SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
นาย สิทธิชัย ญาณะวัฒน์ เลขที่ 36
นาย เวชพิสิฐ ภูมิรัตน์ เลขที่ 43
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4
1. กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ ผู้เรียนได้ทาการศึกษาค้นคว้าและ
ฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจ
2. อาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หรือกระบวนการอื่นๆ
ไปใช้ในการศึกษาหาคาตอบ
3. ครูผู้สอนคอยกระตุ้นแนะนาและให้คาปรึกษาแก่ผู้เรียน
ตั้งแต่การเลือกหัวข้อที่จะศึกษา ค้นคว้า ดาเนินงานตามแผน กาหนด
ขั้นตอนการดาเนินงานและการนาเสนอ
1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจทา
2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
3. จัดทาเค้าโครงของโครงงานที่จะทา
4. ลงมือทาโครงงาน
5. การเขียนรายงาน
6. การนาเสนอและการแสดงผลของโครงงาน
โดยทั่วไปเรื่องที่จะนามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากปัญหา
คาถาม หรือความสนใจในเรื่องต่างๆ จากการสังเกตสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบ
คอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัว ปัญหาที่จะนามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ได้จาก
แหล่งต่างๆ กัน ดังนี้
1. การอ่านค้นคว้าจากหนังสือ เอกสาร หนังสือพิมพ์หรือวารสารต่างๆ
2. การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ
3. การฟังบรรยายทางวิชาการ รายการวิทยุและโทรทัศน์ รวมทั้งการสนทนา
อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างเพื่อนนักเรียนหรือกับบุคคลอื่นๆ
4. กิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน
5. งานอดิเรกของนักเรียน
6. การเข้าชมงานนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์
1.คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจทา
ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ควร
พิจารณาองค์ประกอบสาคัญ ดังนี้
1. ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา
2. สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอุปกรณ์ที่
เกี่ยวข้องได้
3. มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคาปรึกษา
4. มีเวลาเพียงพอ
5. มีงบประมาณเพียงพอ
6. มีความปลอดภัย
รวมถึงจากการขอคาปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิที่จะช่วยให้ได้แนวคิดในการกาหนดขอบเขต
ของเรื่อง รวมทั้งความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่ทา จนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนการดาเนินงานได้อย่าง
เหมาะสม โดยผู้เรียนควรบันทึกสาระสาคัญไว้ด้วยนอกจากนี้อาจศึกษาจากผลงานรุ่นพี่ จากเว็บไซต์เพื่อ
ช่วยเพิ่มพูนประสบการณ์รวมทั้งศึกษาพัฒนาจนเกิดเป็นแนวคิดใหม่ๆประเด็นที่ต้องพิจารณา ดังต่อไปนี้
- มูลเหตุจูงใจและเป้าหมายในการทาโครงงาน
- วัสดุอุปกรณ์ต่างๆซึ่งรวมถึงเครื่องมือ ซอฟต์แวร์ที่ใช้
- ความต้องการของผู้ใช้งาน
- กลุ่มที่ทดลองใช้และวิธีประเมินผล
- วิธีการพัฒนาโครงงานอย่างไร
- ข้อสรุปของโครงงาน
- ความแปลกใหม่ความคิดสร้างสรรค์
- แนวทางในการปรับปรุง หรือการขยายการทดลองจากงานเดิม
2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
จาเป็นต้องกาหนดกรอบแนวคิดและวางแผนการพัฒนาล่วงหน้า
เพื่อคาดการณ์ความเป็นไปได้ของโครงงาน ขั้นตอนที่สาคัญ คือ
- ศึกษาค้นคว้าเอกสาร แหล่งข้อมูลนามารวบรวม
- วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อกาหนดขอบเขตและลักษณะของโครงงาน
- ออกแบบพัฒนา
- เสนอเค้าโครงของโครงงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อขอคาแนะนาและ
ปรับปรุงแก้ไข
3. จัดทาเค้าโครงของโครงงานที่จะทา
รายงาน รายละเอียดที่ต้องระบุ
ชื่อโครงงาน ทาอะไร กับใคร เพื่ออะไร
ประเภทโครงงาน วิเคราะห์จากลักษณะของประโยชน์หรือผลงานที่ได้
ชื่อผู้จัดทาโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน อาจเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มก็ได้
