SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
ความหมายของโอโอพี โอโอพี หรื OOP เป็นคำย่อของ Object-Oriented Programming
หมำยถึงกำรเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ หรือเขียนโปรแกรมแบบออบเจ็กต์ กำรเขียนโปแก
รมในลักษณะนี้จะแตกต่ำงจำกกำรเขียน
โปรแกรมที่ประมวลผลเชิงคำสั่งที่มีกำรทำงำนทีละตำสั่งดังที่เคยศึกษำมำ แต่จะเป็นกำร
สร้ำงข้อมูลเป็นวัตถุหรือออบเจ็กต์ แล้ว
เขียนโปแกรมประมวลกับออบเจ็กต์นั้นๆ ให้ทำงำนตำมต้องกำร นอกจำกนั้นยังเขียน
โปรแกรมประมวลผลกับออบเจ็กต์ไ ด้ซึ่ง
ออบเจ็กต์จะมีลักษณะ 3 ประกำรดังต่อไปนี้
 state เป็นคุณลักษณะของออบเจ็กต์นั้นๆ ที่บอกว่ำออบเจ็กต์นั้นเป็น
อะไรบ้ำง หรือเรียกอีกอย่ำงหนึ่งว่ำเป็น
คุณลักษณะประจำ โดยคุณสมบัติขึ้นกับมุมมองของแต่ละคน ในกำรเขียน
โปรแกรมเชิงวัตถุ คุณลักษณะประจำนี้มักจะเป็น
ข้อมูล หรือตัวแปรต่ำงๆ ของออบเจ็กต์นั้น
 Behavior หมำยถึง พฤติกรรมของออบเจ็กต์
 I dentity เป็นคุณลักษณะที่ทำให้ออบเจ็กต์แต่ละออบเจ็กต์ต่ำงกัน
ในกำรเขียนโปรแกรมนั้นออบเจ็กต์มีได้หลำยตัว โดยออบเจ็กต์แต่ละตัวจะ
เป็นอิสระ ไม่ขึ้นต่อกันแต่ละออบเจ็กต์
สำมำรถที่จะสื่อสำรหรือโต้ตอบกันได้โดยวิธีส่งเมสเสจ ถึงกัน
คลาสและออบเจ็กต์ กำรมองทุกอย่ำงของปัญหำเป็นวัตถุหรืออบเจ็กต์นั้น ถ้ำหำกวัตถุใดมี
ลักษณะคล้ำยกันก็จะรวมทั้งหมดให้เป็นคลำส ถ้ำหำกมีตัวแปรหรือสร้ำงข้อมูลขึ้นมำ ข้อมูลนั้น
ก็จะถูกใช้ในออบเจ็กต์นั้นๆ กำรกระทำกับออบเจ็กต์จะกระทำผ่ำนเมธอดของคลำสนั้นๆ
ส่วนสำคัญสองส่วนของออบเจ็กต์คือ คุณลักษณะซึ่งเป็นข้อมูลประจำตัวของออบเจ็กต์และ
พฤติกรรมหรือเมธอด ซึ่งบอกว่ำ
ออบเจ็กต์กำลังทำสิ่งใดอยู่ถ้ำหำกมีกำรสร้ำงออบเจ็กต์ขึ้นมำและโปรแกรมต้องกำรจัดกำรกับ
ข้อมูลที่เป็นคุณลักษณะของออบเจ็กต์ก็จะกระทำ
ผ่ำนเมธอด
สำหรับคลำสจะเป็นที่รวบรวมของออบเจ็กต์หลำยๆ ออบเจ็กต์ที่มีลักษณะเดียวกัน แต่อำจมี
ข้อมูลประจำตัวหรือคุณลักษณะ
ต่ำงๆ
ดังนั้นในกำรเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุนั้นจะต้องรู้จักกำรนิยำม คลำส จำกทกี่ ล่ำวมำแล้วจะ
พบว่ำคลำสเป็นกำรจัดกลุ่มของ
ออบเจ็กต์ที่มีคุณลักษณะและพฤติกรรมอย่ำงเหมือนกัน เปรียบเสมือนเป็นพิมพ์เขียวของ
ออบเจ็กต์ หรือเป็นแม่แบบสำหรับออบเจ็กต์
ในกำรเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุนั้นจะไม่มีกำรใช้งำนคลำสตรงๆ แต่จะใช่คลำสเป็นพิมพ์
เขียวเพื่อสร้ำงออบเจ็กต์ต่ำงๆขึ้นมำ
ออบเจ็กต์ที่ถูกสร้ำงจำกคลำสจะเรียนกว่ำ อินสแตนซ์ ของคลำสนั้นโดยที่คลำสใดคลำส
หนึ่งสำมำรถสร้ำงออบเจ็กต์ออกมำได้หลำยตัวแต่ละ
ตัวจะมีชื่อแตกต่ำงกันไป
สำหรับกำรเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภำษต่ำงๆนั้น จะมีคลำสมำตรฐำนให้ผู้เขียน
โปรแกรมใช้งำน และผู้เขียนโปรแกรมก็ต้อง
เข้ำใจวิธีกำรสร้ำงคลำสขึ้นมำเองด้วย ดังนั้นในกำรเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุจะต้องพยำยำม
จำแนกว่ำวัตถุที่เรำสนใจนั้นต้องมีตัวแปรใดที
สำมำรถแยกแยะวัตถุแต่ละตัวได้ และวัตถุดังกล่ำวมีพฤติกรรมอย่ำงไร จำกนั้นนำมำรวม
เป็นคลำส และสร้ำงคลำสนั้นขึ้นมำ
กำรนิยำมคลำส
ในภำษำจำวำสำมำรถนิยำมคลำสหรือประกำศคลำสขึ้นมำโดยมีรูปแบบดังนี้
AccessSpecifier เป็นควำมสำมำรถในกำรเข้ำถึงคลำสนั้นๆ
class เป็นคีย์เวิร์ดในภำษำจำวำเพท่อใช้ในกำรประกำศคลำส
Name เป็นชื่อคลำสมี่ประกำศขึ้น
Members เป็นคุณลักษณะหรือเมธอดต่ำงๆ ของคลำสที่นิยำมขึ้น
กำรสร้ำงออบเจ็กต์
หลังจำกนิยำมคลำสขึ้นมำแล้ว ถ้ำหำกโปรแกรมต้องกำรใช้งำนจะต้องสร้ำงออบเจ็กต์ขึ้นมำ
เพื่อบอกว่ำออบเจ็กต์เป็นของคลำสใด โดยจะต้องประกำศออบเจ็กต์ขึ้นมำก่อนซึ่งมี
รูปแบบดังนี้
ClassName ObjectName;
กำรประกำศออบเจ็กต์นี้จะทำให้คอมไพเลอร์รับทรำบว่ำมีตัวแปร ObjectName แต่จะยังไม่มี
หน่วยควำมจำสำหรับข้อมูลของออบเจ็กต์ที่ประกำศขึ้น ซึ่ง
จะต้องสร้ำงออบเจ็กต์ขึ้นมำก่อนโดยใช้คำว่ำ new ซึ่งมีรูปแบบดังนี้
objecyName = new ClassName([arguments])
สแตติก(static) ในจำวำมีคลำสต่ำงๆให้ใช้งำนมำกมำย กำรสร้ำงคลำสขึ้นมำใหม่นี้ทำ
ให้เรำสำมำรถสร้ำงเมธอดใหม่ๆ
ขึ้นมำใช้งำนแล้วรวมกันเป็นคลำสได้ และที่ผ่ำนมำในบทนี้จะเห็นว่ำถ้ำหำกมีกำร
ประกำศออบเจ็กต์ต้องกำรใช้งำนสร้ำงออบเจ็กต์ด้วยคำสั่ง new เช่น
จำกโปรแกรมนี้จะเป็นว่ำเมธอดในคลำส Scanner ที่ใช้รับข้อมูลจะไม่เ ป็นแบบสแตติก
ซึ่งจะต้องสร้ำงออบเจ็กต์ขึ้นมำ แต่
เมธอดชื่อmax ในคลำส TestMax ที่สร้ำงขึ้นป็นแบบสแตติก จึงเรียกชื่อคลำสและตำม
ด้วยเมธอดมำใช้งำนได้ทันทีโดยไม่ต้องสร้ำง
ออบเจ็กต์
การส่งออบเจ็กต์ไปยังเมธอด ในกำรเขียนโปรแกรมที่มีกำรสร้ำงคลำสขึ้นมำ
หลำยๆคลำสนั้น
ออบเจ็กต์ของคลำสหนึ่งสำมำรถใช้เป็นอำร์กิวเมนต์เพื่อส่งผ่ำนไปยังเมธอดของ
คลำสอีกคลำสหนึ่งได้
เช่นโปรแกรมStudent.Java เป็นโปรแกรมคลำสสำหรับเก็บข้อมูลนักเรียน ได้แก่
ชื่อและอีเมล์โดยมีเมธอดสำหรับ
กำหนดและเรียกดูชื่อและอีเมล์สำหรับใช้งำน
public class Student3 {
private String name;
private String email;
public Student3()
{
name = "Unassigned";
email = "Unassigned";
}
public String getEmail(){
return email;
}
public String getName(){
return name;
}
public void setEmail(Stringaddress){
email = address;
}
public void setName(String studentName){
