SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
PHP คืออะไร
หลายคนที่ทาเว็บไซต์ด้วย HTML หรือโปรแกรมช่วยสร้างเว็บไซต์ต่างๆ เช่น Dreamweaver แล้วอาจสงสัยว่าเมื่อ
ทา form สาหรับ รับค่าเช่น ชื่อ ที่อยู่ เสร็จแล้วจะเก็บค่ายังไง หรือจะทาอย่างไรต่อ หรือเว็บบอร์ดทางานอย่างไร CMS
ทางานอย่างไร ทาไมบางเว็บไซต์สามารถโต้ตอบกับ ผู้ใช้งานได้ คาตอบของทุกคาถามคือ PHP ครับ
PHP นั้นเป็นภาษาสาหรับใช้ในการเขียนโปรแกรมบนเว็บไซต์ สามารถเขียนได้หลากหลายโปรแกรมเช่นเดียวกับภาษา
ทั่วไป อาจมีข้อสงสัยว่า ต่างจาก HTML อย่างไร คาตอบคือ HTML นั้นเป็นภาษาที่ใช้ในการจัดรูปแบบของเว็บไซต์
จัดตาแหน่งรูป จัดรูปแบบตัวอักษร หรือใส่สีสันให้กับ เว็บไซต์ของเรา แต่ PHP นั้นเป็นส่วนที่ใช้ในการคานวน ประมวลผล
เก็บค่า และทาตามคาสั่งต่างๆ อย่างเช่น รับค่าจากแบบ form ที่เราทา รับค่าจากช่องคาตอบของเว็บบอร์ดและเก็บไว้เพื่อ
นามาแสดงผลต่อไป แม้แต่กระทั่งใช้ในการเขียน CMS ยอดนิยมเช่น Drupal , Joomla พูดง่ายๆคือเว็บไซต์จะ
โต้ตอบกับผู้ใช้ได้ ต้องมีภาษา PHP ส่วน HTML หรือ Javascript ใช้เป็นเพียงแค่ตัวควบคุมการแสดงผลเท่านั้น
PHP เบื้องต้น
กล่าวถึงและแนะนาการประยุกต์คาสั่งพื้นฐานสาหรับการสร้างเว็บ
1. เริ่มต้นด้วย PHP
PHP เป็นภาษาตัวแปลสคริปต์ หมายความว่า language engine เรียกใช้
สคริปต์ที่เขียนขึ้นโดยไม่มีขั้นตอนกลางในการคอมไพล์ หรือไปเป็นรูปแบบ ไบนารี
สคริปต์ส่วนใหญ่ที่ใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์เว็บอยู่ในที่เดียวกับไฟล์ HTML
ตามปกติไฟล์เก็บสคริปต์จะเก็บเป็นนามสกุล .php ถึงแม้ว่าบุคคลทั่วไปจะใช้
นามสกุลเก่าคือ .php3 และ .phtml พื้นที่เก็บไฟล์เหล่านี้จะขึ้นกับการตั้งค่าคอน
ฟิกให้แม่ข่ายเว็บส่งผ่านไฟล์เหล่านี้ไปยังตัวแปร PHP พื้นที่จัดเก็บไฟล์หรือเอกสารนี้
ได้รับอ้างถึงในฐานะ document root
2. ภาษา PHP
ต่อไปเป็นการทาความรู้จักภาษาเกี่ยวกับการแปลงประเภทข้อมูล ตัวแปรและการควบคุม จากนั้นเรียนรู้เกี่ยวกับ
operator และคาสั่งโครงสร้างควบคุมทางตรรกะของภาษาสาหรับการสร้างสคริปต์
ประเภทข้อมูล
