SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
ระบบปฏิบัติการ หรือที่เรียกย่อ ๆ ว่า โอเอส  ( Operating System : OS)  เป็นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์  ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รู้จักกันดีเช่นดอส  ( Disk Operating System : DOS) วินโดวส์  ( Windows) โอเอสทู  ( OS/2)  ยูนิกซ์  ( UNIX)  DOS  เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานที่พัฒนามานานแล้ว การใช้งานจึงใช้คำสั่งเป็นตัวอักษร ดอสเป็นซอฟต์แวร์ที่รู้จักกันดีในหมู่ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์   Windows  ระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอส เพื่อเน้นการใช้งานที่ง่ายขึ้น สามารถทำงานหลายงานพร้อมกันได้ โดยงานแต่ละงานจะอยู่ในกรอบช่องหน้าต่างที่แสดงผลบนจอภาพ การใช้งานเน้นรูปแบบกราฟิก ผู้ใช้งานสามารถใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้ตำแหน่งเพื่อเลือกตำแหน่งที่ปรากฏบนจอภาพ ทำให้ใช้งาน คอมพิวเตอร์ได้ง่าย วินโดวส์จึงได้รับความนิยมในปัจจุบัน   ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
OS/2  เป็นระบบปฏิบัติการแบบเดียวกับวินโดวส์ แต่บริษัทผู้พัฒนาคือ บริษัทไอบีเอ็ม เป็นระบบปฏิบัติการที่ให้ผู้ใช้สามารถใช้ทำงานได้หลายงานพร้อมกัน และการใช้งานก็เป็นแบบกราฟิกเช่นเดียวกับวินโดวส์ ปัจจุบันไม่มีการใช้งานกันแล้ว   Unix  ระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์เป็นระบบปฏิบัติการที่สามารถใช้งานได้หลายงานพร้อมกัน และทำงานได้หลาย ๆ งานในเวลาเดียวกัน ยูนิกซ์จึงใช้ได้กับเครื่องที่เชื่อมโยงและต่อกับเครื่องปลายทางได้หลายเครื่องพร้อมกัน
ส่วนประกอบต่างๆของ  Windows
จากรูปภาพหน้าบน คือ หน้าต่างเริ่มแรกในการเข้าทำงานของ   Windows  หน้านี้ เราเรียกว่า  Desktop  ซึ่งประกอบด้วยหลายๆ ส่วน แต่ละส่วนจะทำหน้าที่ต่างกัน การสั่งงานจะใช้เมาส์ ซึ่งเป็นอุปกรณ์สำหรับนอกเหนือจาก แป้นพิมพ์หรือคีย์บอร์ดในการสั่งงาน เราสามารถใช้เมาส์คลิก  ( กด )  คำสั่งต่าง ๆ ใน  Windows  ซึ่งจะมีรูปภาพเล็กๆ  ( ไอคอน )  ประกอบ  คำสั่งพิเศษ  :  เราสามารถคลิกเมาส์ปุ่มด้านขวา จะมีเมนูพิเศษของ   Windows  ซ่อนอยู่ เพื่อใช้สำหรับเรียกใช้คำสั่งที่มักมีการเรียกใช้งานบ่อยๆ   ส่วนประกอบของ  Windows  1. Start -  คลิกปุ่มนี้ จะมีเมนูแสดงขึ้นมา   2. Desktop -  บริเวณพื้นที่ของ  Windows  เพื่อแสดงไอคอน หรือโปรแกรมที่เราเรียกใช้งาน   3. Task Bar -  บริเวณที่แสดงว่ามีโปรแกรมใดทำงานค้างอยู่   4. Icons -  รูปภาพแทนคำสั่ง สำหรับไอคอนพื้นฐาน ได้แก่  ( บางไอคอนมีเฉพาะใน  Windows 98)
- My Computer  ไอคอนแสดงดิสก์ไดร์ฟในเครื่องคอมฯของคุณ   - My Document  เก็บตำแหน่งของเอกสารที่มีการเปิดใช้งาน - Internet Explorer  เวบบราวเซอร์สำหรับเล่น  WWW - Recycle Bin  ถังขยะสำหรับเก็บไฟล์ที่มีการลบ สามารถกู้คืนกลับมาได้ - Outlook Express  โปรแกรมสำหรับรับ - ส่ง อีเมล์   - Network Neighborhood  ไอคอนแสดงระบบเครือข่าย หรือกลุ่มคอมพิวเตอร์ของคุณ   การเปิด - ปิด  Windows  Open Windows -  เปิดคอมพิวเตอร์ โปรแกรมจะเข้า  Windows  อัตโนมัติ   Close Windows -  ใช้เมาส์คลิกปุ่ม  Start  เลือกคำสั่ง  Shut down  เลือกคำสั่ง   Shut down  อีกครั้ง
ขั้นตอนการเปิด - ปิด  Windows โดยปกติ สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ได้มีการติดตั้ง  Windows  แล้ว เวอร์ชั่น  95  ขึ้นไป เวลาเปิดสวิทซ์เครื่อง โปรแกรมก็จะเริ่มเข้าไปยัง  Windows  ทันที ส่วนขั้นตอนในการปิดเครื่องนั้น จะมีหลายลักษณะ
จากภาพประกอบของ  Windows ME  ด้านบน ถ้าเป็น  95, 98  จะมีปุ่ม ให้คลิกเลือก สำหรับความหมายแต่คำสั่งมีดังนี้   1. - Shutdown :  ปิดเครื่องทันที   2. - Restart :  ให้เริ่มเข้า  windows  ใหม่  ( ใช้กรณีมีปัญหาการใช้  windows)  3. - Stand by :  ให้เข้าระบบพักเครื่อง   หลังจากเลือกหัวข้อที่ต้องการแล้ว ให้คลิกปุ่ม  OK  รอจนกระทั่ง  Windows  ถูกปิดไป  ( สำหรับเครื่องคอมฯ รุ่นใหม่ ๆ เวลา  Shutdown  เครื่อง ระบบ  power  ของเครื่องจะปิดให้อัตโนมัติ ส่วน  Monitor  อาจยังไม่ปิด ดังนั้น ให้ปิดสวิทซ์  Monitor  ด้วย )   คำแนะนำ  ::  ห้ามปิดเครื่อง โดยไม่  Shutdown Windows  ทั้งนี้อาจะทำให้ไม่สามารถเข้า  Windows  ได้อีก   ยกเว้นกรณีเครื่อง  Hank  หรือ กดปุ่มใด ๆ ไม่ได้ ให้กดปุ่ม  Power  เพื่อทำการปิดได้  ( คอมพิวเตอร์บางรุ่น จะต้องกดแช่ ค้างไว้ สักครู่ )
การปรับแต่งหน้าตาของ  Windows   เราสามารถปรับแต่งหน้าตาของ  Windows  ในรูปแบบของเราได้ ไม่ว่าจะเป็น  Wallpaper, Screen Saver,  และแม้แต่รูปแบบตัวอักษร ตลอดจนขนาดของหน้าตา และอื่น ๆ อีกมากมาย โดยการเข้าคลิกขวา บริเวณหน้าจอ  ( Desktop)  จากนั้นเลือกคำสั่ง  Properties
รายละเอียดแต่ละคำสั่งบนแท็ป   Background -  สำหรับปรับแต่ง  Wallpaper  ของหน้าจอภาพ หรือ  Desktop  Screen Saver -  สำหรับปรับเปลี่ยนโปรแกรมพักหน้าจอ สามารถกำหนดระยะเวลาให้แสดง   Screen Saver  ได้   Appearance -  แสดงรูปแบบ ขนาดตัวอักษร  ( ไม่มีความเข้าใจ ไม่ควรเข้าไปปรับเปลี่ยน )   Effects -  สำหรับปรับขนาดไอคอน รูปแบบการแสดงเมนู   Web -  สำหรับแสดงหน้า  Desktop  ในรูปแบบของ  Web  Settings -  สำหรับกำหนดขนาดของหน้าจอ และจำนวนสีที่แสดง   การปรับเปลี่ยน  Background   คลิกแท็ป  Background  บริเวณ  Select a background picture  เลือกรูปแบบที่เราต้องการ หรือ   คลิกคำสั่ง  Browse  เพื่อกำหนดตำแหน่งของไฟล์ภาพอื่นๆ ที่เราต้องการนำมาแสดงเป็น   Wallpaper
[object Object],[object Object],2. คลิกเลือกจำนวนสีที่ต้องการ ถ้าทำได้ควรกำหนดสีอย่างน้อย  256  สีขึ้นไป   3.Screen Area  สำหรับกำหนดขนาดของหน้าจอ ขนาดมาตรฐานที่นิยมใช้คือ  800 by 600  ทำความรู้จัก  Control Panel   Control Panel  ที่เป็นที่เก็บโปรแกรมสำคัญๆ ของ  Windows  เป็นโปรแกรมที่เกี่ยวกับการควบคุมการทำงานของ  Windows  ทั้งหมด ดังนั้นถ้าต้องการเปลี่ยนแปลง เพิ่มเติมอุปกรณ์อะไรก็ตาม หรือจัดการอะไรเกี่ยวกับ   Windows  ก็จำเป็นจะต้องใช้บริการในส่วนของ  Control Panel  เสมอ แต่อย่างไรก็ตาม บางโปรแกรมอาจสามารถเรียกโดยไม่ต้องผ่าน  Control Panel  ก็ได้  ทั้งนี้   Windows  นี้พยายามเขียนคำสั่ง ให้มีการเข้าถึงโปรแกรมต่างๆ ให้เร็วและสะดวกที่สุด ดังจะเห็นได้ว่า เราสามารถเข้าถึงหลายๆ โปรแกรมโดยไม่จำเป็นต้องผ่าน  Control Panel  ตัวอย่างเช่น หน้าต่าง  Display Properties  สามารถเรียกโดย คลิกขวา เลือก  Properties  ผ่านทางหน้า  Desktop  ได้ทันที โดยไม่จำเป็นต้องผ่านหน้าต่าง  Control Panel  ในส่วนของ  Display  เป็นต้น
 