name = studentName;
}
}
ตัวอย่างการประยุกต์การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
จะเป็นแบบกำรออกแบบคลำสแล้วนำมำเขียนโปรแกรมประยุกต์สำหรับใช้งำนจริง โดย
อธิบำยขั้นตอนสำคัญในกำรทำงำนแต่ละขั้นตอน
โดยมีโปรแกรมตัวอย่ำงกำรเขียนโปรแกรมสำหรับเข้ำรหัสข้อมูลโดยส่งข้อมูลผ่ำนเข้ำไปใน
เครือข่ำยคอมพิวเตอร์ เพื่อควำมปลอดภัยได้นำ
เทคโนโลยีกำรเข้ำรหัสมำใช้ ทำโดยกำรเลื่อนข้อมูล แต่ถ้ำเป็นตัวอักขระตัวสุดท้ำยของ
ภำษำอังกฤษกำรเลื่อนข้อมูลจะกลับมำเริ่มต้นที่ตัว แรกใหม่
- ถ้ำหำกเป็น 2-shift ข้อมูลจะแทนได้ดังนี้
A แทนด้วย C
B แทนด้วย D
………………..
Y แทนด้วย A
Z แทนด้วย B
ถ้ำข้อมูลต้นฉบับเป็น “DIZZY” แล้วเข้ำรหัสแบบ 2- shift ข้อมูลที่เข้ำรหัสแล้วจะเป็น
“FKBBA”
อธิบำยกำรทำงำนของโปรแกรม
1.ถ้ำหำกพิมพ์คำว่ำ Teerawut ลงไป จะทำให้ตัวแปร message ชี้ไปยังออบเจ็กต์สตริง
“Teerawut”
2.ต่อมำถ้ำหำกกดคีย์ตัวเลข 5 ลงไป จะทำให้ตัวแปร shift มีค่ำเป็น 5
3.เมื่อโปรแกรมเรียกใช้เมธอด encrypt จะทำให้ msg ซึ่งเป็นพำรำมิเตอร์ของเมธอดชี้ไป
ยังออบเจ็กต์เดียวกับ message และ
พำรำมิเตอร์ shift มีค่ำเป็น 5 เช่นกัน
4.เมื่อเมธอด encrypt ทำงำน ทำให้ตัวแปร encryptedMessage ชี้ไปยังหน่อยควำมจำ
ออบเจ็กต์สตริงที่สร้ำงขึ้นมำใหม่
5.จำกนั้นจะทำให้ตัวแปร msg ชี้ไปยังสตริงชุดใหม่ที่ผ่ำนกำรเข้ำรหัสแล้ว
6.หลังจำกนั้นจะให้ encryptedMessage มีค่ำสตริงที่เข้ำรหัสแล้ว
ตัวอย่างโปรแกรม จะแสดงการสร้างคลาสของการนาตัวอักขระ[]มาสร้างเป็นรูปสามเหลี่ยม โดย
การสร้างคลาสสามารถทาได้
ดังต่อไปนี้
1.สร้างโปรเจ็กต์ใหม่
2.สร้างคลาสใหม่ โดยเลือกเมนู New>Class
3.กาหนดชื่อคลาส แล้วกด Next
4.โปรแกรมจะแสดงคลาสใหม่ขึ้นมา
5.จากนั้นให้เติมโค้ด แล้วรันโปรแกรม
สรุป คลาสเปรียบเสมือนพิมพ์เขียวสาหรับสร้างออบเจ็กต์ต่างๆออกมาที่มีลักษณะคล้ายกันมาอยู่
รวมกัน ในการสร้างคลาส
นั้น ภายในประกอบด้วยส่วนที่เป็นคุณลักษณะหรือตัวแปรต่างๆและส่วนที่เป็นเมธอดโดยที่ตัวแปร
และเมธอดนี้ผทูี้่นิยามคลาส
สามารถกาหนดได้ว่าจะให้ผู้ใช้ภายนอกสามารถเข้าถึงได้ในระดับใด เมื่อมีการออบเจ็กต์ของคลาสขึ้น
มาแล้วต้องการให้ทาเมธ
อดใดทันที ในการนิยามคลาสนั้นจะต้องสร้างเมธอดที่มีชื่อเดียวกับคลาสที่เรียกว่า คอนสตรัคเตอร์
ขึ้นมา
คลำสและกำรเขียนโปรแกรมวัตถุเบื้องต้น
นำย สุทธิชำติ สืบเรือง เลขที่ 12
นำย นัฐพงษ์ คิ้ววงค์งำม เลขที่ 16
นำย กิตติพงศ์ มโนธรรมั่นคง เลขที่ 20
นำย เมธำ ตันติกิจชำญชัย เลขที่ 21
นำย ปำนเทพ บุญมนภัทร เลขที่ 22
ชั้น ม.6/3
เสนอ
ครู รูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (19)

ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง  วัฒนธรรมเกาหลีใบกิจกรรม เรื่อง  วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
 
تصحيح الواجبات المنزلية
تصحيح الواجبات المنزليةتصحيح الواجبات المنزلية
تصحيح الواجبات المنزلية
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
ตัวเลขไทย
ตัวเลขไทยตัวเลขไทย
ตัวเลขไทย
 
Usa to uae new
Usa to uae  newUsa to uae  new
Usa to uae new
 
Evaluation Question 1
Evaluation Question 1Evaluation Question 1
Evaluation Question 1
 
Compliance Software
Compliance SoftwareCompliance Software
Compliance Software
 
Final Research Presentation
Final Research PresentationFinal Research Presentation
Final Research Presentation
 
ประวัตส่วนตัว
ประวัตส่วนตัวประวัตส่วนตัว
ประวัตส่วนตัว
 
Mathematics50
Mathematics50Mathematics50
Mathematics50
 
Melq report
Melq reportMelq report
Melq report
 
anonymous
anonymousanonymous
anonymous
 
การจัดการงานพิมพ์และการบันทึกเวบ
การจัดการงานพิมพ์และการบันทึกเวบการจัดการงานพิมพ์และการบันทึกเวบ
การจัดการงานพิมพ์และการบันทึกเวบ
 
Подарок маме своими руками, поделки
Подарок маме своими руками, поделкиПодарок маме своими руками, поделки
Подарок маме своими руками, поделки
 
Beeld
BeeldBeeld
Beeld
 
кольцо победы
кольцо победыкольцо победы
кольцо победы
 
Eng
EngEng
Eng
 
Yysmaliin orchin
Yysmaliin orchinYysmaliin orchin
Yysmaliin orchin
 

Similar to #1

การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ Last'z Regrets
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น Ja Phenpitcha
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1Ja Phenpitcha
 
คลาสและโปรแกรม
คลาสและโปรแกรมคลาสและโปรแกรม
คลาสและโปรแกรมN'Name Phuthiphong
 
วัฒนาอ่อนนุ้ย
วัฒนาอ่อนนุ้ยวัฒนาอ่อนนุ้ย
วัฒนาอ่อนนุ้ยfinverok
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุคลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุBoOm mm
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2winewic199
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาwinewic199
 
บทที่6 คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
บทที่6 คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นบทที่6 คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
บทที่6 คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นPat Sirikan Bungkaew
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2winewic199
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2Iam Champooh
 

Similar to #1 (16)

