SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
สมการของไอน์สไตน์
หลังคิดได้ผลของความโน้มถ่วงฉบับสัมพัทธนิยมและเรขาคณิตแล้ว แต่คาถามที่มาของความโน้มถ่วงยังอยู่ ในความ
โน้มถ่วงแบบนิวตัน ที่มานั้นคือมวล ในสัมพัทธภาพพิเศษ กลายเป็นว่ามวลเป็นส่วนหนึ่งของปริมาณทั่วไปกว่า เรียก
เทนเซอร์พลังงาน–โมเมนตัม (energy–momentum tensor) ซึ่งมีทั้งความหนาแน่นของพลังงานและโมเมนตัม
ตลอดจนความเครียด (คือ ความดันและความเฉือน) โดยใช้หลักการสมมูล เทนเซอร์นี้ถูกวางนัยทั่วไปพร้อมเป็นปริภูมิ-
เวลาโค้งแล้ว โดยลากต่อบนอุปมากับความโน้มถ่วงแบบนิวตันเชิงเรขาคณิต จึงเป็นธรรมชาติที่จะสันนิษฐานว่าสมการ
ฟีลด์สาหรับความโน้มถ่วงเชื่อมเทนเซอร์นี้กับเทนเซอร์ริตชี (Ricci tensor) ซึ่งอธิบายผลขึ้นลงชั้นเฉพาะหนึ่ง คือ
การเปลี่ยนแปลงปริมาตรของอนุภาคทดสอบคลาวด์ (cloud) เล็กซึ่งทีแรกเป็นขณะพัก แล้วตกอิสระ ในสัมพัทธภาพ
พิเศษ การอนุรักษ์พลังงาน-โมเมนตัมสมนัยกับข้อความว่าเทนเซอร์พลังงาน-โมเมนตัมปลอดการลู่ออก เช่นเดียวกัน
สูตรนี้ถูกวางนัยทั่วไปพร้อมเป็นปริภูมิ-เวลาโค้งโดยการแทนอนุพันธ์ย่อยด้วยอนุพันธ์แมนิโฟลด์ (manifold) โค้งแทน
ซึ่งเป็นอนุพันธ์แปรปรวนร่วมเกี่ยวที่ศึกษาในเรขาคณิคเชิงอนุพันธ์ ด้วยเงื่อนไขที่เพิ่มขึ้นมานี้ การลู่ออกแปรปรวมร่วม
เกี่ยวของเทนเซอร์พลังงาน-โมเมนตัม และอะไรก็ตามที่อยู่อีกข้างหนึ่งของสมการ เป็นศูนย์ เซตสมการง่ายที่สุดจึงเป็น
สิ่งที่เรียก สมการสนามของไอน์สไตน์:
สมการสนามของไอน์สไตน์
สมมาตร โดยเฉพาะ
บทนิยามและการประยุกต์พื้นฐาน
นักฟิสิกส์จานวนมากกล่าวกันว่าทฤษฎีที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลกฟิสิกส์มีอยู่ 2 ทฤษฎี
หนึ่งคือ ทฤษฎีควอนตัม เป็นทฤษฎีที่อธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติของสิ่งเล็กๆในระดับอะตอมได้เป็นอย่างดี
ความเข้าใจในทฤษฎีควอนตัมส่งผลให้เทคโนโลยีทรานซิสเตอร์,คอมพิวเตอร์รวมทั้งงอุปกรณ์ไฟฟ้าหลายอย่าง
ก้าวหน้าได้อย่างรวดเร็ว
ทฤษฎีควอนตัมเกิดจากนักฟิสิกส์หลายคนร่วมกันสร้างและนาภาพที่ได้มาปะติดปะต่อกัน
ส่วนอีกหนึ่งทฤษฎีคือ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป เป็นทฤษฎีที่ใช้อธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติของแรงโน้ม
ถ่วงโดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณที่มีความโน้มถ่วงสูงมากๆ ทฤษฎีนี้โดยหลักๆแล้วถือกาเนิดขึ้นจากการครุ่นคิด
อย่างลึกซึ้งและการลองผิดลองถูกของนักฟิสิกส์ชื่อ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์
