SlideShare a Scribd company logo
1 of 208
ความเหลื่อมล้ำ
ฉบับพกพา
โดย
สฤณี อาชวานันทกุล
บรรณาธิการ: ณัฐเมธี สัยเวช
ผูจัดเตรียมขอมูล: อิสริยะ สัตกุลพิบูลย
และ กอปรทิพย อัจฉริยโสภณ
คำนำ
ผูเขียนรูสึกเปนเกียรติอยางยิ่งที่ไดรับความไววางใจจากคณะ
กรรมการสมัชชาปฏิรูป ใหเขียนหนังสือ “ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา”
เพื่อสรุปสถานการณ มุมมอง ขอถกเถียง และแนวทางแกไขเกี่ยวกับ
ความเหลื่อมล้ำในมิติตางๆ ที่ปรากฏในประเทศไทย
คำถามที่วาความเหลื่อมล้ำในแตละมิตินั้นเปน “ปญหา” หรือไม
ถาใช เราควรแกไข “อยางไร” เปนประเด็นที่มีหลากหลายมุมมองและ
ความคิด การอภิปรายนานาทัศนะในเรื่องนี้ใหครอบคลุมพอที่จะยังใช
คำวา “พกพา” ไดโดยที่ผูเขียนไมรูสึกตะขิดตะขวง เปนภารกิจที่เหลือ
วิสัยและเกินสติปญญาของผูเขียน ดวยเหตุนี้ผูเขียนจึงเลือกที่จะให
น้ำหนักกับการนำเสนอขอเท็จจริงและลักษณะของความเหลื่อมล้ำ
ตางๆ โดยเฉพาะความเหลื่อมล้ำที่ชี้ใหเห็นปญหาเชิงโครงสราง รวมถึง
อธิบายความเกี่ยวโยงระหวางความเหลื่อมล้ำแตละประเภท มากกวาที่
จะแจกแจงทางเลือกตางๆ ของแนวทางแกไขอยางครบถวน
อยางไรก็ดี ผูเขียนเชื่อมั่นวา ไมวาคนไทยจะมองเรื่องความ
เหลื่อมล้ำตางกันอยางไร อนาคตที่เปนธรรมและยั่งยืนยอมขึ้นอยูกับวา
เราจะสามารถเปลี่ยนแปลงเปาหมายการพัฒนาไดหรือไม จากการยึด
เอาอัตราการเติบโตของผลผลิตมวลรวมในประเทศ (จีดีพี) เปนสรณะ
เพียงหนึ่งเดียว หันไปกำหนดให “การพัฒนามนุษย” เปนเปาหมายที่
สำคัญและสูงสงกวา ซึ่งก็หมายความวาเราจะตองคำนึงถึงปจจัยอื่นๆ
ควบคูไปกับจีดีพี อาทิ การกระจายประโยชนจากการพัฒนาเศรษฐกิจ
คุณภาพของระบบการศึกษาและสาธารณสุข โอกาสในการเขาถึง
กระบวนการยุติธรรม อิสรภาพในการใชสิทธิพลเมือง และเสรีภาพจาก
การถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน
นอกจากนี้ ผูเขียนเชื่อวามาตรการใดๆ ก็ตามที่มีเปาหมายอยูที่
การลดความเหลื่อมล้ำ ไมอาจสัมฤทธิ์ผลสมดังความมุงหวังได ถาหาก
เรายังไมหาวิธีบรรเทาปญหาคอรัปชั่นที่แทรกซึมในทุกระดับชั้นและทุก
วงการในสังคมไทยอยางจริงจัง เนื่องจากคอรัปชั่นเปรียบดังสนิมที่คอย
กัดกรอนประสิทธิผลและประสิทธิภาพของนโยบายและโครงการตางๆ
และทำใหความเหลื่อมล้ำดานรายไดคอยซ้ำเติมความเหลื่อมล้ำดานอื่น
ใหเลวรายลง โดยเฉพาะความเหลื่อมล้ำดานโอกาสในการเขาถึงและได
รับความยุติธรรม เนื่องจากคอรัปชั่นเดินไดดวยเงิน คนจนที่ไมมีเงินจึง
ไมอาจไดรับประโยชนจากกลไกคอรัปชั่น
ทายนี้ ผูเขียนขอขอบคุณนักวิชาการและนักวิจัยทุกทานที่ผูเขียน
อางถึงในหนังสือเลมนี้ สำหรับการทำงานที่มีคุณูปการอยางยิ่งตอสังคม
ไทยและผูเขียน ขอขอบคุณ อิสริยะ สัตกุลพิบูลย, ณัฐเมธี สัยเวช และ
กอปรทิพย อัจฉริยโสภณ คณะผูชวยที่ไดรวมแรงรวมใจกันทำงานอยาง
แข็งขันเพื่อใหขอมูลในหนังสือเลมนี้สมบูรณที่สุดเทาที่จะเปนไปได
ภายในเวลากระชั้นชิด หากเนื้อหายังมีที่ผิดพลาดประการใด ยอมเปน
ความผิดของผูเขียนเพียงลำพัง ตองขออภัยไว ณ ที่นี้
สฤณี อาชวานันทกุล
http://www.fringer.org/
11 กุมภาพันธ 2554
บทนำ 12
นิทานสมจริง 12
แนวคิดหลักวาดวยความเหลื่อมล้ำ 21
ความเหลื่อมล้ำกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย 29
บทที่ 1 38
1.1 ความเหลื่อมล้ำดานรายได 38
1.2 ความเหลื่อมล้ำดานทรัพยสิน 45
1.3 ความเหลื่อมล้ำดานโครงสรางภาษี 51
กรณีศึกษา 1: สิทธิประโยชนของโครงการไอพีสตาร 59
1.4 ความเหลื่อมล้ำเชิงพื้นที่: 61
งบประมาณและการเขาถึงสินเชื่อในระบบ
1.5 ความไมเทาเทียมในการแขงขัน 66
แนวทางลดความเหลื่อมล้ำดานเศรษฐกิจ 76
บทที่ 2 80
2.1 ที่ดินและปาไม 83
2.2 น้ำ 91
2.3 ไฟฟา 99
2.4 สิทธิชุมชน vs. สิทธิอุตสาหกรรม 102
แนวทางลดความเหลื่อมล้ำดานทรัพยากร 109
สารบัญ
บทที่ 3 118
3.1 สิทธิและโอกาสในการรับบริการสาธารณะ 121
3.1.1 การศึกษา 123
3.1.2 บริการสาธารณสุข 137
3.1.3 คมนาคม 143
3.2 สิทธิและโอกาสในการไดรับความยุติธรรม 146
3.3 สิทธิและโอกาสของเด็ก เยาวชน สตรี 158
ผูสูงอายุ คนพิการ และผูดอยโอกาส
3.3.1 เด็กและผูสูงอายุ 160
3.3.2 เยาวชน 164
3.3.3 สตรี 168
3.3.4 ผูพิการ 177
3.3.5 แรงงานตางดาว และบุคคลไรสัญชาติ 179
3.4 สิทธิและโอกาสในการมีสวนรวมทางการเมือง 182
แนวทางลดความเหลื่อมล้ำดานสิทธิและโอกาส 190
สารบัญแผนภูมิ
แผนภูมิ 1 ขั้นบันไดรายไดตอเดือน และจำนวนสินคาที่มีในครัวเรือน 31
แผนภูมิ 2 สัดสวนรายไดของประชากร จำแนกตามระดับรายได 39
5 ระดับ (Income Quintile) ระหวางป 2531 ถึง 2552
แผนภูมิ 3 รายไดเฉลี่ยตอคนตอเดือน จำแนกตามระดับรายได 40
5 ระดับ (Income Quintile) ระหวางป 2531 ถึง 2552
แผนภูมิ 4 สัดสวนรายไดเฉลี่ยของกลุมประชากรที่รวยที่สุด 41
รอยละ 20 ตอประชากรที่จนที่สุดรอยละ 20 เปรียบเทียบกับ
สัดสวนคนยากจน และรายไดเฉลี่ยตอคนตอเดือน แบงตามจังหวัด
ป 2552
แผนภูมิ 5 การเติบโตของผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ 42
(จีดีพี) และคาจางจริง ระหวางป 2544 ถึง 2553
แผนภูมิ 6 ทรัพยสินครัวเรือน แบงตามฐานะ ป 2549 46
แผนภูมิ 7 หนี้สิน รายได และคาใชจายครัวเรือน 49
และอัตราการเติบโตของหนี้และรายได ระหวางป 2543 ถึง 2552
แผนภูมิ 8 รายไดและคาใชจายเฉลี่ยตอคนตอเดือน 50
และสัดสวนครัวเรือนที่มีหนี้สิน ป 2552
แผนภูมิ 9 สัดสวนรายไดภาษีตอจีดีพี 52
และรายไดตอหัวของประชากรไทย ระหวางป 2535 ถึง 2552
แผนภูมิ 10 สัดสวนผูเสียภาษีตอประชากรกำลังแรงงาน 53
เปรียบเทียบกับสัดสวนรายไดเฉลี่ยของประชากรที่รวยที่สุด
รอยละ 20 ตอประชากรที่จนที่สุดรอยละ 20
แผนภูมิ 11 การประเมินการสูญเสียภาษีรายได 56
จากคาลดหยอนบางประเภท
แผนภูมิ 12 สัดสวนภาระภาษีตอยอดขาย 58
จำแนกตามประเภท ขนาด และประเภทอุตสาหกรรม
ของบริษัทนอกตลาดหลักทรัพย ป 2551
แผนภูมิ 13 อัตราความเปนเมือง และจำนวนประชากร 62
คนเมืองตามลำดับที่ของเมือง เปรียบเทียบระหวางไทย
เกาหลีใต มาเลเซีย และอินโดนีเซีย
แผนภูมิ 14 รายไดของครัวเรือนเฉลี่ยตอหัว ป 2550 62
แยกตามสาขาอาชีพและภูมิภาค
แผนภูมิ 15 ผลิตภัณฑมวลรวมตอคนตอป 63
และงบประมาณรัฐตอคนตอป ป 2553
แผนภูมิ 16 เปรียบเทียบผลิตภัณฑมวลรวมตอคนตอป 64
และงบประมาณรัฐตอคนตอปรายจังหวัด ป 2553
แผนภูมิ 17 ยอดสินเชื่อคงคางในระบบธนาคารพาณิชย 65
จำแนกตามจังหวัด ณ 30 พฤศจิกายน 2553
แผนภูมิ 18 รายไดของบริษัทจำกัด จำแนกตามกลุมรายได 68
ระหวางป 2548 ถึง 2550
แผนภูมิ 19 บริษัทที่ใหญที่สุด 20 แหง 69
ในตลาดหลักทรัพยโดยมูลคาตลาด ป 2539 และ 2553
แผนภูมิ 20 สรุปความสัมพันธระหวางกลุมธุรกิจเอกชน 75
นักการเมือง และคณะกรรมการแขงขันทางการคา
แผนภูมิ 21 สัดสวนของการถือครองที่ดิน 84
ของผูครองที่ดิน 50 อันดับแรก ใน 8 จังหวัด ป 2552
แผนภูมิ 22 พื้นที่ที่ไดรับผลกระทบจากอุทกภัย 93
ในภาคกลาง เดือนกันยายนถึงพฤศจิกายน 2553 (ไร)
แผนภูมิ 23 พื้นที่ที่ไดรับผลกระทบจากอุทกภัย 94
ป 2549, 2551 และ 2553
แผนภูมิ 24 สัดสวนการใชพลังงานไฟฟา 102
ตอประชาชน 1 คนในแตละจังหวัด ป 2552
แผนภูมิ 25 ตำแหนงแหลงกำเนิดมลพิษ จังหวัดระยอง 108
แผนภูมิ 26 คาจางเฉลี่ยตอเดือนในป 2550 124
แยกตามระดับการศึกษาและอายุ
แผนภูมิ 27 จำนวนปที่ประชากรอายุ 15 ปขึ้นไป 127
ไดรับการศึกษา ป 2549
แผนภูมิ 28 ลักษณะเดนของผูที่มีการศึกษาสูงสุดรอยละ 20 128
และต่ำสุดรอยละ 20 เทียบกับคาเฉลี่ยของผูที่อยูในวัยเดียวกัน
ป 2549
แผนภูมิ 29 ผลการประเมิน PISA ระหวางป 2543 131
ถึง 2552 (คะแนนเต็ม = 800)
แผนภูมิ 30 คะแนนการอาน PISA รายภาค 132
เปรียบเทียบป 2543 กับ 2552
แผนภูมิ 31 คะแนนคณิตศาสตรและวิทยาศาสตร PISA รายภาค 133
เปรียบเทียบป 2546 กับ 2552
แผนภูมิ 32 คาดัชนีทรัพยากรการเรียนของ 134
นักเรียนกลุมสูงและกลุมต่ำ เปรียบเทียบป 2546 กับ 2552
แผนภูมิ 33 การกระจายผลประโยชนทางการศึกษา 136
จำแนกตามประเภทสถานศึกษา และชวงชั้นรายได ป 2552
แผนภูมิ 34 อัตราการตายเด็กอายุ 5 ป แบงตามชั้นรายได 139
ป 2533 และ 2548
แผนภูมิ 35 มูลคาและสัดสวนการกระจายผลประโยชน 140
ตามชั้นรายไดและประเภทสวัสดิการของผูปวยนอกและผูปวยใน
ป 2552
แผนภูมิ 36 อัตราสวนประชากรตอเตียงผูปวยทั่วไปและ 143
ตอเจาหนาที่ทางการแพทยและสาธารณสุขบางประเภท
ในกรุงเทพมหานคร และจังหวัดอื่น ป 2547 ถึง 2551
แผนภูมิ 37 สัดสวนการกระจายผลประโยชนจากรายจาย 145
สาขาการขนสงของภาครัฐ แบงตามกลุมรายได
ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ป 2552
แผนภูมิ 38 สัดสวนรายจายภาครัฐที่เกี่ยวกับการคมนาคม 145
สำหรับผูมีรายไดมากที่สุดรอยละ 20 ตอผูมีรายไดต่ำที่สุด
รอยละ 20 ในแตละภูมิภาค (หนวย: เทา)
แผนภูมิ 39 จำนวนครัวเรือน 6 ประเภทและอัตราการเติบโต 162
ระหวางป 2529 ถึง 2549
แผนภูมิ 40 รอยละของประชากรที่พิการอายุตั้งแต 15 ปขึ้นไป 177
จำแนกตามการมีงานทำ อาชีพ และกลุมอายุ ป 2550
แผนภูมิ 41 สัดสวนประชากรผูพิการที่มีความลำบาก 178
ในการดูแลตัวเองที่มีผูดูแลและไมมีผูดูแล ป 2550
ความเหลื่อมล้ำเชิงพื้นที่
ความเชื่อมโยงระหวางความเหลื่อมล้ำดานตางๆ
สงผลกระทบสองทาง
เนื่องจากคอรัปชั่น
ความเหลื่อมล้ำ
ดานทรัพยากร
ความเหลื่อมล้ำ
ดานสิทธิและโอกาส
ในการรับบริการสาธารณะ
ความเหลื่อมล้ำ
ดานรายไดและทรัพยสิน
ความเหลื่อมล้ำ
ดานโครงสรางภาษี
ความเหลื่อมล้ำดาน
สิทธิและโอกาสการ
มีสวนรวมทางการเมือง
ความเหลื่อมล้ำดาน
สิทธิและโอกาสในการ
ไดรับความยุติธรรม
ความไมเทาเทียม
ในการแขงขัน
มนุษยเราเกิดมามีรางกายและปญญา สมอง
ไมเสมอกัน ...เมื่อเริ่มตนก็เกิดความอยุติธรรม
เสียแลวเชนนี้ ก็เปนหนาที่ของสังคมที่จะขจัด
ปดเปาความไมเสมอภาคนั้นใหนอยลงที่สุด
ที่จะกระทำได
ปวย อึ๊งภากรณ
ศีลธรรมและศาสนาในการพัฒนาชาติ,
พ.ศ. 2512
บทนำ
‘ความเหลื่อมล้ำ’ สำคัญไฉน
นิทานสมจริง
ลองมาดูชีวิตสมมุติแตสมจริงยุคตนศตวรรษที่ 21 ของ
คนไทย 2 คน –
ไพบูลย
ไพบูลยเกิดในครอบครัวชนชั้นกลางระดับบนที่กรุงเทพฯ
บิดาเปนตำรวจยศพลเอก มารดาเปนกรรมการผูจัดการบริษัท
จดทะเบียนแหงหนึ่งในตลาดหลักทรัพย เขาเปนพี่คนโต มีนองสาว
คนเดียว บิดามารดาสงเสียใหเรียนหนังสือในโรงเรียนเอกชน
ชั้นนำของประเทศตั้งแตเด็ก เสียเงินหลายแสนบาทตอปใหเขา
ไปโรงเรียนกวดวิชาและจางครูมาสอนพิเศษตัวตอตัว ไพบูลย
สอบเขาคณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย หลัง
จากจบปริญญาตรีแลวก็ไปทำงาน 2 ปในภาคการเงิน กอนบิน
ไปจบปริญญาโทดานบริหารธุรกิจจากมหาวิทยาลัยเอ็มไอที
13สฤณี อาชวานันทกุล
สหรัฐอเมริกา
หลังจากที่เขากลับมาจากอเมริกา ไพบูลยไดงานเปนรอง
ผูอำนวยการฝายวางแผนของบริษัทขนาดใหญในตลาดหุนที่มี
เครือขายโรงแรม รีสอรท และสนามกอลฟรวมกันหลายสิบแหง
ทั่วประเทศ ลำพังความสามารถของเขาก็ทำใหไดงานนี้โดยไม
ยาก แตเนื่องจากประธานเจาหนาที่บริหาร (ซีอีโอ) ของบริษัท
แหงนี้สนิทสนมกันดีกับมารดาของไพบูลยเขาจึงไดรับการแตงตั้ง
เปนรองผูอำนวยการฝายตั้งแตแรกเขา ขามหนาขามตา “ลูก
หมอ” หลายคนของบริษัทที่มีประสบการณและความรูดีกวา
ไพบูลยแตงงานกับสาวสวยจากตระกูลที่สนิทกับ
ครอบครัวของเขามาตั้งแตรุนปู ภรรยาของเขาทำงานเปน
ผูอำนวยการฝายสื่อสารองคกรของธนาคารพาณิชยขนาดใหญ
เขาและเธอมีครอบครัวที่อบอุน สะสมความมั่งคั่งอยางตอเนื่อง
ดวยการซื้อที่ดิน กรรมสิทธิ์ในอาคารชุด และหุนใน
ตลาดหลักทรัพยเมื่อโอกาสอำนวย ไพบูลยและภรรยารูสึกวา
พวกเขามีทุกสิ่งที่ตองการแลวในชีวิต ความปรารถนาเดียวที่
เหลืออยูคือ เลิกทำงานประจำกอนอายุ 50 ป จะไดมีเวลาไป
เที่ยวรอบโลก ตีกอลฟกับเพื่อนฝูง และคอยใหเงินทุนสนับสนุน
และคำปรึกษาแกลูกๆ ที่บอกวาอยากทำกิจการของตัวเอง
ไมอยากทำงานเปนนักบริหารมืออาชีพเหมือนกับพอแม ไพบูลย
เชื่อวาความมั่งคั่งและสายสัมพันธของเขาในโลกธุรกิจจะชวยให
ลูกๆ ไดทำในสิ่งที่พวกเขาปรารถนาอยางไมยากเย็นนัก
สิ่งเดียวที่ไพบูลยกังวลคือ กลัววาลูกๆ ที่ไดรับการเลี้ยงดู
อยางดีและตามใจตั้งแตเด็กจะเคยตัวจนไมขยันทำงานเพื่อ
14 ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
พิสูจนตัวเองใหเปนที่ประจักษ มัวแตเที่ยวเตรหรือใชชีวิตอยาง
ฟุงเฟอจนผลาญเงินมรดก แทนที่จะตอยอดความมั่งคั่งที่ตระกูล
ของเขาเพียรสะสมมาตั้งแตรุนปูยา
พิชัย
พิชัยเกิดในครอบครัวเกษตรกรรายยอย จังหวัด
นครราชสีมา บานของเขาเปนชาวนากันมาหลายชั่วอายุคน
ตั้งแตจำความได มีที่ดินตกทอดมาจากปูทวด 30 ไร บิดามารดา
ของเขาตองกูเงินจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ (ธกส.)
มาซื้อเมล็ดพันธุ ซื้อปุย จายคาไถนา รวมถึงจายคาใชน้ำใน
บอเก็บน้ำของเอกชนถาปไหนฝนนอยหรือไมตกเลย เนื่องจาก
ระบบชลประทานของรัฐมีไมเพียงพอตอความตองการ ทำให
บิดามารดาของเขาไมตางจากเกษตรกรสวนใหญในนครราชสีมา
ตรงที่ทำนากันปละครั้งเทานั้น ตองภาวนาใหฝนฟาตกตองตาม
ฤดูกาล
พิชัยคุนเคยกับความเสี่ยงนานัปการของอาชีพเกษตรกร
มาตั้งแตเด็ก ซึ่งมีตั้งแตความผันผวนของสินคาเกษตรในตลาด
โลก ความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติโดยเฉพาะภัยแลงและน้ำทวม
ซึ่งนับวันยิ่งทวีความผันผวนและรุนแรงมากขึ้นตามกระแสการ
เปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลก ปไหนฝนแลงก็ตองลงทุน
สูบน้ำเขานาและซื้อปุยมาใสเพิ่มเติม ยังไมนับคาน้ำมันดีเซล
สำหรับรถไถซึ่งเพิ่มสูงขึ้นทุกป ความเสี่ยง ตนทุนการเกษตร
และหนี้สินที่พอกพูนขึ้นทุกปทำใหครอบครัวของพิชัยไมเคยมี
เงินออม
15สฤณี อาชวานันทกุล
ความยากลำบากของอาชีพเกษตรกรทำใหบิดามารดา
ของเขาไมอยากใหพิชัยเจริญรอยตาม และพิชัยก็ไมอยากเปน
เกษตรกรเหมือนกัน เขาเดินทางออกจากบานไปทำงานเปน
แรงงานกอสรางในกรุงเทพฯ ทันทีที่เรียนจบมัธยม 3 ถึงแมจะ
ไดคาแรงขั้นต่ำเพียง 7,000 - 8,000 บาทตอเดือน ก็ยังดีกวา
รายไดเฉลี่ยของบิดามารดาซึ่งอยูที่เดือนละ4,000-5,000บาท
และเงินจำนวนนี้ตองเลี้ยงดูทั้งครอบครัว พิชัยรูดีวาเขาจะมี
โอกาสมีรายไดมากกวานี้สองเทาถาไดงานเปนพนักงานบริษัท
แตโอกาสที่จะไดงานก็คอนขางนอยเพราะเขาไมมีปริญญา พิชัย
จึงกูเงินมาเชารถแท็กซี่ขับ คอยๆ ขยับฐานะจนเปนชนชั้นกลาง
ระดับลางในกรุงเทพฯ
ตั้งแตเริ่มขับรถแท็กซี่ พิชัยพยายามออมเงินใหไดมาก
ที่สุด เขาสงเงินสวนหนึ่งกลับไปใหบิดามารดาทุกเดือนเพื่อ