การทางานกับประเภทข้อมูลของ PHP แตกต่างจากภาษาอื่นเล็กน้อย โดย PHP เป็นภาษา richly typed ที่
ตัวแปรไม่ต้องมีการประกาศเป็นประเภทข้อมูลเจาะจง เพราะ engine กาหนดประเภทที่ใช้ตามกฎ บางครั้งเรียกสิ่ง
นี้ว่าประเภทข้อมูลไดนามิคส์
PHP สนับสนุนประเภทข้อมูล
-integer
-float หรือ double
-string
-boolean
-array
-object
การแปลงประเภทข้อมูล
ตามที่ได้กล่าวไว้ว่า PHP เป็นภาษา richly type และ engine สามารถแปลงระหว่างประเภทข้อมูลต่างกันในเวลา
เรียกใช้
PHP สามารถแปลงหรือเจาะจงประเภทข้อมูลได้
วิธีพื้นฐาน
วิธีพื้นฐานในการแปลงประเภทข้อมูลตัวแปรมี 2 วิธีคือ
การแปลงประเภทเชิงนัยยะ
การแปลงเชิงนัยยะ (implicit conversion) เป็นการประเภทข้อมูลที่เกิดขึ้นโดย PHP engine อย่างอัตโนมัติ
เมื่อมีการประมวลผล PHP จะกาหนดประเภทข้อมูลให้ตัวแปรให้ตามความเหมาะสม
1.การคานวณเลขคณิต ถ้ามี operand ที่เป็น integer กับอีกตัวเป็น float จากนั้นตัวแรกจะได้รับการประเมินเป็น
float ถ้า operand เป็น string และอีกตัวเป็น integer กรณีนี้ PHP จะแปลง string เป็น integer ก่อน
การคานวณ
2.นิพจน์ Boolean สาหรับกรณีการประเมินนิพจน์ Boolean ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น PHP จะแปลงเป็น Boolean
ก่อนทางานต่อไป
3.เมธอดที่ต้องการ string เมธอดหรือ operator เช่น echo, print หรือ string concatenation
operator (.) ต้องการอากิวเมนต์หรือ operand เป็น string ในกรณีนี้ PHP จะแปลงตัวแปรที่ไม่ใช่ข้อความ
ให้เป็นข้อความ
การแปลงประเภทเชิงประจักษ์
ถึงแม้ว่า PHP จะแปลงตัวแปรให้อย่างอัตโนมัติ แต่ยังมีทางเลือกในการระบุประเภทข้อมูลได้เองด้วยการบังคับ
ให้ภาษาแปลงประเภทข้อมูลโดยทาในสิ่งที่เรียกว่า type cast การกาหนดให้เติมหน้าตัวแปรด้วยประเภท
ข้อมูลในวงเล็บ จากนั้น PHP จะพยายามแปลงให้
1.(int), (integer) แปลงเป็นเลขจานวนเต็ม integer
2.(float), (double), (real) แปลงเป็นเลขทศนิยม float
3.(string) แปลงเป็นข้อความ string
4.(bool), (boolean) แปลงเป็นค่า Boolean
5.(array) แปลงเป็น array
6.(object) แปลงเป็น object
3. การทางานไฟล์ และไดเรคทอรี