ปี 2015 เป็นปีที่ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปได้รับการตีพิมพ์ครบ 100 ปีแล้ว
ต่อไปนี้จะอธิบายให้เห็นความยิ่งใหญ่ของทฤษฎีนี้รวมทั้งความเป็นไปได้มากมายที่รอการค้นพบต่อไปใน
อนาคต
ทฤษฎีที่ยิ่งใหญ่ที่สุดแห่งโลกฟิสิกส์
ปริศนาแรงโน้มถ่วงและวงโคจรดาวพุธ
แรงโน้มถ่วงเป็นแรงที่มนุษย์เราคุ้นเคยกันดี ปรากฏการณ์ต่างๆตั้งแต่แก้วที่ตกจากโต๊ะ,ใบไม้ร่วงหล่นจากต้น จนถึงหยดฝนที่ร่วงหล่นลงสู่พื้นดิน ล้วนเกี่ยวข้อง
กับแรงโน้มถ่วงทั้งสิ้น
โลโก้แรกของบริษัท Apple เป็นรูปเซอร์ ไอแอซค นิวตัน นั่งใต้ต้นแอปเปิ้ล
นอกจากนี้ คนส่วนมากยังรู้ว่า เซอร์ไอแซค นิวตันเป็นนักวิทยาศาสตร์ผู้ศึกษาความโน้มถ่วงและสร้างสมการที่ใช้อธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดจากแรงโน้มถ่วงได้
อย่างกว้างขวางและแม่นยา ซึ่งสมการดังกล่าวคือ
สมการนี้อธิบายได้ว่ามวลจะดึงดูดกันและกันด้วยแรงที่ลดลงตามระยะทางยกกาลังสอง สมการง่ายๆนี้อธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุต่างๆ(เช่น ดาวเคราะห์,
ดาวหาง)โคจรรอบดวงอาทิตย์รวมทั้งการเกิดน้าขึ้น-น้าลงได้เป็นอย่างดี นักฟิสิกส์ในสมัยต่อมาสามารถใช้กฎความโน้มถ่วงของนิวตันในการส่งดาวเทียมไปโคจร
รอบโลก,ส่งยานอวกาศไปสารวจดาวเคราะห์ต่างๆและส่งมนุษย์ไปลงดวงจันทร์จนสาเร็จมาแล้ว
แม้กฎความโน้มถ่วงของนิวตันจะประสบความสาเร็จอย่างงดงาม แต่ปัญหาหนึ่งที่กฎความโน้มถ่วงของนิวตันไม่สามารถอธิบายได้นั่นคือ การโคจรของดาว
พุธ
ตามกฎความโน้มถ่วงของนิวตัน เมื่อคานึงผลของแรงโน้มถ่วงจากดวงอาทิตย์และดาวพุธจะพบว่าดาวพุธโคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นรูปวงรี และเมื่อ “เติม” ผล
ที่เกิดจากแรงโน้มถ่วงของดาวเคราะห์อื่นๆในระบบสุริยะเข้าไปจะพบว่าวงรีดังกล่าวมีการส่ายเกิดขึ้น
การสังเกตด้วยกล้องโทรทรรศน์สมัยใหม่และเทคโนโลยีเรดาร์ปัจจุบันพบว่าตาแหน่งที่ดาวพุธอยู่ใกล้กับดวงอาทิตย์มากที่สุดจะเคลื่อนไป 574.10 อาร์กเซค
ทุก100ปี (1 อาร์กเซค=1/3,600 องศา)
วงการฟิสิกส์สั่นสะเทือน
หลังจากทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปถือกาเนิดขึ้นมา มันส่งผลกระทบและทาให้นักฟิสิกส์ทานายปรากฏการณ์ใหม่ๆได้มากมาย และหลายปรากฏการณ์ยังรอ
คอยการค้นพบต่อไปในอนาคต
- แสงเดินทางเป็นเส้นโค้งจากแรงโน้มถ่วง
ทฤษฎีความโน้มถ่วงของนิวตันทานายว่าแสงสามารถถูกแรงโน้มถ่วงดึงดูดให้เดินทางเป็นเส้นโค้งได้ ผู้ที่คิดเรื่องนี้เป็นคนแรกคือนักฟิสิกส์ เฮนรี่คา