ชวยออกคาใชจายในบาน จางคนมาทำนาเพราะทำเองไมไหว
แลว และเปนคาเลี้ยงดูลูกซึ่งเขาฝากใหบิดามารดาชวยดูแล
เนื่องจากทั้งเขาและภรรยาตองทำงาน ไมมีรายไดพอที่จะจาง
คนเลี้ยง เงินออมของพิชัยและภรรยามากพอที่จะสงใหลูกเรียน
จบ ปวช. หรือ ปวส. แตเขาอยากใหบิดามารดาของเขาขายที่นา
จะไดเอาเงินมาสงเสียใหหลานไดเรียนปริญญา และจางคนมา
ดูแลยามแกเฒา เพราะอีกหนอยเมื่อนองๆ ของเขาเรียนจบ
มัธยมตนก็คงเขามาหางานในกรุงเทพฯเชนกัน เมื่อถึงตอนนั้น
จะไมมีใครดูแลคนแก แตผูเฒาทั้งสองไมอยากขายทรัพยสิน
ชิ้นเดียวที่ตกทอดมาแตบรรพบุรุษ
16 ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
นิทานสมจริงขางตนชี้ใหเห็นวา ชีวิตของไพบูลยกับพิชัย
มี “ความเหลื่อมล้ำ” หลายมิติดวยกัน ความเหลื่อมล้ำที่ชัดเจน
ที่สุดคือ ความเหลื่อมล้ำทางรายได เนื่องจากไพบูลยมีรายได
สูง เขาจึงออมและสะสมทรัพยสินไดมาก สวนพิชัยมีรายไดนอย
ออมไดเทาไรก็ตองสงใหครอบครัวที่โคราชและเก็บเปนทุนการ
ศึกษาใหลูก เขาจึงมีทรัพยสินนอย ยังไมตองพูดถึงทรัพยสินที่
เพิ่มมูลคาไดอยางที่ดินและหุน ซึ่งไพบูลยมีทั้งความรูและเงิน
ทองเพียงพอที่จะลงทุนอยางสม่ำเสมอ แตพิชัยไมเคยคิดถึงสิ่ง
เหลานี้ แคการพูดคุยกับบิดามารดาเรื่องจะเอาอยางไรดีกับที่นา
ผืนเดียวของครอบครัวก็ปวดหัวพอแลว
ความเหลื่อมล้ำทางรายไดและทรัพยสินนาจะสงผลให
ไพบูลยกับพิชัยมีความเหลื่อมล้ำดานโอกาสและคุณภาพการให
บริการของรัฐดวย ตั้งแตเรื่องเล็กๆ นอยๆ ในชีวิตประจำวัน เชน
แนวโนมที่เจาหนาที่รัฐจะเรงอำนวยความสะดวกใหกับคน “เสน
ใหญ” อยางไพบูลยมากกวาพิชัย หรือแนวโนมที่พิชัยจะถูกเอารัด
เอาเปรียบจากผูมีอำนาจมากกวาไพบูลย ไปจนถึงโอกาสใน
การเขาถึงการศึกษาและบริการสาธารณะที่ไดคุณภาพ ไพบูลย
ไมจำเปนจะตองสนใจบริการเหลานี้ของรัฐ เนื่องจากเขามีฐานะ
ดีพอที่จะซื้อบริการที่ดีที่สุดจากเอกชนอยูแลว ขณะที่พิชัยตอง
พึ่งพิงสวัสดิการจากรัฐเปนหลัก โดยเฉพาะสวัสดิการที่ “แรงงาน
นอกระบบ” อยางเขาเขาถึง อาทิ เบี้ยยังชีพผูสูงอายุ และระบบ
ประกันสุขภาพถวนหนา
นอกจากไพบูลยกับพิชัยจะมีความเหลื่อมล้ำดานรายได
ทรัพยสิน และโอกาสแลว เรายังอาจพบวามีความเหลื่อมล้ำ
17สฤณี อาชวานันทกุล
ดานศักดิ์ศรีที่ (รูสึกวามี) ระหวางคนสองคนนี้อีกดวย เนื่องจาก
คานิยมในสังคมไทยปจจุบันใหคากับการ “มีหนามีตา” ในสังคม
มากกวา “การประกอบอาชีพสุจริต” มาก ถึงแมวานักบริหาร
ตระกูลดังอยางไพบูลยกับคนขับรถแท็กซี่อยางพิชัยจะมี “ความ
เทาเทียมกันใตกฎหมาย” ก็ตาม ในความเปนจริงของสังคม
พวกเขายอมมีแนวโนมที่จะถูกคนดูหมิ่นดูแคลนไมเทากัน และ
ดังนั้นจึงรูสึกวาตนมีศักดิ์ศรีไมเทากัน
ในสังคมที่ยังมีการทุจริตคอรัปชั่นอยางแพรหลายทุก
ระดับชั้นอยางสังคมไทย ความเหลื่อมล้ำอีกมิติหนึ่งที่พิชัยกับ
ไพบูลยนาจะประสบ แตไมปรากฏในนิทานขางตนเพราะเปน
กรณีเฉพาะ คือความเหลื่อมล้ำของการใชอำนาจรัฐ ดังที่รับรู
กันทั่วไปวาเจาหนาที่ตำรวจ ขาราชการ และผูพิพากษาจำนวน
ไมนอยรับเงิน “ใตโตะ” จากผูมีฐานะที่ตกเปนจำเลย เพื่อเรง
ดำเนินคดี บิดเบือนรูปคดีใหจำเลยพนผิด หรือถารับโทษก็ให
ไดรับโทษสถานเบาที่สุดหรือรอลงอาญา ดังนั้นในแงนี้ สมาชิก
ชนชั้นกลางระดับลางไรเสนสายอยางพิชัยยอมตกเปนฝาย
เสียเปรียบถาหากเขามีเหตุใหตองพึ่งพากระบวนการยุติธรรม
ถาหากความเหลื่อมล้ำเกิดจากพฤติกรรมสวนบุคคล
ลวนๆ เชน ถาหากไพบูลยประสบความสำเร็จเพียงเพราะเขา
ขยันทำงาน สวนพิชัยมั่งคั่งนอยกวาเพียงเพราะเขาเกียจคราน
กวา เราก็คงไมมองวาความเหลื่อมล้ำระหวางบุคคลทั้งสองนี้
เปน “ปญหา” ที่ควรไดรับการแกไข แตในโลกแหงความจริง
ความเหลื่อมล้ำไมวาจะมิติใดก็ตามมักจะเปน “ผลลัพธ” ของ
เหตุปจจัยตางๆ ที่สลับซับซอนและซอนทับกัน หลายปจจัยอยู
นอกเหนือการกระทำของปจเจก และเปน “ปญหาเชิงโครงสราง”
ของสังคม เชน ปญหาคอรัปชั่นและเลือกปฏิบัติในระบบราชการ
ปญหาคนจนเขาไมถึงทรัพยากรที่จำเปนตองใชในการดำรงชีวิต
ปญหาระบบการจัดเก็บภาษีไมเปนธรรม (คนจนจายมากกวา
คนรวยถาคิดเปนสัดสวนของรายได) และปญหารัฐไมคุมครอง
สิทธิพลเมืองและสิทธิมนุษยชนอยางเทาเทียมกันแมวาจะ
บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญก็ตาม
มุมมองเรื่องความเหลื่อมล้ำวามิติใดเปน “ปญหา” บาง
และถาเปนปญหาเราควรแกไข “อยางไร” นั้นเปนเรื่องที่ถกเถียง
กันไดมาก แตประเด็นหนึ่งที่ปฏิเสธไมไดคือ สังคมที่มีความ
เหลื่อมล้ำสูงเปนสังคมที่คนรูสึกวา “ไมนาอยู” เพราะรูสึกวา
คนจนขยับฐานะลำบากไมวาจะขยันเพียงใด เพราะชองวางใหญ
มาก สวนคนรวยที่ “เกิดมารวย” ก็ใชความมั่งคั่งสะสมที่บิดา
มารดามอบใหเปนมรดกสรางความมั่งคั่งตอไปไดอยางงายดาย
ในนิทานขางตน ลูกของไพบูลยยอมมี “โอกาส” สูงกวาลูกของ
พิชัยมากที่จะมีชีวิตความเปนอยูดีกวาคนรุนพอ
ความเหลื่อมล้ำเปน “ปญหา” ในสังคมแบบนี้ เพราะคง
ไมมีใครอยากอยูในสังคมที่สถานภาพและฐานะของผูคนถูก
ตอกตรึงตั้งแตเกิด เพราะทุกคนเลือกเกิดไมไดแตอยากมีสิทธิ
และเสรีภาพในการเลือกทางเดินชีวิตของตัวเอง ถาหากความ
เหลื่อมล้ำสวนหนึ่งเปนผลลัพธของปญหาเชิงโครงสราง เราก็
ยอมบรรเทาหรือกำจัดมันไดดวยการแกปญหาเชิงโครงสราง
เหลานั้น
19สฤณี อาชวานันทกุล
นพ.ประเวศ วะสี กลาวในป พ.ศ. 2544 วา “คนไทยควร
จะทำความเขาใจวา ความยากจนไมไดเกิดจากเวรกรรมแตชาติ
ปางกอน แตเกิดจากโครงสรางที่อยุติธรรมในสังคม ตองทำความ
เขาใจโครงสรางและชวยกันปฏิรูปโครงสรางที่ทำใหคนจน”1
1 ประเวศ วะสี, “นโยบายเพื่อคนจน: ลางโครงสราง 10 ประการที่ประหาร
คนจน.” ใน ความจริงของความจน. คณะทำงานวาระทางสังคม สถาบันวิจัย
สังคม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย: 2544. ดาวนโหลดไดจาก http://fringer.
org/?page_id=37
ความเหลื่อมล้ำ : นิธิ เอียวศรีวงศ*
“ความเหลื่อมล้ำ”อาจเกิดได4ดานดวยกันคือเหลื่อมล้ำ
ทางสิทธิ–โอกาส–อำนาจ–ศักดิ์ศรี ไมจำเปนวาความเหลื่อมล้ำ
ทั้ง 4 ดานนี้ตองเกิดขึ้นจากกฎหมายเพียงอยางเดียว สวนใหญ
เกิดขึ้นจากแนวทางการปฏิบัติ หรือพูดใหกวางกวานั้นคือเกิดใน
ทาง “วัฒนธรรม” มากกวา
เชนคนที่ไมมีหลักทรัพยยอมเขาถึงแหลงเงินกูไดยาก ไมมี
กฎหมายใดบังคับวาธนาคารตองใหกูไดเฉพาะผูที่มีหลักทรัพย
แตธนาคารกลัวเจง จึงเปนธรรมดาที่ตองเรียกหลักทรัพย
ค้ำประกันเงินกู ในขณะเดียวกัน ธนาคารไทยไมเห็นความ
จำเปนจะทำไมโครเครดิตกับคนจน เพราะแคนี้ก็กำไรพอแลว
จึงไมมีทั้งประสบการณและทักษะที่จะทำ แมรูวาจะมีลูกคา
จำนวนมหึมารออยูก็ตาม
นี่คือโลกทัศนทางธุรกิจของนายธนาคารไทย ซึ่งเปนสวน
20 ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
หนึ่งของ “วัฒนธรรม”
“ความเหลื่อมล้ำ” ทางเศรษฐกิจนั้นมีอยูจริง และจริงจน
นาวิตกดวย เพราะมันถางกวางขึ้นอยางนาตกใจตลอดมา แต
เปนหนึ่งใน “ความเหลื่อมล้ำ” ดานโอกาส, ดานอำนาจ, ดาน
สิทธิ จนทำใหคนสวนใหญดอยศักดิ์ศรี ไมใชเรื่องจน-รวยเพียง
ดานเดียว
หรือในทางกลับกัน เพราะมีอำนาจนอย จึงถูกคนอื่นแยง
เอาทรัพยากรที่ตัวใชอยูไปใช หรือตองคำพิพากษาวาทำใหโลก
รอนตองเสียคาปรับเปนลานทำมาหากินดวยทักษะที่ตัวมีตอไป
ไมได จึงหมดปญญาหาสงลูกเรียนหนังสือ ในที่สุดก็จนลง
ทั้งโคตรสิทธิก็ยิ่งนอยลง,โอกาสก็ยิ่งนอยลง,อำนาจก็ยิ่งนอยลง,
และศักดิ์ศรีก็ไมมีใครนับขึ้นไปอีก
อีกดานหนึ่งที่ลืมไมไดเปนอันขาดทีเดียวก็คือ “ความ
เหลื่อมล้ำ” เปนความรูสึกนะครับ ไมใชไปดูวาแตเดิมเอ็งเคย
ไดเงินแควันละ 50 เดี๋ยวนี้เอ็งไดถึง 200 แลวยังจะมาเหลื่อมล้ำ
อะไรอีก
ก็ตอนได 50 มันไมรูสึกอะไรนี่ครับ ยังคิดอยูวาชาติกอน
ทำบุญมานอย ชาตินี้จึงตองพอเพียงแค 50 คิดแลวก็สบายใจ
แตเดี๋ยวนี้ความคิดอยางนั้นหายไปหรือออนกำลังลงเสียแลว
จะดวยเหตุใดก็ตามทีเถิด ไดวันละ 200 แตไดเห็นใครตอใคร
เขามั่งมีศรีสุขกันเต็มไปหมด แมแคมือถือมือสองมือสามเครื่อง
ละไมกี่รอย จะซื้อใหลูกยังตองผัดวันประกันพรุง จะใหไมรูสึก
เหลื่อมล้ำเลยไดอยางไร
มีเหตุผลรอยแปดที่ทำใหความพอใจในตนเอง
21สฤณี อาชวานันทกุล
(Self Contentment) ของแตละคนหายไป จะดูแตรายไดที่เปน
ตัวเงินอยางเดียวก็ไมมีวันเขาใจ เพราะความพอใจในตนเอง
นั้นมีเงื่อนไขทางสังคม-วัฒนธรรมกำกับอยูดวยเสมอ ยกเวน
แตพระอริยบุคคลเทานั้นที่อยูในโลกแตเหนือโลก ผมเปนแค
กรรมกรโรงงานเทานั้น
*บางสวนจากนิธิเอียวศรีวงศ,“ความเหลื่อมล้ำ”มติชนสุดสัปดาหฉบับวันที่
27 สิงหาคม – 2 กันยายน 2553 ฉบับที่ 1567.
แนวคิดหลักวาดวยความเหลื่อมล้ำ
ถึงที่สุดแลว คำถามที่วา ความเหลื่อมล้ำในสังคมดาน
ตางๆ โดยเฉพาะดานเศรษฐกิจนั้นเปน “ปญหา” ที่เราตองหา
ทางแกไขหรือไม และถาตองแกควรใชวิธีอะไร เปนคำถามที่
ขึ้นอยูกับอุดมการณหรือจุดยืนของคนในสังคม ปจจุบันมีสำนัก
คิดใหญ 3 แหงที่มีอิทธิพลตอการกำหนดนโยบายและวิวาทะ
สาธารณะในกรอบของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ไดแก
เสรีนิยม (Liberalism) ความยุติธรรมทางสังคม (Social Justice)
และสมรรถภาพมนุษย (Capabilities Approach) ความแตกตาง
ระหวางสำนักคิดทั้ง3สวนใหญอยูที่การใหน้ำหนักกับ “เสรีภาพ
ของปจเจก” และ “ความยุติธรรมในสังคม” ไมเทากัน
สำนักคิดทั้ง 3 นี้มีความ “เทาเทียมกันทางศีลธรรม”
(Morally Equivalent) กลาวคือ ไมมีชุดหลักเกณฑสัมบูรณใดๆ
ที่จะชวยเราตัดสินไดวาสำนักคิดใด “ดีกวา” หรือ “เลวกวา” กัน
22 ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
เนื่องจากตางก็มีจุดยืนทางศีลธรรมดวยกันทั้งสิ้น เพียงแตให
น้ำหนักกับคุณคาหรือคุณธรรมตางๆ ไมเทากัน การตัดสินวา
จะเชื่อหรือประยุกตใชแนวคิดของสำนักคิดใดสำนักคิดหนึ่งจึง
นาจะตั้งอยูบนการประเมินผลไดและผลเสียของแตละแนวคิด
เปรียบเทียบกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่เปนจริง มากกวา
การใชมาตรวัดทางศีลธรรมใดๆ ที่เปนนามธรรมโดยไมคำนึง
ถึงสถานการณจริง
เราสามารถสรุปแนวคิดในสวนที่เกี่ยวกับความเหลื่อมล้ำ
ของสำนักคิดทั้ง 3 ไดคราวๆ ดังตอไปนี้
1. เสรีนิยม (Liberalism)
นักเสรีนิยมสายคลาสสิก (Classical Liberal) และ
สายลิเบอทาเรียน (Libertarian) โดยทั่วไปจะไมมีจุดยืนเกี่ยวกับ
ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ เนื่องจากเชื่อวารัฐควรปลอยให
มนุษยทุกคนมีเสรีภาพที่จะทำอะไรๆ เอง เพราะมองวาเสรีภาพ
ของปจเจกคือคุณคาและคุณธรรมที่สำคัญที่สุด ความยุติธรรม
ตองอยูบนพื้นฐานของเสรีภาพ รัฐมีหนาที่อำนวยใหเกิด “ความ
เทาเทียมกันภายใตกฎหมาย” โดยไมตองสนใจวาความเทาเทียม
ดังกลาวจะนำไปสูความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจหรือไมเพียงใด
เนื่องจาก “กลไกตลาด” (ผลรวมของการกระทำโดยเสรีของ
ปจเจก) คือกลไกที่ดีที่สุดหรือมีขอบกพรองนอยที่สุดแลวในการ
สรางประโยชนสาธารณะ
ลุดวิก วอน มิเซส (Ludwig von Mises) นักเศรษฐศาสตร
23สฤณี อาชวานันทกุล
เสรีนิยมคลาสสิกผูทรงอิทธิพล เสนอในป ค.ศ. 1949 วา2
นักเสรีนิยมที่รณรงคความเทาเทียมกันภายใตกฎหมายนั้น
ตระหนักดีวา มนุษยเกิดมาไมเทาเทียมกัน และความไมเทาเทียม
กันนี้เองที่เปนบอเกิดของการรวมมือกันทางสังคมและอารยธรรม
ในความเห็นของพวกเขา ความเทาเทียมกันภายใตกฎหมายไมได
ถูกออกแบบมาแกไขขอเท็จจริงของจักรวาลที่เปลี่ยนแปลงไมได
หรือเพื่อกำจัดความไมเทาเทียมตามธรรมชาติใหหมดสิ้นไป แต
ในทางตรงกันขาม ความเทาเทียมกันภายใตกฎหมายถูกออกแบบ
มาเปนเครื่องมือที่จะรับประกันวามนุษยชาติทั้งมวลจะไดรับ
ประโยชนสูงสุดจากความไมเทาเทียมดังกลาว ...ความเทาเทียม
กันภายใตกฎหมายนั้นดีเพราะมันตอบสนองความตองการของ
ทุกคนไดดีที่สุด ปลอยใหพลเมืองผูมีสิทธิเลือกตั้งตัดสินใจเองวา
ใครควรดำรงตำแหนงทางการเมือง และปลอยใหผูบริโภคตัดสินใจ
เองวาใครควรมีอำนาจกำหนดกิจกรรมการผลิต
โรเบิรต โนซิค (Robert Nozick) นักปรัชญาสายลิเบอทา-
เรียนผูโดงดัง มองวาสังคมในอุดมคติคือสังคมที่มนุษยทุกคนมี
เสรีภาพสมบูรณ ไมมีใครถูกใครบังคับไมวาทางตรงหรือทางออม
ในเมื่อรัฐกระจายความมั่งคั่งดวยการบังคับ (โดยเฉพาะการจัด
เก็บภาษี) โดยทั่วไปเขาจึงไมเห็นดวยกับมาตรการลดการเหลื่อมล้ำ
ทำนองนี้ แตอยางไรก็ตาม ถาความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ
บางดานในสังคมสมัยใหมเกิดจากการใชกำลังบังคับในอดีต
2 Ludwig von Mises, Human Action: A Treatise on Economics,
4th Ed. Fox & Wilkes: 1966, หนา 841-842. ดาวนโหลดไดจาก http://
mises.org/resources/3250
24 ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
(เชน เจาขุนมูลนายในอดีตใชกำลังทหารริบเอาที่ดินทั้งหมดมา
เปนของตน) โนซิคก็เห็นวาการกระจายความมั่งคั่งกลับคืนดวย
อำนาจรัฐ (เชน ออกกฎหมายเพื่อกระจายที่ดินกลับไปอยูในมือ
ลูกหลานของผูที่เคยถูกริบที่ดินทำกินในอดีต) ก็เปนสิ่งที่ยุติธรรม
และมีความชอบธรรม แตเฉพาะในกรณีแบบนี้เทานั้น
จอหน รอลส (John Rawls) นักปรัชญาการเมืองผูทรง
อิทธิพลที่สุดหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ไมเห็นดวยกับแนวคิดของ
โนซิค (และของสายลิเบอทาเรียนโดยรวม) ซึ่งเชิดชูเสรีภาพของ
ปจเจกมากกวาความยุติธรรมในสังคมมาก รอลสนำเสนอใน
หนังสือเรื่อง A Theory of Justice (ทฤษฎีความยุติธรรม) วา
คนทุกคนควร “แบกรับโชคชะตารวมกัน” ดวยการชวยเหลือคน
ที่ยากจนที่สุดและเสียเปรียบที่สุดในสังคม เพราะทุกคนนาจะ
เห็นพองตองกันไดวา ถาบังเอิญตัวเองเกิดมาเปนคนจน ก็จะ
เดือดรอนมากและอยากใหรัฐยื่นมือชวย อยางไรก็ตาม การที่
รอลสเห็นดวยกับการชวยเหลือคนที่จนที่สุด ไมไดแปลวาเขา
คิดวาความเหลื่อมล้ำ (ชองวางระหวางคนจนกับคนรวย) เปน
“ปญหา” ที่จำเปนจะตองไดรับการแกไข อันที่จริงรอลสกลาว
วา ภาวะความเหลื่อมล้ำดานความมั่งคั่งอาจ “ชอบธรรม” ก็ได
ถาหากมันเปนภาวะที่ปรับปรุงสังคมโดยรวม รวมถึงชีวิตความ
เปนอยูของคนที่จนที่สุดในสังคมดวย
รอลสไมเคยแจกแจงวาทฤษฎีความยุติธรรมของเขาแปล
วาสังคมควรจัดการกับความเหลื่อมล้ำหรือไมอยางไรนักคิดบางคน
ตีความวาขอเสนอดังกลาวของรอลสสนับสนุนระบบทุนนิยมเสรี
เนื่องจากตามทฤษฎี แมแตสมาชิกที่จนที่สุดในสังคมก็ยังไดรับ
25สฤณี อาชวานันทกุล
ประโยชนจากนวัตกรรมและความเจริญที่เกิดในระบบ แตนักคิด
คนอื่นเชื่อวามีเพียง “รัฐสวัสดิการ” ที่เขมแข็งเทานั้นที่จะทำให
อุดมคติของรอลสเปนจริง
มิลตัน ฟรีดแมน (Milton Friedman) นักเศรษฐศาสตร
สำนักเสรีนิยมคลาสสิก มองวารัฐโดยธรรมชาตินั้นดอย