เมื่อทราบถึงไวยากรณ์เบื้องต้น การเข้าถึงและควบคุมข้อมูลภายในฟอร์ม HTML ต่อไปค้นหาวิธีการเก็บสารสนเทศ
เป็นไฟล์ข้อความ (text file) สาหรับการใช้ต่อไป โดยจะเป็นการเก็บและโหลดด้วยการเขียนลงไฟล์และอ่าน เมื่อมี
ปริมาณข้อมูลมากต้องใช้ระบบจัดการฐานข้อมูล เช่น MySQL
ภาพรวมการประมวลผลไฟล์
การเขียนข้อมูลลงสู่ไฟล์มี 3 ขั้นตอน คือ
•เปิดไฟล์ ถ้าไฟล์ไม่มีอยู่จริง ต้องมีการสร้างขึ้นมา
•เขียนข้อมูลลงสู่ไฟล์
•ปิดไฟล์
การอ่านข้อมูลจากไฟล์มี 3 ขั้นตอนเช่นกัน คือ
•เปิดไฟล์ ถ้าไม่สามารถเปิดได้ เช่น ไม่มีไฟล์อยู่จริง จะต้องรับทราบและออก
•อ่านข้อมูลจากไฟล์
•ปิดไฟล์
4. การทางานกับ Array
array ใน PHP มีความแตกต่างจากภาษาอื่นคือ สามารถตั้งชื่อดัชนีเป็นข้อความ เรียกว่า associative
array นอกเหนือจากการใช้ตัวเลข การเก็บข้อมูลใน array สามารถเป็นตัวเลข ข้อความ รวมถึง array จึงทา
ให้การประยุกต์มีประสิทธิภาพ
5. การควบคุมข้อความ และนิพจน์ปกติ
การประยุกต์กับข้อความของ PHP สาหรับการจัดรูปแบบและควบคุมข้อความ จะกล่าวถึงการใช้ฟังก์ชันข้อความ
หรือฟังก์ชันนิพจน์ปกติ (regular expression) เพื่อค้นหาคา วลี หรือรูปแบบอื่นภายในข้อความ
ฟังก์ชันเหล่านี้มีประโยชน์ในหลายบริบท เช่น การจัดรูปแบบนาเข้าแล้วจัดเก็บในฐานข้อมูล ฟังก์ชันค้นหามีประโยชน์
มากเมื่อสร้างโปรแกรม
6. คาสั่งใช้ใหม่และฟังก์ชัน
คาสั่งใช้ใหม่ (reuse code) นาไปสู่ความตรงกัน ความน่าเชื่อถือ การบารุงรักษาได้สะดวก โดยเริ่มจากเทคนิค
แบบโมดูลและคาสั่งใช้ใหม่ เริ่มต้นการใช้ require () และ include () เพื่อใช้คาสั่งเดียวกันบนมากกว่าหนึ่ง
เพจ นี่เป็นคาอธิบายความเหนือกว่าของ server side include
7. Object Oriented Programming
ภาษาโปรแกรมสมัยใหม่ มักจะสนับสนุนหรือต้องการวิธีแบบ Object oriented programming เพื่อ
พัฒนาซอฟต์แวร์ ซึ่ง PHP สามารถพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ประเภ
สมาชิก
นายธนาวุฒิ ศรีสวาท เลขที่ 4
นายธารงค์ ปี่กระโทก เลขที่ 5
นายธนาภพ วิจิตรศิริโชติ เลขที่14
นายพงศธร วังปลาทอง เลขที่ 17
นายดลสันติ์ กรีชวด เลขที่ 18
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3