การเรียกใช้  Control Panel   1. คลิกปุ่ม  Start  2. คลิกเมนู  Settings  3. คลิกเลือก  Control Panel   จะได้ดังภาพประกอบด้านบน   จะเห็นว่า มีไอคอนต่างๆ มากมายที่อยู่ภายใต้  Control Panel  นี้ ไม่ว่าจะเป็น  Add/Remove Program  ซึ่งเป็นไอคอนสำหรับการติดตั้ง และยกเลิกโปรแกรมที่มีการติดตั้งไว้แล้ว ,  ไอคอน  Add New Hardware  ซึ่งเป็นโปรแกรมในการจัดการเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่มีการติดตั้งเข้าไป เป็นต้น   การจัดการไฟล์ ด้วย  Windows Explorer   Windows Explorer  เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการเข้าถึงไฟล์ โฟลเดอร์ และไดร์ฟต่างๆ ภายในเครื่องคอมฯ ของเรา โดยหน้าต่างทางซ้ายมือจะแสดงรายชื่อ ไดร์ฟ และโฟลเดอร์ ส่วนหน้าต่างทางขวามือจะแสดงรายชื่อโฟลเดอร์ และรายละเอียดของชื่อไฟล์แต่ละไฟล์ นอกจากนี้เรายังสามารถกำหนดให้แสดงรายละเอียดในรูปแบบต่างๆ กันได้ เช่น แสดงรายละเอียดเป็นตัวอักษร เป็นไอคอน ก็ได้
 
