นสัตว์นักล่าที่น่าเกรงขามที่สุด ในหมู่พวกมันและในช่วงนี้เองไดโนเสาร์ก็ถือก
าเนิด
ขึ้นโดยพวกมันวิวัฒนาการมาจากสัตว์เลื้อยคลานที่เดินด้วยขาหลังอย่างเจ้าธีโคดอนซึ่งถือกันว่าเป็นบรรพบุรุษของ
ไดโนเสาร์ การสูญพันธ์ครั้งใหญ่ในยุคเปอร์เมียนท าให้พวกมันสามารถขยายเผ่าพันธุ์ได้อย่างมากมายในช่วงต้นยุคไทร
แอสซิกและกลายมาเป็นคู่แข่งของพวกสัตว์เลื้อยคลานกึ่งเลี้ยงลูกด้วยนมที่เหลือ ไดโนเสาร์ในยุคแรกเป็นพวกเดินสอง
ขา เช่น พลาทีโอซอร์ ไดโนเสาร์กินพืชคอยาวที่เป็นบรรพบุรุษของพวก ซอโรพอด หรือเจ้าซีโลไฟซิส บรรพบุรุษของ
พวกกินเนื้อ นักล่าสองขาความสูง 1 เมตร การที่มันสามารถเคลื่อนไหวได้ด้วยสองขาหลังท าให้พวกมันมีความ
คล่องตัวในการล่าสูงกว่า ซินนอกนาตัส หรืออีรีโทรซูคัสที่ยาวถึง 15 ฟุตซึ่งมีกรามขนาด ใหญ่และแข็งแรงนักล่า
เหล่านี้ได้เปรียบซินนอกนาตัสและสัตว์เลื้อยคลานกึ่งเลี้ยงลูกด้วยนมอื่น ๆท
7
าให้พวกนี้ต้องวิวัฒนาการให้มีขนาดเล็กลง เพื่อที่จะหลบหนีพวกไดโนเสาร์
และหลีกทางให้เผ่าพันธุ์ไดโนเสาร์ก้าวมาครองโลกนี้แทนในที่สุด ยุคจูแรสซิก ไดโนเสาร์ครอบครองโลกได้ส
าเร็จในตอนปลายยุคไทรแอสซิก จนเมื่อเข้าถึงยุคจูแรสซิกพวกมันก็ขยายเผ่าพันธุ์ไปทั่ว
โลกในยุคนี้ผืนแผ่นดินถูกปกคลุมด้วยพืชขนาดยักษ์จ าพวกสนและเฟิร์น อย่างไรก็ตามได้เริ่มมีพืชดอกปรากฏขึ้นเป็น
ครั้งแรกในช่วงกลางของยุคนี้ นับว่าเป็นจุดเริ่มของการขยายพันธุ์รูปแบบใหม่ของพวกพืช ยุคจูแรสซิกนับได้ว่าเป็นยุค
ที่พวกไดโนเสาร์คอยาวตระกูลซอโรพอด (Sauropod) ขยายเผ่าพันธุ์อย่างกว้างขวาง ไดโนเสาร์ขนาดยักษ์สายพันธุ์ที่
รู้จักกันดีก็คือ แบรกคิโอซอรัส (Brachiosaurus) ดิปโพลโดคัส (Diplodocus) และอะแพโทซอรัส (Apatosaurus)
หรืออีกชื่อคือบรอนโทซอรัส นอกจากนี้ยังมีชนิดอื่น ๆ อีกมากมายสัตว์ยัก
http://vignette3.wikia.nocookie.net/jurassicpark/images/e/ef/Jurassic_world_indomi
nus_rex_v2_by_sonichedgehog2-d9j1f9q.png/revision/latest?cb=20160229002819
วิธีด าเนินงาน
แนวทางการด าเนินงาน
1.หาหัวข้อ และเลือกหัวข้อที่สนใจ
2.สืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต และหนังสือวิชาการต่างๆ
3.จัดท าโครงงาน
4.หาปัญหา
5.แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างถูกต้อง
6.ท าเอกสารต่างๆ
7.น าเสนอผลงาน
8
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.คอมพิวเตอร์
2.อินเทอร์เน็ต
3.microsoft word 2007
งบประมาณ
-
ขั้นตอนและแผนด าเนินงาน
ล าดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดท าโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การท าเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 น าเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการท าโครงงาน)
1.เพิ่มเติมความรู้ในด้านธรณีวิทยา
2.เพิ่มความรู้เกี่ยวกับสัตว์ล้านปี
3.วิเคราะห์การแก้ไขปัญหา
4.น าความรู้ที่ได้จากเรื่องนี้ไปต่อยอดในเรื่องต่างๆได้อีก
5.เพิ่มความสามารถในการหาข้อมูลเพื่อน าไปใช้ในงานอื่นๆได้อีก
สถานที่ด าเนินการ
-ห้องสมุด
-ร้านคอมพิวเตอร์
-โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
9
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
-กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
-กลุ่มสาระการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่น ามาใช้การท าโครงงาน)
-ไดโนเสาร์ (ตอนที่ 1) ส านักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
-ไดโนเสาร์ (ตอนที่ 3) ส านักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
-เว็บไซต์นิทรรศการไดโนเสาร์ ขององค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
-บทความจากกรมทรัพยากรธรณี
-เสริมสกุล โทณะวณิก, 'ไดโนเสาร์และสัตว์ดึกด าบรรพ์ในประเทศไทย, สุวีริยาสาส์น, 2540. ISBN 9748265682.
-กรมธรณีพบชิ้นส่วนไดโนเสาร์ 200 ล้านปีที่ภูกระดึง
-ลักษณะทางกายวิภาคของไดโนเสาร์
-http://news.voicetv.co.th/thailand/31419.html