More Related Content

What's hot

ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรมตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรมpongpakorn Suklertpong
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++Naowarat Jaikaroon
 
ตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีboky_peaw
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตkhemjira_p
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานNookky Anapat
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอchupong roddee
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C0872671746
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาmee_suwita
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาmarkno339
 
การเขียนโปรแกรมด้วย Visual basic
การเขียนโปรแกรมด้วย Visual basicการเขียนโปรแกรมด้วย Visual basic
การเขียนโปรแกรมด้วย Visual basicSarun Kitcharoen
 

What's hot (20)

Python programmingggg
Python programminggggPython programmingggg
Python programmingggg
 
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรมตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
 
53011220073
5301122007353011220073
53011220073
 
Lab Computer Programming 1
Lab Computer Programming 1Lab Computer Programming 1
Lab Computer Programming 1
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++
 
งานทำ Blog บทที่ 2
งานทำ Blog บทที่ 2งานทำ Blog บทที่ 2
งานทำ Blog บทที่ 2
 
ตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซี
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
Language com
Language comLanguage com
Language com
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
ภาษาซึี
ภาษาซึีภาษาซึี
ภาษาซึี
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
#1
#1#1
#1
 
การเขียนโปรแกรมด้วย Visual basic
การเขียนโปรแกรมด้วย Visual basicการเขียนโปรแกรมด้วย Visual basic
การเขียนโปรแกรมด้วย Visual basic
 
Unit3.1variables
Unit3.1variablesUnit3.1variables
Unit3.1variables
 
งาน
งานงาน
งาน
 

Viewers also liked

Viewers also liked (11)

Квартальный дайджест - выпуск № 5 (июнь 2016)
Квартальный дайджест - выпуск № 5 (июнь 2016)Квартальный дайджест - выпуск № 5 (июнь 2016)
Квартальный дайджест - выпуск № 5 (июнь 2016)
 
Esei kumpulan mejar
Esei kumpulan mejarEsei kumpulan mejar
Esei kumpulan mejar
 
Квартальный дайджест выпуск № 3 (декабрь 2015)
Квартальный дайджест   выпуск № 3 (декабрь 2015)Квартальный дайджест   выпуск № 3 (декабрь 2015)
Квартальный дайджест выпуск № 3 (декабрь 2015)
 
Поздравление
ПоздравлениеПоздравление
Поздравление
 
Квартальный дайджест выпуск № 4 (март 2016)
Квартальный дайджест выпуск № 4 (март 2016)Квартальный дайджест выпуск № 4 (март 2016)
Квартальный дайджест выпуск № 4 (март 2016)
 
Квартальный дайджест выпуск № 1 (июнь 2015)
Квартальный дайджест выпуск № 1 (июнь 2015)Квартальный дайджест выпуск № 1 (июнь 2015)
Квартальный дайджест выпуск № 1 (июнь 2015)
 
Thioridazine 50-52-2-api
Thioridazine 50-52-2-apiThioridazine 50-52-2-api
Thioridazine 50-52-2-api
 
SAR_2015_Final
SAR_2015_FinalSAR_2015_Final
SAR_2015_Final
 
Búsquedas Inteligentes en Internet Thalia
Búsquedas Inteligentes en Internet ThaliaBúsquedas Inteligentes en Internet Thalia
Búsquedas Inteligentes en Internet Thalia
 
Квартальный дайджест выпуск № 2 (сентябрь 2015)
Квартальный дайджест выпуск № 2 (сентябрь 2015)Квартальный дайджест выпуск № 2 (сентябрь 2015)
Квартальный дайджест выпуск № 2 (сентябрь 2015)
 
Scope and Colonial Influences of Public Administration
Scope and Colonial Influences of Public AdministrationScope and Colonial Influences of Public Administration
Scope and Colonial Influences of Public Administration
 

Similar to Presentation1

งานครูปลาม์
งานครูปลาม์งานครูปลาม์
งานครูปลาม์0908067327
 
คณิศร บุตรดีไชย
คณิศร  บุตรดีไชยคณิศร  บุตรดีไชย
คณิศร บุตรดีไชยMinny Doza
 
ใบงานที่5555
ใบงานที่5555ใบงานที่5555
ใบงานที่5555M'Mod Ta Noy
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5nichaphat22
 
ใบงานที่5555
ใบงานที่5555ใบงานที่5555
ใบงานที่5555M'Mod Ta Noy
 
คู่มือJavascript and Python
คู่มือJavascript and Pythonคู่มือJavascript and Python
คู่มือJavascript and PythonBongkotporn Jachernram
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05Jenchoke Tachagomain
 
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้น
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้นแนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้น
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้นPhusit Konsurin
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น Ja Phenpitcha
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1Ja Phenpitcha
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2Iam Champooh
 
รายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.comรายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.comKnow Mastikate
 
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtmlใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtmlSamorn Tara
 

Similar to Presentation1 (20)