การเรียนใช้  Windows Explorer   1.  เรียกจากเมนู  Start  2.  คลิกเมนู  Programs   3.  คลิกเลือก  Accessories   เลือก  Windows Explorer  ( สำหรับ  Windows ME)  หรือสามารถเรียกได้จาก คลิกไอคอนที่  My Computer   4.  คลิกขวา เลือก  Explore  กรณีต้องการปรับเปลี่ยนการดูรายชื่อ ไฟล์และโฟลเดอร์ ให้คลิกเมนู  View  เลือก  Large Icons ,  Small Icons, List, Details   ทั้งนี้จะแสดงรายละเอียดต่างกันบ้างเล็กน้อย สำหรับ  Windows  แต่ละเวอร์ชั่น   การใช้งาน  Windows Explorer  นี้ สามารถ  copy, delete  หรือ  move  ทั้งไฟล์และโฟลเดอร์ไปยังไดร์ฟต่างๆ ภายในเครื่องคอมฯ ของเราได้ แต่อย่างไรก็ตาม ก็ควรระวัง ถ้ามีการย้ายผิด อาจทำให้มีปัญหาเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมของเราได้ด้วย
การปรับแต่งไอคอน บน  Desktop   รูปภาพเล็ก ๆ บนหน้าจอ หรือที่เราเรียกว่า  ไอคอน  " Icon"   เป็นตัวช่วยในการเรียกใช้โปรแกรมให้สะดวกขึ้น หลาย ๆ ครั้งไอคอนมีการทับกัน หรือวางไม่เป็นระเบียบบ้าง ทำให้หน้าจอดูไม่สวยงาม ไม่ยากครับ เราลองมาทำการปรับแต่งไอคอนในลักษณะต่าง ๆ ดังนี้   วิธีการปรับแต่งไอคอน ,[object Object],[object Object]
3. จัดเรียงไอคอน   ให้คลิกขวาบริเวณว่าง ๆ บนหน้าจอ เลือก  Arrange Icons   ดังภาพประกอบ  จากนั้นเลือกว่าจะให้เรียงตามอะไร เช่น  Name, Type, Size, Date   แต่ถ้าต้องการให้เรียงอัตโนมัติให้คลิก  Auto Arrange 4.  เปลี่ยนไอคอน   ให้คลิกเลือกไอคอนนั้นๆ จากนั้นคลิกขวา เลือก  Properties   เลือก  Change Icon   เลือกรูปแบบที่ต้องการ
ความสำคัญของเครือข่ายคอมพิวเตอร์   เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน   เมื่อมนุษย์มีความจำเป็นที่จะติดต่อสื่อสารระหว่างกัน   พัฒนาการทางด้านคอมพิวเตอร์จึงต้องตอบสนองเพื่อให้ใช้งานได้ตามความต้องการ    เพราะการใช้งานง่ายราคา ไม่สูงมาก     สามารถจัดหามาใช้ได้ไม่ยาก    เมื่อ มีการใช้งานกันมาก      ได้  
ดังนั้นจึงมีการพัฒนาให้คอมพิวเตอร์ทำงานในรูปแบบ    เครือข่ายคอมพิวเตอร์ คือนำเอาเครื่องคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่มาเป็นสถานีบริการ   และให้ไมโครคอมพิวเตอร์ตาม หน่วยงานต่างๆ เป็นเครื่องใช้บริการ  ( Client)  โดยมีเครือข่าย ( Network)  เป็นเส้นทางเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์จาก จุดต่างๆ     เครือข่ายคอมพิวเตอร์มีบทบาทที่สำคัญต่อหน่วยงานต่างๆ ดังนี้ 1.   ทำให้เกิดการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม และสามารถทำงานพร้อมกัน 2.   ให้สามารถใช้ข้อมูลต่างๆ ร่วมกัน ซึ่งทำให้องค์การได้รับประโยชน์มากขึ้น 3.   ทำให้สามารถใช้ทรัพยากรได้คุ้มค่า เช่น ใช้เครื่องประมวลผลร่วมกัน แบ่งกันใช้แฟ้มข้อมูล  ใช้เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์ที่มีราคาแพงร่วมกัน 4.   ทำให้ลดต้นทุน เพราะการลงทุนสามารถลงทุนให้เหมาะสมกับหน่วยงานได้
7.2   ชนิดของเครือข่าย               เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งแยกตามสภาพการเชื่อมโยงได้  2  ชนิด         -   เครือข่ายแลน  ( Local Area Network : LAN)      -   เครือข่ายแวน  ( Wide Area Network : WAN เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ซึ่งเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารที่อยู่ในท้องที่ บริเวณเดียวกันเข้าด้วยกัน    เช่น ภายในอาคาร    หรือภายในองค์การที่มีระยะทางไม่ไกลมากนัก    การสร้างเครือข่ายแลนนี้องค์การสามารถดำเนินการทำเองได้    โดยวางสายสัญญาณสื่อสารภายในอาคารหรือภายในพื้นที่ของตนเอง    7.2.2   เครือข่ายแวน           เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ในระยะไกล    เช่น    เชื่อมโยงระหว่างจังหวัด    ระหว่างประเทศ    การสร้างเครือข่ายระยะไกล จึงต้องอาศัยระบบบริการข่ายสายสาธารณะ    เช่น สายวงจรเช่าจากองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยหรือจากการสื่อสารแห่งประเทศไทย     ใช้วงจรสื่อสารผ่านดาวเทียม    ใช้วงจรสื่อสารเฉพาะกิจที่มีให้บริการแบบสาธารณะ     เครือข่ายแวนจึงเป็นเครือข่าย ที่ใช้กับองค์การที่มีสาขาห่างไกลและต้องการเชื่อมสาขาเหล่านั้นเข้าด้วยกัน  7.2.1   เครือข่ายแลน
7.3   เทคโนโลยีเครือข่ายแลน   มีจุดมุ่งหมายที่จะให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องสื่อสาร ข้อมูลระหว่างกันได้ทั้งหมดหากนำเครื่องคอมพิวเตอร์สองเครื่องต่อสายสัญญาณเข้าหากันจะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งสอง นั้นส่งข้อมูลถึงกันได้   เครือข่ายแลนที่น่าสนใจ เช่น    อีเทอร์เน็ต  ( Ethernet)   โทเก็นริง   (Token Ring)   และ สวิตชิง  ( Switching)   7.3.1   อีเทอร์เน็ต  ( Ethernet)           อีเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่พัฒนามาจากโครงสร้างการเชื่อมต่อแบบสายสัญญาณร่วมที่เรียกว่า บัส  ( Bus)     ใช้สายสัญญาณแบบแกนร่วม คือ สายโคแอกเชียล  ( Coaxial Cable)  เป็นตัวเชื่อม     คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องเชื่อมโยงเข้ากับสายสัญญาณเส้นเดียวกัน คือ เมื่อมีผู้ต้องการส่งข้อมูล    ก็ส่งข้อมูลได้เลย  
การเชื่อมต่อ แบบดาว   จุดเด่นของดาวตัวนี้ จะอยู่ที่ เมื่อมีการส่งข้อมูล    จะมีการตรวจสอบความผิดพลาดว่า อุปกรณ์ใดจะส่งข้อมูลมาบ้างและจะมีการสับสวิตซ์ให้ส่ง ได้หรือไม่    แต่เมื่อมีฮับเป็นตัวแบกภาระทั้งหมด ก็มีจุดอ่อนได้คือ ถ้าฮับเกิดเป็นอะไรขึ้นมาอุปกรณ์ต่อพ่วงอื่น ๆ   หรือคอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถเชื่อมต่อกันได้อีก   7.3.2   โทเก็นริง      โทเก็นริง เป็นเครือข่ายที่บริษัท ไอบีเอ็ม พัฒนาขึ้น    รูปแบบการเชื่อมโยงจะเป็น  วงแหวน    โดยด้านหนึ่งเป็นตัวรับสัญญาณและอีกด้านหนึ่งเป็นตัวส่งสัญญาณ    การเชื่อมต่อแบบนี้ทำให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องสามารถส่งข้อมูลถึงกันได้    โดยผ่านเส้นทางวงแหวนนี้      การติดต่อสื่อสารแบบนี้จะมีการจัดลำดับให้ผลัดกันส่งเพื่อว่าจะได้ไม่สับสน และมีรูปแบบ ที่ชัดเจน