More Related Content

Similar to 2560 project-170921105704

เค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอมเค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอมMark Siwadol
 
2558 project jayjay
2558 project jayjay2558 project jayjay
2558 project jayjayjargonjam
 
2557 โครงงานคอม.
2557 โครงงานคอม.2557 โครงงานคอม.
2557 โครงงานคอม.Chontida Suwanchaiya
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน09nattakarn
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน09nattakarn
 
การฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังการฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังNichaphat Sanguthai
 
โครงงานคอม2
โครงงานคอม2โครงงานคอม2
โครงงานคอม2Kaopod Napatsorn
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์thitichaya24
 

Similar to 2560 project-170921105704 (20)

Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
เค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอมเค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอม
 
computer
computercomputer
computer
 
2558 project jayjay
2558 project jayjay2558 project jayjay
2558 project jayjay
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
2557 โครงงานคอม.
2557 โครงงานคอม.2557 โครงงานคอม.
2557 โครงงานคอม.
 
nam
namnam
nam
 
spy
spyspy
spy
 
spy
spyspy
spy
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
Cat of Siam
Cat of SiamCat of Siam
Cat of Siam
 
เค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอมเค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอม
 
การฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังการฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการัง
 
โครงงานคอม2
โครงงานคอม2โครงงานคอม2
โครงงานคอม2
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
 
History of the world
History of the worldHistory of the world
History of the world
 

More from xQler

ตอง
ตองตอง
ตองxQler
 
เป็ด
เป็ดเป็ด
เป็ดxQler
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4xQler
 
กิจกรรมที่ 3
กิจกรรมที่ 3กิจกรรมที่ 3
กิจกรรมที่ 3xQler
 
กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 2กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 2xQler
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1xQler
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานxQler
 
59100b296f08176ad3bd2c1615489253
59100b296f08176ad3bd2c161548925359100b296f08176ad3bd2c1615489253
59100b296f08176ad3bd2c1615489253xQler
 
0 computer crime-no2-act
0 computer crime-no2-act0 computer crime-no2-act
0 computer crime-no2-actxQler
 
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ 22
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ 22พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ 22
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ 22xQler
 
ใบงานสำรวจตนเอง 22
ใบงานสำรวจตนเอง 22ใบงานสำรวจตนเอง 22
ใบงานสำรวจตนเอง 22xQler
 
ใบงานสำรวจตนเอง 22
ใบงานสำรวจตนเอง 22ใบงานสำรวจตนเอง 22
ใบงานสำรวจตนเอง 22xQler
 
งานชิ้นที่ 1 _12
งานชิ้นที่ 1 _12งานชิ้นที่ 1 _12
งานชิ้นที่ 1 _12xQler
 

More from xQler (13)

ตอง
ตองตอง
ตอง
 
เป็ด
เป็ดเป็ด
เป็ด
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
 
กิจกรรมที่ 3
กิจกรรมที่ 3กิจกรรมที่ 3
กิจกรรมที่ 3
 
กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 2กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 2
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
59100b296f08176ad3bd2c1615489253
59100b296f08176ad3bd2c161548925359100b296f08176ad3bd2c1615489253
59100b296f08176ad3bd2c1615489253
 