Php beginner
Php beginnerPhp beginner
Php beginner
 
งานครูปลาม์
งานครูปลาม์งานครูปลาม์
งานครูปลาม์
 
Php
PhpPhp
Php
 
คณิศร บุตรดีไชย
คณิศร  บุตรดีไชยคณิศร  บุตรดีไชย
คณิศร บุตรดีไชย
 
Websitebasic
WebsitebasicWebsitebasic
Websitebasic
 
Ppt Moodle
Ppt MoodlePpt Moodle
Ppt Moodle
 
ใบงานที่5555
ใบงานที่5555ใบงานที่5555
ใบงานที่5555
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5
 
ใบงานที่5555
ใบงานที่5555ใบงานที่5555
ใบงานที่5555
 
คู่มือJavascript and Python
คู่มือJavascript and Pythonคู่มือJavascript and Python
คู่มือJavascript and Python
 
Website
WebsiteWebsite
Website
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
 
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้น
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้นแนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้น
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้น
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
 
รายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.comรายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.com
 
Web browser คืออะไร
Web browser คืออะไรWeb browser คืออะไร
Web browser คืออะไร
 
Moodle e-Learning
Moodle e-LearningMoodle e-Learning
Moodle e-Learning
 
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtmlใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
 

Presentation1

  • 1.
  • 2. PHP คืออะไร หลายคนที่ทาเว็บไซต์ด้วย HTML หรือโปรแกรมช่วยสร้างเว็บไซต์ต่างๆ เช่น Dreamweaver แล้วอาจสงสัยว่าเมื่อ ทา form สาหรับ รับค่าเช่น ชื่อ ที่อยู่ เสร็จแล้วจะเก็บค่ายังไง หรือจะทาอย่างไรต่อ หรือเว็บบอร์ดทางานอย่างไร CMS ทางานอย่างไร ทาไมบางเว็บไซต์สามารถโต้ตอบกับ ผู้ใช้งานได้ คาตอบของทุกคาถามคือ PHP ครับ PHP นั้นเป็นภาษาสาหรับใช้ในการเขียนโปรแกรมบนเว็บไซต์ สามารถเขียนได้หลากหลายโปรแกรมเช่นเดียวกับภาษา ทั่วไป อาจมีข้อสงสัยว่า ต่างจาก HTML อย่างไร คาตอบคือ HTML นั้นเป็นภาษาที่ใช้ในการจัดรูปแบบของเว็บไซต์ จัดตาแหน่งรูป จัดรูปแบบตัวอักษร หรือใส่สีสันให้กับ เว็บไซต์ของเรา แต่ PHP นั้นเป็นส่วนที่ใช้ในการคานวน ประมวลผล เก็บค่า และทาตามคาสั่งต่างๆ อย่างเช่น รับค่าจากแบบ form ที่เราทา รับค่าจากช่องคาตอบของเว็บบอร์ดและเก็บไว้เพื่อ นามาแสดงผลต่อไป แม้แต่กระทั่งใช้ในการเขียน CMS ยอดนิยมเช่น Drupal , Joomla พูดง่ายๆคือเว็บไซต์จะ โต้ตอบกับผู้ใช้ได้ ต้องมีภาษา PHP ส่วน HTML หรือ Javascript ใช้เป็นเพียงแค่ตัวควบคุมการแสดงผลเท่านั้น