7.3.3   สวิตชิง              สวิตชิง เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนามาเพื่อให้สามารถรับส่งข้อมูลระหว่างสถานีทำได้เร็วยิ่งขึ้น      การคัดเลือกชุดข้อมูล ที่ส่งมาและส่งต่อไปยังสถานีปลายทาง   จะกระทำที่ชุมสายกลาง  ที่เรียกว่า    สวิตชิง    รูปแบบของเครือข่ายแบบนี้จะมีลักษณะ เป็นแบบดาว    แต่แตกต่างกันที่ฮับเป็นจุดร่วมของสาย สัญญาณที่จะต่อกระจายไปยังทุกสาย    แต่สวิตชิงจะเลือกการสลับสัญญาณไปยังตำแหน่งที่ต้องการเท่านั้น   7.4   การใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์        เครือข่ายแลนหนึ่งเครือข่ายจะมีการทำงานกันเป็นกลุ่ม เรียกว่า กลุ่มงาน   (Workgroup)   แต่เมื่อเชื่อมโยงหลาย ๆ    กลุ่มงานเข้าด้วยกันก็จะเป็นเครือข่ายขององค์กร    และถ้าเชื่อมโยงระหว่างองค์กรผ่านเครือข่ายแวน    ก็จะได้เครือข่าย ขนาดใหญ่    ตัวอย่างการใช้งานเครือข่าย 7.4.1   การใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน           งานขององค์กรบางอย่างมีความจำเป็นต้องใช้ข้อมูลชุดเดียวกัน    ถ้าแต่ละฝ่ายทำการหาหรือรวบรวมข้อมูลเอง    ข้อมูลอาจ จะมีความคลาดเคลื่อนไม่ตรงกันก็ได้    นอกจากความผิดพลาดที่เกิดขึ้นแล้วยังทำให้สิ้นเปลืองทรัพยากรบุคคลและวัสดุอุปกรณ์    สิ้นเปลืองเวลาอีกด้วย   ได้ เช่น    เครื่องพิมพ์    เครื่องสแกน    กล้องดิจิตอล    ฯลฯ
7.4.2   การติดต่อสื่อสารระหว่างกันบนเครือข่าย        เมื่อมีการเชื่อมโยงอุปกรณ์เข้าด้วยกัน    ผู้ใช้ ทุกคนที่อยู่บนเครือข่าย จะสามารถ ติดต่อสื่อสารระหว่างกันสามารถส่ง ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิคส์ระหว่างกัน    ตลอดจนสามารถโอนย้ายข้อมูลระหว่างกันได้   7.4.3   สำนักงานอัตโนมัติ         แนวคิดของสำนักงานสมัยใหม่    ก็คือ    ลดการใช้กระดาษ    หันมาใช้ระบบการทำงาน ด้วยคอมพิวเตอร์ที่สามารถ แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ทันทีทันใด    ระบบสำนักงานอัตโนมัติ  จึงเป็นระบบการทำงานที่ทุกสถานีงานเปรียบเสมือน โต๊ะทำงาน    ทำให้เกิดความคล่องตัว    และรวดเร็ว   7.5   ตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์   เมื่อเทคโนโลยีเครือข่ายได้รับการพัฒนาโดยเฉพาะมีการประยุกต์ใช้งานบนเครือข่ายอย่างกว้างขวาง    ทำให้เครือข่าย คอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายเดียวกัน    เรียกว่า    อินเทอร์เน็ต     ขณะเดียวกันในองค์กรแต่ละองค์กร ก็มีการพัฒนาเครือข่ายของตนเองและประยุกต์ใช้กับงานเฉพาะในองค์กร เรียกว่าอินทราเน็ต    ดังนั้น    อินเทอร์เน็ตจึง แตกต่างจากอินทราเน็ตตรงที่ขอบเขตของการเชื่อมโยง    ส่วนมาตรฐานและวิธีการเชื่อมโยงยังคงเป็นมาตรฐานเดียวกัน
7.5.1   อินเทอร์เน็ต   เชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์   เป็นเครือข่าย   โดยมาตรฐานการรับส่งข้อมูลมีชื่อว่า     ทีซีพี / ไอพี  ( TCP/IP)   ต่อมามีการเชื่อมเครือข่ายออกสู่องค์กรเอกชน   และแพร่ขยายไปทั่วโลก          เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ถือเป็นเครือข่ายของเครือข่าย    หมายความว่าในองค์กรได้สร้างเครือข่ายภายในตนเองขึ้นมา    และนำมาเชื่อมต่อสู่เครือข่าย สากลอินเทอร์เน็ตนี้   1.   การรับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิคส์         เป็นระบบการสื่อสารทางจดหมายผ่านคอมพิวเตอร์    ถ้าเราต้องการส่งข้อความถึงใครก็สามารถเขียนเป็นเอกสาร     แล้วจ่าหน้าซองที่อยู่ของผู้รับที่เรียกว่า แอดเดรส    ระบบจะนำส่งให้ทันทีอย่างรวดเร็ว    ลักษณะของแอดเดรสจะเป็นชื่อรหัสผู้ใช้ และชื่อเครื่องประกอบกัน    เช่น    sombat@nontri.ku.ac.th   การติดต่อบนอินเทอร์เน็ตนี้    จะหาตำแหน่งให้เองโดยอัตโนมัติ และนำส่งไปปลายทางได้อย่างถูกต้อง   การรับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิคส์  ( E mail)  กำลังเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย
2.   การโอนย้ายแฟ้มข้อมูลระหว่างกัน        เป็นระบบที่ทำให้ผู้ใช้สามารถรับส่งแฟ้มข้อมูลระหว่างกันหรือมีสถานีให้บริการ เก็บแฟ้มข้อมูลที่อยู่ในที่ต่าง ๆ    และให้บริการ    ผู้ใช้สามารถเข้าไปคัดเลือกนำแฟ้มข้อมูลมาใช้ประโยชน์ได้ 3.   การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในที่ห่างไกล       การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย    ทำให้เราสามารถ เรียกหาเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นสถานีบริการใน ที่ห่างไกลได้      ผู้ใช้สามารถนำข้อมูลไปประมวลผลยังเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในเครือข่าย    โดยไม่ต้องเดินทางไปเอง   4.   การเรียกค้นข้อมูลข่าวสาร         ปัจจุบันมีฐานข้อมูลที่เก็บไว้ให้ใช้งานจำนวนมาก    ฐานข้อมูลบางแห่งเก็บข้อมูลในรูปสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิคส์ที่ผู้ใช้สามารถ เรียกอ่าน    หรือนำมาพิมพ์    ลักษณะการเรียกค้นนี้จึงมีลักษณะเหมือนเป็นห้องสมุดขนาดใหญ่อยู่ภายในเครือข่าย ที่สามารถค้นหาข้อมูลใด ๆ ก็ได้    ฐานข้อมูล ในลักษณะนี้เรียกว่า เครือข่ายใยแมงมุมครอบคลุมทั่วโลก ( World Wide Web : WWW)   เป็นฐานข้อมูลที่เชื่อมโยงกันทั่วโลก   5.   การอ่านจากกลุ่มข่าว        ภายในอินเทอร์เน็ตมีกลุ่มข่าวเป็นกลุ่ม ๆ    แยกตามความสนใจ    แต่ละกลุ่มข่าว อนุญาตให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตส่งข้อความ ลงไปได้    และหากมีผู้ต้องการเขียนโต้ตอบก็สามารถเขียนตอบได้    กลุ่มข่าวนี้จึงแพร่หลายกระจายข่าวได้รวดเร็ว          เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นตัวกลาง     ในการติดต่อสนทนากันได้    ในยุคแรกใช้วิธีการสนทนาเป็นตัวหนังสือ   ต่อมา พัฒนาให้ใช้เสียงได้       ปัจจุบันถ้าระบบสื่อสารมีความเร็วพอก็สามารถสนทนาโดยที่เห็นหน้ากันและกันบนจอภาพได้
7.   การบริการสถานีวิทยุและโทรทัศน์บนเครือข่าย         ปัจจุบันมีผู้ตั้งสถานีวิทยุบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหลายร้อยสถานี    ผู้ใช้สามารถเลือกสถานที่ต้องการและได้ยินเสียงเหมือน การเปิดฟังวิทยุ    ขณะเดียวกันก็มีการส่งกระจายภาพวีดิโอบนเครือข่ายด้วย       7.5.2   อินทราเน็ต        เมื่ออินเทอร์เน็ตได้รับการพัฒนามาจนเป็นที่ยอมรับและแพร่หลาย    จึงมีผู้ต้องการสร้างเครือข่ายใช้งานเฉพาะในองค์กร     โดยนำวิธีการในอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้กับเครือข่ายของตนเอง เครือข่ายที่ใช้งานเฉพาะในองค์การนี้จึงเรียกว่า    เครือข่ายอินทราเน็ต        การประยุกต์ใช้บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตใช้หลักการที่มีสถานีให้บริการ และสถานีผู้ใช้บริการ    สถานีผู้ใช้บริการมีโปรแกรมเชื่อมต่อที่ทำให้ใช้งานระบบฐานข้อมูลได้ง่าย อินทราเน็ตจึงใช้วิธีการเดียวกันนี้     เพราะทำให้ผู้ใช้ไม่ต้องเสียเวลาในการเรียนรู้การพัฒนาขึ้น และพร้อมที่จะเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต
จบการนำเสนอ