0 computer crime-no2-act
0 computer crime-no2-act0 computer crime-no2-act
0 computer crime-no2-act
 
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ 22
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ 22พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ 22
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ 22
 
ใบงานสำรวจตนเอง 22
ใบงานสำรวจตนเอง 22ใบงานสำรวจตนเอง 22
ใบงานสำรวจตนเอง 22
 
ใบงานสำรวจตนเอง 22
ใบงานสำรวจตนเอง 22ใบงานสำรวจตนเอง 22
ใบงานสำรวจตนเอง 22
 
งานชิ้นที่ 1 _12
งานชิ้นที่ 1 _12งานชิ้นที่ 1 _12
งานชิ้นที่ 1 _12
 

2560 project-170921105704

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน ไดโนเสาร์ (Dinosaur) ชื่อผู้ทำโครงงาน นายธนัตถ์ ใจกว้าง เลขที่ 13 ชั้น ม.6 ห้อง 15 นายณัฐกรธ์ อัศวธีรศักดิ์ เลขที่ 22 ชั้น ม.6 ห้อง15 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดำเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทำข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นาย ธนัตถ์ ใจกว้าง เลขที่ 13 2.นายณัฐกรธ์ อัศวธีรศักดิ์ เลขที่ 21 ค าชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) -ไดโนเสาร์ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) -Dinosaur ประเภทโครงงาน - โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ท าโครงงาน - นาย ธนัตถ์ ใจกว้าง ชื่อที่ปรึกษา - นาย ณัฐกรธ์ อัศวธีรศักดิ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - นาย ณัฐปรัชญ์ รักสวน ระยะเวลาด าเนินงาน - 1-2 สัปดาห์ ที่มาและความส าคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการท าโครงงาน) ที่มาของการศึกษาเรื่องไดโนเสาร์ของผม คือ การได้ไปท่องเที่ยวที่พิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ที่ต่างจังหวัด และได้ศึกษาที่มาที่ไปของมันรวมทั้งรอยเท้าของมัน นอกจากจะได้ความรู้ในเรื่องไดโนเสาร์แล้ว ยังได้ความรู้ เรื่อง ธรณีวิทยามาด้วย เช่น ชั้นของดินสามารถบ่งบอกอายุของไดโนเสาร์ตัวนี้ได้ ยกตัวอย่างคือชั้นดินมีการ ปกคลุมเป็นชั้นๆ(และจะแบ่งสีของดินได้ชัดเจน) ถ้าชั้นดินยิ่งลึกเท่าไหร่ก็จะสามารถบ่งบอกอายุของดินได้ เช่น ในชั้นดินที่10 (ที่มีอายุของดินประมาณ 1ล้านปีที่แล้ว) และถ้ามีซากไดโนเสาร์อยู่ในชั้นนั้น นักวิทยาศาสตร์จะ ประมาณอายุของไดโนเสาร์ตัวนี้ว่ามีอายุประมาณ 1ล้านปีที่แล้ว และในไทยมีช่วงปี พ.ศ.2519 เกิดข่าวที่ดัง มากใน เขตอ าเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น มีการค้นพบซากของไดโนเสาร์ที่มีชื่อว่า ซอโรพอต มีความยาว ประมาณ 15 เมตร ซึ่งนับว่าเป็น ซากไดโนเสาร์ตัวแรกที่ถูกค้นพบในประเทศไทย นั้นตอนนั้นถือว่าเป็นข่าวที่