ประสิทธิภาพกวาเอกชนและมักจะลุแกอำนาจ ดังนั้นจึงเชื่อ
วาหากรัฐทำอะไรก็ตามเพื่อพยายามสรางความเทาเทียมทาง
เศรษฐกิจ เมื่อนั้นเสรีภาพทางการเมืองของผูคนก็จะถูกบั่นทอน
เขากลาวอยางโดงดังวา3
สังคมที่กำหนดความเทาเทียมเปนเปาหมายเหนือเสรีภาพ
จะไมมีทั้งสองอยาง สังคมที่ตั้งเปาหมายที่เสรีภาพกอนความ
เทาเทียมจะมีทั้งสองอยางคอนขางสูง
2. ความยุติธรรมทางสังคม (Social Justice)
นักคิดจำนวนไมนอยมองวาโครงสรางสังคมทุกสังคมลวน
เปนผลผลิตของความไมเทาเทียมและความอยุติธรรมในอดีตที่
สะสมทับถมกันมานานหลายชั่วอายุคนนักเศรษฐศาสตรแพทริค
ไดมอนด (Patrick Diamond) และนักสังคมวิทยา แอนโธนี
กิดเดนส (Anthony Giddens) มองวาสังคมแบบ “คุณธรรมนิยม
สมบูรณ” (Pure Meritocracy หมายถึงสังคมที่สมาชิกทุกคน
เลื่อนฐานะไดดวยความสามารถของตนเองลวนๆ ไมใชดวย
อภิสิทธิ์หรือเสนสายใดๆ) ที่ปราศจากการกระจายความมั่งคั่ง
3 Milton Friedman, “Created Equal,” สารคดีโทรทัศนชุด Free to
Choose, 1990. บทโทรทัศนตอนที่ 5.
26 ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ไมใชสังคมที่พึงปรารถนา เนื่องจากกลุมบุคคลที่ประสบความ
สำเร็จในรุนของตัวเองจะกลายเปน “ชนชั้น” ที่ฝงรากลึกสำหรับ
คนรุนตอไป เก็บความมั่งคั่งที่ตนสะสมเอาไวเปนทุนสำหรับลูก
หลาน เมื่อเปนอยางนี้ลูกหลานของคนจนก็จะยิ่งเสียเปรียบ
คนรวย และความเหลื่อมล้ำก็จะยิ่งถางกวางขึ้นเรื่อยๆ เพียง
เพราะพวกเขาเกิดมาในครอบครัวที่ยากจน นักคิดที่รณรงค
ความยุติธรรมทางสังคมมองวา นี่คือความอยุติธรรมทางสังคม
ที่ตองหาทางบรรเทาหรือกำจัดใหไดมากที่สุด
นอกจากจะมองวาสังคมที่ความเหลื่อมล้ำถางกวางขึ้น
เรื่อยๆ คือสังคมที่ไมยุติธรรมแลว นักคิดสำนักนี้ยังมองวา
ความมั่งคั่งและความกาวหนาทั้งหลายในสังคมไมไดเกิดจาก
ความสามารถของคนที่มีฐานะดีเพียงอยางเดียว แตทุกคนใน
สังคมลวนมีสวนสรางทั้งสิ้น ไมวาเราจะมองเห็นหรือไมก็ตาม
ยกตัวอยางเชน เศรษฐีขายหุนทำกำไรในตลาดหุนไดก็เพราะ
ระบบสารสนเทศของตลาดหุนมีไฟฟาใช ถาหากไฟฟานั้นถูก
สงมาจากโรงไฟฟาพลังน้ำ และถาหากการกอสรางเขื่อนสงผล
ใหครอบครัวชาวประมงนับหมื่นครัวเรือนตองสูญเสียชองทาง
ทำมาหากินเพราะหาปลาไมไดอีกตอไป ก็กลาวไดวาเศรษฐีเปน
“หนี้บุญคุณ” ชาวประมง
ดวยเหตุนี้ นักคิดอยางไดมอนดและกิดเดนสจึงมอง
วา สังคมตองพยายามสรางความยุติธรรมหรือบรรเทาความ
อยุติธรรมทางสังคมอยางตอเนื่อง ดวยการกระจายรายไดและ
ความมั่งคั่งใหตกถึงมือประชาชนในวงกวางที่สุด เพื่อ “ตอบแทน
27สฤณี อาชวานันทกุล
คนทุกภาคสวนในสังคมที่มีสวนสรางความมั่งคั่ง”4
และดังนั้น
พวกเขาจึงมักจะสนับสนุนแนวคิด “รัฐสวัสดิการ” อยางเต็ม
รูปแบบที่จัดสวัสดิการถวนหนาใหกับประชาชนทุกคน ในฐานะ
“สิทธิพลเมือง” ที่พึงไดรับอยางเสมอภาค และไมสนับสนุน
“ระบบสวัสดิการ” ที่เอกชนมีบทบาทนำและรัฐชวยเหลือแตเพียง
ผูที่ชวยตัวเองไมไดจริงๆ (ตองผานการทดสอบความจำเปน
(Means-Test กอน) ในกรอบคิดของสำนักเสรีนิยม
3. สมรรถภาพของมนุษย (Capabilities Approach)
อมาตยา เซน (Amartya Sen) นักเศรษฐศาสตรสวัสดิการ
เจาของรางวัลโนเบลเศรษฐศาสตรป 1998 คือผูพัฒนาแนวคิด
ที่ตั้งอยูบนสมรรถภาพของมนุษย (Capabilities) ซึ่งบางคนก็
เรียกแนวคิดนี้วา วิถีการพัฒนามนุษย (Human Development
Approach) แนวคิดนี้มองวาทั้งความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ
และความยากจนเปน “การลิดรอนสมรรถภาพ” ของมนุษย
และมองวาการเติบโตทางเศรษฐกิจและรายไดเปนเพียง “เครื่อง
มือ” ที่นำไปสูเปาหมาย ไมใช “เปาหมาย” ในตัวมันเอง แนวคิด
นี้แตกตางจากแนวคิดเสรีนิยมใหมที่มองวา “ความเปนอยูที่ดี
(Well-being) คือการบรรลุอรรถประโยชนสูงสุด (Maximum
Utility)” และอรรถประโยชนสูงสุดจะบรรลุไดเมื่อคนมีรายได
และความมั่งคั่งสูงที่สุด
สิ่งที่เซนมองวาเปนเปาหมายของการพัฒนามนุษยคือ
4 Patrick Diamond และ Anthony Giddens, New Statesman.
27 มิถุนายน 2005.
28 ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
“อิสรภาพ” ซึ่งมีความหมายครอบคลุมกวางกวาที่ใชกันทั่วไป เขา
เสนอวา มนุษยทุกคนควรมีอิสรภาพที่สำคัญ 5 ประการดวยกัน
ไดแก อิสรภาพทางการเมือง อิสรภาพทางเศรษฐกิจ โอกาสทาง
สังคม หลักประกันวาภาครัฐจะมีความโปรงใส และการคุมครอง
ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน
เซนชี้ใหเห็นวา เมื่อสมรรถภาพของคนถูกลิดรอน พวกเขา
ก็จะขาดอิสรภาพ และอิสรภาพ 5 ประการก็ลวนสงผลกระทบ
ซึ่งกันและกัน ยกตัวอยางเชน คนที่อาศัยอยูในแหลงเสื่อมโทรม
ที่มีอาชญากรชุกชุม (ขาดความปลอดภัยในชีวิต) มักจะมีรายได
นอยมากเมื่อเทียบกับคนที่อาศัยอยูในถิ่นปลอดภัย เพราะ
ไมกลาออกจากบานไปหางาน (ขาดอิสรภาพทางเศรษฐกิจ),
ขนบธรรมเนียมประเพณีในบางสังคมที่มองวาผูหญิงควรทำ
หนาที่เปนแมบานทำใหผูหญิงไมไดรับการสนับสนุนใหมีการ
ศึกษา (ขาดโอกาสทางสังคม) ทำใหพวกเธอออกไปทำงาน
นอกบานไมไดและทำงานที่ตองใชความรูไมได (ขาดอิสรภาพ
ทางเศรษฐกิจ), สังคมที่ไมมีกลไกใหคนมีสวนรวมทางการเมือง
(ขาดอิสรภาพทางการเมือง) เพื่อสรางระบบ “ประชาธิปไตยแบบ
ปรึกษาหารือ” เปนสังคมที่สุมเสี่ยงวานักการเมืองจะฉอราษฎร
บังหลวงอยางโจงครึ่ม (ขาดหลักประกันความโปรงใส) เพราะโกง
ไดโดยไมตองกลัววาจะถูกจับหรือถูกประชาชนลงมติถอดถอน
ปฏิสัมพันธอันซับซอนระหวางสมรรถภาพและอิสรภาพ
ดานตางๆ แปลวายิ่งสังคมมีความเหลื่อมล้ำเทาไร ก็ยิ่งปด
ชองวางไดยากขึ้นเทานั้น เพราะความเหลื่อมล้ำดานหนึ่งมักจะ
ตอกลิ่มความเหลื่อมล้ำดานอื่นๆ ไปพรอมกันดวย ดวยเหตุนี้
29สฤณี อาชวานันทกุล
เซนจึงเสนอวาเปาหมายของการพัฒนาสังคมและนโยบายรัฐควร
อยูที่การเพิ่มทางเลือกในการดำรงชีวิตใหแกผูคน และปรับปรุง
ระดับความเปนอยูที่ดีในแนวทางที่พวกเขาเลือก ดวยการเพิ่ม
อิสรภาพในดานตางๆ ขางตน เพิ่มสมรรถภาพของผูคนในการ
ใชอิสรภาพดังกลาว (เชน ดวยการเพิ่มกลไกที่เปดโอกาสให
มีสวนรวมทางการเมือง) และเพิ่มความสามารถในการบรรลุ
เปาหมายที่คนแตละคนตั้ง (เชน ดวยการจัดการศึกษาที่มี
คุณภาพ บริการสาธารณะ และบริการสาธารณสุข)
ระดับการลิดรอนสมรรถภาพของคนที่จะ “ใช” อิสรภาพ
เหลานี้ เปนเครื่องวัด “ระดับความยากจน” ไดดีกวาตัวเลขรายได
เนื่องจากสามารถพูดถึงแงมุมของ “ความยากจน” ที่ไมแสดงใน
ตัวเลขรายได ยกตัวอยางเชน สหรัฐอเมริกามีรายไดประชากร
ตอหัวสูงกวายุโรปก็จริง แตมีอัตราการเขาถึงระบบสาธารณสุข
แยกวา สวนอินเดียมีรายไดตอหัวไมตางจากกลุมประเทศทาง
ตอนใตของทะเลทรายซะฮาราในทวีปแอฟริกาเทาไรนัก แต
อินเดียมีอัตราการรูหนังสือและอัตราการตายของทารกแรกเกิด
ต่ำกวามาก
ความเหลื่อมล้ำกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
มุมมองของคนเกี่ยวกับความเหลื่อมล้ำแตละดานวาอะไร
เปน “ปญหา” และถาเปนปญหาควรแกไข “อยางไร” นั้น ไมได
เปนสิ่งที่หยุดนิ่งตายตัว ทวาผันแปรไปตามการเปลี่ยนแปลง
ทางเศรษฐกิจและสังคม ยกตัวอยางเชน สมัยที่โทรศัพทมือถือ
ยังมีราคาแพงเพราะเทคโนโลยีเพิ่งเกิด คนที่จะใชมือถือไดก็มี
30 ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
แตชนชั้นกลางระดับบนเทานั้น เราจึงไมคิดวาความเหลื่อมล้ำ
เรื่องมือถือเปน “ปญหา” ที่ตองแกไข เพราะโทรศัพทเปนสินคา
ฟุมเฟอย ไมใชปจจัยที่จำเปนตอการดำรงชีวิต
แตเมื่อเวลาผานไป มือถือมีราคาถูกลงเพราะเทคโนโลยี
กาวหนา คนก็มีกำลังซื้อมากขึ้นเพราะมีรายไดดีขึ้นจากความ
เจริญทางเศรษฐกิจ คานิยมในสังคมก็เปลี่ยนไปเมื่อโลกเขาสู
ยุคขอมูลขาวสาร ปจจัยเหลานี้ทำใหคนจำนวนมากรูสึกวา การ
ไดใชบริการโทรคมนาคมที่มีคุณภาพไมไดเปนแคความตองการ
ของผูบริโภคที่มีฐานะอีกตอไป แตเปน “สิทธิในการไดรับบริการ
สาธารณะ” ประการหนึ่งซึ่งรัฐมีหนาที่รับประกัน
สินคาอุปโภคบริโภคที่คนมองวาเปนเรื่องปกติธรรมดา
ในวิถีชีวิตปจจุบัน รวมทั้งโทรศัพทมือถือ ไมใชสิ่งที่อยูนอก
เหนือจินตนาการของคนไทยสวนใหญอีกตอไป ทั้งนี้เนื่องจาก
การเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยซึ่งสามารถเติบโตเฉลี่ยถึง
รอยละ 7 ตอปเปนเวลานานกวา 25 ป สงผลให “ความยากจน
เชิงสัมบูรณ” (Absolute Poverty) ลดลงอยางตอเนื่องตั้งแต
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนตนมา สัดสวนคนไทยที่มีรายได
ต่ำกวา 2 เหรียญสหรัฐตอวัน (เสนความยากจนที่ธนาคารโลก
ใชเปนมาตรวัดความจนทั่วโลก) ลดลงจากรอยละ 26 ในป
2535 เหลือรอยละ 12 ในป 2549 อยางไรก็ตาม ประชากรที่
อยูในกลุม “เฉียดจน” คือมีรายไดสูงกวาเสนความยากจนเพียง
เล็กนอยยังมีจำนวนมาก ถาขยับเสนความยากจนจาก 2 เหรียญ
ตอวัน เปน 3 เหรียญตอวัน (ประมาณ 2,700 บาทตอเดือน)
คนไทยที่อยูใตเสนความยากจนนี้ก็จะเพิ่มจากรอยละ 12 เปน
31สฤณี อาชวานันทกุล
รอยละ 29 ทันที5
ความเจริญทางเศรษฐกิจ ประกอบกับการขยายตัวของ
บริการทางการเงิน อาทิ เงินผอนและสินเชื่อสวนบุคคล สงผล
ใหแมแตประชากรที่มีรายไดเพียง 4,000-5,000 บาทตอเดือน
อยางเชนบิดามารดาของพิชัย ก็สามารถมีสิ่งอำนวยความสะดวก
สมัยใหมนอกเหนือจากปจจัยสี่ อาทิ โทรศัพทมือถือ โทรทัศน
และตูเย็น ไดอยางไมลำบาก (ดูแผนภูมิ 1)
5 เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ และคณะ, “การเติบโต ความเหลื่อมล้ำ และ
โอกาสในประเทศไทย” ใน Insight Aug-Sep 2010. ศูนยวิจัยเศรษฐกิจและ
ธุรกิจ ธนาคารไทยพาณิชย: 2553.
ที่มา: เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ และคณะ, “Looking beyond Bangkok: ผูบริโภคในเมืองและการพัฒนาสู
ความเปนเมืองในไทย”, ศูนยวิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจ ธนาคารไทยพาณิชย. Insight Dec 2010 - Jan 2011.
แผนภูมิ 1 ขั้นบันไดรายไดตอเดือน และจำนวนสินคาที่มีในครัวเรือน
32 ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมที่กลาวถึงขางตน
ทำใหปจจุบัน “ความยากจนสัมพัทธ” (Relative Poverty) มี
น้ำหนักมากกวา “ความยากจนสัมบูรณ” (Absolute Poverty)
ในการประกอบสรางเปน “ความเหลื่อมล้ำที่คนรูสึก” (Per-
ceived Inequality) แตความเหลื่อมล้ำที่คนรูสึกนั้นก็ใชวาจะ
รูสึกเหมือนกันหมด ในบทความเรื่อง “ความเปลี่ยนแปลงความ
สัมพันธทางสังคมในสังคมไทย” ในหนังสือพิมพ กรุงเทพธุรกิจ
เดือนพฤษภาคม 2553 รศ.ดร.อรรถจักร สัตยานุรักษ จากคณะ
มนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ไดอธิบายมุมมองเกี่ยวกับ
ความเหลื่อมล้ำที่แตกตางกันมากระหวางชนชั้น ไวอยางชัดเจน
ดังตอไปนี้6
ถึงวันนี้ ผมเชื่อวาทุกคนเห็นพองตองกันวาความเหลื่อมล้ำ
ทางเศรษฐกิจ เปนรากฐานของความขัดแยงในสังคมไทย เพียง
แตวามุมมองของความเหลื่อมล้ำนี้แตกตางกันไปตามสถานะ
และชนชั้น
ชนชั้นนำและชนชั้นกลางที่ไดรับผลประโยชนจากความ
เหลื่อมล้ำนี้ จะเห็นวาสังคมไทยรับรูเรื่องนี้ดีอยูแลว และรัฐก็
พยายามชวยเหลืออยู และมักจะสรุปวาสภาพความเหลื่อมล้ำก็ดี
กวาเดิมมาก แมวากลุมนี้จะมีความปรารถนาดีตอคนจนอยู แตก็
เปนลักษณะของการ “มองลงต่ำ” หรือเปนการเห็นและชวยคนจน
6 อรรถจักร สัตยานุรักษ, “ความเปลี่ยนแปลงความสัมพันธทาง
สังคมในสังคมไทย.” หนังสือพิมพ กรุงเทพธุรกิจ วันที่ 27 พฤษภาคม
2553. ดาวนโหลดไดจาก http://www.onopen.com/attachak/10-05-
30/5382
33สฤณี อาชวานันทกุล
ในรูปแบบของการ “กมตัว” ลงไปชวยเหลือเปนหลัก รูปแบบการ
“กมตัว” ลงไปชวยเหลือคนจนปรากฏ ก็คือ การ “สงเคราะห” เปน
ครั้งเปนคราวไป
ในอดีต การ “สงเคราะห” อาจจะสงผลดีทางอารมณ
ความรูสึก ทั้ง “ผูสงเคราะห” และ “ผูรับการสงเคราะห” เพราะ
นอกจากชวงเวลาแวบเดียวของการรับการสงเคราะหแลว ชีวิต
ของ “ผูรับการสงเคราะห” ไมไดพองพานเขาไปเกี่ยวของอะไรกับ
“ผูสงเคราะห” เลย ดังนั้น การเปนคนไรศักดิ์ศรีรอรับของบริจาค
จึงเปนเรื่องที่รับได รวมทั้ง “ผูรับการสงเคราะห” ก็รูสึกไดถึงวาระ
พิเศษที่ไดรับการสงเคราะห
ที่สำคัญ ความสัมพันธลักษณะนี้คือลักษณะเดนหนึ่งใน
ความเปนไทยที่ปลูกฝงกันมา ที่ตองเอื้อเฟอเผื่อแผกัน และ
เปนการเอื้อเฟอเผื่อแผแบบ “ผูใหญ-ผูนอย”
ในชวงเวลา 30 ปที่ผานมา ความเปลี่ยนแปลงทาง
เศรษฐกิจในชนบท กอใหเกิดการประกอบอาชีพในลักษณะใหม
ซึ่งทำใหมาตรฐานการดำรงชีวิตเปลี่ยนแปลงไปอยางมาก ความ
สามารถในการครอบครองสินคาจำเปนในชีวิตประจำวันเปนเรื่อง
ปกติธรรมดาไป หากทานผูอานไดมีโอกาสไปเดินเลนตามหาง
สรรพสินคาหรือซูเปอรมารเก็ตตางจังหวัด จะพบเห็นถึงความ
สามารถในการครอบครองสินคาอุปโภค-บริโภคขยายตัวมากขึ้น
อยางมากมาย นี่เปนเหตุผลวาทำไมหางสรรพสินคา และซูเปอร-
มารเก็ตจึงขยายตัวออกหัวเมืองไกลมากขึ้นตามลำดับ
ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจนี้ ไดทำใหเกิดความ
เปลี่ยนแปลงในความสัมพันธทางสังคมอยางลึกซึ้งดวย โดย
34 ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
เฉพาะอยางยิ่งการใหความชวยเหลือในรูปแบบของการใหความ
“สงเคราะห” ลักษณะเดิมกลายเปนเรื่องที่ไมจำเปนและการรับ
ของสงเคราะหเปนเรื่องของการไรซึ่งศักดิ์ศรีไป
หากสำรวจกันจริงๆ ในเขตพื้นที่ที่มีความเปลี่ยนแปลง
ทางเศรษฐกิจเขมขนนั้น หากมีพิธีการใหการสงเคราะห จะพบ
วาจำนวนผูที่เขารับการสงเคราะหนั้นนอยลง และมักจะเปนการ
เกณฑหรือขอรองจากเจาหนาที่ระดับตางๆ มากขึ้น แมวาคนใน
พื้นที่นั้นๆ อาจจะยังคงมีความยากจน หรือมีรายไดไมสูงมากนัก
ก็ตาม ยกเวนวาในเขตหางไกลมากๆ หรือในชวงเวลาวิกฤติ
ภัยธรรมชาติ การรับของแจกจึงไมใชเรื่องพิเศษที่ควรจะรำลึกถึง
บุญคุณผูใหอีกตอไป หากแตเปนเรื่องไรความหมายมากขึ้นๆ ที่
สำคัญ นอกจากไรความหมายแลว ยังแฝงไวดวยความรูสึกวาถูก
ดูหมิ่นศักดิ์ศรีอีกดวย
กลาวไดวา ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ ไดทำให
เปลี่ยนแปลงลักษณะของความยากจน จากความ “ยากจน-
สมบูรณ” มาสูความ “ยากจนเชิงสัมพัทธ” และความเปลี่ยนแปลง
นี้ ไดทำใหความคิดทางดานความสัมพันธทางสังคมเปลี่ยนแปลง
ตามไปดวย
ความ “ยากจนสมบูรณ” ตองการและยอมรับการสงเคราะห
แตความ “ยากจนเชิงสัมพันธ” ตองการโอกาสและความ
เทาเทียมกัน
ในเขตพื้นที่ความเปลี่ยนแปลงเชนนี้ ระบบอุปถัมภใน
ชนบทที่ครั้งหนึ่งเคยเปนการจัดความสัมพันธทางสังคมเชิงผูใหญ-
ผูนอยและเปนเชิงสงเคราะห ก็ตองปรับเปลี่ยนอยางลึกซึ้ง จาก
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา
ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการอลงกรณ์ อารามกูล
 
แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.
แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.
แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.peter dontoom
 
นำเสนอการห่อขนมไทย
นำเสนอการห่อขนมไทยนำเสนอการห่อขนมไทย
นำเสนอการห่อขนมไทยPatcharee Kongpun
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101thnaporn999
 
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศเข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศthnaporn999
 
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษาแนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษาP'kob Nong'kob
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbal extract
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbal extractตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbal extract
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbal extractNattakorn Sunkdon
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)Kruthai Kidsdee
 
สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3Sukanda Panpetch
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐานPochchara Tiamwong
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNetAnana Anana
 
Powerpoint(football)
Powerpoint(football)Powerpoint(football)
Powerpoint(football)teinprakul
 
เล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทย
เล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทยเล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทย
เล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทยFURD_RSU
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)Nattakorn Sunkdon
 

What's hot (20)

ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.
แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.
แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.
 
นำเสนอการห่อขนมไทย
นำเสนอการห่อขนมไทยนำเสนอการห่อขนมไทย
นำเสนอการห่อขนมไทย
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
 
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศเข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
 
ระบบใบสำคัญจ่าย 2
ระบบใบสำคัญจ่าย 2ระบบใบสำคัญจ่าย 2
ระบบใบสำคัญจ่าย 2
 
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษาแนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbal extract
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbal extractตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbal extract
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbal extract
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)
 
สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3
 
สรุปแนวข้อสอบการเงิน
สรุปแนวข้อสอบการเงินสรุปแนวข้อสอบการเงิน
สรุปแนวข้อสอบการเงิน
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNet
 
Powerpoint(football)
Powerpoint(football)Powerpoint(football)
Powerpoint(football)
 
สรุปคำศัพท์ทางการบริหาร
สรุปคำศัพท์ทางการบริหารสรุปคำศัพท์ทางการบริหาร
สรุปคำศัพท์ทางการบริหาร
 
สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1
สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1
สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1
 
เล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทย
เล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทยเล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทย
เล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทย
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
 
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
แนวข้อสอบ  100  ข้อแนวข้อสอบ  100  ข้อ
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
 

More from WiseKnow Thailand

Capital in the Twenty-First Century.pdf
Capital in the Twenty-First Century.pdfCapital in the Twenty-First Century.pdf
Capital in the Twenty-First Century.pdfWiseKnow Thailand
 
eBook_A_Legacy_for_All_6July2022.pdf
eBook_A_Legacy_for_All_6July2022.pdfeBook_A_Legacy_for_All_6July2022.pdf
eBook_A_Legacy_for_All_6July2022.pdfWiseKnow Thailand
 
The Age of Spiritual Machines: When Computers Exceed Human Intelligence
The Age of Spiritual Machines: When Computers Exceed Human IntelligenceThe Age of Spiritual Machines: When Computers Exceed Human Intelligence
The Age of Spiritual Machines: When Computers Exceed Human IntelligenceWiseKnow Thailand
 
ตำราตรวจโรคหมอสุรเกียรติ์.pdf
ตำราตรวจโรคหมอสุรเกียรติ์.pdfตำราตรวจโรคหมอสุรเกียรติ์.pdf
ตำราตรวจโรคหมอสุรเกียรติ์.pdfWiseKnow Thailand
 
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564WiseKnow Thailand
 
เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564WiseKnow Thailand
 
คู่มือฉบับประชาชน กรณีรักษาแบบผู้ป่วยนอกและแยกกักกันตนเอง.pdf
คู่มือฉบับประชาชน กรณีรักษาแบบผู้ป่วยนอกและแยกกักกันตนเอง.pdfคู่มือฉบับประชาชน กรณีรักษาแบบผู้ป่วยนอกและแยกกักกันตนเอง.pdf
คู่มือฉบับประชาชน กรณีรักษาแบบผู้ป่วยนอกและแยกกักกันตนเอง.pdfWiseKnow Thailand
 
Thailand Internet User Behavior 2020 Presentation
Thailand Internet User Behavior 2020 PresentationThailand Internet User Behavior 2020 Presentation
Thailand Internet User Behavior 2020 PresentationWiseKnow Thailand
 
Thailand Internet User Behavior 2020
Thailand Internet User Behavior 2020Thailand Internet User Behavior 2020
Thailand Internet User Behavior 2020WiseKnow Thailand
 