More Related Content

What's hot

ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการwannuka24
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการwannuka24
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการRattana234
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการRattana234
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการRattana234
 
ระบบปฎิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์1
ระบบปฎิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์1ระบบปฎิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์1
ระบบปฎิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์1Suphattra
 
Window
WindowWindow
WindowOwat
 
ระบบปฏิบัติการ โบ
ระบบปฏิบัติการ โบระบบปฏิบัติการ โบ
ระบบปฏิบัติการ โบpuangtong
 
ระบบปฏิบัติการPu m
ระบบปฏิบัติการPu mระบบปฏิบัติการPu m
ระบบปฏิบัติการPu mAthirak Saengtong
 
ระบบปฏิบัติการ1 มิ้ม
ระบบปฏิบัติการ1 มิ้มระบบปฏิบัติการ1 มิ้ม
ระบบปฏิบัติการ1 มิ้มNoomim
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการJoMaZa03
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการNaluemonPcy
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการRawiwan Kashornchan
 

What's hot (15)

T
TT
T
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฎิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์1
ระบบปฎิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์1ระบบปฎิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์1
ระบบปฎิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์1
 
Window
WindowWindow
Window
 
ระบบปฏิบัติการ โบ
ระบบปฏิบัติการ โบระบบปฏิบัติการ โบ
ระบบปฏิบัติการ โบ
 
ระบบปฏิบัติการGot
ระบบปฏิบัติการGotระบบปฏิบัติการGot
ระบบปฏิบัติการGot
 
ระบบปฏิบัติการPu m
ระบบปฏิบัติการPu mระบบปฏิบัติการPu m
ระบบปฏิบัติการPu m
 
ระบบปฏิบัติการ1 มิ้ม
ระบบปฏิบัติการ1 มิ้มระบบปฏิบัติการ1 มิ้ม
ระบบปฏิบัติการ1 มิ้ม
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 

Viewers also liked

เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....kachornchit_maprang
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯkachornchit_maprang
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯkachornchit_maprang
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์kachornchit_maprang
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....kachornchit_maprang
 
ระบบปฏิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์G
ระบบปฏิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์Gระบบปฏิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์G
ระบบปฏิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์GJirayu Pansagul
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์kachornchit_maprang
 
ใบความรู้ที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์dechathon
 

Viewers also liked (8)

เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
 
ระบบปฏิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์G
ระบบปฏิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์Gระบบปฏิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์G
ระบบปฏิบัติการและเครือข่ายคอมพิวเตอร์G
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์
 

Similar to ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ

ของอารีรัตน์
ของอารีรัตน์ของอารีรัตน์
ของอารีรัตน์Ammarirat
 
ระบบปฏิบัติการ เตย
ระบบปฏิบัติการ เตยระบบปฏิบัติการ เตย
ระบบปฏิบัติการ เตยToey_Wanatsanan
 
งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155nantakit
 
งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155nantakit
 
งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155nantakit
 
งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155nantakit
 
งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155nantakit
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอมระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอมLookked2122
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอมระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอมLookked2122
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์Aphison Pukon
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์Aphison Pukon
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์Aphison Pukon
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการwannuka24
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการNaluemonPcy
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการJoMaZa03
 

Similar to ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ (20)

ของอารีรัตน์
ของอารีรัตน์ของอารีรัตน์
ของอารีรัตน์
 
ระบบปฏิบัติการ เตย
ระบบปฏิบัติการ เตยระบบปฏิบัติการ เตย
ระบบปฏิบัติการ เตย
 
งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155
 
งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155
 
งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155
 
งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155
 
งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอมระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอมระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
คอม
คอมคอม
คอม
 

More from kachornchit_maprang

ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์kachornchit_maprang
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวkachornchit_maprang
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวkachornchit_maprang
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวkachornchit_maprang
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวkachornchit_maprang
 

More from kachornchit_maprang (10)

ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
 
ประวัติส่..
ประวัติส่..ประวัติส่..
ประวัติส่..
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
 

ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ

  • 1. ระบบปฏิบัติการ หรือที่เรียกย่อ ๆ ว่า โอเอส ( Operating System : OS) เป็นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รู้จักกันดีเช่นดอส ( Disk Operating System : DOS) วินโดวส์ ( Windows) โอเอสทู ( OS/2) ยูนิกซ์ ( UNIX) DOS เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานที่พัฒนามานานแล้ว การใช้งานจึงใช้คำสั่งเป็นตัวอักษร ดอสเป็นซอฟต์แวร์ที่รู้จักกันดีในหมู่ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ Windows ระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอส เพื่อเน้นการใช้งานที่ง่ายขึ้น สามารถทำงานหลายงานพร้อมกันได้ โดยงานแต่ละงานจะอยู่ในกรอบช่องหน้าต่างที่แสดงผลบนจอภาพ การใช้งานเน้นรูปแบบกราฟิก ผู้ใช้งานสามารถใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้ตำแหน่งเพื่อเลือกตำแหน่งที่ปรากฏบนจอภาพ ทำให้ใช้งาน คอมพิวเตอร์ได้ง่าย วินโดวส์จึงได้รับความนิยมในปัจจุบัน ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
  • 2. OS/2 เป็นระบบปฏิบัติการแบบเดียวกับวินโดวส์ แต่บริษัทผู้พัฒนาคือ บริษัทไอบีเอ็ม เป็นระบบปฏิบัติการที่ให้ผู้ใช้สามารถใช้ทำงานได้หลายงานพร้อมกัน และการใช้งานก็เป็นแบบกราฟิกเช่นเดียวกับวินโดวส์ ปัจจุบันไม่มีการใช้งานกันแล้ว Unix ระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์เป็นระบบปฏิบัติการที่สามารถใช้งานได้หลายงานพร้อมกัน และทำงานได้หลาย ๆ งานในเวลาเดียวกัน ยูนิกซ์จึงใช้ได้กับเครื่องที่เชื่อมโยงและต่อกับเครื่องปลายทางได้หลายเครื่องพร้อมกัน
  • 4. จากรูปภาพหน้าบน คือ หน้าต่างเริ่มแรกในการเข้าทำงานของ Windows หน้านี้ เราเรียกว่า Desktop ซึ่งประกอบด้วยหลายๆ ส่วน แต่ละส่วนจะทำหน้าที่ต่างกัน การสั่งงานจะใช้เมาส์ ซึ่งเป็นอุปกรณ์สำหรับนอกเหนือจาก แป้นพิมพ์หรือคีย์บอร์ดในการสั่งงาน เราสามารถใช้เมาส์คลิก ( กด ) คำสั่งต่าง ๆ ใน Windows ซึ่งจะมีรูปภาพเล็กๆ ( ไอคอน ) ประกอบ คำสั่งพิเศษ : เราสามารถคลิกเมาส์ปุ่มด้านขวา จะมีเมนูพิเศษของ Windows ซ่อนอยู่ เพื่อใช้สำหรับเรียกใช้คำสั่งที่มักมีการเรียกใช้งานบ่อยๆ ส่วนประกอบของ Windows 1. Start - คลิกปุ่มนี้ จะมีเมนูแสดงขึ้นมา 2. Desktop - บริเวณพื้นที่ของ Windows เพื่อแสดงไอคอน หรือโปรแกรมที่เราเรียกใช้งาน 3. Task Bar - บริเวณที่แสดงว่ามีโปรแกรมใดทำงานค้างอยู่ 4. Icons - รูปภาพแทนคำสั่ง สำหรับไอคอนพื้นฐาน ได้แก่ ( บางไอคอนมีเฉพาะใน Windows 98)
  • 5. - My Computer ไอคอนแสดงดิสก์ไดร์ฟในเครื่องคอมฯของคุณ - My Document เก็บตำแหน่งของเอกสารที่มีการเปิดใช้งาน - Internet Explorer เวบบราวเซอร์สำหรับเล่น WWW - Recycle Bin ถังขยะสำหรับเก็บไฟล์ที่มีการลบ สามารถกู้คืนกลับมาได้ - Outlook Express โปรแกรมสำหรับรับ - ส่ง อีเมล์ - Network Neighborhood ไอคอนแสดงระบบเครือข่าย หรือกลุ่มคอมพิวเตอร์ของคุณ การเปิด - ปิด Windows Open Windows - เปิดคอมพิวเตอร์ โปรแกรมจะเข้า Windows อัตโนมัติ Close Windows - ใช้เมาส์คลิกปุ่ม Start เลือกคำสั่ง Shut down เลือกคำสั่ง Shut down อีกครั้ง
  • 6. ขั้นตอนการเปิด - ปิด Windows โดยปกติ สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ได้มีการติดตั้ง Windows แล้ว เวอร์ชั่น 95 ขึ้นไป เวลาเปิดสวิทซ์เครื่อง โปรแกรมก็จะเริ่มเข้าไปยัง Windows ทันที ส่วนขั้นตอนในการปิดเครื่องนั้น จะมีหลายลักษณะ
  • 7. จากภาพประกอบของ Windows ME ด้านบน ถ้าเป็น 95, 98 จะมีปุ่ม ให้คลิกเลือก สำหรับความหมายแต่คำสั่งมีดังนี้ 1. - Shutdown : ปิดเครื่องทันที 2. - Restart : ให้เริ่มเข้า windows ใหม่ ( ใช้กรณีมีปัญหาการใช้ windows) 3. - Stand by : ให้เข้าระบบพักเครื่อง หลังจากเลือกหัวข้อที่ต้องการแล้ว ให้คลิกปุ่ม OK รอจนกระทั่ง Windows ถูกปิดไป ( สำหรับเครื่องคอมฯ รุ่นใหม่ ๆ เวลา Shutdown เครื่อง ระบบ power ของเครื่องจะปิดให้อัตโนมัติ ส่วน Monitor อาจยังไม่ปิด ดังนั้น ให้ปิดสวิทซ์ Monitor ด้วย ) คำแนะนำ :: ห้ามปิดเครื่อง โดยไม่ Shutdown Windows ทั้งนี้อาจะทำให้ไม่สามารถเข้า Windows ได้อีก ยกเว้นกรณีเครื่อง Hank หรือ กดปุ่มใด ๆ ไม่ได้ ให้กดปุ่ม Power เพื่อทำการปิดได้ ( คอมพิวเตอร์บางรุ่น จะต้องกดแช่ ค้างไว้ สักครู่ )
  • 8. การปรับแต่งหน้าตาของ Windows เราสามารถปรับแต่งหน้าตาของ Windows ในรูปแบบของเราได้ ไม่ว่าจะเป็น Wallpaper, Screen Saver, และแม้แต่รูปแบบตัวอักษร ตลอดจนขนาดของหน้าตา และอื่น ๆ อีกมากมาย โดยการเข้าคลิกขวา บริเวณหน้าจอ ( Desktop) จากนั้นเลือกคำสั่ง Properties
  • 9. รายละเอียดแต่ละคำสั่งบนแท็ป Background - สำหรับปรับแต่ง Wallpaper ของหน้าจอภาพ หรือ Desktop Screen Saver - สำหรับปรับเปลี่ยนโปรแกรมพักหน้าจอ สามารถกำหนดระยะเวลาให้แสดง Screen Saver ได้ Appearance - แสดงรูปแบบ ขนาดตัวอักษร ( ไม่มีความเข้าใจ ไม่ควรเข้าไปปรับเปลี่ยน ) Effects - สำหรับปรับขนาดไอคอน รูปแบบการแสดงเมนู Web - สำหรับแสดงหน้า Desktop ในรูปแบบของ Web Settings - สำหรับกำหนดขนาดของหน้าจอ และจำนวนสีที่แสดง การปรับเปลี่ยน Background คลิกแท็ป Background บริเวณ Select a background picture เลือกรูปแบบที่เราต้องการ หรือ คลิกคำสั่ง Browse เพื่อกำหนดตำแหน่งของไฟล์ภาพอื่นๆ ที่เราต้องการนำมาแสดงเป็น Wallpaper
  • 10.
  • 11.  
  • 12. การเรียกใช้ Control Panel 1. คลิกปุ่ม Start 2. คลิกเมนู Settings 3. คลิกเลือก Control Panel จะได้ดังภาพประกอบด้านบน จะเห็นว่า มีไอคอนต่างๆ มากมายที่อยู่ภายใต้ Control Panel นี้ ไม่ว่าจะเป็น Add/Remove Program ซึ่งเป็นไอคอนสำหรับการติดตั้ง และยกเลิกโปรแกรมที่มีการติดตั้งไว้แล้ว , ไอคอน Add New Hardware ซึ่งเป็นโปรแกรมในการจัดการเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่มีการติดตั้งเข้าไป เป็นต้น การจัดการไฟล์ ด้วย Windows Explorer Windows Explorer เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการเข้าถึงไฟล์ โฟลเดอร์ และไดร์ฟต่างๆ ภายในเครื่องคอมฯ ของเรา โดยหน้าต่างทางซ้ายมือจะแสดงรายชื่อ ไดร์ฟ และโฟลเดอร์ ส่วนหน้าต่างทางขวามือจะแสดงรายชื่อโฟลเดอร์ และรายละเอียดของชื่อไฟล์แต่ละไฟล์ นอกจากนี้เรายังสามารถกำหนดให้แสดงรายละเอียดในรูปแบบต่างๆ กันได้ เช่น แสดงรายละเอียดเป็นตัวอักษร เป็นไอคอน ก็ได้