  • 3. 3 ถูก ทั่วโลกจับตามองไดโนเสาร์ในประเทศไทย ถ้าสังเกต ไดโนเสาร์ที่ถูกค้นพบในไทยมักจะพบในพื้นที่ แถบ ภาคอีสาน เพราะแถวอีสานจะเป็นที่ราบ ซึ่งไดโนเสาร์ชอบที่ราบ ในภาคเหนือจึงไม่พบซากไดโนเสาร์เลยแม้แต่ตัวเดียว เพราะสภาพแวดล้อมเป็นภูเขา และป่าไดโนเสาร์จึงไม่ค่อยจะอยู่ในแถบภาคเหนือสักเท่าไหร่ วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการท าโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพิ่มเติมความรู้ในด้านธรณีวิทยา 2.เพิ่มความรู้เกี่ยวกับสัตว์ล้านปี 3.วิเคราะห์การแก้ไขปัญหา 4.น าความรู้ที่ได้จากเรื่องนี้ไปต่อยอดในเรื่องต่างๆได้อีก 5.เพิ่มความสามารถในการหาข้อมูลเพื่อน าไปใช้ในงานอื่นๆได้อีก ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจ ากัดของการท าโครงงาน) -ไม่สามารถน าไดโนเสาร์ตัวเป็นๆมาให้ดูได้ -พิพิธภัณฑ์อยู่ค่อนข้างไกล จึงไม่สามารถหาข้อมูลได้มากนัก -งานการวิจัยส่วนใหญ่เป็นภาษาอังกฤษจึงค่อนข้างยากในการหาข้อมูลมาลง หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการท าโครงงาน) ไดโนเสาร์ (dinosaur) เป็นชื่อเรียกโดยรวมของสัตว์ดึกด าบรรพ์ในอันดับใหญ่ Dinosauria ซึ่งเคยครอง ระบบนิเวศบนพื้นพิภพ ในมหายุคมีโซโซอิก เป็นเวลานานถึง 165 ล้านปี ก่อนจะสูญพันธุ์ ไปเมื่อ 65 ล้านปีที่แล้ว คน ส่วนใหญ่เข้าใจว่าไดโนเสาร์เป็นสัตว์เลื้อยคลาน แต่อันที่จริงไดโนเสาร์เป็นสัตว์ในอันดับหนึ่งที่มีลักษณะก้ ากึ่งระหว่าง สัตว์เลื้อยคลานและนก ค าว่า ไดโนเสาร์ ในภาษาอังกฤษ dinosaur ถูกตั้งขึ้นโดย เซอร์ ริชาร์ด โอเวน นักบรรพชีวิน วิทยา ชาวอังกฤษ ซึ่งเป็นการผสมของค าในภาษากรีกสองค า คือค าว่า (ใหญ่จนน่าสะพรึงกลัว) และค าว่า sauros (สัตว์เลื้อยคลาน) หลายคนเข้าใจผิดว่า ไดโนเสาร์ คือสัตว์ที่อาศัยอยู่ในมหายุคมีโซโซอิกทั้งหมด แต่จริง ๆ แล้ว ไดโนเสาร์ คือสัตว์ชนิดหนึ่งที่อาศัยอยู่บนพื้นดินเท่านั้น สัตว์บกบางชนิดที่คล้ายไดโนเสาร์ สัตว์น้ าและสัตว์ปีกที่มี ลักษณะคล้ายไดโนเสาร์ ไม่ถือว่าเป็นไดโนเสาร์ เป็นเพียงสัตว์ชนิดที่อาศัยอยู่ในยุคเดียวกับไดโนเสาร์เท่านั้น
  • 4. 4 https://f4.jarm.com/news/00/1k/jr/1481267962_11.jpg ประวัติการค้นพบ มนุษย์ค้นพบซากดึกด าบรรพ์ไดโนเสาร์มาเป็นเวลานับพันปีแล้ว แต่ยังไม่มีผู้ใดเข้าใจอย่าง ถ่องแท้ว่าเศษซากเหล่านี้เป็นของสัตว์ชนิดใด และพากันคาดเดาไปต่าง ๆ นานา ชาวจีนมีความคิดว่านี่คือกระดูกของ มังกร ขณะที่ชาวยุโรปเชื่อว่านี่เป็นสิ่งหลงเหลือของสัตว์ที่สูญพันธุ์ไปเมื่อครั้งเกิดน้ าท่วมโลกครั้งใหญ่ จนกระทั่งเมื่อมี การค้นพบซากดึกด าบรรพ์ในปี ค.