เรียนรู้ อยู่กับฝุ่น PM2.5
เรียนรู้ อยู่กับฝุ่น PM2.5เรียนรู้ อยู่กับฝุ่น PM2.5
เรียนรู้ อยู่กับฝุ่น PM2.5WiseKnow Thailand
 
Thailand Economic Monitor - Harnessing Fintech for Financial Inclusion
Thailand Economic Monitor - Harnessing Fintech for Financial InclusionThailand Economic Monitor - Harnessing Fintech for Financial Inclusion
Thailand Economic Monitor - Harnessing Fintech for Financial InclusionWiseKnow Thailand
 
สู่จุดจบ! | The Coming Collapse of Thailand
สู่จุดจบ! | The Coming Collapse of Thailandสู่จุดจบ! | The Coming Collapse of Thailand
สู่จุดจบ! | The Coming Collapse of ThailandWiseKnow Thailand
 
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560WiseKnow Thailand
 
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016WiseKnow Thailand
 
เอกสารประกอบของ Thailand Internet User Profile 2016
เอกสารประกอบของ Thailand Internet User Profile 2016 เอกสารประกอบของ Thailand Internet User Profile 2016
เอกสารประกอบของ Thailand Internet User Profile 2016 WiseKnow Thailand
 
What if the next big disruptor isn’t a what but a who?
What if the next big disruptor isn’t a what but a who?What if the next big disruptor isn’t a what but a who?
What if the next big disruptor isn’t a what but a who?WiseKnow Thailand
 
The Future 100: Trends and Change to Watch in 2016
The Future 100: Trends and Change to Watch in 2016The Future 100: Trends and Change to Watch in 2016
The Future 100: Trends and Change to Watch in 2016WiseKnow Thailand
 

More from WiseKnow Thailand (20)

Capital in the Twenty-First Century.pdf
Capital in the Twenty-First Century.pdfCapital in the Twenty-First Century.pdf
Capital in the Twenty-First Century.pdf
 
eBook_A_Legacy_for_All_6July2022.pdf
eBook_A_Legacy_for_All_6July2022.pdfeBook_A_Legacy_for_All_6July2022.pdf
eBook_A_Legacy_for_All_6July2022.pdf
 
The Age of Spiritual Machines: When Computers Exceed Human Intelligence
The Age of Spiritual Machines: When Computers Exceed Human IntelligenceThe Age of Spiritual Machines: When Computers Exceed Human Intelligence
The Age of Spiritual Machines: When Computers Exceed Human Intelligence
 
ตำราตรวจโรคหมอสุรเกียรติ์.pdf
ตำราตรวจโรคหมอสุรเกียรติ์.pdfตำราตรวจโรคหมอสุรเกียรติ์.pdf
ตำราตรวจโรคหมอสุรเกียรติ์.pdf
 
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
 
เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
 
คู่มือฉบับประชาชน กรณีรักษาแบบผู้ป่วยนอกและแยกกักกันตนเอง.pdf
คู่มือฉบับประชาชน กรณีรักษาแบบผู้ป่วยนอกและแยกกักกันตนเอง.pdfคู่มือฉบับประชาชน กรณีรักษาแบบผู้ป่วยนอกและแยกกักกันตนเอง.pdf
คู่มือฉบับประชาชน กรณีรักษาแบบผู้ป่วยนอกและแยกกักกันตนเอง.pdf
 
Thailand Internet User Behavior 2020 Presentation
Thailand Internet User Behavior 2020 PresentationThailand Internet User Behavior 2020 Presentation
Thailand Internet User Behavior 2020 Presentation
 
Thailand Internet User Behavior 2020
Thailand Internet User Behavior 2020Thailand Internet User Behavior 2020
Thailand Internet User Behavior 2020
 
เรียนรู้ อยู่กับฝุ่น PM2.5
เรียนรู้ อยู่กับฝุ่น PM2.5เรียนรู้ อยู่กับฝุ่น PM2.5
เรียนรู้ อยู่กับฝุ่น PM2.5
 
Thailand Economic Monitor - Harnessing Fintech for Financial Inclusion
Thailand Economic Monitor - Harnessing Fintech for Financial InclusionThailand Economic Monitor - Harnessing Fintech for Financial Inclusion
Thailand Economic Monitor - Harnessing Fintech for Financial Inclusion
 
สู่จุดจบ! | The Coming Collapse of Thailand
สู่จุดจบ! | The Coming Collapse of Thailandสู่จุดจบ! | The Coming Collapse of Thailand
สู่จุดจบ! | The Coming Collapse of Thailand
 
CLS for Volunteer
CLS for VolunteerCLS for Volunteer
CLS for Volunteer
 
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560
 
Cyber Threats 2015
Cyber Threats 2015Cyber Threats 2015
Cyber Threats 2015
 
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
 
เอกสารประกอบของ Thailand Internet User Profile 2016
เอกสารประกอบของ Thailand Internet User Profile 2016 เอกสารประกอบของ Thailand Internet User Profile 2016
เอกสารประกอบของ Thailand Internet User Profile 2016
 
What if the next big disruptor isn’t a what but a who?
What if the next big disruptor isn’t a what but a who?What if the next big disruptor isn’t a what but a who?
What if the next big disruptor isn’t a what but a who?
 
Interaction 2016
Interaction 2016Interaction 2016
Interaction 2016
 
The Future 100: Trends and Change to Watch in 2016
The Future 100: Trends and Change to Watch in 2016The Future 100: Trends and Change to Watch in 2016
The Future 100: Trends and Change to Watch in 2016
 

ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา

  • 1. ความเหลื่อมล้ำ ฉบับพกพา โดย สฤณี อาชวานันทกุล บรรณาธิการ: ณัฐเมธี สัยเวช ผูจัดเตรียมขอมูล: อิสริยะ สัตกุลพิบูลย และ กอปรทิพย อัจฉริยโสภณ
  • 2. คำนำ ผูเขียนรูสึกเปนเกียรติอยางยิ่งที่ไดรับความไววางใจจากคณะ กรรมการสมัชชาปฏิรูป ใหเขียนหนังสือ “ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา” เพื่อสรุปสถานการณ มุมมอง ขอถกเถียง และแนวทางแกไขเกี่ยวกับ ความเหลื่อมล้ำในมิติตางๆ ที่ปรากฏในประเทศไทย คำถามที่วาความเหลื่อมล้ำในแตละมิตินั้นเปน “ปญหา” หรือไม ถาใช เราควรแกไข “อยางไร” เปนประเด็นที่มีหลากหลายมุมมองและ ความคิด การอภิปรายนานาทัศนะในเรื่องนี้ใหครอบคลุมพอที่จะยังใช คำวา “พกพา” ไดโดยที่ผูเขียนไมรูสึกตะขิดตะขวง เปนภารกิจที่เหลือ วิสัยและเกินสติปญญาของผูเขียน ดวยเหตุนี้ผูเขียนจึงเลือกที่จะให น้ำหนักกับการนำเสนอขอเท็จจริงและลักษณะของความเหลื่อมล้ำ ตางๆ โดยเฉพาะความเหลื่อมล้ำที่ชี้ใหเห็นปญหาเชิงโครงสราง รวมถึง อธิบายความเกี่ยวโยงระหวางความเหลื่อมล้ำแตละประเภท มากกวาที่ จะแจกแจงทางเลือกตางๆ ของแนวทางแกไขอยางครบถวน อยางไรก็ดี ผูเขียนเชื่อมั่นวา ไมวาคนไทยจะมองเรื่องความ เหลื่อมล้ำตางกันอยางไร อนาคตที่เปนธรรมและยั่งยืนยอมขึ้นอยูกับวา เราจะสามารถเปลี่ยนแปลงเปาหมายการพัฒนาไดหรือไม จากการยึด เอาอัตราการเติบโตของผลผลิตมวลรวมในประเทศ (จีดีพี) เปนสรณะ เพียงหนึ่งเดียว หันไปกำหนดให “การพัฒนามนุษย” เปนเปาหมายที่ สำคัญและสูงสงกวา ซึ่งก็หมายความวาเราจะตองคำนึงถึงปจจัยอื่นๆ ควบคูไปกับจีดีพี อาทิ การกระจายประโยชนจากการพัฒนาเศรษฐกิจ
  • 3. คุณภาพของระบบการศึกษาและสาธารณสุข โอกาสในการเขาถึง กระบวนการยุติธรรม อิสรภาพในการใชสิทธิพลเมือง และเสรีภาพจาก การถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน นอกจากนี้ ผูเขียนเชื่อวามาตรการใดๆ ก็ตามที่มีเปาหมายอยูที่ การลดความเหลื่อมล้ำ ไมอาจสัมฤทธิ์ผลสมดังความมุงหวังได ถาหาก เรายังไมหาวิธีบรรเทาปญหาคอรัปชั่นที่แทรกซึมในทุกระดับชั้นและทุก วงการในสังคมไทยอยางจริงจัง เนื่องจากคอรัปชั่นเปรียบดังสนิมที่คอย กัดกรอนประสิทธิผลและประสิทธิภาพของนโยบายและโครงการตางๆ และทำใหความเหลื่อมล้ำดานรายไดคอยซ้ำเติมความเหลื่อมล้ำดานอื่น ใหเลวรายลง โดยเฉพาะความเหลื่อมล้ำดานโอกาสในการเขาถึงและได รับความยุติธรรม เนื่องจากคอรัปชั่นเดินไดดวยเงิน คนจนที่ไมมีเงินจึง ไมอาจไดรับประโยชนจากกลไกคอรัปชั่น ทายนี้ ผูเขียนขอขอบคุณนักวิชาการและนักวิจัยทุกทานที่ผูเขียน อางถึงในหนังสือเลมนี้ สำหรับการทำงานที่มีคุณูปการอยางยิ่งตอสังคม ไทยและผูเขียน ขอขอบคุณ อิสริยะ สัตกุลพิบูลย, ณัฐเมธี สัยเวช และ กอปรทิพย อัจฉริยโสภณ คณะผูชวยที่ไดรวมแรงรวมใจกันทำงานอยาง แข็งขันเพื่อใหขอมูลในหนังสือเลมนี้สมบูรณที่สุดเทาที่จะเปนไปได ภายในเวลากระชั้นชิด หากเนื้อหายังมีที่ผิดพลาดประการใด ยอมเปน ความผิดของผูเขียนเพียงลำพัง ตองขออภัยไว ณ ที่นี้ สฤณี อาชวานันทกุล http://www.fringer.org/ 11 กุมภาพันธ 2554
  • 4. บทนำ 12 นิทานสมจริง 12 แนวคิดหลักวาดวยความเหลื่อมล้ำ 21 ความเหลื่อมล้ำกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย 29 บทที่ 1 38 1.1 ความเหลื่อมล้ำดานรายได 38 1.2 ความเหลื่อมล้ำดานทรัพยสิน 45 1.3 ความเหลื่อมล้ำดานโครงสรางภาษี 51 กรณีศึกษา 1: สิทธิประโยชนของโครงการไอพีสตาร 59 1.4 ความเหลื่อมล้ำเชิงพื้นที่: 61 งบประมาณและการเขาถึงสินเชื่อในระบบ 1.5 ความไมเทาเทียมในการแขงขัน 66 แนวทางลดความเหลื่อมล้ำดานเศรษฐกิจ 76 บทที่ 2 80 2.1 ที่ดินและปาไม 83 2.2 น้ำ 91 2.3 ไฟฟา 99 2.4 สิทธิชุมชน vs. สิทธิอุตสาหกรรม 102 แนวทางลดความเหลื่อมล้ำดานทรัพยากร 109 สารบัญ
  • 5. บทที่ 3 118 3.1 สิทธิและโอกาสในการรับบริการสาธารณะ 121 3.1.1 การศึกษา 123 3.1.2 บริการสาธารณสุข 137 3.1.3 คมนาคม 143 3.2 สิทธิและโอกาสในการไดรับความยุติธรรม 146 3.3 สิทธิและโอกาสของเด็ก เยาวชน สตรี 158 ผูสูงอายุ คนพิการ และผูดอยโอกาส 3.3.1 เด็กและผูสูงอายุ 160 3.3.2 เยาวชน 164 3.3.3 สตรี 168 3.3.4 ผูพิการ 177 3.3.5 แรงงานตางดาว และบุคคลไรสัญชาติ 179 3.4 สิทธิและโอกาสในการมีสวนรวมทางการเมือง 182 แนวทางลดความเหลื่อมล้ำดานสิทธิและโอกาส 190
  • 6. สารบัญแผนภูมิ แผนภูมิ 1 ขั้นบันไดรายไดตอเดือน และจำนวนสินคาที่มีในครัวเรือน 31 แผนภูมิ 2 สัดสวนรายไดของประชากร จำแนกตามระดับรายได 39 5 ระดับ (Income Quintile) ระหวางป 2531 ถึง 2552 แผนภูมิ 3 รายไดเฉลี่ยตอคนตอเดือน จำแนกตามระดับรายได 40 5 ระดับ (Income Quintile) ระหวางป 2531 ถึง 2552 แผนภูมิ 4 สัดสวนรายไดเฉลี่ยของกลุมประชากรที่รวยที่สุด 41 รอยละ 20 ตอประชากรที่จนที่สุดรอยละ 20 เปรียบเทียบกับ สัดสวนคนยากจน และรายไดเฉลี่ยตอคนตอเดือน แบงตามจังหวัด ป 2552 แผนภูมิ 5 การเติบโตของผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ 42 (จีดีพี) และคาจางจริง ระหวางป 2544 ถึง 2553 แผนภูมิ 6 ทรัพยสินครัวเรือน แบงตามฐานะ ป 2549 46 แผนภูมิ 7 หนี้สิน รายได และคาใชจายครัวเรือน 49 และอัตราการเติบโตของหนี้และรายได ระหวางป 2543 ถึง 2552 แผนภูมิ 8 รายไดและคาใชจายเฉลี่ยตอคนตอเดือน 50 และสัดสวนครัวเรือนที่มีหนี้สิน ป 2552 แผนภูมิ 9 สัดสวนรายไดภาษีตอจีดีพี 52 และรายไดตอหัวของประชากรไทย ระหวางป 2535 ถึง 2552 แผนภูมิ 10 สัดสวนผูเสียภาษีตอประชากรกำลังแรงงาน 53 เปรียบเทียบกับสัดสวนรายไดเฉลี่ยของประชากรที่รวยที่สุด รอยละ 20 ตอประชากรที่จนที่สุดรอยละ 20 แผนภูมิ 11 การประเมินการสูญเสียภาษีรายได 56 จากคาลดหยอนบางประเภท
  • 7. แผนภูมิ 12 สัดสวนภาระภาษีตอยอดขาย 58 จำแนกตามประเภท ขนาด และประเภทอุตสาหกรรม ของบริษัทนอกตลาดหลักทรัพย ป 2551 แผนภูมิ 13 อัตราความเปนเมือง และจำนวนประชากร 62 คนเมืองตามลำดับที่ของเมือง เปรียบเทียบระหวางไทย เกาหลีใต มาเลเซีย และอินโดนีเซีย แผนภูมิ 14 รายไดของครัวเรือนเฉลี่ยตอหัว ป 2550 62 แยกตามสาขาอาชีพและภูมิภาค แผนภูมิ 15 ผลิตภัณฑมวลรวมตอคนตอป 63 และงบประมาณรัฐตอคนตอป ป 2553 แผนภูมิ 16 เปรียบเทียบผลิตภัณฑมวลรวมตอคนตอป 64 และงบประมาณรัฐตอคนตอปรายจังหวัด ป 2553 แผนภูมิ 17 ยอดสินเชื่อคงคางในระบบธนาคารพาณิชย 65 จำแนกตามจังหวัด ณ 30 พฤศจิกายน 2553 แผนภูมิ 18 รายไดของบริษัทจำกัด จำแนกตามกลุมรายได 68 ระหวางป 2548 ถึง 2550 แผนภูมิ 19 บริษัทที่ใหญที่สุด 20 แหง 69 ในตลาดหลักทรัพยโดยมูลคาตลาด ป 2539 และ 2553 แผนภูมิ 20 สรุปความสัมพันธระหวางกลุมธุรกิจเอกชน 75 นักการเมือง และคณะกรรมการแขงขันทางการคา แผนภูมิ 21 สัดสวนของการถือครองที่ดิน 84 ของผูครองที่ดิน 50 อันดับแรก ใน 8 จังหวัด ป 2552 แผนภูมิ 22 พื้นที่ที่ไดรับผลกระทบจากอุทกภัย 93 ในภาคกลาง เดือนกันยายนถึงพฤศจิกายน 2553 (ไร)
  • 8. แผนภูมิ 23 พื้นที่ที่ไดรับผลกระทบจากอุทกภัย 94 ป 2549, 2551 และ 2553 แผนภูมิ 24 สัดสวนการใชพลังงานไฟฟา 102 ตอประชาชน 1 คนในแตละจังหวัด ป 2552 แผนภูมิ 25 ตำแหนงแหลงกำเนิดมลพิษ จังหวัดระยอง 108 แผนภูมิ 26 คาจางเฉลี่ยตอเดือนในป 2550 124 แยกตามระดับการศึกษาและอายุ แผนภูมิ 27 จำนวนปที่ประชากรอายุ 15 ปขึ้นไป 127 ไดรับการศึกษา ป 2549 แผนภูมิ 28 ลักษณะเดนของผูที่มีการศึกษาสูงสุดรอยละ 20 128 และต่ำสุดรอยละ 20 เทียบกับคาเฉลี่ยของผูที่อยูในวัยเดียวกัน ป 2549 แผนภูมิ 29 ผลการประเมิน PISA ระหวางป 2543 131 ถึง 2552 (คะแนนเต็ม = 800) แผนภูมิ 30 คะแนนการอาน PISA รายภาค 132 เปรียบเทียบป 2543 กับ 2552 แผนภูมิ 31 คะแนนคณิตศาสตรและวิทยาศาสตร PISA รายภาค 133 เปรียบเทียบป 2546 กับ 2552 แผนภูมิ 32 คาดัชนีทรัพยากรการเรียนของ 134 นักเรียนกลุมสูงและกลุมต่ำ เปรียบเทียบป 2546 กับ 2552 แผนภูมิ 33 การกระจายผลประโยชนทางการศึกษา 136 จำแนกตามประเภทสถานศึกษา และชวงชั้นรายได ป 2552 แผนภูมิ 34 อัตราการตายเด็กอายุ 5 ป แบงตามชั้นรายได 139 ป 2533 และ 2548 แผนภูมิ 35 มูลคาและสัดสวนการกระจายผลประโยชน 140 ตามชั้นรายไดและประเภทสวัสดิการของผูปวยนอกและผูปวยใน ป 2552
  • 9. แผนภูมิ 36 อัตราสวนประชากรตอเตียงผูปวยทั่วไปและ 143 ตอเจาหนาที่ทางการแพทยและสาธารณสุขบางประเภท ในกรุงเทพมหานคร และจังหวัดอื่น ป 2547 ถึง 2551 แผนภูมิ 37 สัดสวนการกระจายผลประโยชนจากรายจาย 145 สาขาการขนสงของภาครัฐ แบงตามกลุมรายได ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ป 2552 แผนภูมิ 38 สัดสวนรายจายภาครัฐที่เกี่ยวกับการคมนาคม 145 สำหรับผูมีรายไดมากที่สุดรอยละ 20 ตอผูมีรายไดต่ำที่สุด รอยละ 20 ในแตละภูมิภาค (หนวย: เทา) แผนภูมิ 39 จำนวนครัวเรือน 6 ประเภทและอัตราการเติบโต 162 ระหวางป 2529 ถึง 2549 แผนภูมิ 40 รอยละของประชากรที่พิการอายุตั้งแต 15 ปขึ้นไป 177 จำแนกตามการมีงานทำ อาชีพ และกลุมอายุ ป 2550 แผนภูมิ 41 สัดสวนประชากรผูพิการที่มีความลำบาก 178 ในการดูแลตัวเองที่มีผูดูแลและไมมีผูดูแล ป 2550
  • 10. ความเหลื่อมล้ำเชิงพื้นที่ ความเชื่อมโยงระหวางความเหลื่อมล้ำดานตางๆ สงผลกระทบสองทาง เนื่องจากคอรัปชั่น ความเหลื่อมล้ำ ดานทรัพยากร ความเหลื่อมล้ำ ดานสิทธิและโอกาส ในการรับบริการสาธารณะ ความเหลื่อมล้ำ ดานรายไดและทรัพยสิน ความเหลื่อมล้ำ ดานโครงสรางภาษี ความเหลื่อมล้ำดาน สิทธิและโอกาสการ มีสวนรวมทางการเมือง ความเหลื่อมล้ำดาน สิทธิและโอกาสในการ ไดรับความยุติธรรม ความไมเทาเทียม ในการแขงขัน
  • 11. มนุษยเราเกิดมามีรางกายและปญญา สมอง ไมเสมอกัน ...เมื่อเริ่มตนก็เกิดความอยุติธรรม เสียแลวเชนนี้ ก็เปนหนาที่ของสังคมที่จะขจัด ปดเปาความไมเสมอภาคนั้นใหนอยลงที่สุด ที่จะกระทำได ปวย อึ๊งภากรณ ศีลธรรมและศาสนาในการพัฒนาชาติ, พ.ศ. 2512
  • 12. บทนำ ‘ความเหลื่อมล้ำ’ สำคัญไฉน นิทานสมจริง ลองมาดูชีวิตสมมุติแตสมจริงยุคตนศตวรรษที่ 21 ของ คนไทย 2 คน – ไพบูลย ไพบูลยเกิดในครอบครัวชนชั้นกลางระดับบนที่กรุงเทพฯ บิดาเปนตำรวจยศพลเอก มารดาเปนกรรมการผูจัดการบริษัท จดทะเบียนแหงหนึ่งในตลาดหลักทรัพย เขาเปนพี่คนโต มีนองสาว คนเดียว บิดามารดาสงเสียใหเรียนหนังสือในโรงเรียนเอกชน ชั้นนำของประเทศตั้งแตเด็ก เสียเงินหลายแสนบาทตอปใหเขา ไปโรงเรียนกวดวิชาและจางครูมาสอนพิเศษตัวตอตัว ไพบูลย สอบเขาคณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย หลัง จากจบปริญญาตรีแลวก็ไปทำงาน 2 ปในภาคการเงิน กอนบิน ไปจบปริญญาโทดานบริหารธุรกิจจากมหาวิทยาลัยเอ็มไอที
  • 13. 13สฤณี อาชวานันทกุล สหรัฐอเมริกา หลังจากที่เขากลับมาจากอเมริกา ไพบูลยไดงานเปนรอง ผูอำนวยการฝายวางแผนของบริษัทขนาดใหญในตลาดหุนที่มี เครือขายโรงแรม รีสอรท และสนามกอลฟรวมกันหลายสิบแหง ทั่วประเทศ ลำพังความสามารถของเขาก็ทำใหไดงานนี้โดยไม ยาก แตเนื่องจากประธานเจาหนาที่บริหาร (ซีอีโอ) ของบริษัท แหงนี้สนิทสนมกันดีกับมารดาของไพบูลยเขาจึงไดรับการแตงตั้ง เปนรองผูอำนวยการฝายตั้งแตแรกเขา ขามหนาขามตา “ลูก หมอ” หลายคนของบริษัทที่มีประสบการณและความรูดีกวา ไพบูลยแตงงานกับสาวสวยจากตระกูลที่สนิทกับ ครอบครัวของเขามาตั้งแตรุนปู ภรรยาของเขาทำงานเปน ผูอำนวยการฝายสื่อสารองคกรของธนาคารพาณิชยขนาดใหญ เขาและเธอมีครอบครัวที่อบอุน สะสมความมั่งคั่งอยางตอเนื่อง ดวยการซื้อที่ดิน กรรมสิทธิ์ในอาคารชุด และหุนใน ตลาดหลักทรัพยเมื่อโอกาสอำนวย ไพบูลยและภรรยารูสึกวา พวกเขามีทุกสิ่งที่ตองการแลวในชีวิต ความปรารถนาเดียวที่ เหลืออยูคือ เลิกทำงานประจำกอนอายุ 50 ป จะไดมีเวลาไป เที่ยวรอบโลก ตีกอลฟกับเพื่อนฝูง และคอยใหเงินทุนสนับสนุน และคำปรึกษาแกลูกๆ ที่บอกวาอยากทำกิจการของตัวเอง ไมอยากทำงานเปนนักบริหารมืออาชีพเหมือนกับพอแม ไพบูลย เชื่อวาความมั่งคั่งและสายสัมพันธของเขาในโลกธุรกิจจะชวยให ลูกๆ ไดทำในสิ่งที่พวกเขาปรารถนาอยางไมยากเย็นนัก สิ่งเดียวที่ไพบูลยกังวลคือ กลัววาลูกๆ ที่ไดรับการเลี้ยงดู อยางดีและตามใจตั้งแตเด็กจะเคยตัวจนไมขยันทำงานเพื่อ
  • 14. 14 ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา พิสูจนตัวเองใหเปนที่ประจักษ มัวแตเที่ยวเตรหรือใชชีวิตอยาง ฟุงเฟอจนผลาญเงินมรดก แทนที่จะตอยอดความมั่งคั่งที่ตระกูล ของเขาเพียรสะสมมาตั้งแตรุนปูยา พิชัย พิชัยเกิดในครอบครัวเกษตรกรรายยอย จังหวัด นครราชสีมา บานของเขาเปนชาวนากันมาหลายชั่วอายุคน ตั้งแตจำความได มีที่ดินตกทอดมาจากปูทวด 30 ไร บิดามารดา ของเขาตองกูเงินจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ (ธกส.) มาซื้อเมล็ดพันธุ ซื้อปุย จายคาไถนา รวมถึงจายคาใชน้ำใน บอเก็บน้ำของเอกชนถาปไหนฝนนอยหรือไมตกเลย เนื่องจาก ระบบชลประทานของรัฐมีไมเพียงพอตอความตองการ ทำให บิดามารดาของเขาไมตางจากเกษตรกรสวนใหญในนครราชสีมา ตรงที่ทำนากันปละครั้งเทานั้น ตองภาวนาใหฝนฟาตกตองตาม ฤดูกาล พิชัยคุนเคยกับความเสี่ยงนานัปการของอาชีพเกษตรกร มาตั้งแตเด็ก ซึ่งมีตั้งแตความผันผวนของสินคาเกษตรในตลาด โลก ความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติโดยเฉพาะภัยแลงและน้ำทวม ซึ่งนับวันยิ่งทวีความผันผวนและรุนแรงมากขึ้นตามกระแสการ เปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลก ปไหนฝนแลงก็ตองลงทุน สูบน้ำเขานาและซื้อปุยมาใสเพิ่มเติม ยังไมนับคาน้ำมันดีเซล สำหรับรถไถซึ่งเพิ่มสูงขึ้นทุกป ความเสี่ยง ตนทุนการเกษตร และหนี้สินที่พอกพูนขึ้นทุกปทำใหครอบครัวของพิชัยไมเคยมี เงินออม
  • 15. 15สฤณี อาชวานันทกุล ความยากลำบากของอาชีพเกษตรกรทำใหบิดามารดา ของเขาไมอยากใหพิชัยเจริญรอยตาม และพิชัยก็ไมอยากเปน เกษตรกรเหมือนกัน เขาเดินทางออกจากบานไปทำงานเปน แรงงานกอสรางในกรุงเทพฯ ทันทีที่เรียนจบมัธยม 3 ถึงแมจะ ไดคาแรงขั้นต่ำเพียง 7,000 - 8,000 บาทตอเดือน ก็ยังดีกวา รายไดเฉลี่ยของบิดามารดาซึ่งอยูที่เดือนละ4,000-5,000บาท และเงินจำนวนนี้ตองเลี้ยงดูทั้งครอบครัว พิชัยรูดีวาเขาจะมี โอกาสมีรายไดมากกวานี้สองเทาถาไดงานเปนพนักงานบริษัท แตโอกาสที่จะไดงานก็คอนขางนอยเพราะเขาไมมีปริญญา พิชัย จึงกูเงินมาเชารถแท็กซี่ขับ คอยๆ ขยับฐานะจนเปนชนชั้นกลาง ระดับลางในกรุงเทพฯ ตั้งแตเริ่มขับรถแท็กซี่ พิชัยพยายามออมเงินใหไดมาก ที่สุด เขาสงเงินสวนหนึ่งกลับไปใหบิดามารดาทุกเดือนเพื่อ ชวยออกคาใชจายในบาน จางคนมาทำนาเพราะทำเองไมไหว แลว และเปนคาเลี้ยงดูลูกซึ่งเขาฝากใหบิดามารดาชวยดูแล เนื่องจากทั้งเขาและภรรยาตองทำงาน ไมมีรายไดพอที่จะจาง คนเลี้ยง เงินออมของพิชัยและภรรยามากพอที่จะสงใหลูกเรียน จบ ปวช. หรือ ปวส. แตเขาอยากใหบิดามารดาของเขาขายที่นา จะไดเอาเงินมาสงเสียใหหลานไดเรียนปริญญา และจางคนมา ดูแลยามแกเฒา เพราะอีกหนอยเมื่อนองๆ ของเขาเรียนจบ มัธยมตนก็คงเขามาหางานในกรุงเทพฯเชนกัน เมื่อถึงตอนนั้น จะไมมีใครดูแลคนแก แตผูเฒาทั้งสองไมอยากขายทรัพยสิน ชิ้นเดียวที่ตกทอดมาแตบรรพบุรุษ