  • 3. PHP เบื้องต้น กล่าวถึงและแนะนาการประยุกต์คาสั่งพื้นฐานสาหรับการสร้างเว็บ 1. เริ่มต้นด้วย PHP PHP เป็นภาษาตัวแปลสคริปต์ หมายความว่า language engine เรียกใช้ สคริปต์ที่เขียนขึ้นโดยไม่มีขั้นตอนกลางในการคอมไพล์ หรือไปเป็นรูปแบบ ไบนารี สคริปต์ส่วนใหญ่ที่ใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์เว็บอยู่ในที่เดียวกับไฟล์ HTML ตามปกติไฟล์เก็บสคริปต์จะเก็บเป็นนามสกุล .php ถึงแม้ว่าบุคคลทั่วไปจะใช้ นามสกุลเก่าคือ .php3 และ .phtml พื้นที่เก็บไฟล์เหล่านี้จะขึ้นกับการตั้งค่าคอน ฟิกให้แม่ข่ายเว็บส่งผ่านไฟล์เหล่านี้ไปยังตัวแปร PHP พื้นที่จัดเก็บไฟล์หรือเอกสารนี้ ได้รับอ้างถึงในฐานะ document root
  • 4. 2. ภาษา PHP ต่อไปเป็นการทาความรู้จักภาษาเกี่ยวกับการแปลงประเภทข้อมูล ตัวแปรและการควบคุม จากนั้นเรียนรู้เกี่ยวกับ operator และคาสั่งโครงสร้างควบคุมทางตรรกะของภาษาสาหรับการสร้างสคริปต์ ประเภทข้อมูล การทางานกับประเภทข้อมูลของ PHP แตกต่างจากภาษาอื่นเล็กน้อย โดย PHP เป็นภาษา richly typed ที่ ตัวแปรไม่ต้องมีการประกาศเป็นประเภทข้อมูลเจาะจง เพราะ engine กาหนดประเภทที่ใช้ตามกฎ บางครั้งเรียกสิ่ง นี้ว่าประเภทข้อมูลไดนามิคส์ PHP สนับสนุนประเภทข้อมูล -integer -float หรือ double -string -boolean -array -object
  • 5. การแปลงประเภทข้อมูล ตามที่ได้กล่าวไว้ว่า PHP เป็นภาษา richly type และ engine สามารถแปลงระหว่างประเภทข้อมูลต่างกันในเวลา เรียกใช้ PHP สามารถแปลงหรือเจาะจงประเภทข้อมูลได้ วิธีพื้นฐาน วิธีพื้นฐานในการแปลงประเภทข้อมูลตัวแปรมี 2 วิธีคือ การแปลงประเภทเชิงนัยยะ การแปลงเชิงนัยยะ (implicit conversion) เป็นการประเภทข้อมูลที่เกิดขึ้นโดย PHP engine อย่างอัตโนมัติ เมื่อมีการประมวลผล PHP จะกาหนดประเภทข้อมูลให้ตัวแปรให้ตามความเหมาะสม 1.การคานวณเลขคณิต ถ้ามี operand ที่เป็น integer กับอีกตัวเป็น float จากนั้นตัวแรกจะได้รับการประเมินเป็น float ถ้า operand เป็น string และอีกตัวเป็น integer กรณีนี้ PHP จะแปลง string เป็น integer ก่อน การคานวณ 2.นิพจน์ Boolean สาหรับกรณีการประเมินนิพจน์ Boolean ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น PHP จะแปลงเป็น Boolean ก่อนทางานต่อไป 3.เมธอดที่ต้องการ string เมธอดหรือ operator เช่น echo, print หรือ string concatenation operator (.) ต้องการอากิวเมนต์หรือ operand เป็น string ในกรณีนี้ PHP จะแปลงตัวแปรที่ไม่ใช่ข้อความ ให้เป็นข้อความ