ศ. 1822 โดย กิเดียน แมนเทล นักธรณีวิทยาชาวอังกฤษ ไดโนเสาร์ชนิดแรกของ โลกจึงได้ถูกตั้งชื่อขึ้นว่า อิกัวโนดอน เนื่องจากซากดึกด าบรรพ์นี้มีลักษณะละม้ายคล้ายคลึงกับโครงกระดูกของตัวอิกัว นาในปัจจุบัน สองปีต่อมา วิลเลียม บักแลนด์ ศาสตราจารย์ด้านธรณีวิทยา ประจ ามหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด ก็ได้เป็น คนแรกที่ตีพิมพ์ข้อเขียนอธิบายเกี่ยวกับไดโนเสาร์ในวารสารทางวิทยาศาสตร์ โดยเป็นไดโนเสาร์ชนิด เมกะโลซอรัส บักแลนดี และการศึกษาซากดึกด าบรรรพ์ของสัตว์พวกกิ้งก่า ขนาดใหญ่นี้ก็ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จาก นักวิทยาศาสตร์ทั้งในยุโรปและอเมริกา จากนั้นในปี ค.ศ. 1842 เซอร์ ริชาร์ด โอเวน เห็นว่าซากดึกด าบรรพ์ขนาด ใหญ่ที่ถูกค้นพบมีลักษณะหลายอย่างร่วมกัน จึงได้บัญญัติค าว่า ไดโนเสาร์ เพื่อจัดให้สัตว์เหล่านี้อยู่ในกลุ่ม อนุกรมวิธานเดียวกัน นอกจากนี้ เซอร์ริชาร์ด โอเวน ยังได้จัดตั้งพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ ขึ้น ที่เซาท์เคนซิง ตัน กรุงลอนดอน เพื่อแสดงซากดึกด าบรรพ์ไดโนเสาร์
  • 5. 5 http://www.majorcineplex.com/uploads/content/images/tyrannosaurus-rex-info-graphic.png ลักษณะทางชีววิทยา ไดโนเสาร์เป็นสัตว์เลื้อยคลานขนาดยักษ์ซึ่งพวกมันมีผิวหนังที่ปกคลุมเป็นเกล็ด เช่นเดียวกับ งู จระเข้ หรือ เต่า กระเพาะอาหารของไดโนเสาร์กินพืช มักมีขนาดใหญ่แต่อย่างไรก็ตามเนื่องจาก เซลลูโลสของพืชท าให้บางครั้งมันจึงต้องกลืนก้อนหินไปช่วยย่อย ส่วนไดโนเสาร์กินเนื้อจะย่อยอาหาร ได้เร็วกว่า แต่ กระนั้น ข้อมุลของไดโนเสาร์ยังไม่ทราบแน่ชัดนัก เนื่องจากไดโนเสาร์สูญพันธ์ไปหมดเหลือเพียงซากดึกด าบรรพ์ ดังนั้น นักบรรพชีวินวิทยาจึงต้องใช้ซากฟอสซิลนี้ในการสันนิษฐานของ ข้อมูลต่าง ๆ พฤติกรรม การล่าเหยื่อ และการ ด ารงชีวิตของไดโนเสาร์ขึ้นมาซึ่งอาจจะไม่ตรงกับความเป็นจริงเท่าไรนัก วิวัฒนาการ บรรพบุรุษของไดโนเสาร์คือ อาร์โคซอร์ (archosaur) ซึ่งไดโนเสาร์เริ่มแยกตัวออกมาจากอาร์โค ซอร์ในยุค ไทรแอสซิก ไดโนเสาร์ชนิดแรกถือก าเนิดขึ้นราว ๆ 230 ล้านปีที่แล้ว หรือ 20 ล้านปี หลังจากเกิดการสูญ พันธุ์เพอร์เมียน-ไทรแอสซิก ซึ่งคร่าชีวิตของสิ่งมีชีวิตทั้งหมดบนโลกสมัยนั้นไปกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ สายพันธุ์ไดโนเสาร์ แพร่กระจายอย่างรวดเร็วหลังยุคไทรแอสซิก กล่าวได้ว่าในยุคทองของไดโนเสาร์ (ยุคจูแรสซิก และยุคครีเทเชียส) ทุก สิ่งมีชีวิตบนพื้นพิภพที่มีขนาดใหญ่กว่าหนึ่งเมตรคือไดโนเสาร์ จนกระทั่งเมื่อ 65 ล้านปีที่แล้ว การการสูญพันธุ์ครีเท เชียส-เทอร์เทียรี (Cretaceous-Tertiary extinction) ก็ได้กวาดล้างไดโนเสาร์จนสูญพันธุ์ เหลือเพียงไดโนเสาร์บาง สายพันธุ์ที่เป็นบรรพบุรุษของนกในปัจจุบัน ยุคต่าง ๆของไดโนเสาร์ มหายุคมีโซโซอิก (Mesaozoic Era) 65-225 ล้านปี ในยุคนี้มี 3 ยุค คือ ยุคไทรแอสซิก ยุคจูแรสซิก และยุคครีเทเชียส ในยุคไทรแอสซิกนี้ สภาพอากาศในขณะนั้น จะมี สภาพร้อนและแล้งมากขึ้นกว่าในอดีต ท าให้ต้นไม้ใหญ่น้อยในเขตร้อนสามารถเจริญเติบโตได้ ดีมาก จนกระทั่ง ไดโนเสาร์ตัวแรกได้ถือก าเนิดขึ้นมาบนโลกนี้ ไดโนเสาร์กลุ่มแรกที่ได้ก าเนิดขึ้นมาจะมีขนาดเล็ก เดิน 2 เท้า และมี