ครูที่ปรึกษาโครงงาน ครู-อาจารย์ผู้ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษา และควบคุมการทาโครงงานของนักเรียน
ครูที่ปรึกษาร่วม
ครู-อาจารย์ผู้ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษาร่วม ให้คาแนะนาในการทาโครงงานของ
นักเรียน
ระยะเวลาดาเนินงาน
ระยะเวลาการดาเนินงานโครงงาน ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด กาหนดเป็นวัน หรือ เดือน
ก็ได้
แนวคิด ที่มา และความสาคัญ สภาพปัจจุบันที่เป็นความต้องการและความคาดหวังที่จะเกิดผล
วัตถุประสงค์ สิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดโครงงานทั้งในเชิงกระบวนการและผลผลิต
หลักการและทฤษฎี หลักการและทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนาโครงงาน
วิธีดาเนินงาน
กิจกรรมหรือขั้นตอนการดาเนินงาน เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ งบประมาณ และ
ผู้รับผิดชอบ
ขั้นตอนการปฏิบัติ วัน เวลา และกิจกรรมดาเนินการต่างๆตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด
ผลที่คาดว่าจะได้รับ สภาพของผลที่ต้องการให้เกิดทั้งที่เป็นผลผลิต กระบวนการ และผลกระทบ
เอกสารอ้างอิง สื่อเอกสาร ข้อมูลที่ได้จากแหล่งต่างๆที่นามาใช้ในการดาเนินงาน
เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดทา
โครงงานได้ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่าครึ่ง ขั้นตอนต่อไปจะเป็นการลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่วางแผนไว้
4.1 การเตรียมการ
การเตรียมการ ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอื่นๆ ที่จะใช้ในการพัฒนาให้
พร้อมด้วย และควรเตรียมสมุดบันทึกหรือบันทึกเป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ สาหรับบันทึก
การทากิจกรรมต่างๆ ระหว่างทาโครงงาน ได้แก่ ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไขได้
หรือไม่อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่างๆ ที่พบ
4.2 การลงมือพัฒนา
1. ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ในเค้าโครง แต่อาจเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ถ้าพบว่าจะช่วยทาให้
ผลงานดีขึ้น
2. จัดระบบการทางานโดยทาส่วนที่เป็นหลักสาคัญๆ ให้แล้วเสร็จก่อน จึงค่่อยทา ส่วนที่เป็น
ส่วนประกอบหรือส่วนเสริมเพื่อให้โครงงานมีความสมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันทา ให้ตกลง
รายละเอียดในการต่อเชื่อมชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย
3. พัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบและบันทึกข้อมูลไว้อย่างเป็นระบบและครบถ้วน
4.ลงมือทาโครงงาน
4.3 การทดสอบผลงานและแก้ไข
การตรวจสอบความถูกต้องของผลงาน เป็นความจาเป็นเพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่
พัฒนาขึ้นทางานได้ถูกต้องตรงกับความต้องการ ที่ระบุไว้ในเป้าหมายและทาด้วย
ประสิทธิภาพสูงด้วย
4.4 การอภิปรายและข้อเสนอแนะ
เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทาสรุปด้วยข้อความที่สั้นกะทัดรัดอย่าง
ครอบคลุม เพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบจากการทาโครงงาน และทาการ
อภิปรายผลด้วย เพื่อพิจารณาข้อมูลและผลที่ได้ พร้อมกับนา ไปหาความสัมพันธ์กับ
หลักการ ทฤษฎี หรือผลงานที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้ยังรวมถึงการนาหลักการ ทฤษฎี
หรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบการอภิปรายผลที่ได้ด้วย
4.5 แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ
เมื่อทาโครงงานเสร็จสิ้นลงแล้ว นักเรียนอาจพบข้อสังเกต ประเด็นที่สาคัญ หรือ
ปัญหา ซึ่งสามารถเขียนเป็นข้อเสนอแนะและสิ่งที่ควรจะศึกษาและหรือใช้ประโยชน์
ต่อไปได้
การเขียนรายงานเป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจแนวคิด
วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับ
โครงงานนั้น ในการเขียนรายงานนักเรียนควรใช้ภาษาที่อ่านง่าย ชัดเจน กระชับ และ
ตรงไปตรงมา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆเหล่านี้
5.1 ส่วนนา
ส่วนนา เป็นการให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานนั้นซึ่งประกอบด้วย