เวนดิช ( Henry Cavendish) แต่คาเวนดิชไม่ได้ตีพิมพ์ผลงาน ส่วนผู้ตีพิมพ์การคานวณเรื่องนี้เป็นคนแรกคือ Johann Georg von
Soldner (ตีพิมพ์ในปี 1804)
แต่ในปี 1915 อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ตีพิมพ์ผลการคานวณความโค้งของแสงที่เกิดจากแรงโน้มถ่วงพบว่าได้ค่ามากกว่าที่ Johann Georg von
Soldner คานวณได้ถึงสองเท่า
ต่อมาในปี 1919 เซอร์อาร์เธอร์ เอดดิงตันและทีมงานเดินทางไปศึกษาสุริยุปราคาที่บราซิลและแอฟริกา เพื่อสังเกตแสงดาวที่เคลื่อนที่ผ่านดวงอาทิตย์ว่า
จะเกิดการเบี่ยงเบนไปเท่าใด
ผลปรากฏว่าการคานวณของไอน์สไตน์ถูกต้อง หนังสือพิมพ์ใหญ่ๆนาเรื่องนี้
ไปพาดหัวข่าวส่งผลให้ไอน์สไตน์และทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปโด่งดังในวง
กว้างทันที
ปรากฏการณ์คลื่นความโน้มถ่วง(Gravitational wave)
ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปที่คิดค้นโดย อัลเบิร์ต ไอนสไตน์ กล่าวว่ามวลสารทาให้กาลอวกาศรอบๆเกิดความโค้ง ซึ่งความโค้งนี้เองคือ
ความโน้มถ่วง
ยกตัวอย่างเช่น มวลสารของดวงอาทิตย์ทาให้กาลอวกาศรอบๆโค้งเปรียบได้กับลูกบอลขนาดใหญ่ที่วางอยู่บนแผ่นยางยืด(รูป1) ซึ่ง
ความโค้งดังกล่าวส่งผลให้มวลสารอย่างดาวเคราะห์เกิดการโคจรไปรอบๆ
คาถามคือ มวลสารที่เคลื่อนไหวส่งผลต่อกาลอวกาศอย่างไร?
ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปให้คาตอบว่า กาลอวกาศจะเกิดการ
กระเพื่อมออกไปเป็นระลอกคลื่น ลองนึกถึงลูกบอลที่กระแทกแผ่นยางไป
มาจนแผ่นยางรอบๆเกิดการสั่น หรือ การเอามือกระทุ่มน้าไปเรื่อยๆจะ
พบว่าเกิดคลื่นน้าแผ่ออกมาเป็นวง
กาลอวกาศที่เกิดการกระเพื่อมเป็นคลื่นออกมารอบๆมวลที่เคลื่อนไหวก็คือคลื่นความโน้มถ่วง(gravitational wave)นั่นเอง ซึ่งคลื่นความ
โน้มถ่วงเป็นคลื่นที่แปลกไปกว่าคลื่นอื่นๆในธรรมชาติ
คลื่นน้าเป็นคลื่นที่เคลื่อนที่ในตัวกลางคือน้า ,คลื่นเสียงคือคลื่นที่เคลื่อนที่ในตัวกลางคืออากาศ,คลื่นแสงคือคลื่นที่เคลื่อนที่ผ่านที่ว่างคือ
อวกาศ แต่คลื่นความโน้มถ่วงคือการกระเพื่อมของตัวอวกาศเอง ซึ่งคลื่นความโน้มถ่วงจะนาพลังงานและโมเมนตัมเชิงมุมของระบบออกมากับ
ตัวเองด้วย
ที่กล่าวมาทั้งหมดนี้เป็นเพียงผลจากการคานวณเชิงทฤษฎีเท่านั้น นักวิทยาศาสตร์จึงพยายามตรวจสอบหาคลื่นความโน้มถ่วงจึงเกิดขึ้นเพื่อ
ทดสอบความถูกต้องของทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป
ในปี 1974(ราวๆ 40 ปีก่อน) Joseph Taylor และ Russell Hulse นักดาราศาสตร์ สหรัฐอเมริกาใช้กล้องโทรทรรศน์วิทยุอาเรซิโบค้นพบ ดาวนิวตรอน