  • 16. 16 ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา นิทานสมจริงขางตนชี้ใหเห็นวา ชีวิตของไพบูลยกับพิชัย มี “ความเหลื่อมล้ำ” หลายมิติดวยกัน ความเหลื่อมล้ำที่ชัดเจน ที่สุดคือ ความเหลื่อมล้ำทางรายได เนื่องจากไพบูลยมีรายได สูง เขาจึงออมและสะสมทรัพยสินไดมาก สวนพิชัยมีรายไดนอย ออมไดเทาไรก็ตองสงใหครอบครัวที่โคราชและเก็บเปนทุนการ ศึกษาใหลูก เขาจึงมีทรัพยสินนอย ยังไมตองพูดถึงทรัพยสินที่ เพิ่มมูลคาไดอยางที่ดินและหุน ซึ่งไพบูลยมีทั้งความรูและเงิน ทองเพียงพอที่จะลงทุนอยางสม่ำเสมอ แตพิชัยไมเคยคิดถึงสิ่ง เหลานี้ แคการพูดคุยกับบิดามารดาเรื่องจะเอาอยางไรดีกับที่นา ผืนเดียวของครอบครัวก็ปวดหัวพอแลว ความเหลื่อมล้ำทางรายไดและทรัพยสินนาจะสงผลให ไพบูลยกับพิชัยมีความเหลื่อมล้ำดานโอกาสและคุณภาพการให บริการของรัฐดวย ตั้งแตเรื่องเล็กๆ นอยๆ ในชีวิตประจำวัน เชน แนวโนมที่เจาหนาที่รัฐจะเรงอำนวยความสะดวกใหกับคน “เสน ใหญ” อยางไพบูลยมากกวาพิชัย หรือแนวโนมที่พิชัยจะถูกเอารัด เอาเปรียบจากผูมีอำนาจมากกวาไพบูลย ไปจนถึงโอกาสใน การเขาถึงการศึกษาและบริการสาธารณะที่ไดคุณภาพ ไพบูลย ไมจำเปนจะตองสนใจบริการเหลานี้ของรัฐ เนื่องจากเขามีฐานะ ดีพอที่จะซื้อบริการที่ดีที่สุดจากเอกชนอยูแลว ขณะที่พิชัยตอง พึ่งพิงสวัสดิการจากรัฐเปนหลัก โดยเฉพาะสวัสดิการที่ “แรงงาน นอกระบบ” อยางเขาเขาถึง อาทิ เบี้ยยังชีพผูสูงอายุ และระบบ ประกันสุขภาพถวนหนา นอกจากไพบูลยกับพิชัยจะมีความเหลื่อมล้ำดานรายได ทรัพยสิน และโอกาสแลว เรายังอาจพบวามีความเหลื่อมล้ำ
  • 17. 17สฤณี อาชวานันทกุล ดานศักดิ์ศรีที่ (รูสึกวามี) ระหวางคนสองคนนี้อีกดวย เนื่องจาก คานิยมในสังคมไทยปจจุบันใหคากับการ “มีหนามีตา” ในสังคม มากกวา “การประกอบอาชีพสุจริต” มาก ถึงแมวานักบริหาร ตระกูลดังอยางไพบูลยกับคนขับรถแท็กซี่อยางพิชัยจะมี “ความ เทาเทียมกันใตกฎหมาย” ก็ตาม ในความเปนจริงของสังคม พวกเขายอมมีแนวโนมที่จะถูกคนดูหมิ่นดูแคลนไมเทากัน และ ดังนั้นจึงรูสึกวาตนมีศักดิ์ศรีไมเทากัน ในสังคมที่ยังมีการทุจริตคอรัปชั่นอยางแพรหลายทุก ระดับชั้นอยางสังคมไทย ความเหลื่อมล้ำอีกมิติหนึ่งที่พิชัยกับ ไพบูลยนาจะประสบ แตไมปรากฏในนิทานขางตนเพราะเปน กรณีเฉพาะ คือความเหลื่อมล้ำของการใชอำนาจรัฐ ดังที่รับรู กันทั่วไปวาเจาหนาที่ตำรวจ ขาราชการ และผูพิพากษาจำนวน ไมนอยรับเงิน “ใตโตะ” จากผูมีฐานะที่ตกเปนจำเลย เพื่อเรง ดำเนินคดี บิดเบือนรูปคดีใหจำเลยพนผิด หรือถารับโทษก็ให ไดรับโทษสถานเบาที่สุดหรือรอลงอาญา ดังนั้นในแงนี้ สมาชิก ชนชั้นกลางระดับลางไรเสนสายอยางพิชัยยอมตกเปนฝาย เสียเปรียบถาหากเขามีเหตุใหตองพึ่งพากระบวนการยุติธรรม ถาหากความเหลื่อมล้ำเกิดจากพฤติกรรมสวนบุคคล ลวนๆ เชน ถาหากไพบูลยประสบความสำเร็จเพียงเพราะเขา ขยันทำงาน สวนพิชัยมั่งคั่งนอยกวาเพียงเพราะเขาเกียจคราน กวา เราก็คงไมมองวาความเหลื่อมล้ำระหวางบุคคลทั้งสองนี้ เปน “ปญหา” ที่ควรไดรับการแกไข แตในโลกแหงความจริง ความเหลื่อมล้ำไมวาจะมิติใดก็ตามมักจะเปน “ผลลัพธ” ของ เหตุปจจัยตางๆ ที่สลับซับซอนและซอนทับกัน หลายปจจัยอยู
  • 18. นอกเหนือการกระทำของปจเจก และเปน “ปญหาเชิงโครงสราง” ของสังคม เชน ปญหาคอรัปชั่นและเลือกปฏิบัติในระบบราชการ ปญหาคนจนเขาไมถึงทรัพยากรที่จำเปนตองใชในการดำรงชีวิต ปญหาระบบการจัดเก็บภาษีไมเปนธรรม (คนจนจายมากกวา คนรวยถาคิดเปนสัดสวนของรายได) และปญหารัฐไมคุมครอง สิทธิพลเมืองและสิทธิมนุษยชนอยางเทาเทียมกันแมวาจะ บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญก็ตาม มุมมองเรื่องความเหลื่อมล้ำวามิติใดเปน “ปญหา” บาง และถาเปนปญหาเราควรแกไข “อยางไร” นั้นเปนเรื่องที่ถกเถียง กันไดมาก แตประเด็นหนึ่งที่ปฏิเสธไมไดคือ สังคมที่มีความ เหลื่อมล้ำสูงเปนสังคมที่คนรูสึกวา “ไมนาอยู” เพราะรูสึกวา คนจนขยับฐานะลำบากไมวาจะขยันเพียงใด เพราะชองวางใหญ มาก สวนคนรวยที่ “เกิดมารวย” ก็ใชความมั่งคั่งสะสมที่บิดา มารดามอบใหเปนมรดกสรางความมั่งคั่งตอไปไดอยางงายดาย ในนิทานขางตน ลูกของไพบูลยยอมมี “โอกาส” สูงกวาลูกของ พิชัยมากที่จะมีชีวิตความเปนอยูดีกวาคนรุนพอ ความเหลื่อมล้ำเปน “ปญหา” ในสังคมแบบนี้ เพราะคง ไมมีใครอยากอยูในสังคมที่สถานภาพและฐานะของผูคนถูก ตอกตรึงตั้งแตเกิด เพราะทุกคนเลือกเกิดไมไดแตอยากมีสิทธิ และเสรีภาพในการเลือกทางเดินชีวิตของตัวเอง ถาหากความ เหลื่อมล้ำสวนหนึ่งเปนผลลัพธของปญหาเชิงโครงสราง เราก็ ยอมบรรเทาหรือกำจัดมันไดดวยการแกปญหาเชิงโครงสราง เหลานั้น
  • 19. 19สฤณี อาชวานันทกุล นพ.ประเวศ วะสี กลาวในป พ.ศ. 2544 วา “คนไทยควร จะทำความเขาใจวา ความยากจนไมไดเกิดจากเวรกรรมแตชาติ ปางกอน แตเกิดจากโครงสรางที่อยุติธรรมในสังคม ตองทำความ เขาใจโครงสรางและชวยกันปฏิรูปโครงสรางที่ทำใหคนจน”1 1 ประเวศ วะสี, “นโยบายเพื่อคนจน: ลางโครงสราง 10 ประการที่ประหาร คนจน.” ใน ความจริงของความจน. คณะทำงานวาระทางสังคม สถาบันวิจัย สังคม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย: 2544. ดาวนโหลดไดจาก http://fringer. org/?page_id=37 ความเหลื่อมล้ำ : นิธิ เอียวศรีวงศ* “ความเหลื่อมล้ำ”อาจเกิดได4ดานดวยกันคือเหลื่อมล้ำ ทางสิทธิ–โอกาส–อำนาจ–ศักดิ์ศรี ไมจำเปนวาความเหลื่อมล้ำ ทั้ง 4 ดานนี้ตองเกิดขึ้นจากกฎหมายเพียงอยางเดียว สวนใหญ เกิดขึ้นจากแนวทางการปฏิบัติ หรือพูดใหกวางกวานั้นคือเกิดใน ทาง “วัฒนธรรม” มากกวา เชนคนที่ไมมีหลักทรัพยยอมเขาถึงแหลงเงินกูไดยาก ไมมี กฎหมายใดบังคับวาธนาคารตองใหกูไดเฉพาะผูที่มีหลักทรัพย แตธนาคารกลัวเจง จึงเปนธรรมดาที่ตองเรียกหลักทรัพย ค้ำประกันเงินกู ในขณะเดียวกัน ธนาคารไทยไมเห็นความ จำเปนจะทำไมโครเครดิตกับคนจน เพราะแคนี้ก็กำไรพอแลว จึงไมมีทั้งประสบการณและทักษะที่จะทำ แมรูวาจะมีลูกคา จำนวนมหึมารออยูก็ตาม นี่คือโลกทัศนทางธุรกิจของนายธนาคารไทย ซึ่งเปนสวน
  • 20. 20 ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา หนึ่งของ “วัฒนธรรม” “ความเหลื่อมล้ำ” ทางเศรษฐกิจนั้นมีอยูจริง และจริงจน นาวิตกดวย เพราะมันถางกวางขึ้นอยางนาตกใจตลอดมา แต เปนหนึ่งใน “ความเหลื่อมล้ำ” ดานโอกาส, ดานอำนาจ, ดาน สิทธิ จนทำใหคนสวนใหญดอยศักดิ์ศรี ไมใชเรื่องจน-รวยเพียง ดานเดียว หรือในทางกลับกัน เพราะมีอำนาจนอย จึงถูกคนอื่นแยง เอาทรัพยากรที่ตัวใชอยูไปใช หรือตองคำพิพากษาวาทำใหโลก รอนตองเสียคาปรับเปนลานทำมาหากินดวยทักษะที่ตัวมีตอไป ไมได จึงหมดปญญาหาสงลูกเรียนหนังสือ ในที่สุดก็จนลง ทั้งโคตรสิทธิก็ยิ่งนอยลง,โอกาสก็ยิ่งนอยลง,อำนาจก็ยิ่งนอยลง, และศักดิ์ศรีก็ไมมีใครนับขึ้นไปอีก อีกดานหนึ่งที่ลืมไมไดเปนอันขาดทีเดียวก็คือ “ความ เหลื่อมล้ำ” เปนความรูสึกนะครับ ไมใชไปดูวาแตเดิมเอ็งเคย ไดเงินแควันละ 50 เดี๋ยวนี้เอ็งไดถึง 200 แลวยังจะมาเหลื่อมล้ำ อะไรอีก ก็ตอนได 50 มันไมรูสึกอะไรนี่ครับ ยังคิดอยูวาชาติกอน ทำบุญมานอย ชาตินี้จึงตองพอเพียงแค 50 คิดแลวก็สบายใจ แตเดี๋ยวนี้ความคิดอยางนั้นหายไปหรือออนกำลังลงเสียแลว จะดวยเหตุใดก็ตามทีเถิด ไดวันละ 200 แตไดเห็นใครตอใคร เขามั่งมีศรีสุขกันเต็มไปหมด แมแคมือถือมือสองมือสามเครื่อง ละไมกี่รอย จะซื้อใหลูกยังตองผัดวันประกันพรุง จะใหไมรูสึก เหลื่อมล้ำเลยไดอยางไร มีเหตุผลรอยแปดที่ทำใหความพอใจในตนเอง
  • 21. 21สฤณี อาชวานันทกุล (Self Contentment) ของแตละคนหายไป จะดูแตรายไดที่เปน ตัวเงินอยางเดียวก็ไมมีวันเขาใจ เพราะความพอใจในตนเอง นั้นมีเงื่อนไขทางสังคม-วัฒนธรรมกำกับอยูดวยเสมอ ยกเวน แตพระอริยบุคคลเทานั้นที่อยูในโลกแตเหนือโลก ผมเปนแค กรรมกรโรงงานเทานั้น *บางสวนจากนิธิเอียวศรีวงศ,“ความเหลื่อมล้ำ”มติชนสุดสัปดาหฉบับวันที่ 27 สิงหาคม – 2 กันยายน 2553 ฉบับที่ 1567. แนวคิดหลักวาดวยความเหลื่อมล้ำ ถึงที่สุดแลว คำถามที่วา ความเหลื่อมล้ำในสังคมดาน ตางๆ โดยเฉพาะดานเศรษฐกิจนั้นเปน “ปญหา” ที่เราตองหา ทางแกไขหรือไม และถาตองแกควรใชวิธีอะไร เปนคำถามที่ ขึ้นอยูกับอุดมการณหรือจุดยืนของคนในสังคม ปจจุบันมีสำนัก คิดใหญ 3 แหงที่มีอิทธิพลตอการกำหนดนโยบายและวิวาทะ สาธารณะในกรอบของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ไดแก เสรีนิยม (Liberalism) ความยุติธรรมทางสังคม (Social Justice) และสมรรถภาพมนุษย (Capabilities Approach) ความแตกตาง ระหวางสำนักคิดทั้ง3สวนใหญอยูที่การใหน้ำหนักกับ “เสรีภาพ ของปจเจก” และ “ความยุติธรรมในสังคม” ไมเทากัน สำนักคิดทั้ง 3 นี้มีความ “เทาเทียมกันทางศีลธรรม” (Morally Equivalent) กลาวคือ ไมมีชุดหลักเกณฑสัมบูรณใดๆ ที่จะชวยเราตัดสินไดวาสำนักคิดใด “ดีกวา” หรือ “เลวกวา” กัน
  • 22. 22 ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา เนื่องจากตางก็มีจุดยืนทางศีลธรรมดวยกันทั้งสิ้น เพียงแตให น้ำหนักกับคุณคาหรือคุณธรรมตางๆ ไมเทากัน การตัดสินวา จะเชื่อหรือประยุกตใชแนวคิดของสำนักคิดใดสำนักคิดหนึ่งจึง นาจะตั้งอยูบนการประเมินผลไดและผลเสียของแตละแนวคิด เปรียบเทียบกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่เปนจริง มากกวา การใชมาตรวัดทางศีลธรรมใดๆ ที่เปนนามธรรมโดยไมคำนึง ถึงสถานการณจริง เราสามารถสรุปแนวคิดในสวนที่เกี่ยวกับความเหลื่อมล้ำ ของสำนักคิดทั้ง 3 ไดคราวๆ ดังตอไปนี้ 1. เสรีนิยม (Liberalism) นักเสรีนิยมสายคลาสสิก (Classical Liberal) และ สายลิเบอทาเรียน (Libertarian) โดยทั่วไปจะไมมีจุดยืนเกี่ยวกับ ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ เนื่องจากเชื่อวารัฐควรปลอยให มนุษยทุกคนมีเสรีภาพที่จะทำอะไรๆ เอง เพราะมองวาเสรีภาพ ของปจเจกคือคุณคาและคุณธรรมที่สำคัญที่สุด ความยุติธรรม ตองอยูบนพื้นฐานของเสรีภาพ รัฐมีหนาที่อำนวยใหเกิด “ความ เทาเทียมกันภายใตกฎหมาย” โดยไมตองสนใจวาความเทาเทียม ดังกลาวจะนำไปสูความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจหรือไมเพียงใด เนื่องจาก “กลไกตลาด” (ผลรวมของการกระทำโดยเสรีของ ปจเจก) คือกลไกที่ดีที่สุดหรือมีขอบกพรองนอยที่สุดแลวในการ สรางประโยชนสาธารณะ ลุดวิก วอน มิเซส (Ludwig von Mises) นักเศรษฐศาสตร
  • 23. 23สฤณี อาชวานันทกุล เสรีนิยมคลาสสิกผูทรงอิทธิพล เสนอในป ค.ศ. 1949 วา2 นักเสรีนิยมที่รณรงคความเทาเทียมกันภายใตกฎหมายนั้น ตระหนักดีวา มนุษยเกิดมาไมเทาเทียมกัน และความไมเทาเทียม กันนี้เองที่เปนบอเกิดของการรวมมือกันทางสังคมและอารยธรรม ในความเห็นของพวกเขา ความเทาเทียมกันภายใตกฎหมายไมได ถูกออกแบบมาแกไขขอเท็จจริงของจักรวาลที่เปลี่ยนแปลงไมได หรือเพื่อกำจัดความไมเทาเทียมตามธรรมชาติใหหมดสิ้นไป แต ในทางตรงกันขาม ความเทาเทียมกันภายใตกฎหมายถูกออกแบบ มาเปนเครื่องมือที่จะรับประกันวามนุษยชาติทั้งมวลจะไดรับ ประโยชนสูงสุดจากความไมเทาเทียมดังกลาว ...ความเทาเทียม กันภายใตกฎหมายนั้นดีเพราะมันตอบสนองความตองการของ ทุกคนไดดีที่สุด ปลอยใหพลเมืองผูมีสิทธิเลือกตั้งตัดสินใจเองวา ใครควรดำรงตำแหนงทางการเมือง และปลอยใหผูบริโภคตัดสินใจ เองวาใครควรมีอำนาจกำหนดกิจกรรมการผลิต โรเบิรต โนซิค (Robert Nozick) นักปรัชญาสายลิเบอทา- เรียนผูโดงดัง มองวาสังคมในอุดมคติคือสังคมที่มนุษยทุกคนมี เสรีภาพสมบูรณ ไมมีใครถูกใครบังคับไมวาทางตรงหรือทางออม ในเมื่อรัฐกระจายความมั่งคั่งดวยการบังคับ (โดยเฉพาะการจัด เก็บภาษี) โดยทั่วไปเขาจึงไมเห็นดวยกับมาตรการลดการเหลื่อมล้ำ ทำนองนี้ แตอยางไรก็ตาม ถาความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ บางดานในสังคมสมัยใหมเกิดจากการใชกำลังบังคับในอดีต 2 Ludwig von Mises, Human Action: A Treatise on Economics, 4th Ed. Fox & Wilkes: 1966, หนา 841-842. ดาวนโหลดไดจาก http:// mises.org/resources/3250
  • 24. 24 ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา (เชน เจาขุนมูลนายในอดีตใชกำลังทหารริบเอาที่ดินทั้งหมดมา เปนของตน) โนซิคก็เห็นวาการกระจายความมั่งคั่งกลับคืนดวย อำนาจรัฐ (เชน ออกกฎหมายเพื่อกระจายที่ดินกลับไปอยูในมือ ลูกหลานของผูที่เคยถูกริบที่ดินทำกินในอดีต) ก็เปนสิ่งที่ยุติธรรม และมีความชอบธรรม แตเฉพาะในกรณีแบบนี้เทานั้น จอหน รอลส (John Rawls) นักปรัชญาการเมืองผูทรง อิทธิพลที่สุดหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ไมเห็นดวยกับแนวคิดของ โนซิค (และของสายลิเบอทาเรียนโดยรวม) ซึ่งเชิดชูเสรีภาพของ ปจเจกมากกวาความยุติธรรมในสังคมมาก รอลสนำเสนอใน หนังสือเรื่อง A Theory of Justice (ทฤษฎีความยุติธรรม) วา คนทุกคนควร “แบกรับโชคชะตารวมกัน” ดวยการชวยเหลือคน ที่ยากจนที่สุดและเสียเปรียบที่สุดในสังคม เพราะทุกคนนาจะ เห็นพองตองกันไดวา ถาบังเอิญตัวเองเกิดมาเปนคนจน ก็จะ เดือดรอนมากและอยากใหรัฐยื่นมือชวย อยางไรก็ตาม การที่ รอลสเห็นดวยกับการชวยเหลือคนที่จนที่สุด ไมไดแปลวาเขา คิดวาความเหลื่อมล้ำ (ชองวางระหวางคนจนกับคนรวย) เปน “ปญหา” ที่จำเปนจะตองไดรับการแกไข อันที่จริงรอลสกลาว วา ภาวะความเหลื่อมล้ำดานความมั่งคั่งอาจ “ชอบธรรม” ก็ได ถาหากมันเปนภาวะที่ปรับปรุงสังคมโดยรวม รวมถึงชีวิตความ เปนอยูของคนที่จนที่สุดในสังคมดวย รอลสไมเคยแจกแจงวาทฤษฎีความยุติธรรมของเขาแปล วาสังคมควรจัดการกับความเหลื่อมล้ำหรือไมอยางไรนักคิดบางคน ตีความวาขอเสนอดังกลาวของรอลสสนับสนุนระบบทุนนิยมเสรี เนื่องจากตามทฤษฎี แมแตสมาชิกที่จนที่สุดในสังคมก็ยังไดรับ