1. ชื่อโครงงาน
2. ชื่อผู้ทาโครงงาน
3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
4. คาขอบคุณ เป็นคากล่าวขอบคุณบุคคลหรือหน่วยงาน ที่มีส่วนช่วยทาให้โครงงาน
สาเร็จ
5. บทคัดย่อ อธิบายถึงที่มา ความสาคัญ วัตถุประสงค์ วิธีดาเนินการ และผลที่ได้โดยย่อ
5. การเขียนรายงาน
5.2 บทนา
บทนาเป็นส่วนรายละเอียดของเนื้อหาของโครงงานซึ่งประกอบด้วย
1. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
2. เป้าหมายของการศึกษาค้นคว้า
3. ขอบเขตของโครงงาน
5.3 หลักการและทฤษฎี
หลักการและทฤษฎี เป็นส่วนสรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษาหาข้อมูลหรือหลักการ
ทฤษฎี หรือวิธีการที่จะนามาใช้ในการพัฒนาโครงงาน ซึ่งรวมถึงการระบุผลงานของผู้อื่น
ที่นักเรียนนามาเปรียบเทียบหรือพัฒนาเพิ่มเติมด้วย
5.4 วิธีดาเนินการ
วิธีดาเนินการ อธิบายขั้นตอนการดาเนินงานโดยละเอียด พร้อมทั้งระบุปัญหาหรือ
อุปสรรคที่พบพร้อมทั้งวิธีการที่ใช้แก้ไข พร้อมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการ
ทางาน
5.5 ผลการศึกษา
ผลการศึกษา นาเสนอข้อมูลหรือระบบที่พัฒนาได้ โดยอาจแสดงเป็นตาราง หรือ
กราฟ หรือข้อความ ทั้งนี้ให้คานึงถึงความเข้าใจของผู้อ่านเป็นหลัก
5.6 สรุปผลและข้อเสนอแนะ
สรุปผลและข้อเสนอแนะ อธิบายผลสรุปที่ได้จากการทา งาน ถ้ามีการ
ตั้งสมมติฐานควรระบุด้วยว่าข้อมูลที่ได้สนับสนุนหรือคัดค้านสมมติฐานที่ตั้งไว้หรือยัง
สรุปไม่ได้นอกจากนั้นยังควรกล่าวถึงการนา ผลการทดลองหรือพัฒนาไปใช้ประโยชน์
อุปสรรคของการทาโครงงาน หรือข้อสังเกตที่สาคัญ หรือข้อผิดพลาดบางประการที่
เกิดขึ้นจากการทา โครงงานนี้ รวมทั้งข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขหากจะมีผู้
ศึกษาค้นคว้าในเรื่องทานองนี้ต่อไปในอนาคตด้วย
5.7 ประโยชน์
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน ระบุประโยชน์ที่นักเรียนได้รับจากการพัฒนา
โครงงานนั้น และประโยชน์ที่ผู้ใช้จะได้รับจากการนาผลงานของโครงงานไปใช้ด้วย
5.8 บรรณานุกรม
บรรณานุกรม รวบรวมรายชื่อหนังสือ วารสาร เอกสาร หรือเว็บไซด์ต่างๆ ที่ผู้ทา โครงงานใช้
ค้นคว้า หรืออ่านเพื่อศึกษาข้อมูลและรายละเอียดต่างๆ ที่นามาใช้ประโยชน์ในการทา โครงงานนี้การ
เขียนเอกสารบรรณานุกรมต้องให้ถูกต้องตามหลักการเขียนด้วย
5.9 การจัดทาคู่มือการใช้งาน
หาโครงงานที่นักเรียนจัดทา เป็นการพัฒนาระบบใหม่ขึ้นมา ให้นักเรียนจัดทาคู่มืออธิบาย
วิธีการใช้ผลงานนั้นโดยละเอียด ซึ่งประกอบด้วย
1. ชื่อผลงาน
2. ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ ระบุรายละเอียดของคอมพิวเตอร์ที่ต้องมีเพื่อจะใช้ผลงาน
นั้นได้
3. ความต้องการของซอฟต์แวร์ ระบุรายชื่อซอฟต์แวร์ที่ต้องมีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อจะให้
ผลงานนั้นทางานได้อย่างสมบูรณ์
4. คุณลักษณะของผลงาน อธิบายว่าผลงานนั้นทา หน้าที่อะไรบ้าง รับอะไรเป็นข้อมูลขาเข้าและ
ส่วนอะไรออกมาเป็นข้อมูลขาออก
5. วิธีการใช้งานของแต่ละฟังก์ชัน อธิบายว่าจะต้องกดคาสั่งใด หรือกดปุ่มใด เพื่อให้ผลงาน
ทางานในฟังก์ชันหนึ่งๆ
การนาเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทา
โครงงาน เพื่อแสดงออกถึงผลิตผลความคิด ความพยายามในการทางานที่ผู้ทาโครงงานได้
ทุ่มเท และเป็นวิธีทาให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้น การเสนอผลงานอาจทาได้ใน
หลายรูปแบบต่างๆ กัน เช่น การแสดงผลงานโดยไม่มีการอธิบายประกอบการรายงานด้วย
คาพูดในที่ประชุม การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์และอธิบายด้วยคาพูด เป็นต้น โดยผลงาน
ที่นามาเสนอหรือจัดแสดงควรประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้
1. ชื่อโครงงาน
2. ชื่อผู้จัดทาโครงงาน
3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
4. คาอธิบายถึงที่มาและความสาคัญของโครงงาน
5. วิธีการดาเนินการที่สาคัญ
6. การสาธิตผลงาน
7. ผลการสังเกตและข้อสรุปสาคัญที่ได้จากการทาโครงงาน
6. การนาเสนอและการแสดงผลของโครงงาน
 http://www.acr.ac.th/acr/ACR_E-
Learning/CAREER_COMPUTER/COMPUTER/M4
/ComputerProject/content2.html
โครงงานคอมฯ