  • 13.  
  • 14. การเรียนใช้ Windows Explorer 1. เรียกจากเมนู Start 2. คลิกเมนู Programs 3. คลิกเลือก Accessories เลือก Windows Explorer ( สำหรับ Windows ME) หรือสามารถเรียกได้จาก คลิกไอคอนที่ My Computer 4. คลิกขวา เลือก Explore กรณีต้องการปรับเปลี่ยนการดูรายชื่อ ไฟล์และโฟลเดอร์ ให้คลิกเมนู View เลือก Large Icons , Small Icons, List, Details ทั้งนี้จะแสดงรายละเอียดต่างกันบ้างเล็กน้อย สำหรับ Windows แต่ละเวอร์ชั่น การใช้งาน Windows Explorer นี้ สามารถ copy, delete หรือ move ทั้งไฟล์และโฟลเดอร์ไปยังไดร์ฟต่างๆ ภายในเครื่องคอมฯ ของเราได้ แต่อย่างไรก็ตาม ก็ควรระวัง ถ้ามีการย้ายผิด อาจทำให้มีปัญหาเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมของเราได้ด้วย
  • 15.
  • 16. 3. จัดเรียงไอคอน ให้คลิกขวาบริเวณว่าง ๆ บนหน้าจอ เลือก Arrange Icons ดังภาพประกอบ จากนั้นเลือกว่าจะให้เรียงตามอะไร เช่น Name, Type, Size, Date แต่ถ้าต้องการให้เรียงอัตโนมัติให้คลิก Auto Arrange 4. เปลี่ยนไอคอน ให้คลิกเลือกไอคอนนั้นๆ จากนั้นคลิกขวา เลือก Properties เลือก Change Icon เลือกรูปแบบที่ต้องการ
  • 17. ความสำคัญของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน   เมื่อมนุษย์มีความจำเป็นที่จะติดต่อสื่อสารระหว่างกัน   พัฒนาการทางด้านคอมพิวเตอร์จึงต้องตอบสนองเพื่อให้ใช้งานได้ตามความต้องการ   เพราะการใช้งานง่ายราคา ไม่สูงมาก   สามารถจัดหามาใช้ได้ไม่ยาก   เมื่อ มีการใช้งานกันมาก     ได้  
  • 18. ดังนั้นจึงมีการพัฒนาให้คอมพิวเตอร์ทำงานในรูปแบบ   เครือข่ายคอมพิวเตอร์ คือนำเอาเครื่องคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่มาเป็นสถานีบริการ และให้ไมโครคอมพิวเตอร์ตาม หน่วยงานต่างๆ เป็นเครื่องใช้บริการ ( Client) โดยมีเครือข่าย ( Network) เป็นเส้นทางเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์จาก จุดต่างๆ   เครือข่ายคอมพิวเตอร์มีบทบาทที่สำคัญต่อหน่วยงานต่างๆ ดังนี้ 1.  ทำให้เกิดการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม และสามารถทำงานพร้อมกัน 2.  ให้สามารถใช้ข้อมูลต่างๆ ร่วมกัน ซึ่งทำให้องค์การได้รับประโยชน์มากขึ้น 3.  ทำให้สามารถใช้ทรัพยากรได้คุ้มค่า เช่น ใช้เครื่องประมวลผลร่วมกัน แบ่งกันใช้แฟ้มข้อมูล ใช้เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์ที่มีราคาแพงร่วมกัน 4.  ทำให้ลดต้นทุน เพราะการลงทุนสามารถลงทุนให้เหมาะสมกับหน่วยงานได้
  • 19. 7.2  ชนิดของเครือข่าย            เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งแยกตามสภาพการเชื่อมโยงได้ 2 ชนิด      -  เครือข่ายแลน ( Local Area Network : LAN)      -  เครือข่ายแวน ( Wide Area Network : WAN เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ซึ่งเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารที่อยู่ในท้องที่ บริเวณเดียวกันเข้าด้วยกัน   เช่น ภายในอาคาร   หรือภายในองค์การที่มีระยะทางไม่ไกลมากนัก   การสร้างเครือข่ายแลนนี้องค์การสามารถดำเนินการทำเองได้   โดยวางสายสัญญาณสื่อสารภายในอาคารหรือภายในพื้นที่ของตนเอง   7.2.2  เครือข่ายแวน          เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ในระยะไกล   เช่น   เชื่อมโยงระหว่างจังหวัด   ระหว่างประเทศ   การสร้างเครือข่ายระยะไกล จึงต้องอาศัยระบบบริการข่ายสายสาธารณะ   เช่น สายวงจรเช่าจากองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยหรือจากการสื่อสารแห่งประเทศไทย    ใช้วงจรสื่อสารผ่านดาวเทียม   ใช้วงจรสื่อสารเฉพาะกิจที่มีให้บริการแบบสาธารณะ    เครือข่ายแวนจึงเป็นเครือข่าย ที่ใช้กับองค์การที่มีสาขาห่างไกลและต้องการเชื่อมสาขาเหล่านั้นเข้าด้วยกัน 7.2.1  เครือข่ายแลน
  • 20. 7.3  เทคโนโลยีเครือข่ายแลน มีจุดมุ่งหมายที่จะให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องสื่อสาร ข้อมูลระหว่างกันได้ทั้งหมดหากนำเครื่องคอมพิวเตอร์สองเครื่องต่อสายสัญญาณเข้าหากันจะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งสอง นั้นส่งข้อมูลถึงกันได้ เครือข่ายแลนที่น่าสนใจ เช่น   อีเทอร์เน็ต ( Ethernet)  โทเก็นริง (Token Ring)  และ สวิตชิง ( Switching) 7.3.1  อีเทอร์เน็ต ( Ethernet)         อีเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่พัฒนามาจากโครงสร้างการเชื่อมต่อแบบสายสัญญาณร่วมที่เรียกว่า บัส ( Bus)   ใช้สายสัญญาณแบบแกนร่วม คือ สายโคแอกเชียล ( Coaxial Cable) เป็นตัวเชื่อม   คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องเชื่อมโยงเข้ากับสายสัญญาณเส้นเดียวกัน คือ เมื่อมีผู้ต้องการส่งข้อมูล   ก็ส่งข้อมูลได้เลย  
  • 21. การเชื่อมต่อ แบบดาว จุดเด่นของดาวตัวนี้ จะอยู่ที่ เมื่อมีการส่งข้อมูล   จะมีการตรวจสอบความผิดพลาดว่า อุปกรณ์ใดจะส่งข้อมูลมาบ้างและจะมีการสับสวิตซ์ให้ส่ง ได้หรือไม่   แต่เมื่อมีฮับเป็นตัวแบกภาระทั้งหมด ก็มีจุดอ่อนได้คือ ถ้าฮับเกิดเป็นอะไรขึ้นมาอุปกรณ์ต่อพ่วงอื่น ๆ   หรือคอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถเชื่อมต่อกันได้อีก 7.3.2  โทเก็นริง   โทเก็นริง เป็นเครือข่ายที่บริษัท ไอบีเอ็ม พัฒนาขึ้น   รูปแบบการเชื่อมโยงจะเป็น วงแหวน   โดยด้านหนึ่งเป็นตัวรับสัญญาณและอีกด้านหนึ่งเป็นตัวส่งสัญญาณ   การเชื่อมต่อแบบนี้ทำให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องสามารถส่งข้อมูลถึงกันได้   โดยผ่านเส้นทางวงแหวนนี้     การติดต่อสื่อสารแบบนี้จะมีการจัดลำดับให้ผลัดกันส่งเพื่อว่าจะได้ไม่สับสน และมีรูปแบบ ที่ชัดเจน