  • 25. 25สฤณี อาชวานันทกุล ประโยชนจากนวัตกรรมและความเจริญที่เกิดในระบบ แตนักคิด คนอื่นเชื่อวามีเพียง “รัฐสวัสดิการ” ที่เขมแข็งเทานั้นที่จะทำให อุดมคติของรอลสเปนจริง มิลตัน ฟรีดแมน (Milton Friedman) นักเศรษฐศาสตร สำนักเสรีนิยมคลาสสิก มองวารัฐโดยธรรมชาตินั้นดอย ประสิทธิภาพกวาเอกชนและมักจะลุแกอำนาจ ดังนั้นจึงเชื่อ วาหากรัฐทำอะไรก็ตามเพื่อพยายามสรางความเทาเทียมทาง เศรษฐกิจ เมื่อนั้นเสรีภาพทางการเมืองของผูคนก็จะถูกบั่นทอน เขากลาวอยางโดงดังวา3 สังคมที่กำหนดความเทาเทียมเปนเปาหมายเหนือเสรีภาพ จะไมมีทั้งสองอยาง สังคมที่ตั้งเปาหมายที่เสรีภาพกอนความ เทาเทียมจะมีทั้งสองอยางคอนขางสูง 2. ความยุติธรรมทางสังคม (Social Justice) นักคิดจำนวนไมนอยมองวาโครงสรางสังคมทุกสังคมลวน เปนผลผลิตของความไมเทาเทียมและความอยุติธรรมในอดีตที่ สะสมทับถมกันมานานหลายชั่วอายุคนนักเศรษฐศาสตรแพทริค ไดมอนด (Patrick Diamond) และนักสังคมวิทยา แอนโธนี กิดเดนส (Anthony Giddens) มองวาสังคมแบบ “คุณธรรมนิยม สมบูรณ” (Pure Meritocracy หมายถึงสังคมที่สมาชิกทุกคน เลื่อนฐานะไดดวยความสามารถของตนเองลวนๆ ไมใชดวย อภิสิทธิ์หรือเสนสายใดๆ) ที่ปราศจากการกระจายความมั่งคั่ง 3 Milton Friedman, “Created Equal,” สารคดีโทรทัศนชุด Free to Choose, 1990. บทโทรทัศนตอนที่ 5.
  • 26. 26 ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา ไมใชสังคมที่พึงปรารถนา เนื่องจากกลุมบุคคลที่ประสบความ สำเร็จในรุนของตัวเองจะกลายเปน “ชนชั้น” ที่ฝงรากลึกสำหรับ คนรุนตอไป เก็บความมั่งคั่งที่ตนสะสมเอาไวเปนทุนสำหรับลูก หลาน เมื่อเปนอยางนี้ลูกหลานของคนจนก็จะยิ่งเสียเปรียบ คนรวย และความเหลื่อมล้ำก็จะยิ่งถางกวางขึ้นเรื่อยๆ เพียง เพราะพวกเขาเกิดมาในครอบครัวที่ยากจน นักคิดที่รณรงค ความยุติธรรมทางสังคมมองวา นี่คือความอยุติธรรมทางสังคม ที่ตองหาทางบรรเทาหรือกำจัดใหไดมากที่สุด นอกจากจะมองวาสังคมที่ความเหลื่อมล้ำถางกวางขึ้น เรื่อยๆ คือสังคมที่ไมยุติธรรมแลว นักคิดสำนักนี้ยังมองวา ความมั่งคั่งและความกาวหนาทั้งหลายในสังคมไมไดเกิดจาก ความสามารถของคนที่มีฐานะดีเพียงอยางเดียว แตทุกคนใน สังคมลวนมีสวนสรางทั้งสิ้น ไมวาเราจะมองเห็นหรือไมก็ตาม ยกตัวอยางเชน เศรษฐีขายหุนทำกำไรในตลาดหุนไดก็เพราะ ระบบสารสนเทศของตลาดหุนมีไฟฟาใช ถาหากไฟฟานั้นถูก สงมาจากโรงไฟฟาพลังน้ำ และถาหากการกอสรางเขื่อนสงผล ใหครอบครัวชาวประมงนับหมื่นครัวเรือนตองสูญเสียชองทาง ทำมาหากินเพราะหาปลาไมไดอีกตอไป ก็กลาวไดวาเศรษฐีเปน “หนี้บุญคุณ” ชาวประมง ดวยเหตุนี้ นักคิดอยางไดมอนดและกิดเดนสจึงมอง วา สังคมตองพยายามสรางความยุติธรรมหรือบรรเทาความ อยุติธรรมทางสังคมอยางตอเนื่อง ดวยการกระจายรายไดและ ความมั่งคั่งใหตกถึงมือประชาชนในวงกวางที่สุด เพื่อ “ตอบแทน
  • 27. 27สฤณี อาชวานันทกุล คนทุกภาคสวนในสังคมที่มีสวนสรางความมั่งคั่ง”4 และดังนั้น พวกเขาจึงมักจะสนับสนุนแนวคิด “รัฐสวัสดิการ” อยางเต็ม รูปแบบที่จัดสวัสดิการถวนหนาใหกับประชาชนทุกคน ในฐานะ “สิทธิพลเมือง” ที่พึงไดรับอยางเสมอภาค และไมสนับสนุน “ระบบสวัสดิการ” ที่เอกชนมีบทบาทนำและรัฐชวยเหลือแตเพียง ผูที่ชวยตัวเองไมไดจริงๆ (ตองผานการทดสอบความจำเปน (Means-Test กอน) ในกรอบคิดของสำนักเสรีนิยม 3. สมรรถภาพของมนุษย (Capabilities Approach) อมาตยา เซน (Amartya Sen) นักเศรษฐศาสตรสวัสดิการ เจาของรางวัลโนเบลเศรษฐศาสตรป 1998 คือผูพัฒนาแนวคิด ที่ตั้งอยูบนสมรรถภาพของมนุษย (Capabilities) ซึ่งบางคนก็ เรียกแนวคิดนี้วา วิถีการพัฒนามนุษย (Human Development Approach) แนวคิดนี้มองวาทั้งความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ และความยากจนเปน “การลิดรอนสมรรถภาพ” ของมนุษย และมองวาการเติบโตทางเศรษฐกิจและรายไดเปนเพียง “เครื่อง มือ” ที่นำไปสูเปาหมาย ไมใช “เปาหมาย” ในตัวมันเอง แนวคิด นี้แตกตางจากแนวคิดเสรีนิยมใหมที่มองวา “ความเปนอยูที่ดี (Well-being) คือการบรรลุอรรถประโยชนสูงสุด (Maximum Utility)” และอรรถประโยชนสูงสุดจะบรรลุไดเมื่อคนมีรายได และความมั่งคั่งสูงที่สุด สิ่งที่เซนมองวาเปนเปาหมายของการพัฒนามนุษยคือ 4 Patrick Diamond และ Anthony Giddens, New Statesman. 27 มิถุนายน 2005.
  • 28. 28 ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา “อิสรภาพ” ซึ่งมีความหมายครอบคลุมกวางกวาที่ใชกันทั่วไป เขา เสนอวา มนุษยทุกคนควรมีอิสรภาพที่สำคัญ 5 ประการดวยกัน ไดแก อิสรภาพทางการเมือง อิสรภาพทางเศรษฐกิจ โอกาสทาง สังคม หลักประกันวาภาครัฐจะมีความโปรงใส และการคุมครอง ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน เซนชี้ใหเห็นวา เมื่อสมรรถภาพของคนถูกลิดรอน พวกเขา ก็จะขาดอิสรภาพ และอิสรภาพ 5 ประการก็ลวนสงผลกระทบ ซึ่งกันและกัน ยกตัวอยางเชน คนที่อาศัยอยูในแหลงเสื่อมโทรม ที่มีอาชญากรชุกชุม (ขาดความปลอดภัยในชีวิต) มักจะมีรายได นอยมากเมื่อเทียบกับคนที่อาศัยอยูในถิ่นปลอดภัย เพราะ ไมกลาออกจากบานไปหางาน (ขาดอิสรภาพทางเศรษฐกิจ), ขนบธรรมเนียมประเพณีในบางสังคมที่มองวาผูหญิงควรทำ หนาที่เปนแมบานทำใหผูหญิงไมไดรับการสนับสนุนใหมีการ ศึกษา (ขาดโอกาสทางสังคม) ทำใหพวกเธอออกไปทำงาน นอกบานไมไดและทำงานที่ตองใชความรูไมได (ขาดอิสรภาพ ทางเศรษฐกิจ), สังคมที่ไมมีกลไกใหคนมีสวนรวมทางการเมือง (ขาดอิสรภาพทางการเมือง) เพื่อสรางระบบ “ประชาธิปไตยแบบ ปรึกษาหารือ” เปนสังคมที่สุมเสี่ยงวานักการเมืองจะฉอราษฎร บังหลวงอยางโจงครึ่ม (ขาดหลักประกันความโปรงใส) เพราะโกง ไดโดยไมตองกลัววาจะถูกจับหรือถูกประชาชนลงมติถอดถอน ปฏิสัมพันธอันซับซอนระหวางสมรรถภาพและอิสรภาพ ดานตางๆ แปลวายิ่งสังคมมีความเหลื่อมล้ำเทาไร ก็ยิ่งปด ชองวางไดยากขึ้นเทานั้น เพราะความเหลื่อมล้ำดานหนึ่งมักจะ ตอกลิ่มความเหลื่อมล้ำดานอื่นๆ ไปพรอมกันดวย ดวยเหตุนี้
  • 29. 29สฤณี อาชวานันทกุล เซนจึงเสนอวาเปาหมายของการพัฒนาสังคมและนโยบายรัฐควร อยูที่การเพิ่มทางเลือกในการดำรงชีวิตใหแกผูคน และปรับปรุง ระดับความเปนอยูที่ดีในแนวทางที่พวกเขาเลือก ดวยการเพิ่ม อิสรภาพในดานตางๆ ขางตน เพิ่มสมรรถภาพของผูคนในการ ใชอิสรภาพดังกลาว (เชน ดวยการเพิ่มกลไกที่เปดโอกาสให มีสวนรวมทางการเมือง) และเพิ่มความสามารถในการบรรลุ เปาหมายที่คนแตละคนตั้ง (เชน ดวยการจัดการศึกษาที่มี คุณภาพ บริการสาธารณะ และบริการสาธารณสุข) ระดับการลิดรอนสมรรถภาพของคนที่จะ “ใช” อิสรภาพ เหลานี้ เปนเครื่องวัด “ระดับความยากจน” ไดดีกวาตัวเลขรายได เนื่องจากสามารถพูดถึงแงมุมของ “ความยากจน” ที่ไมแสดงใน ตัวเลขรายได ยกตัวอยางเชน สหรัฐอเมริกามีรายไดประชากร ตอหัวสูงกวายุโรปก็จริง แตมีอัตราการเขาถึงระบบสาธารณสุข แยกวา สวนอินเดียมีรายไดตอหัวไมตางจากกลุมประเทศทาง ตอนใตของทะเลทรายซะฮาราในทวีปแอฟริกาเทาไรนัก แต อินเดียมีอัตราการรูหนังสือและอัตราการตายของทารกแรกเกิด ต่ำกวามาก ความเหลื่อมล้ำกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย มุมมองของคนเกี่ยวกับความเหลื่อมล้ำแตละดานวาอะไร เปน “ปญหา” และถาเปนปญหาควรแกไข “อยางไร” นั้น ไมได เปนสิ่งที่หยุดนิ่งตายตัว ทวาผันแปรไปตามการเปลี่ยนแปลง ทางเศรษฐกิจและสังคม ยกตัวอยางเชน สมัยที่โทรศัพทมือถือ ยังมีราคาแพงเพราะเทคโนโลยีเพิ่งเกิด คนที่จะใชมือถือไดก็มี
  • 30. 30 ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา แตชนชั้นกลางระดับบนเทานั้น เราจึงไมคิดวาความเหลื่อมล้ำ เรื่องมือถือเปน “ปญหา” ที่ตองแกไข เพราะโทรศัพทเปนสินคา ฟุมเฟอย ไมใชปจจัยที่จำเปนตอการดำรงชีวิต แตเมื่อเวลาผานไป มือถือมีราคาถูกลงเพราะเทคโนโลยี กาวหนา คนก็มีกำลังซื้อมากขึ้นเพราะมีรายไดดีขึ้นจากความ เจริญทางเศรษฐกิจ คานิยมในสังคมก็เปลี่ยนไปเมื่อโลกเขาสู ยุคขอมูลขาวสาร ปจจัยเหลานี้ทำใหคนจำนวนมากรูสึกวา การ ไดใชบริการโทรคมนาคมที่มีคุณภาพไมไดเปนแคความตองการ ของผูบริโภคที่มีฐานะอีกตอไป แตเปน “สิทธิในการไดรับบริการ สาธารณะ” ประการหนึ่งซึ่งรัฐมีหนาที่รับประกัน สินคาอุปโภคบริโภคที่คนมองวาเปนเรื่องปกติธรรมดา ในวิถีชีวิตปจจุบัน รวมทั้งโทรศัพทมือถือ ไมใชสิ่งที่อยูนอก เหนือจินตนาการของคนไทยสวนใหญอีกตอไป ทั้งนี้เนื่องจาก การเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยซึ่งสามารถเติบโตเฉลี่ยถึง รอยละ 7 ตอปเปนเวลานานกวา 25 ป สงผลให “ความยากจน เชิงสัมบูรณ” (Absolute Poverty) ลดลงอยางตอเนื่องตั้งแต หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนตนมา สัดสวนคนไทยที่มีรายได ต่ำกวา 2 เหรียญสหรัฐตอวัน (เสนความยากจนที่ธนาคารโลก ใชเปนมาตรวัดความจนทั่วโลก) ลดลงจากรอยละ 26 ในป 2535 เหลือรอยละ 12 ในป 2549 อยางไรก็ตาม ประชากรที่ อยูในกลุม “เฉียดจน” คือมีรายไดสูงกวาเสนความยากจนเพียง เล็กนอยยังมีจำนวนมาก ถาขยับเสนความยากจนจาก 2 เหรียญ ตอวัน เปน 3 เหรียญตอวัน (ประมาณ 2,700 บาทตอเดือน) คนไทยที่อยูใตเสนความยากจนนี้ก็จะเพิ่มจากรอยละ 12 เปน
  • 31. 31สฤณี อาชวานันทกุล รอยละ 29 ทันที5 ความเจริญทางเศรษฐกิจ ประกอบกับการขยายตัวของ บริการทางการเงิน อาทิ เงินผอนและสินเชื่อสวนบุคคล สงผล ใหแมแตประชากรที่มีรายไดเพียง 4,000-5,000 บาทตอเดือน อยางเชนบิดามารดาของพิชัย ก็สามารถมีสิ่งอำนวยความสะดวก สมัยใหมนอกเหนือจากปจจัยสี่ อาทิ โทรศัพทมือถือ โทรทัศน และตูเย็น ไดอยางไมลำบาก (ดูแผนภูมิ 1) 5 เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ และคณะ, “การเติบโต ความเหลื่อมล้ำ และ โอกาสในประเทศไทย” ใน Insight Aug-Sep 2010. ศูนยวิจัยเศรษฐกิจและ ธุรกิจ ธนาคารไทยพาณิชย: 2553. ที่มา: เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ และคณะ, “Looking beyond Bangkok: ผูบริโภคในเมืองและการพัฒนาสู ความเปนเมืองในไทย”, ศูนยวิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจ ธนาคารไทยพาณิชย. Insight Dec 2010 - Jan 2011. แผนภูมิ 1 ขั้นบันไดรายไดตอเดือน และจำนวนสินคาที่มีในครัวเรือน
  • 32. 32 ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมที่กลาวถึงขางตน ทำใหปจจุบัน “ความยากจนสัมพัทธ” (Relative Poverty) มี น้ำหนักมากกวา “ความยากจนสัมบูรณ” (Absolute Poverty) ในการประกอบสรางเปน “ความเหลื่อมล้ำที่คนรูสึก” (Per- ceived Inequality) แตความเหลื่อมล้ำที่คนรูสึกนั้นก็ใชวาจะ รูสึกเหมือนกันหมด ในบทความเรื่อง “ความเปลี่ยนแปลงความ สัมพันธทางสังคมในสังคมไทย” ในหนังสือพิมพ กรุงเทพธุรกิจ เดือนพฤษภาคม 2553 รศ.ดร.อรรถจักร สัตยานุรักษ จากคณะ มนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ไดอธิบายมุมมองเกี่ยวกับ ความเหลื่อมล้ำที่แตกตางกันมากระหวางชนชั้น ไวอยางชัดเจน ดังตอไปนี้6 ถึงวันนี้ ผมเชื่อวาทุกคนเห็นพองตองกันวาความเหลื่อมล้ำ ทางเศรษฐกิจ เปนรากฐานของความขัดแยงในสังคมไทย เพียง แตวามุมมองของความเหลื่อมล้ำนี้แตกตางกันไปตามสถานะ และชนชั้น ชนชั้นนำและชนชั้นกลางที่ไดรับผลประโยชนจากความ เหลื่อมล้ำนี้ จะเห็นวาสังคมไทยรับรูเรื่องนี้ดีอยูแลว และรัฐก็ พยายามชวยเหลืออยู และมักจะสรุปวาสภาพความเหลื่อมล้ำก็ดี กวาเดิมมาก แมวากลุมนี้จะมีความปรารถนาดีตอคนจนอยู แตก็ เปนลักษณะของการ “มองลงต่ำ” หรือเปนการเห็นและชวยคนจน 6 อรรถจักร สัตยานุรักษ, “ความเปลี่ยนแปลงความสัมพันธทาง สังคมในสังคมไทย.” หนังสือพิมพ กรุงเทพธุรกิจ วันที่ 27 พฤษภาคม 2553. ดาวนโหลดไดจาก http://www.onopen.com/attachak/10-05- 30/5382
  • 33. 33สฤณี อาชวานันทกุล ในรูปแบบของการ “กมตัว” ลงไปชวยเหลือเปนหลัก รูปแบบการ “กมตัว” ลงไปชวยเหลือคนจนปรากฏ ก็คือ การ “สงเคราะห” เปน ครั้งเปนคราวไป ในอดีต การ “สงเคราะห” อาจจะสงผลดีทางอารมณ ความรูสึก ทั้ง “ผูสงเคราะห” และ “ผูรับการสงเคราะห” เพราะ นอกจากชวงเวลาแวบเดียวของการรับการสงเคราะหแลว ชีวิต ของ “ผูรับการสงเคราะห” ไมไดพองพานเขาไปเกี่ยวของอะไรกับ “ผูสงเคราะห” เลย ดังนั้น การเปนคนไรศักดิ์ศรีรอรับของบริจาค จึงเปนเรื่องที่รับได รวมทั้ง “ผูรับการสงเคราะห” ก็รูสึกไดถึงวาระ พิเศษที่ไดรับการสงเคราะห ที่สำคัญ ความสัมพันธลักษณะนี้คือลักษณะเดนหนึ่งใน ความเปนไทยที่ปลูกฝงกันมา ที่ตองเอื้อเฟอเผื่อแผกัน และ เปนการเอื้อเฟอเผื่อแผแบบ “ผูใหญ-ผูนอย” ในชวงเวลา 30 ปที่ผานมา ความเปลี่ยนแปลงทาง เศรษฐกิจในชนบท กอใหเกิดการประกอบอาชีพในลักษณะใหม ซึ่งทำใหมาตรฐานการดำรงชีวิตเปลี่ยนแปลงไปอยางมาก ความ สามารถในการครอบครองสินคาจำเปนในชีวิตประจำวันเปนเรื่อง ปกติธรรมดาไป หากทานผูอานไดมีโอกาสไปเดินเลนตามหาง สรรพสินคาหรือซูเปอรมารเก็ตตางจังหวัด จะพบเห็นถึงความ สามารถในการครอบครองสินคาอุปโภค-บริโภคขยายตัวมากขึ้น อยางมากมาย นี่เปนเหตุผลวาทำไมหางสรรพสินคา และซูเปอร- มารเก็ตจึงขยายตัวออกหัวเมืองไกลมากขึ้นตามลำดับ ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจนี้ ไดทำใหเกิดความ เปลี่ยนแปลงในความสัมพันธทางสังคมอยางลึกซึ้งดวย โดย
  • 34. 34 ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา เฉพาะอยางยิ่งการใหความชวยเหลือในรูปแบบของการใหความ “สงเคราะห” ลักษณะเดิมกลายเปนเรื่องที่ไมจำเปนและการรับ ของสงเคราะหเปนเรื่องของการไรซึ่งศักดิ์ศรีไป หากสำรวจกันจริงๆ ในเขตพื้นที่ที่มีความเปลี่ยนแปลง ทางเศรษฐกิจเขมขนนั้น หากมีพิธีการใหการสงเคราะห จะพบ วาจำนวนผูที่เขารับการสงเคราะหนั้นนอยลง และมักจะเปนการ เกณฑหรือขอรองจากเจาหนาที่ระดับตางๆ มากขึ้น แมวาคนใน พื้นที่นั้นๆ อาจจะยังคงมีความยากจน หรือมีรายไดไมสูงมากนัก ก็ตาม ยกเวนวาในเขตหางไกลมากๆ หรือในชวงเวลาวิกฤติ ภัยธรรมชาติ การรับของแจกจึงไมใชเรื่องพิเศษที่ควรจะรำลึกถึง บุญคุณผูใหอีกตอไป หากแตเปนเรื่องไรความหมายมากขึ้นๆ ที่ สำคัญ นอกจากไรความหมายแลว ยังแฝงไวดวยความรูสึกวาถูก ดูหมิ่นศักดิ์ศรีอีกดวย กลาวไดวา ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ ไดทำให เปลี่ยนแปลงลักษณะของความยากจน จากความ “ยากจน- สมบูรณ” มาสูความ “ยากจนเชิงสัมพัทธ” และความเปลี่ยนแปลง นี้ ไดทำใหความคิดทางดานความสัมพันธทางสังคมเปลี่ยนแปลง ตามไปดวย ความ “ยากจนสมบูรณ” ตองการและยอมรับการสงเคราะห แตความ “ยากจนเชิงสัมพันธ” ตองการโอกาสและความ เทาเทียมกัน ในเขตพื้นที่ความเปลี่ยนแปลงเชนนี้ ระบบอุปถัมภใน ชนบทที่ครั้งหนึ่งเคยเปนการจัดความสัมพันธทางสังคมเชิงผูใหญ- ผูนอยและเปนเชิงสงเคราะห ก็ตองปรับเปลี่ยนอยางลึกซึ้ง จาก