More Related Content

What's hot

ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2powe1234
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1พัน พัน
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8Fary Love
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานdgnjamez
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานdgnjamez
 
ใบงานที่3เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่3เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานtaioddntw
 
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานUmaporn Maneesatjang
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่  3ใบงานที่  3
ใบงานที่ 3StampPamika
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภท
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภท
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทNuties Electron
 
ใบงานที่ 3 duo
ใบงานที่ 3 duoใบงานที่ 3 duo
ใบงานที่ 3 duoChayanit Nontathum
 

What's hot (16)

ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
2
22
2
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
 
ใบงานที่3เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่3เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ความหมาย
ความหมายความหมาย
ความหมาย
 
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
K3
K3K3
K3
 
Surapol3
Surapol3Surapol3
Surapol3
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่  3ใบงานที่  3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภท
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภท
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภท
 
ใบงานที่ 3 duo
ใบงานที่ 3 duoใบงานที่ 3 duo
ใบงานที่ 3 duo
 

Similar to โครงงานคอมฯ

ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3StampPamika
 
โครงงานคอมพิมเตอร์
โครงงานคอมพิมเตอร์โครงงานคอมพิมเตอร์
โครงงานคอมพิมเตอร์Sirawit Kaewraksa
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์PeeEllse
 
ใบงานที่ 2 03 12 611
ใบงานที่ 2 03 12 611ใบงานที่ 2 03 12 611
ใบงานที่ 2 03 12 611Tanawan Janrasa
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภท
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภท
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทNong Max Z Kamilia
 
โครงงานคอมพิวเตอร์2
โครงงานคอมพิวเตอร์2โครงงานคอมพิวเตอร์2
โครงงานคอมพิวเตอร์2mathitopanam
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์mathitopanam
 
Computerproject3418
Computerproject3418Computerproject3418
Computerproject3418Review Wlp
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3berry green
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่  3ใบงานที่  3
ใบงานที่ 3ployprapim
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Fah Jongrak
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์gybrathtikan
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3Bt B'toey
 
ใบงานท๊๋3 ของข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท๊๋3 ของข่ายและประเภทของโครงงาน ใบงานท๊๋3 ของข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท๊๋3 ของข่ายและประเภทของโครงงาน Kittinee Chaiwattana
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ RaksitaNueng
 

Similar to โครงงานคอมฯ (20)