  • 22. 7.3.3  สวิตชิง            สวิตชิง เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนามาเพื่อให้สามารถรับส่งข้อมูลระหว่างสถานีทำได้เร็วยิ่งขึ้น     การคัดเลือกชุดข้อมูล ที่ส่งมาและส่งต่อไปยังสถานีปลายทาง   จะกระทำที่ชุมสายกลาง ที่เรียกว่า   สวิตชิง   รูปแบบของเครือข่ายแบบนี้จะมีลักษณะ เป็นแบบดาว   แต่แตกต่างกันที่ฮับเป็นจุดร่วมของสาย สัญญาณที่จะต่อกระจายไปยังทุกสาย   แต่สวิตชิงจะเลือกการสลับสัญญาณไปยังตำแหน่งที่ต้องการเท่านั้น 7.4  การใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์     เครือข่ายแลนหนึ่งเครือข่ายจะมีการทำงานกันเป็นกลุ่ม เรียกว่า กลุ่มงาน (Workgroup)  แต่เมื่อเชื่อมโยงหลาย ๆ   กลุ่มงานเข้าด้วยกันก็จะเป็นเครือข่ายขององค์กร   และถ้าเชื่อมโยงระหว่างองค์กรผ่านเครือข่ายแวน   ก็จะได้เครือข่าย ขนาดใหญ่   ตัวอย่างการใช้งานเครือข่าย 7.4.1  การใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน        งานขององค์กรบางอย่างมีความจำเป็นต้องใช้ข้อมูลชุดเดียวกัน   ถ้าแต่ละฝ่ายทำการหาหรือรวบรวมข้อมูลเอง   ข้อมูลอาจ จะมีความคลาดเคลื่อนไม่ตรงกันก็ได้    นอกจากความผิดพลาดที่เกิดขึ้นแล้วยังทำให้สิ้นเปลืองทรัพยากรบุคคลและวัสดุอุปกรณ์   สิ้นเปลืองเวลาอีกด้วย ได้ เช่น   เครื่องพิมพ์   เครื่องสแกน   กล้องดิจิตอล   ฯลฯ
  • 23. 7.4.2  การติดต่อสื่อสารระหว่างกันบนเครือข่าย      เมื่อมีการเชื่อมโยงอุปกรณ์เข้าด้วยกัน   ผู้ใช้ ทุกคนที่อยู่บนเครือข่าย จะสามารถ ติดต่อสื่อสารระหว่างกันสามารถส่ง ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิคส์ระหว่างกัน   ตลอดจนสามารถโอนย้ายข้อมูลระหว่างกันได้ 7.4.3  สำนักงานอัตโนมัติ      แนวคิดของสำนักงานสมัยใหม่   ก็คือ   ลดการใช้กระดาษ   หันมาใช้ระบบการทำงาน ด้วยคอมพิวเตอร์ที่สามารถ แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ทันทีทันใด   ระบบสำนักงานอัตโนมัติ จึงเป็นระบบการทำงานที่ทุกสถานีงานเปรียบเสมือน โต๊ะทำงาน   ทำให้เกิดความคล่องตัว   และรวดเร็ว 7.5  ตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เมื่อเทคโนโลยีเครือข่ายได้รับการพัฒนาโดยเฉพาะมีการประยุกต์ใช้งานบนเครือข่ายอย่างกว้างขวาง   ทำให้เครือข่าย คอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายเดียวกัน   เรียกว่า   อินเทอร์เน็ต    ขณะเดียวกันในองค์กรแต่ละองค์กร ก็มีการพัฒนาเครือข่ายของตนเองและประยุกต์ใช้กับงานเฉพาะในองค์กร เรียกว่าอินทราเน็ต   ดังนั้น   อินเทอร์เน็ตจึง แตกต่างจากอินทราเน็ตตรงที่ขอบเขตของการเชื่อมโยง   ส่วนมาตรฐานและวิธีการเชื่อมโยงยังคงเป็นมาตรฐานเดียวกัน
  • 24. 7.5.1  อินเทอร์เน็ต เชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นเครือข่าย โดยมาตรฐานการรับส่งข้อมูลมีชื่อว่า    ทีซีพี / ไอพี ( TCP/IP)  ต่อมามีการเชื่อมเครือข่ายออกสู่องค์กรเอกชน   และแพร่ขยายไปทั่วโลก         เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ถือเป็นเครือข่ายของเครือข่าย   หมายความว่าในองค์กรได้สร้างเครือข่ายภายในตนเองขึ้นมา   และนำมาเชื่อมต่อสู่เครือข่าย สากลอินเทอร์เน็ตนี้ 1.  การรับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิคส์      เป็นระบบการสื่อสารทางจดหมายผ่านคอมพิวเตอร์   ถ้าเราต้องการส่งข้อความถึงใครก็สามารถเขียนเป็นเอกสาร    แล้วจ่าหน้าซองที่อยู่ของผู้รับที่เรียกว่า แอดเดรส   ระบบจะนำส่งให้ทันทีอย่างรวดเร็ว   ลักษณะของแอดเดรสจะเป็นชื่อรหัสผู้ใช้ และชื่อเครื่องประกอบกัน   เช่น   sombat@nontri.ku.ac.th  การติดต่อบนอินเทอร์เน็ตนี้   จะหาตำแหน่งให้เองโดยอัตโนมัติ และนำส่งไปปลายทางได้อย่างถูกต้อง   การรับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิคส์ ( E mail)  กำลังเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย
  • 25. 2.  การโอนย้ายแฟ้มข้อมูลระหว่างกัน      เป็นระบบที่ทำให้ผู้ใช้สามารถรับส่งแฟ้มข้อมูลระหว่างกันหรือมีสถานีให้บริการ เก็บแฟ้มข้อมูลที่อยู่ในที่ต่าง ๆ   และให้บริการ   ผู้ใช้สามารถเข้าไปคัดเลือกนำแฟ้มข้อมูลมาใช้ประโยชน์ได้ 3.  การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในที่ห่างไกล      การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย   ทำให้เราสามารถ เรียกหาเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นสถานีบริการใน ที่ห่างไกลได้     ผู้ใช้สามารถนำข้อมูลไปประมวลผลยังเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในเครือข่าย   โดยไม่ต้องเดินทางไปเอง 4.  การเรียกค้นข้อมูลข่าวสาร      ปัจจุบันมีฐานข้อมูลที่เก็บไว้ให้ใช้งานจำนวนมาก   ฐานข้อมูลบางแห่งเก็บข้อมูลในรูปสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิคส์ที่ผู้ใช้สามารถ เรียกอ่าน   หรือนำมาพิมพ์   ลักษณะการเรียกค้นนี้จึงมีลักษณะเหมือนเป็นห้องสมุดขนาดใหญ่อยู่ภายในเครือข่าย ที่สามารถค้นหาข้อมูลใด ๆ ก็ได้   ฐานข้อมูล ในลักษณะนี้เรียกว่า เครือข่ายใยแมงมุมครอบคลุมทั่วโลก ( World Wide Web : WWW)  เป็นฐานข้อมูลที่เชื่อมโยงกันทั่วโลก 5.  การอ่านจากกลุ่มข่าว      ภายในอินเทอร์เน็ตมีกลุ่มข่าวเป็นกลุ่ม ๆ   แยกตามความสนใจ   แต่ละกลุ่มข่าว อนุญาตให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตส่งข้อความ ลงไปได้   และหากมีผู้ต้องการเขียนโต้ตอบก็สามารถเขียนตอบได้   กลุ่มข่าวนี้จึงแพร่หลายกระจายข่าวได้รวดเร็ว        เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นตัวกลาง    ในการติดต่อสนทนากันได้   ในยุคแรกใช้วิธีการสนทนาเป็นตัวหนังสือ   ต่อมา พัฒนาให้ใช้เสียงได้      ปัจจุบันถ้าระบบสื่อสารมีความเร็วพอก็สามารถสนทนาโดยที่เห็นหน้ากันและกันบนจอภาพได้
  • 26. 7.  การบริการสถานีวิทยุและโทรทัศน์บนเครือข่าย      ปัจจุบันมีผู้ตั้งสถานีวิทยุบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหลายร้อยสถานี   ผู้ใช้สามารถเลือกสถานที่ต้องการและได้ยินเสียงเหมือน การเปิดฟังวิทยุ   ขณะเดียวกันก็มีการส่งกระจายภาพวีดิโอบนเครือข่ายด้วย    7.5.2  อินทราเน็ต      เมื่ออินเทอร์เน็ตได้รับการพัฒนามาจนเป็นที่ยอมรับและแพร่หลาย   จึงมีผู้ต้องการสร้างเครือข่ายใช้งานเฉพาะในองค์กร    โดยนำวิธีการในอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้กับเครือข่ายของตนเอง เครือข่ายที่ใช้งานเฉพาะในองค์การนี้จึงเรียกว่า   เครือข่ายอินทราเน็ต      การประยุกต์ใช้บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตใช้หลักการที่มีสถานีให้บริการ และสถานีผู้ใช้บริการ   สถานีผู้ใช้บริการมีโปรแกรมเชื่อมต่อที่ทำให้ใช้งานระบบฐานข้อมูลได้ง่าย อินทราเน็ตจึงใช้วิธีการเดียวกันนี้     เพราะทำให้ผู้ใช้ไม่ต้องเสียเวลาในการเรียนรู้การพัฒนาขึ้น และพร้อมที่จะเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต