SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
23 หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9
ที่มา : https://lifestyle.campus-star.com/knowledge/39678.html
คลังความรู้ทั่วไป
ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่นอกจากจะทรงด้วยทศพิธราชธรรมแล้ว
ทรงยังเป็นพระราชาที่เป็นแบบอย่างในการดาเนินชีวิต และการทางานแก่พสกนิกรของ
พระองค์และนานาประเทศอีกด้วย ผู้คนต่างประจักษ์ถึงพระอัจฉริยภาพของพระองค์ และมี
ความสานึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นอันหาที่สุดมิได้ ซึ่งแนวคิดหรือหลักการทรง
งานของในหลวงรัชกาลที่ 9 มีความน่าสนใจที่สมควรนามาประยุกต์ใช้กับชีวิตการทางาน
เป็นอย่างยิ่ง หากท่านใดต้องการปฏิบัติตามรอยเบื้องพระยุคลบาท ท่านสามารถนา
หลักการทรงงานของพระองค์ไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ ดังนี้
หลักการทรงงาน ในหลวงรัชกาลที่ 9
1. จะทาอะไรต้องศึกษาข้อมูลให้เป็นระบบ
ทรงศึกษาข้อมูลรายละเอียดอย่างเป็นระบบจากข้อมูลเบื้องต้น ทั้งเอกสาร แผนที่ สอบถามจากเจ้าหน้าที่
นักวิชาการ และราษฎรในพื้นที่ให้ได้รายละเอียดที่ถูกต้อง เพื่อนาข้อมูลเหล่านั้นไปใช้ประโยชน์ได้จริงอย่าง
ถูกต้อง รวดเร็ว และตรงตามเป้าหมาย
2. ระเบิดจากภายใน
จะทาการใดๆ ต้องเริ่มจากคนที่เกี่ยวข้องเสียก่อน ต้องสร้างความเข้มแข็งจากภายในให้เกิดความเข้าใจและ
อยากทา ไม่ใช่การสั่งให้ทา คนไม่เข้าใจก็อาจจะไม่ทาก็เป็นได้ ในการทางานนั้นอาจจะต้องคุยหรือประชุมกับ
ลูกน้อง เพื่อนร่วมงาน หรือคนในทีมเสียก่อน เพื่อให้ทราบถึงเป้าหมายและวิธีการต่อไป
ที่มา : https://lifestyle.campus-star.com/knowledge/39678.html
3. แก้ปัญหาจากจุดเล็ก
ควรมองปัญหาภาพรวมก่อนเสมอ แต่เมื่อจะลงมือแก้ปัญหานั้น ควรมองในสิ่งที่คนมักจะมองข้าม แล้วเริ่ม
แก้ปัญหาจากจุดเล็กๆ เสียก่อน เมื่อสาเร็จแล้วจึงค่อยๆ ขยับขยายแก้ไปเรื่อยๆ ทีละจุด เราสามารถเอามา
ประยุกต์ใช้กับการทางานได้ โดยมองไปที่เป้าหมายใหญ่ของงานแต่ละชิ้น แล้วเริ่มลงมือทาจากจุดเล็กๆ ก่อน
ค่อยๆ ทา ค่อยๆ แก้ไปทีละจุด งานแต่ละชิ้นก็จะลุลวงไปได้ตามเป้าหมายที่วางไว้ “ถ้าปวดหัวคิดอะไรไม่
ออก ก็ต้องแก้ไขการปวดหัวนี้ก่อน มันไม่ได้แก้อาการจริง แต่ต้องแก้ปัญหาที่ทาให้เราปวดหัวให้ได้เสียก่อน
เพื่อจะให้อยู่ในสภาพที่ดีได้…”
4. ทาตามลาดับขั้น
เริ่มต้นจากการลงมือทาในสิ่งที่จาเป็นก่อน เมื่อสาเร็จแล้วก็เริ่มลงมือสิ่งที่จาเป็นลาดับต่อไป ด้วยความ
รอบคอบและระมัดระวัง ถ้าทาตามหลักนี้ได้ งานทุกสิ่งก็จะสาเร็จได้โดยง่าย… ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงเริ่มต้น
จากสิ่งที่จาเป็นที่สุดของประชาชนเสียก่อน ได้แก่ สุขภาพสาธารณสุข จากนั้นจึงเป็นเรื่องสาธารณูปโภคขั้น
พื้นฐาน และสิ่งจาเป็นในการประกอบอาชีพ อาทิ ถนน แหล่งน้าเพื่อการเกษตร การอุปโภคบริโภค เน้นการ
ปรับใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ราษฎรสามารถนาไปปฏิบัติได้ และเกิดประโยชน์สูงสุด “การพัฒนาประเทศ
จาเป็นต้องทาตามลาดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐาน คือความพอมี พอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เป็น
เบื้องต้นก่อน ใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัด แต่ถูกต้องตามหลักวิชา เมื่อได้พื้นฐานที่มั่นคงพร้อมพอสมควร
พระบรมสามารถปฏิบัติได้แล้วจึงค่อยสร้างเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยลาดับต่อไป…”
ราโชวาทของในหลวงรัชกาลที่ 9 เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2517
5. ภูมิสังคม ภูมิศาสตร์ สังคมศาสตร์
การพัฒนาใดๆ ต้องคานึงถึงสภาพภูมิประเทศของบริเวณนั้นว่าเป็นอย่างไร และสังคมวิทยาเกี่ยวกับลักษณะ
นิสัยใจคอคน ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณีในแต่ละท้องถิ่นที่มีความแตกต่างกัน “การพัฒนาจะต้องเป็นไป
ตามภูมิประเทศทางภูมิศาสตร์และภูมิประเทศทางสังคมศาสตร์ ในสังคมวิทยา คือนิสัยใจคอของคนเรา จะไป
บังคับให้คนอื่นคิดอย่างอื่นไม่ได้ เราต้องแนะนา เข้าไปดูว่าเขาต้องการอะไรจริงๆ แล้วก็อธิบายให้เขาเข้าใจ
หลักการของการพัฒนานี้ก็จะเกิดประโยชน์อย่างยิ่ง”
6. ทางานแบบองค์รวม
ใช้วิธีคิดเพื่อการทางาน โดยวิธีคิดอย่างองค์รวม คือการมองสิ่งต่างๆ ที่เกิดอย่างเป็นระบบครบวงจร ทุกสิ่ง
ทุกอย่างมีมิติเชื่อมต่อกัน มองสิ่งที่เกิดขึ้นและแนวทางแก้ไขอย่างเชื่อมโยง
7. ไม่ติดตารา
เมื่อเราจะทาการใดนั้น ควรทางานอย่างยืดหยุ่นกับสภาพและสถานการณ์นั้นๆ ไม่ใช่การยึดติดอยู่กับแค่ใน
ตาราวิชาการ เพราะบางที่ความรู้ท่วมหัว เอาตัวไม่รอด บางครั้งเรายึดติดทฤษฎีมากจนเกินไปจนทาอะไร
ไม่ได้เลย สิ่งที่เราทาบางครั้งต้องโอบอ้อมต่อสภาพธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม สังคม และจิตวิทยาด้วย
8. รู้จักประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด
ในการพัฒนาและช่วยเหลือราษฎร ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงใช้หลักในการแก้ปัญหาด้วยความเรียบง่ายและ
ประหยัด ราษฎรสามารถทาได้เอง หาได้ในท้องถิ่นและประยุกต์ใช้สิ่งที่มีอยู่ในภูมิภาคนั้นมาแก้ไข ปรับปรุง
โดยไม่ต้องลงทุนสูงหรือใช้เทคโนโลยีที่ยุ่งยากมากนัก ดังพระราชดารัสตอนหนึ่งว่า “…ให้ปลูกป่าโดยไม่ต้อง
ปลูกโดยปล่อยให้ขึ้นเองตามธรรมชาติจะได้ประหยัดงบประมาณ…”
9. ทาให้ง่าย
ทรงคิดค้น ดัดแปลง ปรับปรุงและแก้ไขงาน การพัฒนาประเทศตามแนวพระราชดาริไปได้โดยง่าย ไม่ยุ่งยาก
ซับซ้อนและที่สาคัญอย่างยิ่งคือ สอดคล้องกับสภาพความเป็นอยู่ของประชาชนและระบบนิเวศโดยรวม “ทา
ให้ง่าย”
ที่มา : https://lifestyle.campus-star.com/knowledge/39678.html
10. การมีส่วนร่วม
ทรงเป็นนักประชาธิปไตย ทรงเปิดโอกาสให้สาธารณชน ประชาชนหรือเจ้าหน้าที่ทุกระดับได้มาร่วมแสดง
ความคิดเห็น “สาคัญที่สุดจะต้องหัดทาใจให้กว้างขวาง หนักแน่น รู้จักรับฟังความคิดเห็น แม้กระทั่งความ
วิพากษ์วิจารณ์จากผู้อื่นอย่างฉลาดนั้น แท้จริงคือ การระดมสติปัญญาละประสบการณ์อันหลากหลายมา
อานวยการปฏิบัติบริหารงานให้ประสบผลสาเร็จที่สมบูรณ์นั่นเอง”
11. ต้องยึดประโยชน์ส่วนรวม
ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงระลึกถึงประโยชน์ของส่วนรวมเป็นสาคัญ ดังพระราชดารัสตอนหนึ่งว่า “…ใครต่อ
ใครบอกว่า ขอให้เสียสละส่วนตัวเพื่อส่วนรวม อันนี้ฟังจนเบื่อ อาจราคาญด้วยซ้าว่า ใครต่อใครมาก็บอกว่า
ขอให้คิดถึงประโยชน์ส่วนรวม อาจมานึกในใจว่า ให้ๆ อยู่เรื่อยแล้วส่วนตัวจะได้อะไร ขอให้คิดว่าคนที่ให้เป็น
เพื่อส่วนรวมนั้น มิได้ให้ส่วนรวมแต่อย่างเดียว เป็นการให้เพื่อตัวเองสามารถที่จะมีส่วนรวมที่จะอาศัยได้…”
12. บริการที่จุดเดียว
ทรงมีพระราชดาริมากว่า 20 ปีแล้ว ให้บริหารศูนย์ศึกษาการพัฒนาหลายแห่งทั่วประเทศโดยใช้หลักการ
โดยทรงเน้นเรื่องรู้รักสามัคคีและการร่วมมือร่วมแรงร่วม“การบริการรวมที่จุดเดียว : One Stop Service”
ใจกันด้วยการปรับลดช่องว่างระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
13. ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงเข้าใจถึงธรรมชาติและต้องการให้ประชาชนใกล้ชิดกับ
ทรัพยากรธรรมชาติ ทรงมองปัญหาธรรมชาติอย่างละเอียด โดยหากเราต้องการแก้ไขธรรมชาติจะต้องใช้
ธรรมชาติเข้าช่วยเหลือเราด้วย
14. ใช้อธรรมปราบอธรรม
ทรงนาความจริงในเรื่องธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของธรรมชาติมาเป็นหลักการแนวทางปฏิบัติในการแก้ไข
ปัญหาและปรับปรุงสภาวะที่ไม่ปกติเข้าสู่ระบบที่ปกติ เช่น การบาบัดน้าเน่าเสียโดยให้ผักตบชวา ซึ่งมีตาม
ธรรมชาติให้ดูดซึมสิ่งสกปรกปนเปื้อนในน้า
15. ปลูกป่าในใจคน
การจะทาการใดสาเร็จต้องปลูกจิตสานึกของคนเสียก่อน ต้องให้เห็นคุณค่า เห็นประโยชน์กับสิ่งที่จะทา….