ใบงานท 3
ใบงานท   3ใบงานท   3
ใบงานท 3
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
โครงงานคอมพิมเตอร์
โครงงานคอมพิมเตอร์โครงงานคอมพิมเตอร์
โครงงานคอมพิมเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 2 03 12 611
ใบงานที่ 2 03 12 611ใบงานที่ 2 03 12 611
ใบงานที่ 2 03 12 611
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภท
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภท
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภท
 
โครงงานคอมพิวเตอร์2
โครงงานคอมพิวเตอร์2โครงงานคอมพิวเตอร์2
โครงงานคอมพิวเตอร์2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Computerproject3418
Computerproject3418Computerproject3418
Computerproject3418
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
งานคอม (1)
งานคอม (1)งานคอม (1)
งานคอม (1)
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่  3ใบงานที่  3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานท 3
ใบงานท  3ใบงานท  3
ใบงานท 3
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
ใบงานท๊๋3 ของข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท๊๋3 ของข่ายและประเภทของโครงงาน ใบงานท๊๋3 ของข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท๊๋3 ของข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานท3.
ใบงานท3.ใบงานท3.
ใบงานท3.
 
ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

More from wetpisit poomirat

ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์wetpisit poomirat
 
โครงงานคอม เชอร์ล็อกโฮมส์
โครงงานคอม เชอร์ล็อกโฮมส์โครงงานคอม เชอร์ล็อกโฮมส์
โครงงานคอม เชอร์ล็อกโฮมส์wetpisit poomirat
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมwetpisit poomirat
 
คลังความรู้ทั่วไป
คลังความรู้ทั่วไปคลังความรู้ทั่วไป
คลังความรู้ทั่วไปwetpisit poomirat
 
งานคอม พันกรณ์-1
งานคอม พันกรณ์-1งานคอม พันกรณ์-1
งานคอม พันกรณ์-1wetpisit poomirat
 
ใบงาน 1 ฟร้องซ์
ใบงาน 1 ฟร้องซ์ใบงาน 1 ฟร้องซ์
ใบงาน 1 ฟร้องซ์wetpisit poomirat
 

More from wetpisit poomirat (8)

ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม เชอร์ล็อกโฮมส์
โครงงานคอม เชอร์ล็อกโฮมส์โครงงานคอม เชอร์ล็อกโฮมส์
โครงงานคอม เชอร์ล็อกโฮมส์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
คลังความรู้ทั่วไป
คลังความรู้ทั่วไปคลังความรู้ทั่วไป
คลังความรู้ทั่วไป
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
งานคอม พันกรณ์-1
งานคอม พันกรณ์-1งานคอม พันกรณ์-1
งานคอม พันกรณ์-1
 