สองดวงที่หมุนรอบกันเอง (binary pulsar) โดยระบบดาวสองดวงนี้มีชื่อว่า PSR 1913 + 16 (PSR หมายถึงพัลซาร์, 1913 + 16 เป็นตาแหน่งของมัน
บนท้องฟ้า )
จากการเฝ้าสังเกตและศึกษาเป็นเวลาหลายปีทาให้พวกเขาสามารถวัดความเร็วในการโคจรและระยะห่างระหว่างดาวสองดวงนี้ได้
ผลจากงานวิจัยนี้ทาให้ทั้งคู่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ปี 1993 โดยคาประกาศสดุดีของงคณะกรรมการรางวัลโนเบลคือ“สาหรับการค้นพบพัลซาร์ชนิด
ใหม่ และการเปิดความเป็นไปได้ใหม่ๆในการศึกษาธรรมชาติของความโน้มถ่วง”
ทาไมพัลซาร์ระบบนี้จึงมีความสาคัญถึงขนาดทาให้นักวิจัยทั้งสองได้รางวัลโนเบล?
ปกติแล้วพัลซาร์หรือดาวนิวตรอนเดี่ยวๆจะปล่อยคลื่นวิทยุออกมาด้วยค่าความถี่ที่เที่ยงตรงอย่างมาก
ความเจ๋งของงานนี้คือ การศึกษาระบบพัลซาร์ดังกล่าวเท่ากับเป็นการตรวจจับคลื่นความโน้มถ่วงได้ทางอ้อม(งานวิจัยนี้ศึกษาผลของ
การถ่ายเทพลังงานผ่านคลื่นความโน้มถ่วงของระบบดาวนิวตรอนสองดวง)ซึ่งเป็นหลักฐานทาให้นักฟิสิกส์สามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ
เกี่ยวกับคลื่นชนิดนี้ เนื่องจากปัจจุบันเรามีความเข้าใจเกี่ยวกับคลื่นความโน้มถ่วงน้อยมาก อีกทั้งการเข้าใจเรื่องใหม่ๆเกี่ยวกับความโน้มถ่วงยัง
อาจทาให้เราค้นพบอะไรใหม่ๆตามมาได้อีกมากมาย ดังเช่นข่าวเรื่องการค้นพบคลื่นความโน้มถ่วงที่ถูกปลดปล่อยออกมาในระยะเริ่มต้นของ
เอกภพนั่นเอง
เขียนโดย
อาจวรงค์ จันทมาศ
อ้างอิงภาพ
http://i.livescience.com/images/i/000/053/434/i02/shutterstock_120929146.jpg?1370300484
http://photos1.blogger.com/blogger/3159/2176/1600/ripples.jpg
http://en.wikipedia.org/wiki/File:2008JosephTaylor.jpg
https://www.utdallas.edu/chairs/profiles/images/Hulse_1.jpg
http://pulseatparkes.atnf.csiro.au/single_pulse/introduction.php
http://en.wikipedia.org/wiki/File:PSR_B1913%2B16_period_shift_graph.svg
แหล่งอ้างอิง
1.https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0%B8%A4%E0%B8%A9%E0%B8%8E%E0%B8%B5%E0%
B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%A0%E0
%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B9%84%E0%B8%9B
2. http://www.narit.or.th/index.php/astronomy-article/2346-100-general-relativity
3. http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/64/relativity.htm
4.หนังสือเรื่อง a brief history of time ของ Steven Halking