  • 6. 6 ลักษณะพิเศษ คือ เท้ามีลักษณะคล้ายกับเท้าของนก ต่อมาในยุคจูแรสซิกนี้จัดว่าเป็นยุคที่เฟื่องฟูเป็นอย่างมาก บรรดาพืชพรรณธัญญาหารที่อุดมสมบูรณ์ ท าให้ไดโนเสาร์จ านวนมากขยายพันธุ์ไปอย่างรวดเร็ว ท าให้มีร่างกาย ใหญ่โต ซึ่งส่วนใหญ่จะกินพืชเป็นอาหาร และนกยังได้ถือก าเนิดขึ้นมาเป็นครั้งแรกในยุคนี้อีกด้วย ต่อมาในยุคครีเท เชียสนี้ จัดว่า เป็นยุคที่ไดโนเสาร์นั้นรุ่งเรื่องที่สุด เพราะยุคนี้ไดโนเสาร์ได้มีการพัฒนาพันธุ์ออกมาอย่างมากมาย https://f.ptcdn.info/483/032/000/1434429914-IndominusR-o.png ยุคของไดโนเสาร์ ยุคไทรแอสซิก การครอบครองโลกของไดโนเสาร์ในยุคนี้โลกถูกปกคลุมด้วยป่าไม้จ านวน มาก พืชตระกูลที่ใช้สปอร์ในการขยายพันธ์ประสบความส าเร็จและมีวิวัฒนาการถึงขั้นสูงสุด ในป่ายุคไทรแอสซิก ช่วงแรกนั้นมีสัตว์ใหญ่ไม่มากนักสัตว์ปีกที่ใหญ่ที่สุดคือแมลงปอยักษ์ที่ปีกกว้างถึง2ฟุตและได้ชื่อว่าเป็นนักล่าเวหาเพียง ชนิดเดียวของยุคนี้ เนื่องจากในช่วงปลายของยุคเปอร์เมียนเกิดการสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ของสิ่งมีชีวิตท าให้พวก สัตว์เลื้อยคลานกึ่งเลี้ยงลูกด้วยนมจ านวนมาก สูญพันธุ์ไปพวกที่เหลือได้สืบทอดเผ่าพันธุ์มาจนถึงต้นยุคไทรแอสซิกใน กลุ่มสัตว์เหล่านี้เจ้าซินนอกนาตัสเป็นสัตว์นักล่าที่น่าเกรงขามที่สุด ในหมู่พวกมันและในช่วงนี้เองไดโนเสาร์ก็ถือก าเนิด ขึ้นโดยพวกมันวิวัฒนาการมาจากสัตว์เลื้อยคลานที่เดินด้วยขาหลังอย่างเจ้าธีโคดอนซึ่งถือกันว่าเป็นบรรพบุรุษของ ไดโนเสาร์ การสูญพันธ์ครั้งใหญ่ในยุคเปอร์เมียนท าให้พวกมันสามารถขยายเผ่าพันธุ์ได้อย่างมากมายในช่วงต้นยุคไทร แอสซิกและกลายมาเป็นคู่แข่งของพวกสัตว์เลื้อยคลานกึ่งเลี้ยงลูกด้วยนมที่เหลือ ไดโนเสาร์ในยุคแรกเป็นพวกเดินสอง ขา เช่น พลาทีโอซอร์ ไดโนเสาร์กินพืชคอยาวที่เป็นบรรพบุรุษของพวก ซอโรพอด หรือเจ้าซีโลไฟซิส บรรพบุรุษของ พวกกินเนื้อ นักล่าสองขาความสูง 1 เมตร การที่มันสามารถเคลื่อนไหวได้ด้วยสองขาหลังท าให้พวกมันมีความ คล่องตัวในการล่าสูงกว่า ซินนอกนาตัส หรืออีรีโทรซูคัสที่ยาวถึง 15 ฟุตซึ่งมีกรามขนาด ใหญ่และแข็งแรงนักล่า เหล่านี้ได้เปรียบซินนอกนาตัสและสัตว์เลื้อยคลานกึ่งเลี้ยงลูกด้วยนมอื่น ๆท