พรบ คอม-60
พรบ คอม-60พรบ คอม-60
พรบ คอม-60
 
ใบงาน 1 ฟร้องซ์
ใบงาน 1 ฟร้องซ์ใบงาน 1 ฟร้องซ์
ใบงาน 1 ฟร้องซ์
 

โครงงานคอมฯ

  • 1. นาย สิทธิชัย ญาณะวัฒน์ เลขที่ 36 นาย เวชพิสิฐ ภูมิรัตน์ เลขที่ 43 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4
  • 2. 1. กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ ผู้เรียนได้ทาการศึกษาค้นคว้าและ ฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจ 2. อาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หรือกระบวนการอื่นๆ ไปใช้ในการศึกษาหาคาตอบ 3. ครูผู้สอนคอยกระตุ้นแนะนาและให้คาปรึกษาแก่ผู้เรียน ตั้งแต่การเลือกหัวข้อที่จะศึกษา ค้นคว้า ดาเนินงานตามแผน กาหนด ขั้นตอนการดาเนินงานและการนาเสนอ
  • 3. 1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจทา 2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล 3. จัดทาเค้าโครงของโครงงานที่จะทา 4. ลงมือทาโครงงาน 5. การเขียนรายงาน 6. การนาเสนอและการแสดงผลของโครงงาน
  • 4. โดยทั่วไปเรื่องที่จะนามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากปัญหา คาถาม หรือความสนใจในเรื่องต่างๆ จากการสังเกตสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบ คอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัว ปัญหาที่จะนามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ได้จาก แหล่งต่างๆ กัน ดังนี้ 1. การอ่านค้นคว้าจากหนังสือ เอกสาร หนังสือพิมพ์หรือวารสารต่างๆ 2. การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ 3. การฟังบรรยายทางวิชาการ รายการวิทยุและโทรทัศน์ รวมทั้งการสนทนา อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างเพื่อนนักเรียนหรือกับบุคคลอื่นๆ 4. กิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน 5. งานอดิเรกของนักเรียน 6. การเข้าชมงานนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์ 1.คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจทา
  • 5. ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ควร พิจารณาองค์ประกอบสาคัญ ดังนี้ 1. ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา 2. สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอุปกรณ์ที่ เกี่ยวข้องได้ 3. มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคาปรึกษา 4. มีเวลาเพียงพอ 5. มีงบประมาณเพียงพอ 6. มีความปลอดภัย
  • 6. รวมถึงจากการขอคาปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิที่จะช่วยให้ได้แนวคิดในการกาหนดขอบเขต ของเรื่อง รวมทั้งความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่ทา จนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนการดาเนินงานได้อย่าง เหมาะสม โดยผู้เรียนควรบันทึกสาระสาคัญไว้ด้วยนอกจากนี้อาจศึกษาจากผลงานรุ่นพี่ จากเว็บไซต์เพื่อ ช่วยเพิ่มพูนประสบการณ์รวมทั้งศึกษาพัฒนาจนเกิดเป็นแนวคิดใหม่ๆประเด็นที่ต้องพิจารณา ดังต่อไปนี้ - มูลเหตุจูงใจและเป้าหมายในการทาโครงงาน - วัสดุอุปกรณ์ต่างๆซึ่งรวมถึงเครื่องมือ ซอฟต์แวร์ที่ใช้ - ความต้องการของผู้ใช้งาน - กลุ่มที่ทดลองใช้และวิธีประเมินผล - วิธีการพัฒนาโครงงานอย่างไร - ข้อสรุปของโครงงาน - ความแปลกใหม่ความคิดสร้างสรรค์ - แนวทางในการปรับปรุง หรือการขยายการทดลองจากงานเดิม 2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
  • 7. จาเป็นต้องกาหนดกรอบแนวคิดและวางแผนการพัฒนาล่วงหน้า เพื่อคาดการณ์ความเป็นไปได้ของโครงงาน ขั้นตอนที่สาคัญ คือ - ศึกษาค้นคว้าเอกสาร แหล่งข้อมูลนามารวบรวม - วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อกาหนดขอบเขตและลักษณะของโครงงาน - ออกแบบพัฒนา - เสนอเค้าโครงของโครงงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อขอคาแนะนาและ ปรับปรุงแก้ไข 3. จัดทาเค้าโครงของโครงงานที่จะทา