  • 6. การแปลงประเภทเชิงประจักษ์ ถึงแม้ว่า PHP จะแปลงตัวแปรให้อย่างอัตโนมัติ แต่ยังมีทางเลือกในการระบุประเภทข้อมูลได้เองด้วยการบังคับ ให้ภาษาแปลงประเภทข้อมูลโดยทาในสิ่งที่เรียกว่า type cast การกาหนดให้เติมหน้าตัวแปรด้วยประเภท ข้อมูลในวงเล็บ จากนั้น PHP จะพยายามแปลงให้ 1.(int), (integer) แปลงเป็นเลขจานวนเต็ม integer 2.(float), (double), (real) แปลงเป็นเลขทศนิยม float 3.(string) แปลงเป็นข้อความ string 4.(bool), (boolean) แปลงเป็นค่า Boolean 5.(array) แปลงเป็น array 6.(object) แปลงเป็น object
  • 7. 3. การทางานไฟล์ และไดเรคทอรี เมื่อทราบถึงไวยากรณ์เบื้องต้น การเข้าถึงและควบคุมข้อมูลภายในฟอร์ม HTML ต่อไปค้นหาวิธีการเก็บสารสนเทศ เป็นไฟล์ข้อความ (text file) สาหรับการใช้ต่อไป โดยจะเป็นการเก็บและโหลดด้วยการเขียนลงไฟล์และอ่าน เมื่อมี ปริมาณข้อมูลมากต้องใช้ระบบจัดการฐานข้อมูล เช่น MySQL ภาพรวมการประมวลผลไฟล์ การเขียนข้อมูลลงสู่ไฟล์มี 3 ขั้นตอน คือ •เปิดไฟล์ ถ้าไฟล์ไม่มีอยู่จริง ต้องมีการสร้างขึ้นมา •เขียนข้อมูลลงสู่ไฟล์ •ปิดไฟล์ การอ่านข้อมูลจากไฟล์มี 3 ขั้นตอนเช่นกัน คือ •เปิดไฟล์ ถ้าไม่สามารถเปิดได้ เช่น ไม่มีไฟล์อยู่จริง จะต้องรับทราบและออก •อ่านข้อมูลจากไฟล์ •ปิดไฟล์
  • 8. 4. การทางานกับ Array array ใน PHP มีความแตกต่างจากภาษาอื่นคือ สามารถตั้งชื่อดัชนีเป็นข้อความ เรียกว่า associative array นอกเหนือจากการใช้ตัวเลข การเก็บข้อมูลใน array สามารถเป็นตัวเลข ข้อความ รวมถึง array จึงทา ให้การประยุกต์มีประสิทธิภาพ 5. การควบคุมข้อความ และนิพจน์ปกติ การประยุกต์กับข้อความของ PHP สาหรับการจัดรูปแบบและควบคุมข้อความ จะกล่าวถึงการใช้ฟังก์ชันข้อความ หรือฟังก์ชันนิพจน์ปกติ (regular expression) เพื่อค้นหาคา วลี หรือรูปแบบอื่นภายในข้อความ ฟังก์ชันเหล่านี้มีประโยชน์ในหลายบริบท เช่น การจัดรูปแบบนาเข้าแล้วจัดเก็บในฐานข้อมูล ฟังก์ชันค้นหามีประโยชน์ มากเมื่อสร้างโปรแกรม 6. คาสั่งใช้ใหม่และฟังก์ชัน คาสั่งใช้ใหม่ (reuse code) นาไปสู่ความตรงกัน ความน่าเชื่อถือ การบารุงรักษาได้สะดวก โดยเริ่มจากเทคนิค แบบโมดูลและคาสั่งใช้ใหม่ เริ่มต้นการใช้ require () และ include () เพื่อใช้คาสั่งเดียวกันบนมากกว่าหนึ่ง เพจ นี่เป็นคาอธิบายความเหนือกว่าของ server side include
  • 9. 7. Object Oriented Programming ภาษาโปรแกรมสมัยใหม่ มักจะสนับสนุนหรือต้องการวิธีแบบ Object oriented programming เพื่อ พัฒนาซอฟต์แวร์ ซึ่ง PHP สามารถพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ประเภ
  • 10. สมาชิก นายธนาวุฒิ ศรีสวาท เลขที่ 4 นายธารงค์ ปี่กระโทก เลขที่ 5 นายธนาภพ วิจิตรศิริโชติ เลขที่14 นายพงศธร วังปลาทอง เลขที่ 17 นายดลสันติ์ กรีชวด เลขที่ 18 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3