  • 7. 7 าให้พวกนี้ต้องวิวัฒนาการให้มีขนาดเล็กลง เพื่อที่จะหลบหนีพวกไดโนเสาร์ และหลีกทางให้เผ่าพันธุ์ไดโนเสาร์ก้าวมาครองโลกนี้แทนในที่สุด ยุคจูแรสซิก ไดโนเสาร์ครอบครองโลกได้ส าเร็จในตอนปลายยุคไทรแอสซิก จนเมื่อเข้าถึงยุคจูแรสซิกพวกมันก็ขยายเผ่าพันธุ์ไปทั่ว โลกในยุคนี้ผืนแผ่นดินถูกปกคลุมด้วยพืชขนาดยักษ์จ าพวกสนและเฟิร์น อย่างไรก็ตามได้เริ่มมีพืชดอกปรากฏขึ้นเป็น ครั้งแรกในช่วงกลางของยุคนี้ นับว่าเป็นจุดเริ่มของการขยายพันธุ์รูปแบบใหม่ของพวกพืช ยุคจูแรสซิกนับได้ว่าเป็นยุค ที่พวกไดโนเสาร์คอยาวตระกูลซอโรพอด (Sauropod) ขยายเผ่าพันธุ์อย่างกว้างขวาง ไดโนเสาร์ขนาดยักษ์สายพันธุ์ที่ รู้จักกันดีก็คือ แบรกคิโอซอรัส (Brachiosaurus) ดิปโพลโดคัส (Diplodocus) และอะแพโทซอรัส (Apatosaurus) หรืออีกชื่อคือบรอนโทซอรัส นอกจากนี้ยังมีชนิดอื่น ๆ อีกมากมายสัตว์ยัก http://vignette3.wikia.nocookie.net/jurassicpark/images/e/ef/Jurassic_world_indomi nus_rex_v2_by_sonichedgehog2-d9j1f9q.png/revision/latest?cb=20160229002819 วิธีด าเนินงาน แนวทางการด าเนินงาน 1.หาหัวข้อ และเลือกหัวข้อที่สนใจ 2.สืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต และหนังสือวิชาการต่างๆ 3.จัดท าโครงงาน 4.หาปัญหา 5.แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างถูกต้อง 6.ท าเอกสารต่างๆ 7.น าเสนอผลงาน
  • 8. 8 เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.คอมพิวเตอร์ 2.อินเทอร์เน็ต 3.microsoft word 2007 งบประมาณ - ขั้นตอนและแผนด าเนินงาน ล าดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดท าโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การท าเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 น าเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการท าโครงงาน) 1.เพิ่มเติมความรู้ในด้านธรณีวิทยา 2.เพิ่มความรู้เกี่ยวกับสัตว์ล้านปี 3.วิเคราะห์การแก้ไขปัญหา 4.น าความรู้ที่ได้จากเรื่องนี้ไปต่อยอดในเรื่องต่างๆได้อีก 5.เพิ่มความสามารถในการหาข้อมูลเพื่อน าไปใช้ในงานอื่นๆได้อีก สถานที่ด าเนินการ -ห้องสมุด -ร้านคอมพิวเตอร์ -โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
  • 9. 9 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง -กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ -กลุ่มสาระการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่น ามาใช้การท าโครงงาน) -ไดโนเสาร์ (ตอนที่ 1) ส านักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี -ไดโนเสาร์ (ตอนที่ 3) ส านักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี -เว็บไซต์นิทรรศการไดโนเสาร์ ขององค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ -บทความจากกรมทรัพยากรธรณี -เสริมสกุล โทณะวณิก, 'ไดโนเสาร์และสัตว์ดึกด าบรรพ์ในประเทศไทย, สุวีริยาสาส์น, 2540. ISBN 9748265682. -กรมธรณีพบชิ้นส่วนไดโนเสาร์ 200 ล้านปีที่ภูกระดึง -ลักษณะทางกายวิภาคของไดโนเสาร์ -http://news.voicetv.co.th/thailand/31419.html