  • 8. รายงาน รายละเอียดที่ต้องระบุ ชื่อโครงงาน ทาอะไร กับใคร เพื่ออะไร ประเภทโครงงาน วิเคราะห์จากลักษณะของประโยชน์หรือผลงานที่ได้ ชื่อผู้จัดทาโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน อาจเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มก็ได้ ครูที่ปรึกษาโครงงาน ครู-อาจารย์ผู้ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษา และควบคุมการทาโครงงานของนักเรียน ครูที่ปรึกษาร่วม ครู-อาจารย์ผู้ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษาร่วม ให้คาแนะนาในการทาโครงงานของ นักเรียน ระยะเวลาดาเนินงาน ระยะเวลาการดาเนินงานโครงงาน ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด กาหนดเป็นวัน หรือ เดือน ก็ได้ แนวคิด ที่มา และความสาคัญ สภาพปัจจุบันที่เป็นความต้องการและความคาดหวังที่จะเกิดผล วัตถุประสงค์ สิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดโครงงานทั้งในเชิงกระบวนการและผลผลิต หลักการและทฤษฎี หลักการและทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนาโครงงาน วิธีดาเนินงาน กิจกรรมหรือขั้นตอนการดาเนินงาน เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ งบประมาณ และ ผู้รับผิดชอบ ขั้นตอนการปฏิบัติ วัน เวลา และกิจกรรมดาเนินการต่างๆตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด ผลที่คาดว่าจะได้รับ สภาพของผลที่ต้องการให้เกิดทั้งที่เป็นผลผลิต กระบวนการ และผลกระทบ เอกสารอ้างอิง สื่อเอกสาร ข้อมูลที่ได้จากแหล่งต่างๆที่นามาใช้ในการดาเนินงาน
  • 9. เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดทา โครงงานได้ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่าครึ่ง ขั้นตอนต่อไปจะเป็นการลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ 4.1 การเตรียมการ การเตรียมการ ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอื่นๆ ที่จะใช้ในการพัฒนาให้ พร้อมด้วย และควรเตรียมสมุดบันทึกหรือบันทึกเป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ สาหรับบันทึก การทากิจกรรมต่างๆ ระหว่างทาโครงงาน ได้แก่ ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไขได้ หรือไม่อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่างๆ ที่พบ 4.2 การลงมือพัฒนา 1. ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ในเค้าโครง แต่อาจเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ถ้าพบว่าจะช่วยทาให้ ผลงานดีขึ้น 2. จัดระบบการทางานโดยทาส่วนที่เป็นหลักสาคัญๆ ให้แล้วเสร็จก่อน จึงค่่อยทา ส่วนที่เป็น ส่วนประกอบหรือส่วนเสริมเพื่อให้โครงงานมีความสมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันทา ให้ตกลง รายละเอียดในการต่อเชื่อมชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย 3. พัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบและบันทึกข้อมูลไว้อย่างเป็นระบบและครบถ้วน 4.ลงมือทาโครงงาน
  • 10. 4.3 การทดสอบผลงานและแก้ไข การตรวจสอบความถูกต้องของผลงาน เป็นความจาเป็นเพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่ พัฒนาขึ้นทางานได้ถูกต้องตรงกับความต้องการ ที่ระบุไว้ในเป้าหมายและทาด้วย ประสิทธิภาพสูงด้วย 4.4 การอภิปรายและข้อเสนอแนะ เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทาสรุปด้วยข้อความที่สั้นกะทัดรัดอย่าง ครอบคลุม เพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบจากการทาโครงงาน และทาการ อภิปรายผลด้วย เพื่อพิจารณาข้อมูลและผลที่ได้ พร้อมกับนา ไปหาความสัมพันธ์กับ หลักการ ทฤษฎี หรือผลงานที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้ยังรวมถึงการนาหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบการอภิปรายผลที่ได้ด้วย 4.5 แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ เมื่อทาโครงงานเสร็จสิ้นลงแล้ว นักเรียนอาจพบข้อสังเกต ประเด็นที่สาคัญ หรือ ปัญหา ซึ่งสามารถเขียนเป็นข้อเสนอแนะและสิ่งที่ควรจะศึกษาและหรือใช้ประโยชน์ ต่อไปได้