More Related Content

What's hot

บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานThepsatri Rajabhat University
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันwiriya kosit
 
1.แรงและการเคลื่อนที่gs แรงลัพธ์action
1.แรงและการเคลื่อนที่gs แรงลัพธ์action1.แรงและการเคลื่อนที่gs แรงลัพธ์action
1.แรงและการเคลื่อนที่gs แรงลัพธ์actionWichai Likitponrak
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันอัครพงษ์ เทเวลา
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงrutchaneechoomking
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายSunanthaIamprasert
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]Thepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันWannalak Santipapwiwatana
 

What's hot (13)

บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงาน
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
1.แรงและการเคลื่อนที่gs แรงลัพธ์action
1.แรงและการเคลื่อนที่gs แรงลัพธ์action1.แรงและการเคลื่อนที่gs แรงลัพธ์action
1.แรงและการเคลื่อนที่gs แรงลัพธ์action
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรง
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
 
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
3
33
3
 
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
 
แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่
แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่
แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่
 

Viewers also liked

Padres licencia_contenidos_digitales
Padres  licencia_contenidos_digitalesPadres  licencia_contenidos_digitales
Padres licencia_contenidos_digitalesAmpa Segura Covarsí
 
право интеллектуальной собственности. учеб. пособие. гриф мвд рф. гриф профес...
право интеллектуальной собственности. учеб. пособие. гриф мвд рф. гриф профес...право интеллектуальной собственности. учеб. пособие. гриф мвд рф. гриф профес...
право интеллектуальной собственности. учеб. пособие. гриф мвд рф. гриф профес...Иван Иванов
 
میادین پالس الکتریک
میادین پالس الکتریکمیادین پالس الکتریک
میادین پالس الکتریکMasoud Zolfaghari
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมgreatzaza007
 
цдг космонавт коледна работилница
цдг космонавт коледна работилницацдг космонавт коледна работилница
цдг космонавт коледна работилницаmegikatq
 

Viewers also liked (15)

Padres licencia_contenidos_digitales
Padres  licencia_contenidos_digitalesPadres  licencia_contenidos_digitales
Padres licencia_contenidos_digitales
 
GARY OWENBY
GARY OWENBYGARY OWENBY
GARY OWENBY
 
Ciclo celular
Ciclo celular Ciclo celular
Ciclo celular
 
Awards journal
Awards journalAwards journal
Awards journal
 
право интеллектуальной собственности. учеб. пособие. гриф мвд рф. гриф профес...
право интеллектуальной собственности. учеб. пособие. гриф мвд рф. гриф профес...право интеллектуальной собственности. учеб. пособие. гриф мвд рф. гриф профес...
право интеллектуальной собственности. учеб. пособие. гриф мвд рф. гриф профес...
 
100848
100848100848
100848
 
FTC2 Benjamin Phister focus on specifying international frogans addresses 201...
FTC2 Benjamin Phister focus on specifying international frogans addresses 201...FTC2 Benjamin Phister focus on specifying international frogans addresses 201...
FTC2 Benjamin Phister focus on specifying international frogans addresses 201...
 
Meta 1.3 sierra
Meta 1.3 sierraMeta 1.3 sierra
Meta 1.3 sierra
 
میادین پالس الکتریک
میادین پالس الکتریکمیادین پالس الکتریک
میادین پالس الکتریک
 
Resumen proyecto 2015 convitic
Resumen proyecto 2015 conviticResumen proyecto 2015 convitic
Resumen proyecto 2015 convitic
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Pelvic organ prolapse
Pelvic organ prolapsePelvic organ prolapse
Pelvic organ prolapse
 
Bharti retail.pptx by amandeep
Bharti retail.pptx by amandeepBharti retail.pptx by amandeep
Bharti retail.pptx by amandeep
 
цдг космонавт коледна работилница
цдг космонавт коледна работилницацдг космонавт коледна работилница
цдг космонавт коледна работилница
 
PostgreSQL Meetup Nantes #2
PostgreSQL Meetup Nantes #2PostgreSQL Meetup Nantes #2
PostgreSQL Meetup Nantes #2
 

Learning the theory of relativity