“เจ้าหน้าที่ป่าไม้ควรจะปลูกต้นไม้ลงในใจคนเสียก่อน แล้วคนเหล่านั้นก็จะพากันปลูกต้นไม้ลงบนแผ่นดินและ
จะรักษาต้นไม้ด้วยตนเอง”
16. ขาดทุนคือกาไร
หลักการในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ที่มีต่อพสกนิกรไทย และ เป็น“การให้” “การเสียสละ”
การกระทาอันมีผลเป็นกาไร คือความอยู่ดีมีสุขของราษฎร
17. การพึ่งพาตนเอง
การพัฒนาตามแนวพระราชดาริ เพื่อการแก้ไขปัญหาในเบื้องต้นด้วยการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า เพื่อให้มี
ความแข็งแรงพอที่จะดารงชีวิตได้ต่อไป แล้วขั้นต่อไปก็คือ การพัฒนาให้ประชาชนสามารถอยู่ในสังคมได้ตาม
สภาพแวดล้อมและสามารถ พึ่งตนเองได้ในที่สุด
18. พออยู่พอกิน
ให้ประชาชนสามารถอยู่อย่าง ให้ได้เสียก่อน แล้วจึงค่อยขยับขยายให้มีขีดสมรรถนะที่“พออยู่พอกิน”
ก้าวหน้าต่อไป
19. เศรษฐกิจพอเพียง
เป็นปรัชญาที่ในหลวงรัชกาลที่ 9 พระราชทานพระราชดารัสชี้แนะแนวทางการดาเนินชีวิต ให้ดาเนินไปบน
เพื่อให้รอดพ้นและสามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และ“ทางสายกลาง”
การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ซึ่งปรัชญานี้สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ทั้งระดับบุคคล องค์กร และชุมชน
20. ความซื่อสัตย์สุจริต จริงใจต่อกัน
ผู้ที่มีความสุจริตและบริสุทธิ์ใจ แม้จะมีความรู้น้อย ก็ย่อมทาประโยชน์ให้แก่ส่วนรวมได้มากกว่าผู้ที่มีความรู้
มาก แต่ไม่มีความสุจริต ไม่มีความบริสุทธิ์ใจ
ที่มา : https://lifestyle.campus-star.com/knowledge/39678.html
21. ทางานอย่างมีความสุข
ทางานต้องมีความสุขด้วย ถ้าเราทาอย่างไม่มีความสุขเราจะแพ้ แต่ถ้าเรามีความสุขเราจะชนะ สนุกกับการ
ทางานเพียงเท่านั้น ถือว่าเราชนะแล้ว หรือจะทางานโดยคานึงถึงความสุขที่เกิดจากการได้ทาประโยชน์ให้กับ
ผู้อื่นก็สามารถทาได้ “…ทางานกับฉัน ฉันไม่มีอะไรจะให้ นอกจากการมีความสุขร่วมกัน ในการทาประโยชน์
ให้กับผู้อื่น…”
22. ความเพียร
การเริ่มต้นทางานหรือทาสิ่งใดนั้นอาจจะไม่ได้มีความพร้อม ต้องอาศัยความอดทนและความมุ่งมั่น ดังเช่น
พระราชนิพนธ์ กษัตริย์ผู้เพียรพยายามแม้จะไม่เห็นฝั่งก็จะว่ายน้าต่อไป เพราะถ้าไม่เพียร“พระมหาชนก”
ว่ายก็จะตกเป็นอาหารปู ปลาและไม่ได้พบกับเทวดาที่ช่วยเหลือมิให้จมน้า
23. รู้ รัก สามัคคี
รู้ คือ รู้ปัญหาและรู้วิธีแก้ปัญหานั้น
รัก คือ เมื่อเรารู้ถึงปัญหาและวิธีแก้แล้ว เราต้องมีความรัก ที่จะลงมือทา ลงมือแก้ไขปัญหานั้น
สามัคคี คือ การแก้ไขปัญหาต่างๆ ไม่สามารถลงมือทาคนเดียวได้ ต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจกัน
ที่มาเนื้อหา : https://lifestyle.campus-star.com/knowledge/39678.html
ค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ
ที่มา : http://buriram.cad.go.th/ewt_news.php?nid=455&filename=index
ค่านิยมของคนไทย ๑๒ ประการ
ค่านิยมของคนไทย ๑๒ ประการ
1. ความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
2. ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในสิ่งที่ดีงามเพื่อส่วนรวม
3. กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์
4. ใฝ่หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรง และทางอ้อม
5. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม
6. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีต่อผู้อื่น เผื่อแผ่และแบ่งปัน
7. เข้าใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่ถูกต้อง
8. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักการเคารพผู้ใหญ่
9. มีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ทา รู้ปฏิบัติตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
10. รู้จักดารงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว รู้จักอดออมไว้ใช้เมื่อยามจาเป็น มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่ายจาหน่าย
และพร้อมที่จะขยายกิจการเมื่อมีความพร้อม เมื่อมีภูมิคุ้มกันที่ดี
11. มีความเข้มแข็งทั้งร่างกาย และจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออานาจฝ่ายต่า หรือกิเลส มีความละอาย
เกรงกลัวต่อบาปตามหลักของศาสนา
12. คานึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวม และของชาติมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง
ค่านิยมของคนไทย ๑๒ ประการ
ที่มา : http://buriram.cad.go.th/ewt_news.php?nid=455&filename=index
ความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
เราเกิดมาบนผืนแผ่นดินไทยที่อุดมสมบูรณ์และมั่งคั่ง มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขที่อุทิศให้แก่
ประชาชนอันเป็นที่รัก มีศาสนาพุทธซึ่งเป็นที่พึ่งทางใจ และก็มีธงชาติที่ป่าวประกาศถึงสัญชาติของเรา
ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในสิ่งที่ดีงามเพื่อส่วนรวม
การที่เราเปลี่ยนแปลงอุปนิสัยของเราให้เข้ากับคนอื่นหรือทัศนคติไปในทางที่ดีนั้นจะทาให้เราได้เรียนรู้
สิ่งใหม่ๆ เข้าใจสิ่งต่างๆในแต่ละมุมมอง ซึ่งจะทาให้ข้อขัดแย้งและปัญหายุติลง
กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์
บุญคุณของพ่อแม่นั้นใหญ่หลวงมาก ท่านทั้งสองให้กาเนิดเรามาในโลกอันกว่างใหญ่ เลี้ยงดูเราอย่างดี
ด้วยความรักและห่วงใย รวมทั้งผู้ปกครอง และคุณครูบาอาจารย์ที่ให้การศึกษาตั้งแต้่เล็กจนโต ซึ่งจะทาให้เรา
เติบใหญ่เป็นคนที่ดีในสังคม ดังนั้น เราควรตอบแทนบุญคุณของทุกท่านโดยประพฤติตัวให้ดี เข่น การเคารพ