  • 11. การเขียนรายงานเป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจแนวคิด วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับ โครงงานนั้น ในการเขียนรายงานนักเรียนควรใช้ภาษาที่อ่านง่าย ชัดเจน กระชับ และ ตรงไปตรงมา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆเหล่านี้ 5.1 ส่วนนา ส่วนนา เป็นการให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานนั้นซึ่งประกอบด้วย 1. ชื่อโครงงาน 2. ชื่อผู้ทาโครงงาน 3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 4. คาขอบคุณ เป็นคากล่าวขอบคุณบุคคลหรือหน่วยงาน ที่มีส่วนช่วยทาให้โครงงาน สาเร็จ 5. บทคัดย่อ อธิบายถึงที่มา ความสาคัญ วัตถุประสงค์ วิธีดาเนินการ และผลที่ได้โดยย่อ 5. การเขียนรายงาน
  • 12. 5.2 บทนา บทนาเป็นส่วนรายละเอียดของเนื้อหาของโครงงานซึ่งประกอบด้วย 1. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 2. เป้าหมายของการศึกษาค้นคว้า 3. ขอบเขตของโครงงาน 5.3 หลักการและทฤษฎี หลักการและทฤษฎี เป็นส่วนสรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษาหาข้อมูลหรือหลักการ ทฤษฎี หรือวิธีการที่จะนามาใช้ในการพัฒนาโครงงาน ซึ่งรวมถึงการระบุผลงานของผู้อื่น ที่นักเรียนนามาเปรียบเทียบหรือพัฒนาเพิ่มเติมด้วย 5.4 วิธีดาเนินการ วิธีดาเนินการ อธิบายขั้นตอนการดาเนินงานโดยละเอียด พร้อมทั้งระบุปัญหาหรือ อุปสรรคที่พบพร้อมทั้งวิธีการที่ใช้แก้ไข พร้อมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการ ทางาน
  • 13. 5.5 ผลการศึกษา ผลการศึกษา นาเสนอข้อมูลหรือระบบที่พัฒนาได้ โดยอาจแสดงเป็นตาราง หรือ กราฟ หรือข้อความ ทั้งนี้ให้คานึงถึงความเข้าใจของผู้อ่านเป็นหลัก 5.6 สรุปผลและข้อเสนอแนะ สรุปผลและข้อเสนอแนะ อธิบายผลสรุปที่ได้จากการทา งาน ถ้ามีการ ตั้งสมมติฐานควรระบุด้วยว่าข้อมูลที่ได้สนับสนุนหรือคัดค้านสมมติฐานที่ตั้งไว้หรือยัง สรุปไม่ได้นอกจากนั้นยังควรกล่าวถึงการนา ผลการทดลองหรือพัฒนาไปใช้ประโยชน์ อุปสรรคของการทาโครงงาน หรือข้อสังเกตที่สาคัญ หรือข้อผิดพลาดบางประการที่ เกิดขึ้นจากการทา โครงงานนี้ รวมทั้งข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขหากจะมีผู้ ศึกษาค้นคว้าในเรื่องทานองนี้ต่อไปในอนาคตด้วย 5.7 ประโยชน์ ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน ระบุประโยชน์ที่นักเรียนได้รับจากการพัฒนา โครงงานนั้น และประโยชน์ที่ผู้ใช้จะได้รับจากการนาผลงานของโครงงานไปใช้ด้วย
  • 14. 5.8 บรรณานุกรม บรรณานุกรม รวบรวมรายชื่อหนังสือ วารสาร เอกสาร หรือเว็บไซด์ต่างๆ ที่ผู้ทา โครงงานใช้ ค้นคว้า หรืออ่านเพื่อศึกษาข้อมูลและรายละเอียดต่างๆ ที่นามาใช้ประโยชน์ในการทา โครงงานนี้การ เขียนเอกสารบรรณานุกรมต้องให้ถูกต้องตามหลักการเขียนด้วย 5.9 การจัดทาคู่มือการใช้งาน หาโครงงานที่นักเรียนจัดทา เป็นการพัฒนาระบบใหม่ขึ้นมา ให้นักเรียนจัดทาคู่มืออธิบาย วิธีการใช้ผลงานนั้นโดยละเอียด ซึ่งประกอบด้วย 1. ชื่อผลงาน 2. ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ ระบุรายละเอียดของคอมพิวเตอร์ที่ต้องมีเพื่อจะใช้ผลงาน นั้นได้ 3. ความต้องการของซอฟต์แวร์ ระบุรายชื่อซอฟต์แวร์ที่ต้องมีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อจะให้ ผลงานนั้นทางานได้อย่างสมบูรณ์ 4. คุณลักษณะของผลงาน อธิบายว่าผลงานนั้นทา หน้าที่อะไรบ้าง รับอะไรเป็นข้อมูลขาเข้าและ ส่วนอะไรออกมาเป็นข้อมูลขาออก 5. วิธีการใช้งานของแต่ละฟังก์ชัน อธิบายว่าจะต้องกดคาสั่งใด หรือกดปุ่มใด เพื่อให้ผลงาน ทางานในฟังก์ชันหนึ่งๆ
  • 15. การนาเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทา โครงงาน เพื่อแสดงออกถึงผลิตผลความคิด ความพยายามในการทางานที่ผู้ทาโครงงานได้ ทุ่มเท และเป็นวิธีทาให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้น การเสนอผลงานอาจทาได้ใน หลายรูปแบบต่างๆ กัน เช่น การแสดงผลงานโดยไม่มีการอธิบายประกอบการรายงานด้วย คาพูดในที่ประชุม การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์และอธิบายด้วยคาพูด เป็นต้น โดยผลงาน ที่นามาเสนอหรือจัดแสดงควรประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้ 1. ชื่อโครงงาน 2. ชื่อผู้จัดทาโครงงาน 3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 4. คาอธิบายถึงที่มาและความสาคัญของโครงงาน 5. วิธีการดาเนินการที่สาคัญ 6. การสาธิตผลงาน 7. ผลการสังเกตและข้อสรุปสาคัญที่ได้จากการทาโครงงาน 6. การนาเสนอและการแสดงผลของโครงงาน