OpenOffice.org 3.0
OpenOffice.org 3.0OpenOffice.org 3.0
OpenOffice.org 3.0
 
Open Office Guide
Open Office GuideOpen Office Guide
Open Office Guide
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
 
คลาสและโปรแกรม
คลาสและโปรแกรมคลาสและโปรแกรม
คลาสและโปรแกรม
 
วัฒนาอ่อนนุ้ย
วัฒนาอ่อนนุ้ยวัฒนาอ่อนนุ้ย
วัฒนาอ่อนนุ้ย
 
Lesson5 devenlopment-program
Lesson5 devenlopment-programLesson5 devenlopment-program
Lesson5 devenlopment-program
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุคลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
 
Apache OFBiz ERP
Apache OFBiz ERPApache OFBiz ERP
Apache OFBiz ERP
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
 
หลักการเขียนโปรแกรม
หลักการเขียนโปรแกรมหลักการเขียนโปรแกรม
หลักการเขียนโปรแกรม
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
 
บทที่6 คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
บทที่6 คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นบทที่6 คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
บทที่6 คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
 

More from Kittipong Joy

สถิติเบื้องต้น ข้อมูลสถิติหรือข้อมูล
สถิติเบื้องต้น ข้อมูลสถิติหรือข้อมูลสถิติเบื้องต้น ข้อมูลสถิติหรือข้อมูล
สถิติเบื้องต้น ข้อมูลสถิติหรือข้อมูลKittipong Joy
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Kittipong Joy
 
'กูเกิล' จับมือ 4 ค่ายรถดัง พัฒนารถยนต์ระบบปฏิบัติการ 'แอนดรอยด์'
'กูเกิล' จับมือ 4 ค่ายรถดัง พัฒนารถยนต์ระบบปฏิบัติการ 'แอนดรอยด์''กูเกิล' จับมือ 4 ค่ายรถดัง พัฒนารถยนต์ระบบปฏิบัติการ 'แอนดรอยด์'
'กูเกิล' จับมือ 4 ค่ายรถดัง พัฒนารถยนต์ระบบปฏิบัติการ 'แอนดรอยด์'Kittipong Joy
 
สร้างแผ่นพับ 3 ตอน ด้วย microsoft word
สร้างแผ่นพับ 3 ตอน ด้วย microsoft wordสร้างแผ่นพับ 3 ตอน ด้วย microsoft word
สร้างแผ่นพับ 3 ตอน ด้วย microsoft wordKittipong Joy
 
นอร์มัลไลเซชัน
นอร์มัลไลเซชัน นอร์มัลไลเซชัน
นอร์มัลไลเซชัน Kittipong Joy
 

More from Kittipong Joy (9)

สถิติเบื้องต้น ข้อมูลสถิติหรือข้อมูล
สถิติเบื้องต้น ข้อมูลสถิติหรือข้อมูลสถิติเบื้องต้น ข้อมูลสถิติหรือข้อมูล
สถิติเบื้องต้น ข้อมูลสถิติหรือข้อมูล
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
'กูเกิล' จับมือ 4 ค่ายรถดัง พัฒนารถยนต์ระบบปฏิบัติการ 'แอนดรอยด์'
'กูเกิล' จับมือ 4 ค่ายรถดัง พัฒนารถยนต์ระบบปฏิบัติการ 'แอนดรอยด์''กูเกิล' จับมือ 4 ค่ายรถดัง พัฒนารถยนต์ระบบปฏิบัติการ 'แอนดรอยด์'
'กูเกิล' จับมือ 4 ค่ายรถดัง พัฒนารถยนต์ระบบปฏิบัติการ 'แอนดรอยด์'
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
มายแมป
มายแมปมายแมป
มายแมป
 
ปราย (1)
ปราย (1)ปราย (1)
ปราย (1)
 
สร้างแผ่นพับ 3 ตอน ด้วย microsoft word
สร้างแผ่นพับ 3 ตอน ด้วย microsoft wordสร้างแผ่นพับ 3 ตอน ด้วย microsoft word
สร้างแผ่นพับ 3 ตอน ด้วย microsoft word
 
นอร์มัลไลเซชัน
นอร์มัลไลเซชัน นอร์มัลไลเซชัน
นอร์มัลไลเซชัน
 

#1