หรืปฏิบัติตามกฎระเบียบที่มีอยู่ มีความับผิดชอบในหน้าที่ต่างๆ และไม่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคล
ใฝ่หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรง และทางอ้อม
การที่เราดารงชีวิตประจาวันนั้น แน่นอนว่าเราต้องใช้ความรู้อยู่ตลอดเวลา ณ ตอนนี้โลกเปลี่ยนไปอย่าง
มาก เพราะฉะนั้นเราความไฝ่หาความรู้เพื่อให้ทันกลับโลกภายนอกที่หมุ่นอยู่ตลอกเวลา เราควรมีความเพียร
พยายาม มุ่งมั่นในการศึกษาทั้งในและนอกโรงเรียน เช่น การใช้ตาราเรียน อินเตอร์เน็ตหรือสื่ออื่นๆที่สามารถ
ค้นคว้าข้อมูลได้
รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม
ประชาชนชาวไทยควรที่จะภาคภูมิใจกับประเพณี ศิลปะอันงดงาม และวัฒนธรรมอันดั่งเดิ่ม เช่น วันปี
ใหม่ของประเทศไทย สงกรานต์ ในขณะนี้ค่านิยมของตะวันตกนั้นเข้ามาและมีบทบาทมากกับการพูดจา กิริยา
และการแต่งกาย ซึ่งทาให้ประเพณีอันงดงามนั้นถดถ่อยลง ด้วยเหตุนี้เราควรที่จะเป็นต้นแบบในการอนุรักษ์
และสืบทอดให้ถึงรุ่นต่อไปเรียนรู้
ที่มา : http://img.prapayneethai.com/slider/slider_01.jpg
มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีต่อผู้อื่น เผื่อแผ่และแบ่งปัน
การที่เราให้โดยไม่หวังผลตอบแทนนั้นเป็นสิ่งที่ประเสริฐ การทาสิ่งต่างๆด้วยความหวังดี ถึงแม้ว่า
ผลลัพย์ที่เราจะได้คือความสุขเล็กๆน้อยๆ แต่เราก็จะได้มิตรสัมพันธ์ที่ดี ศีลธรรมก็เป็นข้อที่เราควรถือไว้ในใจ
เช่นศีล๕ และการที่เราสื่อสัตย์ตลอดไม่ว่าจะทาอะไร จะทาให้เราเ่นคนดีในสังคม
เข้าใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่ถูกต้อง
การเป็นประชาธิปไตยนั้นเป็นระบบการบริหารอานาจรัฐมาจากเสียงข้างมากของพลเมือง โดยที่เรามี
พระมหากษัตริย์เป็นประมุก ซึ่งเราควรเคารพพ่อหลวงเราด้วยใจรัก
มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักการเคารพผู้ใหญ่
ทุกวันนี้เรามักจะเห็นผู้คนแตกแยก หรือไม่ให้ควมเคารพกัน ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการที่ไม่มีระเบียบใน
สังคม อย่างแรกต้องเริ่มที่ตัวเราเอง เราควรที่จะมีระเบียบวินัย เคารพกฏหมาย และเคารพผู้หลักผู้ใหญ่ และ
สิ่งเหล่านี้จะเป็นต้นแบบให้อีกหลายๆคนเพื่อที่จะทาให้สังคนไทยนั้นเจริญ
ที่มา : https://sites.google.com/site/skyletfark2/kha-niym-hlak-khxng-khn-thiy-12-
prakar/08-mi-rabeiyb-winay-khearph-kdhmay
https://sites.google.com/site/famzazadeen/8-mi-rabeiyb-winay-khearph-kdhmay-
phu-nxy-rucak-kar-khearph-phuhiy
มีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ทา รู้ปฏิบัติตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
สติเป็นสิ่งที่เราควรตระหนักอยู่ตลอดเวลาเพื่อที่จะได้ทาสิ่งหนึ่งให้ดีที่สุด รวมถึงการคิดทบทวนให้
รอบคอบ และมีความมุ้งมั่นตั้งใจในการทางาน ผลลัพย์ที่ราจะได้ถ้าเราทาอะไรโดยมีสติคือความสาเร็จ
รู้จักดารงตนอยู่ โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รู้จักอดออมไว้ใช้เมื่อยามจาเป็น มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่ายจาหน่าย และพร้อมที่จะขยายกิจการเมื่อ
มีความพร้อม เมื่อมีภูมิคุ้มกันที่ดี
การดารงชีพนั้นอาจจะเป็นปัจจัยหนึ่งที่เราควรตระหนักอยู่ตลอกเวลา ดั้งที่พระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัวให้คาสอนไว้เกี่ยวกับ
เศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งการที่เราต้องปรับเปลี่ยนตนให้เข้ากับคนอื่น และถ้าเราทาตามคาสอนของพ่อหลวง
ชีวิตเราจะมีความสุขอยู่กับสิ่งที่เรามี
มีความเข้มแข็งทั้งร่างกาย และจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออานาจฝ่ายต่า หรือกิเลส มีความละอายเกรงกลัวต่อบาป
ตามหลักของศาสนา
การที่มีจิตใจอันแน้วแน่ จะไม่สั่นคลอนใดๆทั้งสิ้นถ้ามีอุปสรรค์หรือกิเลสผ่านเข้ามา ถ้าเราได้ผ่านสิ่ง
เหล่านี้มาป่อยครั้ง มันจะทาให้เราเข้มแข็ง เช่น เราไม่คควรดื่มสุราหรือสูบบุหรี่ถ้ามีคนชักชวน
คานึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวม และของชาติมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง
ในการดาเนินการสิ่งใดสิ่งหนึ่งนั้น เราควรคานึงถึงข้อดีและข้อเสีย แต่ไม่ใช้แค่คานึงสาหรับตนเองแต่
ควรคานึงถึงผู้อื่นด้วย อีกทั้ง เราควรช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ เช่นไปสอนหนังสือที่บ้านนเด็กกาพร้า หรือไปให้
ความบันเทิงที่บ้านคนชรา เป็นต้น
ที่มาเนื้อหา : https://khaniyom12.weebly.com/
8 เคล็ดลับอ่านหนังสือยังไงให้จาเร็วและแม่น
ที่มา : http://www.jeban.com/viewtopic.php?t=229176
1. อ่านหน้าสรุปก่อน
อ่านตอนจบก่อนเลย ผู้เขียนหนังสือส่วนใหญ่ชอบเขียนให้ดูลึกลับ ชักแม่น้าทั้งห้า เขียนอธิบายอย่างละเอียด
ยิบ ใช้ประโยคที่ต้องอ่านซ้าสองสามรอบถึงจะเข้าใจ โดยเฉพาะในหน้าแรก ๆ ของบท เราไม่จาเป็นต้องรู้
ประวัติชีวิตของผู้เขียน บทนา ซึ่งจะเป็นการเขียนเกริ่นแนะนาให้อ่านต่อไปเรื่อย ๆ ซะเป็นส่วนใหญ่
ในทางกลับกัน บทส่งท้าย หรือบทสรุป เป็นสิ่งที่ต้องอ่าน โดยปกติแล้วจะเป็นส่วนที่ผู้เขียนสรุปข้อมูลทั้งหมด
ที่ได้กล่าวมา อีกทั้ง หากเราอ่านบทสรุปก่อน แล้วกลับมาอ่านหน้าแรกอีกครั้งก็ทาให้เราสามารถอ่านได้เข้าใจ
มากขึ้น แม้กระทั่งในเวลาที่ต้องอ่านหนังสือก่อนเพื่อไปเรียนในคาบถัดไป การอ่านส่วนบทสรุปก็ทาให้เราเห็น
ภาพคร่าวๆของเนื้อหาที่ต้องเรียนแล้ว
2. ใช้ปากกาไฮไลต์เพื่อนเน้นใจความสาคัญ
ข้อผิดพลาดที่หลายคนทา คือการเลิกไฮไลต์ เนื่องจากครูผู้สอนกล่าวถึงแทบทุกอย่างในหน้าหนังสือ เลย
ไฮไลต์ตาม ปรากฏว่าไฮไลต์ไปหมดทั้งหน้า ซึ่งกลายเป็นการกระทาที่ไม่เกิดประโยชน์ไป จึงขี้เกียจไฮไลต์อีก
และเลิกทาไปในที่สุด
ความจริงแล้ว การไฮไลต์ข้อความนั้นมีประโยชน์มาก “หากใช้อย่างถูกวิธี” ไม่ควรไฮไลต์ทุกอย่างในหน้า
และไม่ควรไฮไลต์น้อยจนเกินไป สิ่งที่ควรทาคือการไฮไลต์ข้อความที่ผู้เขียนกล่าวสรุป โดยปกติแล้วผู้เขียน
มักจะกล่าวประเด็นซ้าไปมาหลายหน้าและให้ข้อมูลสรุปประเด็นที่ย่อหน้าสุดท้าย ให้ไฮไลต์บริเวณนั้น เมื่อเรา
เปิดหนังสือมาอ่านอีกครั้ง เราจะสามารถทราบทุกอย่างที่จาเป็นต้องรู้ด้วยการมองเพียงแวบเดียว
ที่มา : https://pikabu.ru/story/marker_sled_ot_kotorogo_ischeznet_cherez_pyat_mesyatsev_3050009
3. ดูสารบรรณและหัวข้อย่อย
นักศึกษาที่เรียนในมหาวิทยาลัยมักประหลาดใจเมื่อทราบข้อนี้ว่า อาจารย์ส่วนใหญ่ในมหาวิทยาลัยนั้น ไม่ได้
อ่านหนังสือจนจบเล่ม แต่สิ่งที่พวกท่านทานั้น คือการดูสารบรรณและอ่านหัวข้อที่น่าสนใจหรือเกี่ยวข้องกับ
งานวิจัยที่จะทาเท่านั้น หรือไม่ก็ใช้วิธีการ อ่านผ่านๆอย่างรวดเร็ว (skimming) จนเมื่อเจอหัวข้อที่น่าสนใจ
จึงค่อยหยุดอ่านอย่างตั้งใจ ทาให้การอ่านั้นไม่น่าเบื่อ เพราะว่าเราจะได้อ่านสิ่งที่เราสนใจจริง ๆ เท่านั้น
และยังทาให้เรารู้ใจความสาคัญของสิ่งที่ผู้เขียนต้องการสื่อได้อยู่ดี เพราะผู้เขียนมักจะกล่าวถึงประเด็นสาคัญ
ซ้า ๆ ในทุกส่วนของหนังสือ เทคนิคนี้ช่วยป้องกันอาการ “ตามองอ่านตัวหนังสือทุกบรรทัด แต่ใจความไม่เข้า
หัวเลย” อ่านออกแต่สมองไม่ตอบรับว่าสิ่งที่อ่านไปนั้นคืออะไร เพราะเกิดจากการอ่านสิ่งที่เราไม่อยากอ่าน
นั่นเอง
4. ขวนขวายกันสักนิด
แทนที่จะซึมซับทุกอย่างจากการอ่านหนังสือที่อาจารย์สั่งเท่านั้น ลองเปิดโลกใหม่ดูบ้าง หาหนังสือเล่มอื่นๆ
ในห้องสมุด หรือในอินเตอร์เน็ตก็มีเยอะแยะไปที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่เรียนมาอ่านดู ซึ่งหนังสือบางเล่มพูดถึง
เล่มเดียวกันแต่เขียนได้น่าอ่าน อ่านเข้าใจง่าย มีภาพประกอบเพิ่ม สรุปแบบอ่านแล้วเข้าใจ ซึ่งจริง ๆ เนื้อหา
ก็เรื่องเดียวกับที่เรียนในห้อง
แต่ขึ้นชื่อว่าหนังสือเรียนก็รู้ๆ กันอยู่อ่านไปหลับไปเป็นธรรมดา ดังนั้นการหาความรู้ข้างนอกมาเสริมจะช่วย
ให้เราเข้าใจสิ่งที่เรียนได้ง่าย และเข้าใจมากขึ้น บางทีอาจรู้ลึกกว่าที่เรียนในคาบเสียอีกนะ หนังสือ
ประวัติศาสตร์ไทย ที่มีอยู่ในห้องสมุดอาจจะอ่านแล้วสนุกน่าอ่านกว่าหนังสือที่ใช้เรียนอยู่ก็ได้
ที่มา : https://communityengagement.uncg.edu/call-for-chapters-and-reviewers-2017-vol-of-the-
advances-in-service-learning-research-series/
5. พยายามอย่าอ่านทุกคา
หลายคนคิดว่าการอ่านทุกคาจะช่วยให้จดจาข้อมูลได้อย่างละเอียดยิบ ความจริงแล้วหาเป็นเช่นนั้นไม่ เพราะ
สมองจะได้รับข้อมูลมากเกินไปและเกิดความล้า เบื่อหน่ายจนตาลอยอ่านหนังสือไม่เข้าหัวในที่สุด
ที่เป็นเช่นนี้เพราะหนังสือที่ไม่ได้อยู่ในประเภทนิยายมักจะถูกเขียนอธิบายซ้า ๆ เพราะผู้เขียนต้องการจะกล่าว
อธิบายให้กระจ่าง แต่ใจความสาคัญจริง ๆ แล้วอยู่ที่บทสรุปเพียงไม่กี่ย่อหน้า หนังสือส่วนใหญ่ใส่ข้อมูล
หลักฐานจนแน่นมากกว่าจะกล่าวถึงประเด็น ซึ่งก็เป็นเรื่องดีและน่าสนใจ แต่ทุกหลักฐานที่อ้างนั้นก็กล่าวถึง
ประเด็นเดียว การอ่านเพิ่มเติมก็เป็นการย้าถึงประเด็นเดิม ดังนั้นเลือกหลักฐานที่น่าสนใจที่สุดแล้วอ่านบท
ต่อไป
6. เขียนสรุปมุมมองของผู้อ่าน
อดทนหน่อยอย่าเพิ่งเบื่อ! คนส่วนใหญ่ไม่ชอบการเขียน แต่การเขียนนั้นเป็นวิธีการที่ง่ายที่สุดในการรวบรวม
ข้อมูลสาคัญในระยะเวลาอันสั้น หากเป็นไปได้ให้เขียนใจความสาคัญในแบบฉบับของเราใน 1 หน้ากระดาษ
โดยพูดถึงประเด็นที่ผู้เขียนต้องการจะสื่อ ยกตัวอย่างสั้น ๆ และคาถามหรือความรู้สึกของเราที่ต้องการการ
ค้นคว้าเพื่อหาคาตอบต่อไปให้ดียิ่งขึ้น
การเขียนมุมมองของผู้อ่านเช่นนี้ เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้เราทราบถึงประเด็นสาคัญของหนังสือเช่นเดียวกับ
การไฮไลต์ข้อความ เมื่อใกล้ถึงช่วงสอบ จะเป็นการง่ายกว่าที่เราจะนั่งอ่านมุมมองสรุปของผู้อ่าน แทนที่จะ
พลิกตาราอ่านหนังสือทั้งเล่มเพื่ออ่านทบทวนอีกครั้ง หากเป็นหนังสือภาษาอังกฤษ เราสามารถอ่านรีวิว
หนังสือจากผู้อ่านคนอื่น ๆ ในเว็บไซต์ เช่น Amazon เป็นการเสริมข้อมูลในมุมมองของผู้อ่านท่านอื่น ๆ ที่
ได้รับจากหนังสือเล่มนั้นเช่นกัน
7. อภิปรายกับผู้อื่น
คนส่วนมากไม่ชอบการทางานกลุ่ม แต่การจับกลุ่มกันพูดถึงเนื้อหาของหนังสือที่ต้องอ่านช่วยทาให้เราจาได้
ง่ายขึ้น บางครั้งอาจพูดถึงหนังสือในแง่ตลก ๆ ก็จะทาให้เราจาประเด็นนั้นได้เมื่อเราอยู่ในห้องสอบ เพราะเรา
จะคิดถึงเรื่องตลกก่อน เป็นการใช้หลักการเชื่อมโยงข้อมูลที่ทาให้สมองของเราทางานได้ง่ายขึ้น
การพูดคุยเกี่ยวกับหนังสือที่อ่านช่วยทาให้เราได้รับข้อมูลเพิ่มเติมจากบางส่วนที่เรามองข้ามไป บางคนนั้น
ชอบเรียนรู้โดยการฟัง และมักจะเรียนรู้ได้ดีที่สุดเมื่อได้ยินข้อมูล ดังนั้นการพูดคุยสนทนาถกเถียงประเด็นที่อยู่
ในหนังสือจะทาให้เราจาประเด็นสาคัญนั้นได้ดีเมื่อได้ฟังผ่านหู ทาให้เราสามารถระลึกถึงข้อมูลส่วนนั้นได้เมื่อ
อยู่ในการสอบ
ที่มา : https://www.dek-d.com/education/37818/
8. จดคาถามข้อสงสัยที่เกิดขึ้นระหว่างการอ่าน
หัวใจหลักของเทคนิคนี้ คือการตั้งคาถาม อย่าเชื่อว่าผู้เขียนนั้นเขียนได้ถูกต้องซะทีเดียว ให้จดจ่อกับสิ่งที่อาจและ
ใช้ความคิดเชิงวิเคราะห์ในการอ่าน เช่น
 ทาไมผู้เขียนจึงกล่าวเช่นนั้น?
 หลักฐานคาอธิบายนี้เป็นจริงหรือ?
 ประเด็นนี้เกี่ยวข้องกับข้อโต้แย้งของผู้เขียนอย่างไร?
 ผู้เขียนต้องการสื่อข้อความนี้ให้แก่ใคร?
คาถามอาจซับซ้อนกว่านี้หรือง่ายกว่านี้ ขึ้นอยู่กับหนังสือที่อ่าน เคล็ดลับเหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยให้เราอ่าน
หนังสือและจดจาได้เป็นอย่างดี แต่แน่นอนว่าอาจจะมีวิธีที่หลากหลายกว่านี้ แต่ละวิธีก็อาจให้ผลลัพธ์
แตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับว่าใครชอบวิธีไหน
ที่มาเนื้อหา : https://teen.mthai.com/education/79713.html

More Related Content

More from wetpisit poomirat (8)

ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม เชอร์ล็อกโฮมส์
โครงงานคอม เชอร์ล็อกโฮมส์โครงงานคอม เชอร์ล็อกโฮมส์
โครงงานคอม เชอร์ล็อกโฮมส์
 
โครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯโครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯ
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
งานคอม พันกรณ์-1
งานคอม พันกรณ์-1งานคอม พันกรณ์-1
งานคอม พันกรณ์-1
 
พรบ คอม-60
พรบ คอม-60พรบ คอม-60
พรบ คอม-60
 
ใบงาน 1 ฟร้องซ์
ใบงาน 1 ฟร้องซ์ใบงาน 1 ฟร้องซ์
ใบงาน 1 ฟร้องซ์
 

คลังความรู้ทั่วไป

  • 1. 23 หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ที่มา : https://lifestyle.campus-star.com/knowledge/39678.html คลังความรู้ทั่วไป ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่นอกจากจะทรงด้วยทศพิธราชธรรมแล้ว ทรงยังเป็นพระราชาที่เป็นแบบอย่างในการดาเนินชีวิต และการทางานแก่พสกนิกรของ พระองค์และนานาประเทศอีกด้วย ผู้คนต่างประจักษ์ถึงพระอัจฉริยภาพของพระองค์ และมี ความสานึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นอันหาที่สุดมิได้ ซึ่งแนวคิดหรือหลักการทรง งานของในหลวงรัชกาลที่ 9 มีความน่าสนใจที่สมควรนามาประยุกต์ใช้กับชีวิตการทางาน เป็นอย่างยิ่ง หากท่านใดต้องการปฏิบัติตามรอยเบื้องพระยุคลบาท ท่านสามารถนา หลักการทรงงานของพระองค์ไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ ดังนี้
  • 2. หลักการทรงงาน ในหลวงรัชกาลที่ 9 1. จะทาอะไรต้องศึกษาข้อมูลให้เป็นระบบ ทรงศึกษาข้อมูลรายละเอียดอย่างเป็นระบบจากข้อมูลเบื้องต้น ทั้งเอกสาร แผนที่ สอบถามจากเจ้าหน้าที่ นักวิชาการ และราษฎรในพื้นที่ให้ได้รายละเอียดที่ถูกต้อง เพื่อนาข้อมูลเหล่านั้นไปใช้ประโยชน์ได้จริงอย่าง ถูกต้อง รวดเร็ว และตรงตามเป้าหมาย 2. ระเบิดจากภายใน จะทาการใดๆ ต้องเริ่มจากคนที่เกี่ยวข้องเสียก่อน ต้องสร้างความเข้มแข็งจากภายในให้เกิดความเข้าใจและ อยากทา ไม่ใช่การสั่งให้ทา คนไม่เข้าใจก็อาจจะไม่ทาก็เป็นได้ ในการทางานนั้นอาจจะต้องคุยหรือประชุมกับ ลูกน้อง เพื่อนร่วมงาน หรือคนในทีมเสียก่อน เพื่อให้ทราบถึงเป้าหมายและวิธีการต่อไป ที่มา : https://lifestyle.campus-star.com/knowledge/39678.html 3. แก้ปัญหาจากจุดเล็ก ควรมองปัญหาภาพรวมก่อนเสมอ แต่เมื่อจะลงมือแก้ปัญหานั้น ควรมองในสิ่งที่คนมักจะมองข้าม แล้วเริ่ม แก้ปัญหาจากจุดเล็กๆ เสียก่อน เมื่อสาเร็จแล้วจึงค่อยๆ ขยับขยายแก้ไปเรื่อยๆ ทีละจุด เราสามารถเอามา ประยุกต์ใช้กับการทางานได้ โดยมองไปที่เป้าหมายใหญ่ของงานแต่ละชิ้น แล้วเริ่มลงมือทาจากจุดเล็กๆ ก่อน ค่อยๆ ทา ค่อยๆ แก้ไปทีละจุด งานแต่ละชิ้นก็จะลุลวงไปได้ตามเป้าหมายที่วางไว้ “ถ้าปวดหัวคิดอะไรไม่ ออก ก็ต้องแก้ไขการปวดหัวนี้ก่อน มันไม่ได้แก้อาการจริง แต่ต้องแก้ปัญหาที่ทาให้เราปวดหัวให้ได้เสียก่อน เพื่อจะให้อยู่ในสภาพที่ดีได้…”
  • 3. 4. ทาตามลาดับขั้น เริ่มต้นจากการลงมือทาในสิ่งที่จาเป็นก่อน เมื่อสาเร็จแล้วก็เริ่มลงมือสิ่งที่จาเป็นลาดับต่อไป ด้วยความ รอบคอบและระมัดระวัง ถ้าทาตามหลักนี้ได้ งานทุกสิ่งก็จะสาเร็จได้โดยง่าย… ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงเริ่มต้น จากสิ่งที่จาเป็นที่สุดของประชาชนเสียก่อน ได้แก่ สุขภาพสาธารณสุข จากนั้นจึงเป็นเรื่องสาธารณูปโภคขั้น พื้นฐาน และสิ่งจาเป็นในการประกอบอาชีพ อาทิ ถนน แหล่งน้าเพื่อการเกษตร การอุปโภคบริโภค เน้นการ ปรับใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ราษฎรสามารถนาไปปฏิบัติได้ และเกิดประโยชน์สูงสุด “การพัฒนาประเทศ จาเป็นต้องทาตามลาดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐาน คือความพอมี พอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เป็น เบื้องต้นก่อน ใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัด แต่ถูกต้องตามหลักวิชา เมื่อได้พื้นฐานที่มั่นคงพร้อมพอสมควร พระบรมสามารถปฏิบัติได้แล้วจึงค่อยสร้างเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยลาดับต่อไป…” ราโชวาทของในหลวงรัชกาลที่ 9 เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2517 5. ภูมิสังคม ภูมิศาสตร์ สังคมศาสตร์ การพัฒนาใดๆ ต้องคานึงถึงสภาพภูมิประเทศของบริเวณนั้นว่าเป็นอย่างไร และสังคมวิทยาเกี่ยวกับลักษณะ นิสัยใจคอคน ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณีในแต่ละท้องถิ่นที่มีความแตกต่างกัน “การพัฒนาจะต้องเป็นไป ตามภูมิประเทศทางภูมิศาสตร์และภูมิประเทศทางสังคมศาสตร์ ในสังคมวิทยา คือนิสัยใจคอของคนเรา จะไป บังคับให้คนอื่นคิดอย่างอื่นไม่ได้ เราต้องแนะนา เข้าไปดูว่าเขาต้องการอะไรจริงๆ แล้วก็อธิบายให้เขาเข้าใจ หลักการของการพัฒนานี้ก็จะเกิดประโยชน์อย่างยิ่ง” 6. ทางานแบบองค์รวม ใช้วิธีคิดเพื่อการทางาน โดยวิธีคิดอย่างองค์รวม คือการมองสิ่งต่างๆ ที่เกิดอย่างเป็นระบบครบวงจร ทุกสิ่ง ทุกอย่างมีมิติเชื่อมต่อกัน มองสิ่งที่เกิดขึ้นและแนวทางแก้ไขอย่างเชื่อมโยง 7. ไม่ติดตารา เมื่อเราจะทาการใดนั้น ควรทางานอย่างยืดหยุ่นกับสภาพและสถานการณ์นั้นๆ ไม่ใช่การยึดติดอยู่กับแค่ใน ตาราวิชาการ เพราะบางที่ความรู้ท่วมหัว เอาตัวไม่รอด บางครั้งเรายึดติดทฤษฎีมากจนเกินไปจนทาอะไร ไม่ได้เลย สิ่งที่เราทาบางครั้งต้องโอบอ้อมต่อสภาพธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม สังคม และจิตวิทยาด้วย
  • 4. 8. รู้จักประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด ในการพัฒนาและช่วยเหลือราษฎร ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงใช้หลักในการแก้ปัญหาด้วยความเรียบง่ายและ ประหยัด ราษฎรสามารถทาได้เอง หาได้ในท้องถิ่นและประยุกต์ใช้สิ่งที่มีอยู่ในภูมิภาคนั้นมาแก้ไข ปรับปรุง โดยไม่ต้องลงทุนสูงหรือใช้เทคโนโลยีที่ยุ่งยากมากนัก ดังพระราชดารัสตอนหนึ่งว่า “…ให้ปลูกป่าโดยไม่ต้อง ปลูกโดยปล่อยให้ขึ้นเองตามธรรมชาติจะได้ประหยัดงบประมาณ…” 9. ทาให้ง่าย ทรงคิดค้น ดัดแปลง ปรับปรุงและแก้ไขงาน การพัฒนาประเทศตามแนวพระราชดาริไปได้โดยง่าย ไม่ยุ่งยาก ซับซ้อนและที่สาคัญอย่างยิ่งคือ สอดคล้องกับสภาพความเป็นอยู่ของประชาชนและระบบนิเวศโดยรวม “ทา ให้ง่าย” ที่มา : https://lifestyle.campus-star.com/knowledge/39678.html 10. การมีส่วนร่วม ทรงเป็นนักประชาธิปไตย ทรงเปิดโอกาสให้สาธารณชน ประชาชนหรือเจ้าหน้าที่ทุกระดับได้มาร่วมแสดง ความคิดเห็น “สาคัญที่สุดจะต้องหัดทาใจให้กว้างขวาง หนักแน่น รู้จักรับฟังความคิดเห็น แม้กระทั่งความ วิพากษ์วิจารณ์จากผู้อื่นอย่างฉลาดนั้น แท้จริงคือ การระดมสติปัญญาละประสบการณ์อันหลากหลายมา อานวยการปฏิบัติบริหารงานให้ประสบผลสาเร็จที่สมบูรณ์นั่นเอง”
  • 5. 11. ต้องยึดประโยชน์ส่วนรวม ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงระลึกถึงประโยชน์ของส่วนรวมเป็นสาคัญ ดังพระราชดารัสตอนหนึ่งว่า “…ใครต่อ ใครบอกว่า ขอให้เสียสละส่วนตัวเพื่อส่วนรวม อันนี้ฟังจนเบื่อ อาจราคาญด้วยซ้าว่า ใครต่อใครมาก็บอกว่า ขอให้คิดถึงประโยชน์ส่วนรวม อาจมานึกในใจว่า ให้ๆ อยู่เรื่อยแล้วส่วนตัวจะได้อะไร ขอให้คิดว่าคนที่ให้เป็น เพื่อส่วนรวมนั้น มิได้ให้ส่วนรวมแต่อย่างเดียว เป็นการให้เพื่อตัวเองสามารถที่จะมีส่วนรวมที่จะอาศัยได้…” 12. บริการที่จุดเดียว ทรงมีพระราชดาริมากว่า 20 ปีแล้ว ให้บริหารศูนย์ศึกษาการพัฒนาหลายแห่งทั่วประเทศโดยใช้หลักการ โดยทรงเน้นเรื่องรู้รักสามัคคีและการร่วมมือร่วมแรงร่วม“การบริการรวมที่จุดเดียว : One Stop Service” ใจกันด้วยการปรับลดช่องว่างระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 13. ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงเข้าใจถึงธรรมชาติและต้องการให้ประชาชนใกล้ชิดกับ ทรัพยากรธรรมชาติ ทรงมองปัญหาธรรมชาติอย่างละเอียด โดยหากเราต้องการแก้ไขธรรมชาติจะต้องใช้ ธรรมชาติเข้าช่วยเหลือเราด้วย 14. ใช้อธรรมปราบอธรรม ทรงนาความจริงในเรื่องธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของธรรมชาติมาเป็นหลักการแนวทางปฏิบัติในการแก้ไข ปัญหาและปรับปรุงสภาวะที่ไม่ปกติเข้าสู่ระบบที่ปกติ เช่น การบาบัดน้าเน่าเสียโดยให้ผักตบชวา ซึ่งมีตาม ธรรมชาติให้ดูดซึมสิ่งสกปรกปนเปื้อนในน้า 15. ปลูกป่าในใจคน การจะทาการใดสาเร็จต้องปลูกจิตสานึกของคนเสียก่อน ต้องให้เห็นคุณค่า เห็นประโยชน์กับสิ่งที่จะทา…. “เจ้าหน้าที่ป่าไม้ควรจะปลูกต้นไม้ลงในใจคนเสียก่อน แล้วคนเหล่านั้นก็จะพากันปลูกต้นไม้ลงบนแผ่นดินและ จะรักษาต้นไม้ด้วยตนเอง” 16. ขาดทุนคือกาไร หลักการในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ที่มีต่อพสกนิกรไทย และ เป็น“การให้” “การเสียสละ” การกระทาอันมีผลเป็นกาไร คือความอยู่ดีมีสุขของราษฎร
  • 6. 17. การพึ่งพาตนเอง การพัฒนาตามแนวพระราชดาริ เพื่อการแก้ไขปัญหาในเบื้องต้นด้วยการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า เพื่อให้มี ความแข็งแรงพอที่จะดารงชีวิตได้ต่อไป แล้วขั้นต่อไปก็คือ การพัฒนาให้ประชาชนสามารถอยู่ในสังคมได้ตาม สภาพแวดล้อมและสามารถ พึ่งตนเองได้ในที่สุด 18. พออยู่พอกิน ให้ประชาชนสามารถอยู่อย่าง ให้ได้เสียก่อน แล้วจึงค่อยขยับขยายให้มีขีดสมรรถนะที่“พออยู่พอกิน” ก้าวหน้าต่อไป 19. เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ในหลวงรัชกาลที่ 9 พระราชทานพระราชดารัสชี้แนะแนวทางการดาเนินชีวิต ให้ดาเนินไปบน เพื่อให้รอดพ้นและสามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และ“ทางสายกลาง” การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ซึ่งปรัชญานี้สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ทั้งระดับบุคคล องค์กร และชุมชน 20. ความซื่อสัตย์สุจริต จริงใจต่อกัน ผู้ที่มีความสุจริตและบริสุทธิ์ใจ แม้จะมีความรู้น้อย ก็ย่อมทาประโยชน์ให้แก่ส่วนรวมได้มากกว่าผู้ที่มีความรู้ มาก แต่ไม่มีความสุจริต ไม่มีความบริสุทธิ์ใจ ที่มา : https://lifestyle.campus-star.com/knowledge/39678.html
  • 7. 21. ทางานอย่างมีความสุข ทางานต้องมีความสุขด้วย ถ้าเราทาอย่างไม่มีความสุขเราจะแพ้ แต่ถ้าเรามีความสุขเราจะชนะ สนุกกับการ ทางานเพียงเท่านั้น ถือว่าเราชนะแล้ว หรือจะทางานโดยคานึงถึงความสุขที่เกิดจากการได้ทาประโยชน์ให้กับ ผู้อื่นก็สามารถทาได้ “…ทางานกับฉัน ฉันไม่มีอะไรจะให้ นอกจากการมีความสุขร่วมกัน ในการทาประโยชน์ ให้กับผู้อื่น…” 22. ความเพียร การเริ่มต้นทางานหรือทาสิ่งใดนั้นอาจจะไม่ได้มีความพร้อม ต้องอาศัยความอดทนและความมุ่งมั่น ดังเช่น พระราชนิพนธ์ กษัตริย์ผู้เพียรพยายามแม้จะไม่เห็นฝั่งก็จะว่ายน้าต่อไป เพราะถ้าไม่เพียร“พระมหาชนก” ว่ายก็จะตกเป็นอาหารปู ปลาและไม่ได้พบกับเทวดาที่ช่วยเหลือมิให้จมน้า 23. รู้ รัก สามัคคี รู้ คือ รู้ปัญหาและรู้วิธีแก้ปัญหานั้น รัก คือ เมื่อเรารู้ถึงปัญหาและวิธีแก้แล้ว เราต้องมีความรัก ที่จะลงมือทา ลงมือแก้ไขปัญหานั้น สามัคคี คือ การแก้ไขปัญหาต่างๆ ไม่สามารถลงมือทาคนเดียวได้ ต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจกัน ที่มาเนื้อหา : https://lifestyle.campus-star.com/knowledge/39678.html
  • 8. ค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ ที่มา : http://buriram.cad.go.th/ewt_news.php?nid=455&filename=index ค่านิยมของคนไทย ๑๒ ประการ ค่านิยมของคนไทย ๑๒ ประการ 1. ความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในสิ่งที่ดีงามเพื่อส่วนรวม 3. กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์ 4. ใฝ่หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรง และทางอ้อม 5. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม 6. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีต่อผู้อื่น เผื่อแผ่และแบ่งปัน 7. เข้าใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่ถูกต้อง 8. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักการเคารพผู้ใหญ่ 9. มีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ทา รู้ปฏิบัติตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 10. รู้จักดารงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว รู้จักอดออมไว้ใช้เมื่อยามจาเป็น มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่ายจาหน่าย และพร้อมที่จะขยายกิจการเมื่อมีความพร้อม เมื่อมีภูมิคุ้มกันที่ดี 11. มีความเข้มแข็งทั้งร่างกาย และจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออานาจฝ่ายต่า หรือกิเลส มีความละอาย เกรงกลัวต่อบาปตามหลักของศาสนา 12. คานึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวม และของชาติมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง
  • 9. ค่านิยมของคนไทย ๑๒ ประการ ที่มา : http://buriram.cad.go.th/ewt_news.php?nid=455&filename=index ความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ เราเกิดมาบนผืนแผ่นดินไทยที่อุดมสมบูรณ์และมั่งคั่ง มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขที่อุทิศให้แก่ ประชาชนอันเป็นที่รัก มีศาสนาพุทธซึ่งเป็นที่พึ่งทางใจ และก็มีธงชาติที่ป่าวประกาศถึงสัญชาติของเรา ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในสิ่งที่ดีงามเพื่อส่วนรวม การที่เราเปลี่ยนแปลงอุปนิสัยของเราให้เข้ากับคนอื่นหรือทัศนคติไปในทางที่ดีนั้นจะทาให้เราได้เรียนรู้ สิ่งใหม่ๆ เข้าใจสิ่งต่างๆในแต่ละมุมมอง ซึ่งจะทาให้ข้อขัดแย้งและปัญหายุติลง
  • 10. กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์ บุญคุณของพ่อแม่นั้นใหญ่หลวงมาก ท่านทั้งสองให้กาเนิดเรามาในโลกอันกว่างใหญ่ เลี้ยงดูเราอย่างดี ด้วยความรักและห่วงใย รวมทั้งผู้ปกครอง และคุณครูบาอาจารย์ที่ให้การศึกษาตั้งแต้่เล็กจนโต ซึ่งจะทาให้เรา เติบใหญ่เป็นคนที่ดีในสังคม ดังนั้น เราควรตอบแทนบุญคุณของทุกท่านโดยประพฤติตัวให้ดี เข่น การเคารพ หรืปฏิบัติตามกฎระเบียบที่มีอยู่ มีความับผิดชอบในหน้าที่ต่างๆ และไม่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคล ใฝ่หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรง และทางอ้อม การที่เราดารงชีวิตประจาวันนั้น แน่นอนว่าเราต้องใช้ความรู้อยู่ตลอดเวลา ณ ตอนนี้โลกเปลี่ยนไปอย่าง มาก เพราะฉะนั้นเราความไฝ่หาความรู้เพื่อให้ทันกลับโลกภายนอกที่หมุ่นอยู่ตลอกเวลา เราควรมีความเพียร พยายาม มุ่งมั่นในการศึกษาทั้งในและนอกโรงเรียน เช่น การใช้ตาราเรียน อินเตอร์เน็ตหรือสื่ออื่นๆที่สามารถ ค้นคว้าข้อมูลได้ รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม ประชาชนชาวไทยควรที่จะภาคภูมิใจกับประเพณี ศิลปะอันงดงาม และวัฒนธรรมอันดั่งเดิ่ม เช่น วันปี ใหม่ของประเทศไทย สงกรานต์ ในขณะนี้ค่านิยมของตะวันตกนั้นเข้ามาและมีบทบาทมากกับการพูดจา กิริยา และการแต่งกาย ซึ่งทาให้ประเพณีอันงดงามนั้นถดถ่อยลง ด้วยเหตุนี้เราควรที่จะเป็นต้นแบบในการอนุรักษ์ และสืบทอดให้ถึงรุ่นต่อไปเรียนรู้ ที่มา : http://img.prapayneethai.com/slider/slider_01.jpg
  • 11. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีต่อผู้อื่น เผื่อแผ่และแบ่งปัน การที่เราให้โดยไม่หวังผลตอบแทนนั้นเป็นสิ่งที่ประเสริฐ การทาสิ่งต่างๆด้วยความหวังดี ถึงแม้ว่า ผลลัพย์ที่เราจะได้คือความสุขเล็กๆน้อยๆ แต่เราก็จะได้มิตรสัมพันธ์ที่ดี ศีลธรรมก็เป็นข้อที่เราควรถือไว้ในใจ เช่นศีล๕ และการที่เราสื่อสัตย์ตลอดไม่ว่าจะทาอะไร จะทาให้เราเ่นคนดีในสังคม เข้าใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่ถูกต้อง การเป็นประชาธิปไตยนั้นเป็นระบบการบริหารอานาจรัฐมาจากเสียงข้างมากของพลเมือง โดยที่เรามี พระมหากษัตริย์เป็นประมุก ซึ่งเราควรเคารพพ่อหลวงเราด้วยใจรัก มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักการเคารพผู้ใหญ่ ทุกวันนี้เรามักจะเห็นผู้คนแตกแยก หรือไม่ให้ควมเคารพกัน ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการที่ไม่มีระเบียบใน สังคม อย่างแรกต้องเริ่มที่ตัวเราเอง เราควรที่จะมีระเบียบวินัย เคารพกฏหมาย และเคารพผู้หลักผู้ใหญ่ และ สิ่งเหล่านี้จะเป็นต้นแบบให้อีกหลายๆคนเพื่อที่จะทาให้สังคนไทยนั้นเจริญ ที่มา : https://sites.google.com/site/skyletfark2/kha-niym-hlak-khxng-khn-thiy-12- prakar/08-mi-rabeiyb-winay-khearph-kdhmay https://sites.google.com/site/famzazadeen/8-mi-rabeiyb-winay-khearph-kdhmay- phu-nxy-rucak-kar-khearph-phuhiy
  • 12. มีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ทา รู้ปฏิบัติตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สติเป็นสิ่งที่เราควรตระหนักอยู่ตลอดเวลาเพื่อที่จะได้ทาสิ่งหนึ่งให้ดีที่สุด รวมถึงการคิดทบทวนให้ รอบคอบ และมีความมุ้งมั่นตั้งใจในการทางาน ผลลัพย์ที่ราจะได้ถ้าเราทาอะไรโดยมีสติคือความสาเร็จ รู้จักดารงตนอยู่ โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รู้จักอดออมไว้ใช้เมื่อยามจาเป็น มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่ายจาหน่าย และพร้อมที่จะขยายกิจการเมื่อ มีความพร้อม เมื่อมีภูมิคุ้มกันที่ดี การดารงชีพนั้นอาจจะเป็นปัจจัยหนึ่งที่เราควรตระหนักอยู่ตลอกเวลา ดั้งที่พระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวให้คาสอนไว้เกี่ยวกับ เศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งการที่เราต้องปรับเปลี่ยนตนให้เข้ากับคนอื่น และถ้าเราทาตามคาสอนของพ่อหลวง ชีวิตเราจะมีความสุขอยู่กับสิ่งที่เรามี มีความเข้มแข็งทั้งร่างกาย และจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออานาจฝ่ายต่า หรือกิเลส มีความละอายเกรงกลัวต่อบาป ตามหลักของศาสนา การที่มีจิตใจอันแน้วแน่ จะไม่สั่นคลอนใดๆทั้งสิ้นถ้ามีอุปสรรค์หรือกิเลสผ่านเข้ามา ถ้าเราได้ผ่านสิ่ง เหล่านี้มาป่อยครั้ง มันจะทาให้เราเข้มแข็ง เช่น เราไม่คควรดื่มสุราหรือสูบบุหรี่ถ้ามีคนชักชวน คานึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวม และของชาติมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง ในการดาเนินการสิ่งใดสิ่งหนึ่งนั้น เราควรคานึงถึงข้อดีและข้อเสีย แต่ไม่ใช้แค่คานึงสาหรับตนเองแต่ ควรคานึงถึงผู้อื่นด้วย อีกทั้ง เราควรช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ เช่นไปสอนหนังสือที่บ้านนเด็กกาพร้า หรือไปให้ ความบันเทิงที่บ้านคนชรา เป็นต้น ที่มาเนื้อหา : https://khaniyom12.weebly.com/
  • 13. 8 เคล็ดลับอ่านหนังสือยังไงให้จาเร็วและแม่น ที่มา : http://www.jeban.com/viewtopic.php?t=229176 1. อ่านหน้าสรุปก่อน อ่านตอนจบก่อนเลย ผู้เขียนหนังสือส่วนใหญ่ชอบเขียนให้ดูลึกลับ ชักแม่น้าทั้งห้า เขียนอธิบายอย่างละเอียด ยิบ ใช้ประโยคที่ต้องอ่านซ้าสองสามรอบถึงจะเข้าใจ โดยเฉพาะในหน้าแรก ๆ ของบท เราไม่จาเป็นต้องรู้ ประวัติชีวิตของผู้เขียน บทนา ซึ่งจะเป็นการเขียนเกริ่นแนะนาให้อ่านต่อไปเรื่อย ๆ ซะเป็นส่วนใหญ่ ในทางกลับกัน บทส่งท้าย หรือบทสรุป เป็นสิ่งที่ต้องอ่าน โดยปกติแล้วจะเป็นส่วนที่ผู้เขียนสรุปข้อมูลทั้งหมด ที่ได้กล่าวมา อีกทั้ง หากเราอ่านบทสรุปก่อน แล้วกลับมาอ่านหน้าแรกอีกครั้งก็ทาให้เราสามารถอ่านได้เข้าใจ มากขึ้น แม้กระทั่งในเวลาที่ต้องอ่านหนังสือก่อนเพื่อไปเรียนในคาบถัดไป การอ่านส่วนบทสรุปก็ทาให้เราเห็น ภาพคร่าวๆของเนื้อหาที่ต้องเรียนแล้ว
  • 14. 2. ใช้ปากกาไฮไลต์เพื่อนเน้นใจความสาคัญ ข้อผิดพลาดที่หลายคนทา คือการเลิกไฮไลต์ เนื่องจากครูผู้สอนกล่าวถึงแทบทุกอย่างในหน้าหนังสือ เลย ไฮไลต์ตาม ปรากฏว่าไฮไลต์ไปหมดทั้งหน้า ซึ่งกลายเป็นการกระทาที่ไม่เกิดประโยชน์ไป จึงขี้เกียจไฮไลต์อีก และเลิกทาไปในที่สุด ความจริงแล้ว การไฮไลต์ข้อความนั้นมีประโยชน์มาก “หากใช้อย่างถูกวิธี” ไม่ควรไฮไลต์ทุกอย่างในหน้า และไม่ควรไฮไลต์น้อยจนเกินไป สิ่งที่ควรทาคือการไฮไลต์ข้อความที่ผู้เขียนกล่าวสรุป โดยปกติแล้วผู้เขียน มักจะกล่าวประเด็นซ้าไปมาหลายหน้าและให้ข้อมูลสรุปประเด็นที่ย่อหน้าสุดท้าย ให้ไฮไลต์บริเวณนั้น เมื่อเรา เปิดหนังสือมาอ่านอีกครั้ง เราจะสามารถทราบทุกอย่างที่จาเป็นต้องรู้ด้วยการมองเพียงแวบเดียว ที่มา : https://pikabu.ru/story/marker_sled_ot_kotorogo_ischeznet_cherez_pyat_mesyatsev_3050009 3. ดูสารบรรณและหัวข้อย่อย นักศึกษาที่เรียนในมหาวิทยาลัยมักประหลาดใจเมื่อทราบข้อนี้ว่า อาจารย์ส่วนใหญ่ในมหาวิทยาลัยนั้น ไม่ได้ อ่านหนังสือจนจบเล่ม แต่สิ่งที่พวกท่านทานั้น คือการดูสารบรรณและอ่านหัวข้อที่น่าสนใจหรือเกี่ยวข้องกับ งานวิจัยที่จะทาเท่านั้น หรือไม่ก็ใช้วิธีการ อ่านผ่านๆอย่างรวดเร็ว (skimming) จนเมื่อเจอหัวข้อที่น่าสนใจ จึงค่อยหยุดอ่านอย่างตั้งใจ ทาให้การอ่านั้นไม่น่าเบื่อ เพราะว่าเราจะได้อ่านสิ่งที่เราสนใจจริง ๆ เท่านั้น และยังทาให้เรารู้ใจความสาคัญของสิ่งที่ผู้เขียนต้องการสื่อได้อยู่ดี เพราะผู้เขียนมักจะกล่าวถึงประเด็นสาคัญ ซ้า ๆ ในทุกส่วนของหนังสือ เทคนิคนี้ช่วยป้องกันอาการ “ตามองอ่านตัวหนังสือทุกบรรทัด แต่ใจความไม่เข้า หัวเลย” อ่านออกแต่สมองไม่ตอบรับว่าสิ่งที่อ่านไปนั้นคืออะไร เพราะเกิดจากการอ่านสิ่งที่เราไม่อยากอ่าน นั่นเอง
  • 15. 4. ขวนขวายกันสักนิด แทนที่จะซึมซับทุกอย่างจากการอ่านหนังสือที่อาจารย์สั่งเท่านั้น ลองเปิดโลกใหม่ดูบ้าง หาหนังสือเล่มอื่นๆ ในห้องสมุด หรือในอินเตอร์เน็ตก็มีเยอะแยะไปที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่เรียนมาอ่านดู ซึ่งหนังสือบางเล่มพูดถึง เล่มเดียวกันแต่เขียนได้น่าอ่าน อ่านเข้าใจง่าย มีภาพประกอบเพิ่ม สรุปแบบอ่านแล้วเข้าใจ ซึ่งจริง ๆ เนื้อหา ก็เรื่องเดียวกับที่เรียนในห้อง แต่ขึ้นชื่อว่าหนังสือเรียนก็รู้ๆ กันอยู่อ่านไปหลับไปเป็นธรรมดา ดังนั้นการหาความรู้ข้างนอกมาเสริมจะช่วย ให้เราเข้าใจสิ่งที่เรียนได้ง่าย และเข้าใจมากขึ้น บางทีอาจรู้ลึกกว่าที่เรียนในคาบเสียอีกนะ หนังสือ ประวัติศาสตร์ไทย ที่มีอยู่ในห้องสมุดอาจจะอ่านแล้วสนุกน่าอ่านกว่าหนังสือที่ใช้เรียนอยู่ก็ได้ ที่มา : https://communityengagement.uncg.edu/call-for-chapters-and-reviewers-2017-vol-of-the- advances-in-service-learning-research-series/ 5. พยายามอย่าอ่านทุกคา หลายคนคิดว่าการอ่านทุกคาจะช่วยให้จดจาข้อมูลได้อย่างละเอียดยิบ ความจริงแล้วหาเป็นเช่นนั้นไม่ เพราะ สมองจะได้รับข้อมูลมากเกินไปและเกิดความล้า เบื่อหน่ายจนตาลอยอ่านหนังสือไม่เข้าหัวในที่สุด ที่เป็นเช่นนี้เพราะหนังสือที่ไม่ได้อยู่ในประเภทนิยายมักจะถูกเขียนอธิบายซ้า ๆ เพราะผู้เขียนต้องการจะกล่าว อธิบายให้กระจ่าง แต่ใจความสาคัญจริง ๆ แล้วอยู่ที่บทสรุปเพียงไม่กี่ย่อหน้า หนังสือส่วนใหญ่ใส่ข้อมูล หลักฐานจนแน่นมากกว่าจะกล่าวถึงประเด็น ซึ่งก็เป็นเรื่องดีและน่าสนใจ แต่ทุกหลักฐานที่อ้างนั้นก็กล่าวถึง ประเด็นเดียว การอ่านเพิ่มเติมก็เป็นการย้าถึงประเด็นเดิม ดังนั้นเลือกหลักฐานที่น่าสนใจที่สุดแล้วอ่านบท ต่อไป
  • 16. 6. เขียนสรุปมุมมองของผู้อ่าน อดทนหน่อยอย่าเพิ่งเบื่อ! คนส่วนใหญ่ไม่ชอบการเขียน แต่การเขียนนั้นเป็นวิธีการที่ง่ายที่สุดในการรวบรวม ข้อมูลสาคัญในระยะเวลาอันสั้น หากเป็นไปได้ให้เขียนใจความสาคัญในแบบฉบับของเราใน 1 หน้ากระดาษ โดยพูดถึงประเด็นที่ผู้เขียนต้องการจะสื่อ ยกตัวอย่างสั้น ๆ และคาถามหรือความรู้สึกของเราที่ต้องการการ ค้นคว้าเพื่อหาคาตอบต่อไปให้ดียิ่งขึ้น การเขียนมุมมองของผู้อ่านเช่นนี้ เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้เราทราบถึงประเด็นสาคัญของหนังสือเช่นเดียวกับ การไฮไลต์ข้อความ เมื่อใกล้ถึงช่วงสอบ จะเป็นการง่ายกว่าที่เราจะนั่งอ่านมุมมองสรุปของผู้อ่าน แทนที่จะ พลิกตาราอ่านหนังสือทั้งเล่มเพื่ออ่านทบทวนอีกครั้ง หากเป็นหนังสือภาษาอังกฤษ เราสามารถอ่านรีวิว หนังสือจากผู้อ่านคนอื่น ๆ ในเว็บไซต์ เช่น Amazon เป็นการเสริมข้อมูลในมุมมองของผู้อ่านท่านอื่น ๆ ที่ ได้รับจากหนังสือเล่มนั้นเช่นกัน 7. อภิปรายกับผู้อื่น คนส่วนมากไม่ชอบการทางานกลุ่ม แต่การจับกลุ่มกันพูดถึงเนื้อหาของหนังสือที่ต้องอ่านช่วยทาให้เราจาได้ ง่ายขึ้น บางครั้งอาจพูดถึงหนังสือในแง่ตลก ๆ ก็จะทาให้เราจาประเด็นนั้นได้เมื่อเราอยู่ในห้องสอบ เพราะเรา จะคิดถึงเรื่องตลกก่อน เป็นการใช้หลักการเชื่อมโยงข้อมูลที่ทาให้สมองของเราทางานได้ง่ายขึ้น การพูดคุยเกี่ยวกับหนังสือที่อ่านช่วยทาให้เราได้รับข้อมูลเพิ่มเติมจากบางส่วนที่เรามองข้ามไป บางคนนั้น ชอบเรียนรู้โดยการฟัง และมักจะเรียนรู้ได้ดีที่สุดเมื่อได้ยินข้อมูล ดังนั้นการพูดคุยสนทนาถกเถียงประเด็นที่อยู่ ในหนังสือจะทาให้เราจาประเด็นสาคัญนั้นได้ดีเมื่อได้ฟังผ่านหู ทาให้เราสามารถระลึกถึงข้อมูลส่วนนั้นได้เมื่อ อยู่ในการสอบ ที่มา : https://www.dek-d.com/education/37818/
  • 17. 8. จดคาถามข้อสงสัยที่เกิดขึ้นระหว่างการอ่าน หัวใจหลักของเทคนิคนี้ คือการตั้งคาถาม อย่าเชื่อว่าผู้เขียนนั้นเขียนได้ถูกต้องซะทีเดียว ให้จดจ่อกับสิ่งที่อาจและ ใช้ความคิดเชิงวิเคราะห์ในการอ่าน เช่น  ทาไมผู้เขียนจึงกล่าวเช่นนั้น?  หลักฐานคาอธิบายนี้เป็นจริงหรือ?  ประเด็นนี้เกี่ยวข้องกับข้อโต้แย้งของผู้เขียนอย่างไร?  ผู้เขียนต้องการสื่อข้อความนี้ให้แก่ใคร? คาถามอาจซับซ้อนกว่านี้หรือง่ายกว่านี้ ขึ้นอยู่กับหนังสือที่อ่าน เคล็ดลับเหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยให้เราอ่าน หนังสือและจดจาได้เป็นอย่างดี แต่แน่นอนว่าอาจจะมีวิธีที่หลากหลายกว่านี้ แต่ละวิธีก็อาจให้ผลลัพธ์ แตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับว่าใครชอบวิธีไหน ที่มาเนื้อหา : https://teen.mthai.com/education/79713.html