SlideShare a Scribd company logo
1 of 44
Download to read offline
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2557
ชื่อโครงงาน อาเซียน
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.นาย ธนัญชนัย ใจยา เลขที่ 9 ชั้น ม.6 ห้อง 6
2.นาย สุพิพัฒน์ หมอกมาเมิน เลขที่ 34 ชั้น ม.6 ห้อง 6
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา2557
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.นาย ธนัญชนัย ใจยา เลขที่ 9 ชั้น ม.6 ห้อง 6
2.นาย สุพิพัฒน์ หมอกมาเมิน เลขที่ 34 ชั้น ม.6 ห้อง 6
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
อาเซียน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) ASEAN
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.นาย ธนัญชนัย ใจยา เลขที่ 9 ชั้น ม.6 ห้อง 6
2.นาย สุพิพัฒน์ หมอกมาเมิน เลขที่ 34 ชั้น ม.6 ห้อง 6
ชื่อที่ปรึกษาร่วม ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน 3 วัน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
(อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
เป็นการรวมตัวกันของ 10 ประเทศ ในทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผู้นาอาเซียนได้ร่วมลงนามในปฎิญญาว่าด้วย ความ
ร่วมมืออาเซียนเห็นชอบ ให้จัดตั้ง ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) คือ เป็นองค์กรระหว่างประเทศ ระดับ
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีจุดเริ่มต้นโดยประเทศไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ได้ร่วมกันจัดตั้ง สมาคมอาสา
(Association of South East Asia) เมื่อเดือน ก.ค.2504 เพื่อการร่วมมือกันทาง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม แต่
ดาเนินการ ไปได้เพียง 2 ปี ก็ต้องหยุดชะงักลง เนื่องจากความผกผันทางการเมือง
ระหว่างประเทศอินโดนีเซียและประเทศมาเลเซีย จนเมื่อมีการฟื้นฟูสัมพันธ์ทางการฑูต
ระหว่างสองประเทศ
จึงได้มีการแสวงหาหนทางความร่วมมือกันอีกครั้ง และสาเร็จภายในปี พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) แต่ต่อมาได้ตกลงร่น
ระยะเวลาจัดตั้งให้เสร็จในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) ในปีนั้นเองจะมีการเปิดกว้างให้ประชาชนในแต่ละประเทศสามารถ
เข้าไปทางานในประเทศ อื่น ๆ ในประชาคมอาเซียนได้อย่างเสรี เสมือนดังเป็นประเทศเดียวกัน
ซึ่งจะมีผลกระทบต่อการประกอบอาชีพและการมีงานทาของคนไทย ควรทาความ
เข้าใจในเรื่องนี้จึงเป็นสิ่งสาคัญสาหรับทุกคน
วัตถุประสงค์(สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับอาเซียน
2. เพื่อเป็นสื่อการศึกษาให้กับผู้ที่สนใจ
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ศึกษาอาเซียน
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) คือ การรวมตัวของกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนให้เป็น
ชุมชนที่มีความแข็งแกร่ง สามารถสร้างโอกาสและรับมือส่งท้าท้าย ทั้งด้านการเมืองความมั่นคง เศรษฐกิจ และภัย
คุกคามรูปแบบใหม่ โดยสมาชิกในชุมชนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี สามารถประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้อย่าง
สะดวกมากยิ่งขึ้น และสมาชิก ในชุมชนมีความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. คิดหัวข้อโครงงาน
2. วางโครงเรื่องที่จะศึกษา
3. รวบรวมความรู้เรื่องอาเซียน
4. จัดทาโครงงาน
5. นาเสนอโครงงานในรูปสื่อประกอบการเรียนการสอน VDO
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
- ใช้โปรแกรม power point ในการนาเสนอโครงงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
- คอมพิวเตอร์
งบประมาณ
-
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่มีความสนใจเกี่ยวกับเรื่อง อาเซียน
สถานที่ดาเนินการ
- ที่พักอาศัยส่วนตัว
- ห้องคอมพิวเตอร์โรงเรียนยุพราช
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
- สังคมศึกษา
แหล่งอ้างอิง
http://www.lampangvc.ac.th/lvcasean/page_asean.htm
http://www.lampangvc.ac.th/lvcasean/page_career.htm
ความเป็นมาของอาเซียน
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of Southeast Asian Nations หรือ ASEAN) ก่อตั้ง
ขึ้นโดยปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) หรือ ปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Declaration) เมื่อ
วันที่ 8 สิงหาคม 2510 โดยมีประเทศ
สมาชิก 5 ประเทศ ประกอบด้วย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย
เพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง
ใต้ ต่อมามีประเทศสมาชิกเพิ่มเติม ได้แก่ บรูไนดารุส-ซาลาม เวียดนาม ลาว เมียนมาร์ และ
กัมพูชา ตามลาดับ จึงทาให้ปัจจุบันอาเซียน มีสมาชิก 10 ประเทศ
ประชาคมอาเซียน คือ
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) คือ การรวมตัวของกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนให้เป็นชุมชน
ที่มีความแข็งแกร่ง สามารถสร้างโอกาสและรับมือส่งท้าท้าย ทั้งด้านการเมืองความมั่นคง เศรษฐกิจ และภัย
คุกคามรูปแบบใหม่ โดยสมาชิกในชุมชนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี สามารถประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้อย่าง
สะดวกมากยิ่งขึ้น และสมาชิก ในชุมชนมีความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
จุดประสงค์หลักของอาเซียน
ปฏิญญากรุงเทพฯ ได้ระบุวัตถุประสงค์สาคัญ 7 ประการของการจัดตั้งอาเซียน ได้แก่
1. ส่งเสริมความร่วมมือและความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ และการบริหาร
2. ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงส่วนภูมิภาค
3. เสริมสร้างความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจพัฒนาการทางวัฒนธรรมในภูมิภาค
4. ส่งเสริมให้ประชาชนในอาเซียนมีความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตที่ดี
5. ให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในรูปของการฝึกอบรมและการวิจัย และส่งเสริมการศึกษา ด้าน
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
6. เพิ่มประสิทธิภาพของการเกษตรและอุตสาหกรรม การขยายการค้า ตลอดจนการปรับปรุงการขนส่ง
และการคมนาคม
7. เสริมสร้างความร่วมมืออาเซียนกับประเทศภายนอก องค์การ ความร่วมมือแห่งภูมิภาคอื่นๆ และ
องค์การระหว่างประเทศ
ภาษาอาเซียน
ภาษาทางการที่ใช้ในการติดต่อประสานงานระหว่างประเทศสมาชิก คือ ภาษาอังกฤษ
คาขวัญของอาเซียน
"หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม”
(One Vision, One Identity, One Community)
อัตลักษณ์อาเซียน
อาเซียนจะต้องส่งเสริมอัตลักษณ์ร่วมกันของตนและความรู้สึกเป็นเจ้าของในหมู่ประชาชนของ
ตน เพื่อให้บรรลุชะตา เป้าหมาย และคุณค่าร่วมกันของอาเซียน
สัญลักษณ์อาเซียน
คือ ดวงตราอาเซียนเป็น
รูปมัดรวงข้าว สีเหลืองบนพื้นวงกลม
สีแดงล้อมรอบด้วยวงกลมสีขาว และสีน้าเงิน
รวงข้าวสีเหลือง 10 ต้น หมายถึง ความใฝ่ฝันของบรรดาสมาชิกในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ทั้ง 10
ประเทศ ให้มีอาเซียนที่ผูกพันกันอย่างมีมิตรภาพและเป็นหนึ่งเดียววงกลม เป็นสัญลักษณ์แสดงถึง
เอกภาพของอาเซียนตัวอักษรคาว่า asean สีน้าเงิน อยู่ใต้ภาพรวงข้าว แสดงถึงความมุ่งมั่นที่จะ
ทางานร่วมกันเพื่อความมั่นคง สันติภพ เอกภาพ และความก้าวหน้าของประเทศสมาชิกอาเซียน
สีเหลือง : หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง
สีแดง : หมายถึง ความกล้าหาญและการมีพลวัติ
สีขาว : หมายถึง ความบริสุทธิ์
สีน้าเงิน : หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง
ธงอาเซียน
ธงอาเซียนเป็นธงพื้นสีน้าเงิน มีดวงตราอาเซียนอยู่ตรงกลาง แสดงถึงเสถียรภาพ สันติภาพ ความสามัคคี และ
พลวัตของอาเซียน สีของธงประกอบด้วย สีน้าเงิน สีแดง สีขาว และสีเหลือง ซึ่งเป็นสีหลักในธงชาติของบรรดา
ประเทศสมาชิกของอาเซียนทั้งหมด
วันอาเซียน
ให้วันที่ 8 สิงหาคม ของทุกปี เป็นวันอาเซียน
เพลงประจาอาเซียน (ASEAN Anthem)
คือ เพลง ASEAN WAY
เพลงประจาอาเซียน
เพลง ASEAN WAY
กฎบัตรอาเซียน
กฎบัตรอาเซียน กาหนดให้อาเซียนและประเทศสมาชิกปฏิบัติตามหลักการดังต่อไปนี้
1. เคารพเอกราช อธิปไตย ความเสมอภาค บูรณภาพแห่งดินแดน และอัตลักษณ์แห่งชาติของรัฐสมาชิก
อาเซียนทั้งปวง
2. ผูกพันและรับผิดชอบร่วมกันในการเพิ่มพูนสันติภาพ ความมั่นคง และความมั่งคั่งของภูมิภาค
3. ไม่รุกรานหรือข่มขู่ว่าจะใช้กาลังหรือการกระทาอื่นใดในลักษณะที่ขัดต่อกฎหมายระหว่างประเทศ
4. ระงับข้อพิพาทโดยสันติ
5. ไม่แทรกแซงกิจการภายในของรัฐสมาชิกอาเซียน
6. เคารพสิทธิของรัฐสมาชิกทุกรัฐในการธารงประชาชาติของตนโดยปราศจากการแทรกแซง การบ่อน
ทาลาย และการบังคับจากภายนอก
7. ปรึกษาหารือที่เพิ่มพูนขึ้นในเรื่องที่มีผลกระทบอย่างร้ายแรงต่อผลประโยชน์ร่วมกันของอาเซียน
8. ยึดมั่นต่อหลักนิติธรรม ธรรมาภิบาล หลักการประชาธิปไตยและรัฐบาลตามรัฐธรรมนูญ
9. เคารพเสรีภาพพื้นฐาน การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน และการส่งเสริมความ
ยุติธรรมทางสังคม
10. ยึดถือกฎบัตรสหประชาชาติและกฎหมายระหว่างประเทศ รวมถึงกฎหมายมนุษยธรรม
ระหว่างประเทศ ที่ รัฐสมาชิกอาเซียนยอมรับ
11. ละเว้นจากการมีส่วนร่วมในการคุกคามอธิปไตย บูรณภาพแห่งดินแดนหรือเสถียรภาพ
ทางการเมืองและเศรษฐกิจของรัฐสมาชิกอาเซียน
12. เคารพในวัฒนธรรม ภาษา และศาสนาที่แตกต่างของประชาชนอาเซียน
13. มีส่วนร่วมกับอาเซียนในการสร้างความสัมพันธ์กับภายนอกทั้งในด้าน
การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม โดยไม่ปิดกั้นและไม่เลือกปฏิบัติ
14. ยึดมั่นในกฎการค้าพหุภาคีและระบอบของอาเซียน
8 อาชีพที่สามารถ ทางานได้อย่างเสรีใน 10 ประเทศอาเซียน
ผลจากการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 9 ณ เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ได้กาหนดให้
จัดทาข้อตกลงยอมรับร่วมกัน (Mutual Recognition Arrangements :
MRAs) ด้าน คุณสมบัติในสาขาวิชาชีพหลัก เพื่ออานวยความสะดวกในการเคลื่อนย้ายนัก
วิชาชีพ หรือแรงงานเชี่ยวชาญ หรือผู้มีความสามารถพิเศษของอาเซียนได้อย่างเสรี ด้าน
คุณสมบัติในสาขาอาชีพหลัก เพื่ออานวยความสะดวกในการเคลื่อนย้าย นักวิชาชีพ แรงงาน
เชี่ยวชาญ หรือผู้มีความสามารถพิเศษได้อย่างเสรี ข้อตกลงเรื่องการเคลื่อนย้ายแรงงาน ฝีมือไป
ทางานในประเทศกลุ่มอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ได้อย่างเสรี ได้กาหนดครอบคลุม 8 อาชีพ และก็
มีข่าวว่าอาจจะมีการเพิ่มจานวนอาชีพขึ้นมาอีกในลาดับถัดไป สาหรับ 8 อาชีพที่มีข้อตกลงกัน
แล้วให้สามารถเคลื่อนย้ายไปทางานได้อย่างเสรี ได้แก่
และการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรีในกลุ่ม 8 อาชีพนั้น มีผลดีต่อไทยไม่น้อย เพราะในภาพรวม สถาบันการศึกษา
ระดับอุดมศึกษาในไทยมีศักยภาพในด้านการผลิตบุคลากรในสายวิชาชีพทั้ง 8 ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูง ซึ่งทา ให้ผู้
จบ การศึกษาในสายวิชาชีพทั้ง 8 ตั้งแต่ระดับปริญญาตรีจนถึงปริญญาเอกมีตลาดงานที่เปิดกว้างมากขึ้น
ข้อตกลงเคลื่อนย้ายแรงงานเสรีในกลุ่มประเทศอาเซียนทั้ง 8 อาชีพในปี 2015 (2558) แม้จะเป็นโอกาสทอง
ของคนไทยในสายวิชาชีพดังกล่าว แต่ก็มีจุดที่ต้องระวังอยู่ไม่น้อยเช่นกัน ทั้งในด้านการที่คนของเราไปทางานบ้าน
เขา และการที่คนบ้านเขามาทางานในบ้านเรา เพราะถ้าการระวังไม่รัดกุม โอกาสทองนั้นอาจพลิกเป็นวิกฤต และมี
ผลกระทบรุนแรงต่อบางสายวิชาชีพได้
10 ประเทศในอาเซียน
บรูไน
อินโดนีเซีย
มาเลเชีย
เมียนมาร์ ไทย
เวียดนาม
ลาว
สิงคโปร์
ฟิลิปปินส์
กัมพูชา
• เมืองหลวง : บันดาร์ เสรี เบกาวัน
ภาษา : ภาษามาเลย์ เป็นภาษาราชการ รองลงมาเป็นอังกฤษ
และจีน
ประชากร : ประกอบด้วย มาเลย์ 66%, จีน11%,อื่นๆ 23%
นับถือศาสนา : อิสลาม 67%, พุทธ 13%, คริสต์ 10%
ระบบการปกครอง : ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
• จุดแข็ง
– การเมืองค่อนข้างมั่นคง
– รายได้เฉลี่ยต่อคนเป็นอันดับ 2 ในอาเซียน อันดับ 26
ของโลก
– ผู้ส่งออกและมีปริมาณสารองน้ามันอันดับ 4 ในอาเซียน
•
บรูไน
• ข้อควรรู้
– ประชาชนของประเทศในกลุ่มอาเซียนสามารถทาวีซ่าที่ ตม.ที่ประเทศบรูไนฯ
สามารถอยู่ได้นาน 2 สัปดาห์
– ควรหลีกเลี่ยงเสื้อผ้าสีเหลือง เพราะถือเป็นสีของพระมหากษัตริย์
– การทักทายจะจับมือกันเบาๆ และสตรีจะไม่ยื่นมือให้บุรุษจับ
– การใช้นิ้วชี้ไปที่คนหรือสิ่งของถือว่าไม่สุภาพ แต่จะใช้หัวแม่มือชี้แทน
– จะไม่ใช้มือซ้ายในการส่งของให้ผู้อื่น
– สตรีเวลานั่งจะไม่ให้เท้าชี้ไปทางผู้ชายและไม่ส่งเสียงหรือหัวเราะดัง
– วันหยุดคือวันศุกร์และวันอาทิตย์, วันศุกร์ 12.00-14.00 น.ทุกร้านจะปิด
– จัดงานเย็นต้องจัดหลัง 2 ทุ่ม
• ประเทศกัมพูชา (Cambodia)
เมืองหลวง : กรุงพนมเปญ
ภาษา : ภาษาเขมร เป็นภาษาราชการ รองลงมาเป็นอังกฤษ, ฝรั่งเศส,
เวียดนามและจีน
ประชากร : ประกอบด้วย ชาวเขมร 94%, จีน 4%,อื่นๆ 2%
นับถือศาสนา : พุทธ(เถรวาท) เป็นหลัก
ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา โดยมีพระมหากษัตย์
เป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ
• จุดแข็ง
– ค่าจ้างแรงงานต่าที่สุดในอาเซียน
– มีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและสมบูรณ์
กัมพูชา
• ข้อควรรู้
– ผู้ที่เดินทางเข้ากัมพูชา และประสงค์จะอยู่ทาธุรกิจเป็นระยะเวลาเกิน 3 เดือน ควรฉีดยา
ป้องกันโรคไทฟอยด์ และไวรัสเอและบี
– เพื่อนผู้ชายจับมือกัน ถือเป็นเรื่องปกติ
– ผู้หญิงห้ามแต่งตัวเซ็กซี่, ผู้ชายไว้ผมยาว
จะมีภาพลักษณ์ นักเลง
– ห้ามจับศีรษะ คนกัมพูชาถือว่า
เป็นส่วนสาคัญที่สุดของร่างกาย
– สบตามากเกินไป ถือว่าไม่ให้เกียรติ
อินโดนีเซีย • เมืองหลวง : จาการ์ตา
ภาษา : ภาษาอินโดนีเซีย เป็นภาษาราชการ
ประชากร : ประกอบด้วย ชนพื้นเมืองหลายกลุ่ม มีภาษา
มากกว่า 583 ภาษา ร้อยละ 61 อาศัยอยู่บนเกาะชวา
นับถือศาสนา : อิสลาม 87%, คริสต์ 10%
ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยที่มีประธานาธิปดีเป็น
ประมุข และหัวหน้าฝ่ ายบริหาร
• จุดแข็ง
– มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
– มีจานวนประชากรมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
• ข้อควรรู้
– ไม่ควรใช้มือซ้ายในการรับ-ส่งของ คนมุสลิมอินโดนีเซียถือว่ามือ
ซ้ายไม่สุภาพ
– นิยมใช้มือกินข้าว
– ไม่ควรชี้นิ้วด้วยนิ้วชี้ แต่ใช้นิ้วโป้งแทน
– ไม่จับศีรษะคนอินโดนีเซียรวมทั้งการลูบศีรษะเด็ก
– การครอบครองยาเสพติด อาวุธ หนังสือรูปภาพอนาจารมี
บทลงโทษหนัก อาทิ การนาเข้าและครอบครองยาเสพติดมีโทษถึง
ประหารชีวิต
– บทลงโทษรุนแรงเกี่ยวกับการค้าและส่งออกพืชและสัตว์กว่า 200
ชนิด จึงควรตรวจสอบก่อนซื้อหรือนาพืชและสัตว์ออกนอกประเทศ
– มอเตอร์ไซค์รับจ้างมีมิเตอร์
– งานศพใส่ชุดสีอะไรก็ได้
ลาว
• เมืองหลวง : นครหลวงเวียงจันทร์
ภาษา : ภาษาลาว เป็นภาษาราชการ
ประชากร : ประกอบด้วย ชาวลาวลุ่ม 68%, ลาวเทิง
22%, ลาวสูง 9% รวมประมาณ 68 ชนเผ่า
นับถือศาสนา : 75% นับถือพุทธ, นับถือผี 16%
ระบบการปกครอง : สังคมนิยมคอมมิวนิสต์
(ทางการลาวใช้คาว่า ระบบประชาธิปไตยประชาชน)
• จุดแข็ง
– ค่าจ้างแรงงานต่าอันดับ 2 ในอาเซียน
– การเมืองมีเสถียรภาพ
• ข้อควรรู้
– ลาว มีตัวอักษรคล้ายของไทย ทาให้คนไทยอ่านหนังสือ
ลาวได้ไม่ยากนัก ส่วนคนลาวอ่านหนังสือไทยได้คล่องมาก
– ลาวขับรถทางขวา
– ติดต่อราชการต้องนุ่งซิ่น
– เดินผ่านผู้ใหญ่ ต้องก้มหัว
– ถ้าเพื่อนคนลาวเชิญไปพักที่บ้านห้ามให้เงิน
– อย่าซื้อน้าหอมให้กัน
– ที่ถูกต้องคนลาวที่ให้พัก ต้องแจ้งผู้ใหญ่บ้าน
– เข้าบ้านต้องถอดรองเท้า และถ้าเขาเสิร์ฟน้าต้องดื่ม
มาเลเซีย
• เมืองหลวง : กรุงกัวลาลัมเปอร์
ภาษา : ภาษามาเลย์ เป็นภาษาราชการ รองลงมาเป็นอังกฤษ
และจีน
ประชากร : ประกอบด้วย มาเลย์ 40%, จีน33%, อินเดีย
10%, ชนพื้นเมืองเกาะบอร์เนียว 10%
นับถือศาสนา : อิสลาม 60%, พุทธ 19%, คริสต์ 11%
ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา
• จุดแข็ง
– มีปริมาณสารองน้ามันมากเป็นอันดับ 3 ในเอเชียแปซิฟิค
– มีปริาณก๊าซธรรมชาติมากเป็นอันดับ 2 ในเอเชียแปซิฟิค
• ข้อควรรู้
– ผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามจะได้รับสิทธิพิเศษ คือ เงิน
อุดหนุนทางด้านการศึกษา สาธารณสุข การคลอดบุตรงาน
แต่งงานและงานศพ
– มาเลเซียมีปัญหาประชากรหลากหลายเชื้อชาติ ชาติพันธุ์
ในมาเลเซียประกอบด้วยชาวมาเลย์ กว่าร้อยละ 40 ที่เหลือ
อีกกว่าร้อยละ 33 เป็นชาวจีนร้อยละ10 เป็นชาวอินเดีย และ
อีกร้อยละ 10 เป็นชนพื้นเมืองบนเกาะบอร์เนียว
– ใช้มือขวาเพียงข้างเดียวในการรับประทานอาหาร และ
รับส่งของ
– เครื่องดื่มแอลกฮอล์เป็นเรื่องต้องห้าม
เมียนมาร์
• เมืองหลวง : เนปีดอ (Naypyidaw)
ภาษา : ภาษาพม่า เป็นภาษาราชการ
ประชากร : ประกอบด้วยเผ่าพันธุ์ 135 มี 8 เชื้อชาติหลักๆ 8
กลุ่ม คือ พม่า 68%, ไทยใหญ่ 8%, กระเหรี่ยง 7%, ยะไข่
4% จีน 3% มอญ 2% อินเดีย 2%
นับถือศาสนา : นับถือพุทธ 90%, คริสต์ 5% อิสลาม 3.8%
ระบบการปกครอง : เผด็จการทางทหาร ปกครองโดยรัฐบาล
ทหารภายใต้สภาสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ
• จุดแข็ง
– มีพรมแดนเชื่อมต่อกับจีน และอินเดีย
– ค่าจ้างแรงงานต่าเป็นอันดับ 3 ในอาเซียน
– มีปริมาณก๊าซธรรมชาติเป็นจานวนมาก
• ข้อควรรู้
– ไม่ควรพูดเรื่องการเมือง กับคนไม่คุ้นเคย
– เข้าวัดต้องถอดรองเท้า ถุงเท้า
– ห้ามเหยียบเงาพระสงฆ์
– ให้นามบัตรต้องยื่นให้สองมือ
– ไม่ควรใส่กระโปรงสั้น กางเกงขาสั้น ในสถานที่
สาธารณะและศาสนสถาน
– ผู้หญิงชอบทาทะนาคา (ผู้ชายก็ทาด้วย) ผู้ชายชอบ
เคี้ยวหมาก
ฟิลิปปินส์
• เมืองหลวง : กรุงมะนิลา
ภาษา : ภาษาฟิลิปิโน และภาษาอังกฤษ เป็นภาษา
ราชการ รองลงมาเป็น สเปน, จีนฮกเกี้ยน, จีนแต้จิ๋ว
ฟิลิปปินส์ มีภาษาประจาชาติคือ ภาษาตากาล็อก
ประชากร : ประกอบด้วย มาเลย์ 40%, จีน33%,
อินเดีย 10%, ชนพื้นเมืองเกาะบอร์เนียว 10%
นับถือศาสนา : คริสต์โรมันคาทอลิก 83% คริสต์
นิกายโปรเตสแตนต์, อิสลาม 5%
ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบประธานาธิป
ดีเป็นประมุขและหัวหน้าฝ่ ายบริหาร
• จุดแข็ง
– แรงงานทั่วไป ก็มีความรู้สื่อสารภาษาอังกฤษได้
• ข้อควรรู้
– การเข้าไปประกอบธุรกิจในฟิลิปปินส์ในลักษณะ
ต่างๆ เช่น การลงทุนร่วมกับฝ่ายฟิลิปปินส์จาเป็นต้องมี
การศึกษาข้อมูลให้ละเอียด โดยเฉพาะในด้านกฎหมาย
การจดทะเบียนภาษี และปัญหาทางด้านแรงงาน เป็นต้น
– เท้าสะเอว หมายถึง ท้าทาย, เลิกคิ้ว หมายถึง ทักทาย
– ใช้ปากชี้ของ
– กินข้าวบ้านเพื่อนสามารถห่อกลับได้แต่ควรมีของ
ฝากให้เขาด้วย
– ตกแต่งบ้าน 2 เดือน ต้อนรับคริสต์มาส
สิงคโปร์
• เมืองหลวง : สิงคโปร์
ภาษา : ภาษามาเลย์ เป็นภาษาราชการ รองลงมาคือจีนกลาง ส่งเสริม
ให้พูดได้ 2 ภาษาคือ จีนกลาง และให้ใช้อังกฤษ เพื่อติดต่องานและ
ชีวิตประจาวัน
ประชากร : ประกอบด้วยชาวจีน 76.5%, มาเลย์ 13.8%, อินเดีย 8.1%
นับถือศาสนา : พุทธ 42.5%, อิสลาม 14.9%, คริสต์ 14.5%, ฮินดู
4%, ไม่นับถือศาสนา 25%
ระบบการปกครอง : สาธารณรัฐ (ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีสภา
เดียว) โดยมีประธานาธิปดีเป็นประมุข และนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้า
ฝ่ ายบริหาร
• จุดแข็ง
– รายได้เฉลี่ยต่อคน เป็นอันดับ 1 ในอาเซียน และอันดับ 15 ของโลก
– แรงงานมีทักษะสูง
• ข้อควรรู้
– หน่วยราชการเปิดทาการวันจันทร์ – ศุกร์ ระหว่างเวลา
08.30 น.-13.00 น. และ 14.00 น. – 16.30 น. และวันเสาร์
เปิดทาการระหว่างเวลา 08.00 น. – 13.00 น.
– การหลบหนีเข้าสิงคโปร์และประกอบอาชีพเร่ขายบริการ
ผิดกฎหมาย จะถูกลงโทษอย่างรุนแรง
– การลักลอบนายาเสพติด อาวุธปืนและสิ่งผิดกฎหมาย
อื่นๆ จะได้รับโทษอย่างรุนแรงถึงขั้นประหารชีวิต
– ขึ้นบันไดเลื่อนให้ชิดซ้าย
– ห้ามทิ้งขยะเรี่ยราด, ห้ามเก็บผลไม้ในที่สาธารณะ
– ผู้สูงอายุทางาน ถือเป็นเรื่องปกติ
เวียดนาม
• เมืองหลวง : กรุงฮานอย
ภาษา : ภาษาเวียดนาม เป็นภาษาราชการ
ประชากร : ประกอบด้วยชาวเวียด 80%, เขมร 10%
นับถือศาสนา : พุทธนิกายมหายาน 70%, คริสต์ 15%
ระบบการปกครอง : ระบบสังคมนิยม โดยพรรค
คอมมิวนิสต์เป็นพรรคการเมืองเดียว
• จุดแข็ง
– มีปริมาณสารองน้ามันดิบมากเป็นอันดับ 2 ในเอเชียแป
ซิฟิค
• ข้อควรรู้
– หน่วยงานราชการ สานักงาน และองค์กรให้บริการสาธารณสุข
เปิดทาการระหว่างเวลา 08.00 น. – 16.30 น. ตั้งแต่วันจันทร์ –
ศุกร์
– เวียดนามไม่อนุญาตให้ถ่ายภาพอาคารที่ทาการต่างๆ ของรัฐ
– คดียาเสพติดการฉ้อโกงหน่วยงานของรัฐมีโทษประหารชีวิต
– ตีกลองแทนออดเข้าเรียน
– ชุดนักเรียนหญิงเป็นชุดอ่าวหญ่าย
– คนภาคเหนือไม่ทานน้าแข็ง
– ไม่ถ่ายรูป 3 คนอย่างเด็ดขาด เพราะถือว่าจะทาให้เบื่อกัน หรือ
แแยกกันหรือใครคนใดเสียชีวิต
– ต้องเชิญผู้ใหญ่ก่อนทานข้าว
ไทย
• เมืองหลวง : กรุงเทพมหานคร
ภาษา : ภาษาไทย เป็นภาษาราชการ
ประชากร : ประกอบด้วยชาวไทยเป็นส่วนใหญ่
นับถือศาสนา : พุทธนิกายเถรวาท 95%, อิสลาม 4%
ระบบการปกครอง : ระบบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
• จุดแข็ง
– เป็นศูนย์กลางเชื่อมโยงคมนาคมด้านต่างๆ ใน
ภูมิภาคอาเซียน
– มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมที่มี
ชื่อเสียง
• ข้อควรรู้
– ไปศาสนสถานควรแต่งกายเรียบร้อย, ก่อนเข้าอุโบสถ
ต้องถอดรองเท้า
– ห้ามพระสงฆ์สัมผัสสตรี
– สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นที่เคารพสัการะ การละเมิด
ใดๆ ถือเป็นความผิดตามรัฐธรรมนูญ
– ทักทายกันด้วยการไหว้
– ถือว่าเท้าเป็นของต่า ไม่ควรพาดบนโต๊ะ หรือเก้าอี้หรือ
หันทิศทางไปที่ใคร
– ธงชาติถือเป็นของสูง ไม่ควรนามากระทาการใดๆที่เป็น
การเหยียดหยาม
– การแสดงออกทางเพศในที่สาธารณะ ยังไม่ได้รับการ
ยอมรับในวัฒนธรรมไทย

More Related Content

What's hot

การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนการเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนAkarimA SoommarT
 
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาอาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาArt Nan
 
แผนอาเซียน ป.3
แผนอาเซียน  ป.3แผนอาเซียน  ป.3
แผนอาเซียน ป.3sompriaw aums
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนsompriaw aums
 
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3sompriaw aums
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.5
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.5หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.5
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.5sompriaw aums
 
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.1หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.1sompriaw aums
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.6
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.6หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.6
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.6sompriaw aums
 
โครงงานคอมพิวเตอร์สื่อการสอน เรื่อง ดอกไม้ประจำชาติในอาเซียน
โครงงานคอมพิวเตอร์สื่อการสอน เรื่อง ดอกไม้ประจำชาติในอาเซียน โครงงานคอมพิวเตอร์สื่อการสอน เรื่อง ดอกไม้ประจำชาติในอาเซียน
โครงงานคอมพิวเตอร์สื่อการสอน เรื่อง ดอกไม้ประจำชาติในอาเซียน Ge Ar
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.2หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.2sompriaw aums
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.3
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.3หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.3
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.3sompriaw aums
 
แผนอาเซียน ป.1
แผนอาเซียน ป.1แผนอาเซียน ป.1
แผนอาเซียน ป.1sompriaw aums
 

What's hot (19)

การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนการเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
 
Asean Lesson Plan
Asean Lesson PlanAsean Lesson Plan
Asean Lesson Plan
 
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาอาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
 
แผนอาเซียน ป.3
แผนอาเซียน  ป.3แผนอาเซียน  ป.3
แผนอาเซียน ป.3
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
 
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3
 
Asean complete
Asean completeAsean complete
Asean complete
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.5
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.5หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.5
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.5
 
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.1หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.1
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.6
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.6หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.6
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.6
 
โครงงานคอมพิวเตอร์สื่อการสอน เรื่อง ดอกไม้ประจำชาติในอาเซียน
โครงงานคอมพิวเตอร์สื่อการสอน เรื่อง ดอกไม้ประจำชาติในอาเซียน โครงงานคอมพิวเตอร์สื่อการสอน เรื่อง ดอกไม้ประจำชาติในอาเซียน
โครงงานคอมพิวเตอร์สื่อการสอน เรื่อง ดอกไม้ประจำชาติในอาเซียน
 
บูรณาการอาเชียน ม.1
บูรณาการอาเชียน ม.1บูรณาการอาเชียน ม.1
บูรณาการอาเชียน ม.1
 
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จอาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.2หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.2
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.3
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.3หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.3
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.3
 
แผนอาเซียน ป.1
แผนอาเซียน ป.1แผนอาเซียน ป.1
แผนอาเซียน ป.1
 
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาอาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
 

Similar to งานคอม

2557 project 18,19
2557 project  18,192557 project  18,19
2557 project 18,19Phichittra18
 
2557 project 18,19
2557 project  18,192557 project  18,19
2557 project 18,19Phichittra18
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์mintra_duangsamorn
 
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนโครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนJar 'zzJuratip
 
ASEAN WORLD
ASEAN WORLDASEAN WORLD
ASEAN WORLDploysaro
 
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...Dp' Warissara
 
โครงงานอาเซียน
โครงงานอาเซียนโครงงานอาเซียน
โครงงานอาเซียนmsntomon2
 
แบบโครงร่างงานคอม
แบบโครงร่างงานคอมแบบโครงร่างงานคอม
แบบโครงร่างงานคอมNing Sirikanya
 
แบบโครงร่างงานคอม
แบบโครงร่างงานคอมแบบโครงร่างงานคอม
แบบโครงร่างงานคอมNing Sirikanya
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sirikanya Pota
 
แบบโครงร่างงานคอม
แบบโครงร่างงานคอมแบบโครงร่างงานคอม
แบบโครงร่างงานคอมNing Sirikanya
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1suparada
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1suparada
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1suparada
 
2560 project .doc กี้
2560 project .doc กี้2560 project .doc กี้
2560 project .doc กี้Nattarika Pijan
 
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3sompriaw aums
 

Similar to งานคอม (20)

2557 project 18,19
2557 project  18,192557 project  18,19
2557 project 18,19
 
2557 project 18,19
2557 project  18,192557 project  18,19
2557 project 18,19
 
2557 project 18,19
2557 project  18,192557 project  18,19
2557 project 18,19
 
2557 project 18,19
2557 project  18,192557 project  18,19
2557 project 18,19
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนโครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
 
ASEAN WORLD
ASEAN WORLDASEAN WORLD
ASEAN WORLD
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
 
โครงงานอาเซียน
โครงงานอาเซียนโครงงานอาเซียน
โครงงานอาเซียน
 
Project m607
Project m607Project m607
Project m607
 
แบบโครงร่างงานคอม
แบบโครงร่างงานคอมแบบโครงร่างงานคอม
แบบโครงร่างงานคอม
 
แบบโครงร่างงานคอม
แบบโครงร่างงานคอมแบบโครงร่างงานคอม
แบบโครงร่างงานคอม
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบโครงร่างงานคอม
แบบโครงร่างงานคอมแบบโครงร่างงานคอม
แบบโครงร่างงานคอม
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
2560 project .doc กี้
2560 project .doc กี้2560 project .doc กี้
2560 project .doc กี้
 
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
 

More from Supipat Mokmamern

งานนำเสนอคอม
งานนำเสนอคอมงานนำเสนอคอม
งานนำเสนอคอมSupipat Mokmamern
 
Z4 nwuv wyilubo8uqg0cnsmbl0xko9lwevbytudic29wvbdbwjypubrfkrtevmdm3
Z4 nwuv wyilubo8uqg0cnsmbl0xko9lwevbytudic29wvbdbwjypubrfkrtevmdm3Z4 nwuv wyilubo8uqg0cnsmbl0xko9lwevbytudic29wvbdbwjypubrfkrtevmdm3
Z4 nwuv wyilubo8uqg0cnsmbl0xko9lwevbytudic29wvbdbwjypubrfkrtevmdm3Supipat Mokmamern
 
R o4waynzmhjnolfplx fpvfn1eltpmbp4ak8qg2zban4xu7nyrou7ltqfylpwb7wx
R o4waynzmhjnolfplx fpvfn1eltpmbp4ak8qg2zban4xu7nyrou7ltqfylpwb7wxR o4waynzmhjnolfplx fpvfn1eltpmbp4ak8qg2zban4xu7nyrou7ltqfylpwb7wx
R o4waynzmhjnolfplx fpvfn1eltpmbp4ak8qg2zban4xu7nyrou7ltqfylpwb7wxSupipat Mokmamern
 
Bx i agzuln0ggbawa1iusvennm6cl2yz4sxnfyyxl1kg2mcfii36tmvidgsnbknqu
Bx i agzuln0ggbawa1iusvennm6cl2yz4sxnfyyxl1kg2mcfii36tmvidgsnbknquBx i agzuln0ggbawa1iusvennm6cl2yz4sxnfyyxl1kg2mcfii36tmvidgsnbknqu
Bx i agzuln0ggbawa1iusvennm6cl2yz4sxnfyyxl1kg2mcfii36tmvidgsnbknquSupipat Mokmamern
 
Brv19 r nmxazdgwdmln31m8toctxtciffqsgtr8phxs2ucszdrr6tiuzff6mva30d
Brv19 r nmxazdgwdmln31m8toctxtciffqsgtr8phxs2ucszdrr6tiuzff6mva30dBrv19 r nmxazdgwdmln31m8toctxtciffqsgtr8phxs2ucszdrr6tiuzff6mva30d
Brv19 r nmxazdgwdmln31m8toctxtciffqsgtr8phxs2ucszdrr6tiuzff6mva30dSupipat Mokmamern
 
C xr nryvikiplsyrky0cac6azaxgdw3eii57rdhaelxoa3jbck8mxedm73uydagvs
C xr nryvikiplsyrky0cac6azaxgdw3eii57rdhaelxoa3jbck8mxedm73uydagvsC xr nryvikiplsyrky0cac6azaxgdw3eii57rdhaelxoa3jbck8mxedm73uydagvs
C xr nryvikiplsyrky0cac6azaxgdw3eii57rdhaelxoa3jbck8mxedm73uydagvsSupipat Mokmamern
 
C xr nryvikiplsyrky0cac6azaxgdw3eii57rdhaelxoa3jbck8mxedm73uydagvs
C xr nryvikiplsyrky0cac6azaxgdw3eii57rdhaelxoa3jbck8mxedm73uydagvsC xr nryvikiplsyrky0cac6azaxgdw3eii57rdhaelxoa3jbck8mxedm73uydagvs
C xr nryvikiplsyrky0cac6azaxgdw3eii57rdhaelxoa3jbck8mxedm73uydagvsSupipat Mokmamern
 
E3kgtw z vnrt28rd53gpdo5z4vatpcwobljxdxfaf4qwebmpe9n8poqct9f0gumga
E3kgtw z vnrt28rd53gpdo5z4vatpcwobljxdxfaf4qwebmpe9n8poqct9f0gumgaE3kgtw z vnrt28rd53gpdo5z4vatpcwobljxdxfaf4qwebmpe9n8poqct9f0gumga
E3kgtw z vnrt28rd53gpdo5z4vatpcwobljxdxfaf4qwebmpe9n8poqct9f0gumgaSupipat Mokmamern
 
Py keqc0ytz2ufc6gdsi iqnhhniumihjardqfmjqb31fjfpvba3es5xenjwrautvn
Py keqc0ytz2ufc6gdsi iqnhhniumihjardqfmjqb31fjfpvba3es5xenjwrautvnPy keqc0ytz2ufc6gdsi iqnhhniumihjardqfmjqb31fjfpvba3es5xenjwrautvn
Py keqc0ytz2ufc6gdsi iqnhhniumihjardqfmjqb31fjfpvba3es5xenjwrautvnSupipat Mokmamern
 
F yqow rvaataghwbnzpohxvkvowzpfk8ulcebtyjyfpjtjx5xmzs0xkontskz90df
F yqow rvaataghwbnzpohxvkvowzpfk8ulcebtyjyfpjtjx5xmzs0xkontskz90dfF yqow rvaataghwbnzpohxvkvowzpfk8ulcebtyjyfpjtjx5xmzs0xkontskz90df
F yqow rvaataghwbnzpohxvkvowzpfk8ulcebtyjyfpjtjx5xmzs0xkontskz90dfSupipat Mokmamern
 
Zq8 y5ru5q okucibxtjdtjtfbi5p8rjf8el706oxuperw7vjczcsslqyboei9ottz
Zq8 y5ru5q okucibxtjdtjtfbi5p8rjf8el706oxuperw7vjczcsslqyboei9ottzZq8 y5ru5q okucibxtjdtjtfbi5p8rjf8el706oxuperw7vjczcsslqyboei9ottz
Zq8 y5ru5q okucibxtjdtjtfbi5p8rjf8el706oxuperw7vjczcsslqyboei9ottzSupipat Mokmamern
 

More from Supipat Mokmamern (15)

งานนำเสนอคอม
งานนำเสนอคอมงานนำเสนอคอม
งานนำเสนอคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
สร างบล อก
สร างบล อกสร างบล อก
สร างบล อก
 
Z4 nwuv wyilubo8uqg0cnsmbl0xko9lwevbytudic29wvbdbwjypubrfkrtevmdm3
Z4 nwuv wyilubo8uqg0cnsmbl0xko9lwevbytudic29wvbdbwjypubrfkrtevmdm3Z4 nwuv wyilubo8uqg0cnsmbl0xko9lwevbytudic29wvbdbwjypubrfkrtevmdm3
Z4 nwuv wyilubo8uqg0cnsmbl0xko9lwevbytudic29wvbdbwjypubrfkrtevmdm3
 
R o4waynzmhjnolfplx fpvfn1eltpmbp4ak8qg2zban4xu7nyrou7ltqfylpwb7wx
R o4waynzmhjnolfplx fpvfn1eltpmbp4ak8qg2zban4xu7nyrou7ltqfylpwb7wxR o4waynzmhjnolfplx fpvfn1eltpmbp4ak8qg2zban4xu7nyrou7ltqfylpwb7wx
R o4waynzmhjnolfplx fpvfn1eltpmbp4ak8qg2zban4xu7nyrou7ltqfylpwb7wx
 
Bx i agzuln0ggbawa1iusvennm6cl2yz4sxnfyyxl1kg2mcfii36tmvidgsnbknqu
Bx i agzuln0ggbawa1iusvennm6cl2yz4sxnfyyxl1kg2mcfii36tmvidgsnbknquBx i agzuln0ggbawa1iusvennm6cl2yz4sxnfyyxl1kg2mcfii36tmvidgsnbknqu
Bx i agzuln0ggbawa1iusvennm6cl2yz4sxnfyyxl1kg2mcfii36tmvidgsnbknqu
 
Brv19 r nmxazdgwdmln31m8toctxtciffqsgtr8phxs2ucszdrr6tiuzff6mva30d
Brv19 r nmxazdgwdmln31m8toctxtciffqsgtr8phxs2ucszdrr6tiuzff6mva30dBrv19 r nmxazdgwdmln31m8toctxtciffqsgtr8phxs2ucszdrr6tiuzff6mva30d
Brv19 r nmxazdgwdmln31m8toctxtciffqsgtr8phxs2ucszdrr6tiuzff6mva30d
 
C xr nryvikiplsyrky0cac6azaxgdw3eii57rdhaelxoa3jbck8mxedm73uydagvs
C xr nryvikiplsyrky0cac6azaxgdw3eii57rdhaelxoa3jbck8mxedm73uydagvsC xr nryvikiplsyrky0cac6azaxgdw3eii57rdhaelxoa3jbck8mxedm73uydagvs
C xr nryvikiplsyrky0cac6azaxgdw3eii57rdhaelxoa3jbck8mxedm73uydagvs
 
C xr nryvikiplsyrky0cac6azaxgdw3eii57rdhaelxoa3jbck8mxedm73uydagvs
C xr nryvikiplsyrky0cac6azaxgdw3eii57rdhaelxoa3jbck8mxedm73uydagvsC xr nryvikiplsyrky0cac6azaxgdw3eii57rdhaelxoa3jbck8mxedm73uydagvs
C xr nryvikiplsyrky0cac6azaxgdw3eii57rdhaelxoa3jbck8mxedm73uydagvs
 
E3kgtw z vnrt28rd53gpdo5z4vatpcwobljxdxfaf4qwebmpe9n8poqct9f0gumga
E3kgtw z vnrt28rd53gpdo5z4vatpcwobljxdxfaf4qwebmpe9n8poqct9f0gumgaE3kgtw z vnrt28rd53gpdo5z4vatpcwobljxdxfaf4qwebmpe9n8poqct9f0gumga
E3kgtw z vnrt28rd53gpdo5z4vatpcwobljxdxfaf4qwebmpe9n8poqct9f0gumga
 
Py keqc0ytz2ufc6gdsi iqnhhniumihjardqfmjqb31fjfpvba3es5xenjwrautvn
Py keqc0ytz2ufc6gdsi iqnhhniumihjardqfmjqb31fjfpvba3es5xenjwrautvnPy keqc0ytz2ufc6gdsi iqnhhniumihjardqfmjqb31fjfpvba3es5xenjwrautvn
Py keqc0ytz2ufc6gdsi iqnhhniumihjardqfmjqb31fjfpvba3es5xenjwrautvn
 
F yqow rvaataghwbnzpohxvkvowzpfk8ulcebtyjyfpjtjx5xmzs0xkontskz90df
F yqow rvaataghwbnzpohxvkvowzpfk8ulcebtyjyfpjtjx5xmzs0xkontskz90dfF yqow rvaataghwbnzpohxvkvowzpfk8ulcebtyjyfpjtjx5xmzs0xkontskz90df
F yqow rvaataghwbnzpohxvkvowzpfk8ulcebtyjyfpjtjx5xmzs0xkontskz90df
 
Zq8 y5ru5q okucibxtjdtjtfbi5p8rjf8el706oxuperw7vjczcsslqyboei9ottz
Zq8 y5ru5q okucibxtjdtjtfbi5p8rjf8el706oxuperw7vjczcsslqyboei9ottzZq8 y5ru5q okucibxtjdtjtfbi5p8rjf8el706oxuperw7vjczcsslqyboei9ottz
Zq8 y5ru5q okucibxtjdtjtfbi5p8rjf8el706oxuperw7vjczcsslqyboei9ottz
 
ใบงานที่1
ใบงานที่1ใบงานที่1
ใบงานที่1
 

งานคอม

  • 1.
  • 2. รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2557 ชื่อโครงงาน อาเซียน ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นาย ธนัญชนัย ใจยา เลขที่ 9 ชั้น ม.6 ห้อง 6 2.นาย สุพิพัฒน์ หมอกมาเมิน เลขที่ 34 ชั้น ม.6 ห้อง 6 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา2557 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 3. ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นาย ธนัญชนัย ใจยา เลขที่ 9 ชั้น ม.6 ห้อง 6 2.นาย สุพิพัฒน์ หมอกมาเมิน เลขที่ 34 ชั้น ม.6 ห้อง 6 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) อาเซียน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) ASEAN ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นาย ธนัญชนัย ใจยา เลขที่ 9 ชั้น ม.6 ห้อง 6 2.นาย สุพิพัฒน์ หมอกมาเมิน เลขที่ 34 ชั้น ม.6 ห้อง 6 ชื่อที่ปรึกษาร่วม ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน 3 วัน
  • 4. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เป็นการรวมตัวกันของ 10 ประเทศ ในทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผู้นาอาเซียนได้ร่วมลงนามในปฎิญญาว่าด้วย ความ ร่วมมืออาเซียนเห็นชอบ ให้จัดตั้ง ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) คือ เป็นองค์กรระหว่างประเทศ ระดับ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีจุดเริ่มต้นโดยประเทศไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ได้ร่วมกันจัดตั้ง สมาคมอาสา (Association of South East Asia) เมื่อเดือน ก.ค.2504 เพื่อการร่วมมือกันทาง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม แต่ ดาเนินการ ไปได้เพียง 2 ปี ก็ต้องหยุดชะงักลง เนื่องจากความผกผันทางการเมือง ระหว่างประเทศอินโดนีเซียและประเทศมาเลเซีย จนเมื่อมีการฟื้นฟูสัมพันธ์ทางการฑูต ระหว่างสองประเทศ จึงได้มีการแสวงหาหนทางความร่วมมือกันอีกครั้ง และสาเร็จภายในปี พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) แต่ต่อมาได้ตกลงร่น ระยะเวลาจัดตั้งให้เสร็จในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) ในปีนั้นเองจะมีการเปิดกว้างให้ประชาชนในแต่ละประเทศสามารถ เข้าไปทางานในประเทศ อื่น ๆ ในประชาคมอาเซียนได้อย่างเสรี เสมือนดังเป็นประเทศเดียวกัน ซึ่งจะมีผลกระทบต่อการประกอบอาชีพและการมีงานทาของคนไทย ควรทาความ เข้าใจในเรื่องนี้จึงเป็นสิ่งสาคัญสาหรับทุกคน
  • 5. วัตถุประสงค์(สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับอาเซียน 2. เพื่อเป็นสื่อการศึกษาให้กับผู้ที่สนใจ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ศึกษาอาเซียน หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) คือ การรวมตัวของกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนให้เป็น ชุมชนที่มีความแข็งแกร่ง สามารถสร้างโอกาสและรับมือส่งท้าท้าย ทั้งด้านการเมืองความมั่นคง เศรษฐกิจ และภัย คุกคามรูปแบบใหม่ โดยสมาชิกในชุมชนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี สามารถประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้อย่าง สะดวกมากยิ่งขึ้น และสมาชิก ในชุมชนมีความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
  • 6. วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. คิดหัวข้อโครงงาน 2. วางโครงเรื่องที่จะศึกษา 3. รวบรวมความรู้เรื่องอาเซียน 4. จัดทาโครงงาน 5. นาเสนอโครงงานในรูปสื่อประกอบการเรียนการสอน VDO เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ - ใช้โปรแกรม power point ในการนาเสนอโครงงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ - คอมพิวเตอร์ งบประมาณ -
  • 8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ - เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่มีความสนใจเกี่ยวกับเรื่อง อาเซียน สถานที่ดาเนินการ - ที่พักอาศัยส่วนตัว - ห้องคอมพิวเตอร์โรงเรียนยุพราช กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง - สังคมศึกษา แหล่งอ้างอิง http://www.lampangvc.ac.th/lvcasean/page_asean.htm http://www.lampangvc.ac.th/lvcasean/page_career.htm
  • 9.
  • 10.
  • 11. ความเป็นมาของอาเซียน สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of Southeast Asian Nations หรือ ASEAN) ก่อตั้ง ขึ้นโดยปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) หรือ ปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Declaration) เมื่อ วันที่ 8 สิงหาคม 2510 โดยมีประเทศ สมาชิก 5 ประเทศ ประกอบด้วย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย เพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ ต่อมามีประเทศสมาชิกเพิ่มเติม ได้แก่ บรูไนดารุส-ซาลาม เวียดนาม ลาว เมียนมาร์ และ กัมพูชา ตามลาดับ จึงทาให้ปัจจุบันอาเซียน มีสมาชิก 10 ประเทศ
  • 12. ประชาคมอาเซียน คือ ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) คือ การรวมตัวของกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนให้เป็นชุมชน ที่มีความแข็งแกร่ง สามารถสร้างโอกาสและรับมือส่งท้าท้าย ทั้งด้านการเมืองความมั่นคง เศรษฐกิจ และภัย คุกคามรูปแบบใหม่ โดยสมาชิกในชุมชนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี สามารถประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้อย่าง สะดวกมากยิ่งขึ้น และสมาชิก ในชุมชนมีความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
  • 13. จุดประสงค์หลักของอาเซียน ปฏิญญากรุงเทพฯ ได้ระบุวัตถุประสงค์สาคัญ 7 ประการของการจัดตั้งอาเซียน ได้แก่ 1. ส่งเสริมความร่วมมือและความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ และการบริหาร 2. ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงส่วนภูมิภาค 3. เสริมสร้างความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจพัฒนาการทางวัฒนธรรมในภูมิภาค 4. ส่งเสริมให้ประชาชนในอาเซียนมีความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตที่ดี 5. ให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในรูปของการฝึกอบรมและการวิจัย และส่งเสริมการศึกษา ด้าน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 6. เพิ่มประสิทธิภาพของการเกษตรและอุตสาหกรรม การขยายการค้า ตลอดจนการปรับปรุงการขนส่ง และการคมนาคม 7. เสริมสร้างความร่วมมืออาเซียนกับประเทศภายนอก องค์การ ความร่วมมือแห่งภูมิภาคอื่นๆ และ องค์การระหว่างประเทศ
  • 14. ภาษาอาเซียน ภาษาทางการที่ใช้ในการติดต่อประสานงานระหว่างประเทศสมาชิก คือ ภาษาอังกฤษ คาขวัญของอาเซียน "หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม” (One Vision, One Identity, One Community) อัตลักษณ์อาเซียน อาเซียนจะต้องส่งเสริมอัตลักษณ์ร่วมกันของตนและความรู้สึกเป็นเจ้าของในหมู่ประชาชนของ ตน เพื่อให้บรรลุชะตา เป้าหมาย และคุณค่าร่วมกันของอาเซียน
  • 15.
  • 16. สัญลักษณ์อาเซียน คือ ดวงตราอาเซียนเป็น รูปมัดรวงข้าว สีเหลืองบนพื้นวงกลม สีแดงล้อมรอบด้วยวงกลมสีขาว และสีน้าเงิน รวงข้าวสีเหลือง 10 ต้น หมายถึง ความใฝ่ฝันของบรรดาสมาชิกในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ทั้ง 10 ประเทศ ให้มีอาเซียนที่ผูกพันกันอย่างมีมิตรภาพและเป็นหนึ่งเดียววงกลม เป็นสัญลักษณ์แสดงถึง เอกภาพของอาเซียนตัวอักษรคาว่า asean สีน้าเงิน อยู่ใต้ภาพรวงข้าว แสดงถึงความมุ่งมั่นที่จะ ทางานร่วมกันเพื่อความมั่นคง สันติภพ เอกภาพ และความก้าวหน้าของประเทศสมาชิกอาเซียน สีเหลือง : หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง สีแดง : หมายถึง ความกล้าหาญและการมีพลวัติ สีขาว : หมายถึง ความบริสุทธิ์ สีน้าเงิน : หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง
  • 17. ธงอาเซียน ธงอาเซียนเป็นธงพื้นสีน้าเงิน มีดวงตราอาเซียนอยู่ตรงกลาง แสดงถึงเสถียรภาพ สันติภาพ ความสามัคคี และ พลวัตของอาเซียน สีของธงประกอบด้วย สีน้าเงิน สีแดง สีขาว และสีเหลือง ซึ่งเป็นสีหลักในธงชาติของบรรดา ประเทศสมาชิกของอาเซียนทั้งหมด วันอาเซียน ให้วันที่ 8 สิงหาคม ของทุกปี เป็นวันอาเซียน เพลงประจาอาเซียน (ASEAN Anthem) คือ เพลง ASEAN WAY
  • 19. กฎบัตรอาเซียน กฎบัตรอาเซียน กาหนดให้อาเซียนและประเทศสมาชิกปฏิบัติตามหลักการดังต่อไปนี้ 1. เคารพเอกราช อธิปไตย ความเสมอภาค บูรณภาพแห่งดินแดน และอัตลักษณ์แห่งชาติของรัฐสมาชิก อาเซียนทั้งปวง 2. ผูกพันและรับผิดชอบร่วมกันในการเพิ่มพูนสันติภาพ ความมั่นคง และความมั่งคั่งของภูมิภาค 3. ไม่รุกรานหรือข่มขู่ว่าจะใช้กาลังหรือการกระทาอื่นใดในลักษณะที่ขัดต่อกฎหมายระหว่างประเทศ 4. ระงับข้อพิพาทโดยสันติ 5. ไม่แทรกแซงกิจการภายในของรัฐสมาชิกอาเซียน 6. เคารพสิทธิของรัฐสมาชิกทุกรัฐในการธารงประชาชาติของตนโดยปราศจากการแทรกแซง การบ่อน ทาลาย และการบังคับจากภายนอก 7. ปรึกษาหารือที่เพิ่มพูนขึ้นในเรื่องที่มีผลกระทบอย่างร้ายแรงต่อผลประโยชน์ร่วมกันของอาเซียน
  • 20. 8. ยึดมั่นต่อหลักนิติธรรม ธรรมาภิบาล หลักการประชาธิปไตยและรัฐบาลตามรัฐธรรมนูญ 9. เคารพเสรีภาพพื้นฐาน การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน และการส่งเสริมความ ยุติธรรมทางสังคม 10. ยึดถือกฎบัตรสหประชาชาติและกฎหมายระหว่างประเทศ รวมถึงกฎหมายมนุษยธรรม ระหว่างประเทศ ที่ รัฐสมาชิกอาเซียนยอมรับ 11. ละเว้นจากการมีส่วนร่วมในการคุกคามอธิปไตย บูรณภาพแห่งดินแดนหรือเสถียรภาพ ทางการเมืองและเศรษฐกิจของรัฐสมาชิกอาเซียน 12. เคารพในวัฒนธรรม ภาษา และศาสนาที่แตกต่างของประชาชนอาเซียน 13. มีส่วนร่วมกับอาเซียนในการสร้างความสัมพันธ์กับภายนอกทั้งในด้าน การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม โดยไม่ปิดกั้นและไม่เลือกปฏิบัติ 14. ยึดมั่นในกฎการค้าพหุภาคีและระบอบของอาเซียน
  • 21. 8 อาชีพที่สามารถ ทางานได้อย่างเสรีใน 10 ประเทศอาเซียน ผลจากการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 9 ณ เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ได้กาหนดให้ จัดทาข้อตกลงยอมรับร่วมกัน (Mutual Recognition Arrangements : MRAs) ด้าน คุณสมบัติในสาขาวิชาชีพหลัก เพื่ออานวยความสะดวกในการเคลื่อนย้ายนัก วิชาชีพ หรือแรงงานเชี่ยวชาญ หรือผู้มีความสามารถพิเศษของอาเซียนได้อย่างเสรี ด้าน คุณสมบัติในสาขาอาชีพหลัก เพื่ออานวยความสะดวกในการเคลื่อนย้าย นักวิชาชีพ แรงงาน เชี่ยวชาญ หรือผู้มีความสามารถพิเศษได้อย่างเสรี ข้อตกลงเรื่องการเคลื่อนย้ายแรงงาน ฝีมือไป ทางานในประเทศกลุ่มอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ได้อย่างเสรี ได้กาหนดครอบคลุม 8 อาชีพ และก็ มีข่าวว่าอาจจะมีการเพิ่มจานวนอาชีพขึ้นมาอีกในลาดับถัดไป สาหรับ 8 อาชีพที่มีข้อตกลงกัน แล้วให้สามารถเคลื่อนย้ายไปทางานได้อย่างเสรี ได้แก่
  • 22.
  • 23. และการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรีในกลุ่ม 8 อาชีพนั้น มีผลดีต่อไทยไม่น้อย เพราะในภาพรวม สถาบันการศึกษา ระดับอุดมศึกษาในไทยมีศักยภาพในด้านการผลิตบุคลากรในสายวิชาชีพทั้ง 8 ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูง ซึ่งทา ให้ผู้ จบ การศึกษาในสายวิชาชีพทั้ง 8 ตั้งแต่ระดับปริญญาตรีจนถึงปริญญาเอกมีตลาดงานที่เปิดกว้างมากขึ้น ข้อตกลงเคลื่อนย้ายแรงงานเสรีในกลุ่มประเทศอาเซียนทั้ง 8 อาชีพในปี 2015 (2558) แม้จะเป็นโอกาสทอง ของคนไทยในสายวิชาชีพดังกล่าว แต่ก็มีจุดที่ต้องระวังอยู่ไม่น้อยเช่นกัน ทั้งในด้านการที่คนของเราไปทางานบ้าน เขา และการที่คนบ้านเขามาทางานในบ้านเรา เพราะถ้าการระวังไม่รัดกุม โอกาสทองนั้นอาจพลิกเป็นวิกฤต และมี ผลกระทบรุนแรงต่อบางสายวิชาชีพได้
  • 25. • เมืองหลวง : บันดาร์ เสรี เบกาวัน ภาษา : ภาษามาเลย์ เป็นภาษาราชการ รองลงมาเป็นอังกฤษ และจีน ประชากร : ประกอบด้วย มาเลย์ 66%, จีน11%,อื่นๆ 23% นับถือศาสนา : อิสลาม 67%, พุทธ 13%, คริสต์ 10% ระบบการปกครอง : ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ • จุดแข็ง – การเมืองค่อนข้างมั่นคง – รายได้เฉลี่ยต่อคนเป็นอันดับ 2 ในอาเซียน อันดับ 26 ของโลก – ผู้ส่งออกและมีปริมาณสารองน้ามันอันดับ 4 ในอาเซียน • บรูไน
  • 26. • ข้อควรรู้ – ประชาชนของประเทศในกลุ่มอาเซียนสามารถทาวีซ่าที่ ตม.ที่ประเทศบรูไนฯ สามารถอยู่ได้นาน 2 สัปดาห์ – ควรหลีกเลี่ยงเสื้อผ้าสีเหลือง เพราะถือเป็นสีของพระมหากษัตริย์ – การทักทายจะจับมือกันเบาๆ และสตรีจะไม่ยื่นมือให้บุรุษจับ – การใช้นิ้วชี้ไปที่คนหรือสิ่งของถือว่าไม่สุภาพ แต่จะใช้หัวแม่มือชี้แทน – จะไม่ใช้มือซ้ายในการส่งของให้ผู้อื่น – สตรีเวลานั่งจะไม่ให้เท้าชี้ไปทางผู้ชายและไม่ส่งเสียงหรือหัวเราะดัง – วันหยุดคือวันศุกร์และวันอาทิตย์, วันศุกร์ 12.00-14.00 น.ทุกร้านจะปิด – จัดงานเย็นต้องจัดหลัง 2 ทุ่ม
  • 27. • ประเทศกัมพูชา (Cambodia) เมืองหลวง : กรุงพนมเปญ ภาษา : ภาษาเขมร เป็นภาษาราชการ รองลงมาเป็นอังกฤษ, ฝรั่งเศส, เวียดนามและจีน ประชากร : ประกอบด้วย ชาวเขมร 94%, จีน 4%,อื่นๆ 2% นับถือศาสนา : พุทธ(เถรวาท) เป็นหลัก ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา โดยมีพระมหากษัตย์ เป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ • จุดแข็ง – ค่าจ้างแรงงานต่าที่สุดในอาเซียน – มีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและสมบูรณ์ กัมพูชา
  • 28. • ข้อควรรู้ – ผู้ที่เดินทางเข้ากัมพูชา และประสงค์จะอยู่ทาธุรกิจเป็นระยะเวลาเกิน 3 เดือน ควรฉีดยา ป้องกันโรคไทฟอยด์ และไวรัสเอและบี – เพื่อนผู้ชายจับมือกัน ถือเป็นเรื่องปกติ – ผู้หญิงห้ามแต่งตัวเซ็กซี่, ผู้ชายไว้ผมยาว จะมีภาพลักษณ์ นักเลง – ห้ามจับศีรษะ คนกัมพูชาถือว่า เป็นส่วนสาคัญที่สุดของร่างกาย – สบตามากเกินไป ถือว่าไม่ให้เกียรติ
  • 29. อินโดนีเซีย • เมืองหลวง : จาการ์ตา ภาษา : ภาษาอินโดนีเซีย เป็นภาษาราชการ ประชากร : ประกอบด้วย ชนพื้นเมืองหลายกลุ่ม มีภาษา มากกว่า 583 ภาษา ร้อยละ 61 อาศัยอยู่บนเกาะชวา นับถือศาสนา : อิสลาม 87%, คริสต์ 10% ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยที่มีประธานาธิปดีเป็น ประมุข และหัวหน้าฝ่ ายบริหาร • จุดแข็ง – มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ – มีจานวนประชากรมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  • 30. • ข้อควรรู้ – ไม่ควรใช้มือซ้ายในการรับ-ส่งของ คนมุสลิมอินโดนีเซียถือว่ามือ ซ้ายไม่สุภาพ – นิยมใช้มือกินข้าว – ไม่ควรชี้นิ้วด้วยนิ้วชี้ แต่ใช้นิ้วโป้งแทน – ไม่จับศีรษะคนอินโดนีเซียรวมทั้งการลูบศีรษะเด็ก – การครอบครองยาเสพติด อาวุธ หนังสือรูปภาพอนาจารมี บทลงโทษหนัก อาทิ การนาเข้าและครอบครองยาเสพติดมีโทษถึง ประหารชีวิต – บทลงโทษรุนแรงเกี่ยวกับการค้าและส่งออกพืชและสัตว์กว่า 200 ชนิด จึงควรตรวจสอบก่อนซื้อหรือนาพืชและสัตว์ออกนอกประเทศ – มอเตอร์ไซค์รับจ้างมีมิเตอร์ – งานศพใส่ชุดสีอะไรก็ได้
  • 31. ลาว • เมืองหลวง : นครหลวงเวียงจันทร์ ภาษา : ภาษาลาว เป็นภาษาราชการ ประชากร : ประกอบด้วย ชาวลาวลุ่ม 68%, ลาวเทิง 22%, ลาวสูง 9% รวมประมาณ 68 ชนเผ่า นับถือศาสนา : 75% นับถือพุทธ, นับถือผี 16% ระบบการปกครอง : สังคมนิยมคอมมิวนิสต์ (ทางการลาวใช้คาว่า ระบบประชาธิปไตยประชาชน) • จุดแข็ง – ค่าจ้างแรงงานต่าอันดับ 2 ในอาเซียน – การเมืองมีเสถียรภาพ
  • 32. • ข้อควรรู้ – ลาว มีตัวอักษรคล้ายของไทย ทาให้คนไทยอ่านหนังสือ ลาวได้ไม่ยากนัก ส่วนคนลาวอ่านหนังสือไทยได้คล่องมาก – ลาวขับรถทางขวา – ติดต่อราชการต้องนุ่งซิ่น – เดินผ่านผู้ใหญ่ ต้องก้มหัว – ถ้าเพื่อนคนลาวเชิญไปพักที่บ้านห้ามให้เงิน – อย่าซื้อน้าหอมให้กัน – ที่ถูกต้องคนลาวที่ให้พัก ต้องแจ้งผู้ใหญ่บ้าน – เข้าบ้านต้องถอดรองเท้า และถ้าเขาเสิร์ฟน้าต้องดื่ม
  • 33. มาเลเซีย • เมืองหลวง : กรุงกัวลาลัมเปอร์ ภาษา : ภาษามาเลย์ เป็นภาษาราชการ รองลงมาเป็นอังกฤษ และจีน ประชากร : ประกอบด้วย มาเลย์ 40%, จีน33%, อินเดีย 10%, ชนพื้นเมืองเกาะบอร์เนียว 10% นับถือศาสนา : อิสลาม 60%, พุทธ 19%, คริสต์ 11% ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา • จุดแข็ง – มีปริมาณสารองน้ามันมากเป็นอันดับ 3 ในเอเชียแปซิฟิค – มีปริาณก๊าซธรรมชาติมากเป็นอันดับ 2 ในเอเชียแปซิฟิค
  • 34. • ข้อควรรู้ – ผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามจะได้รับสิทธิพิเศษ คือ เงิน อุดหนุนทางด้านการศึกษา สาธารณสุข การคลอดบุตรงาน แต่งงานและงานศพ – มาเลเซียมีปัญหาประชากรหลากหลายเชื้อชาติ ชาติพันธุ์ ในมาเลเซียประกอบด้วยชาวมาเลย์ กว่าร้อยละ 40 ที่เหลือ อีกกว่าร้อยละ 33 เป็นชาวจีนร้อยละ10 เป็นชาวอินเดีย และ อีกร้อยละ 10 เป็นชนพื้นเมืองบนเกาะบอร์เนียว – ใช้มือขวาเพียงข้างเดียวในการรับประทานอาหาร และ รับส่งของ – เครื่องดื่มแอลกฮอล์เป็นเรื่องต้องห้าม
  • 35. เมียนมาร์ • เมืองหลวง : เนปีดอ (Naypyidaw) ภาษา : ภาษาพม่า เป็นภาษาราชการ ประชากร : ประกอบด้วยเผ่าพันธุ์ 135 มี 8 เชื้อชาติหลักๆ 8 กลุ่ม คือ พม่า 68%, ไทยใหญ่ 8%, กระเหรี่ยง 7%, ยะไข่ 4% จีน 3% มอญ 2% อินเดีย 2% นับถือศาสนา : นับถือพุทธ 90%, คริสต์ 5% อิสลาม 3.8% ระบบการปกครอง : เผด็จการทางทหาร ปกครองโดยรัฐบาล ทหารภายใต้สภาสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ • จุดแข็ง – มีพรมแดนเชื่อมต่อกับจีน และอินเดีย – ค่าจ้างแรงงานต่าเป็นอันดับ 3 ในอาเซียน – มีปริมาณก๊าซธรรมชาติเป็นจานวนมาก
  • 36. • ข้อควรรู้ – ไม่ควรพูดเรื่องการเมือง กับคนไม่คุ้นเคย – เข้าวัดต้องถอดรองเท้า ถุงเท้า – ห้ามเหยียบเงาพระสงฆ์ – ให้นามบัตรต้องยื่นให้สองมือ – ไม่ควรใส่กระโปรงสั้น กางเกงขาสั้น ในสถานที่ สาธารณะและศาสนสถาน – ผู้หญิงชอบทาทะนาคา (ผู้ชายก็ทาด้วย) ผู้ชายชอบ เคี้ยวหมาก
  • 37. ฟิลิปปินส์ • เมืองหลวง : กรุงมะนิลา ภาษา : ภาษาฟิลิปิโน และภาษาอังกฤษ เป็นภาษา ราชการ รองลงมาเป็น สเปน, จีนฮกเกี้ยน, จีนแต้จิ๋ว ฟิลิปปินส์ มีภาษาประจาชาติคือ ภาษาตากาล็อก ประชากร : ประกอบด้วย มาเลย์ 40%, จีน33%, อินเดีย 10%, ชนพื้นเมืองเกาะบอร์เนียว 10% นับถือศาสนา : คริสต์โรมันคาทอลิก 83% คริสต์ นิกายโปรเตสแตนต์, อิสลาม 5% ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบประธานาธิป ดีเป็นประมุขและหัวหน้าฝ่ ายบริหาร • จุดแข็ง – แรงงานทั่วไป ก็มีความรู้สื่อสารภาษาอังกฤษได้
  • 38. • ข้อควรรู้ – การเข้าไปประกอบธุรกิจในฟิลิปปินส์ในลักษณะ ต่างๆ เช่น การลงทุนร่วมกับฝ่ายฟิลิปปินส์จาเป็นต้องมี การศึกษาข้อมูลให้ละเอียด โดยเฉพาะในด้านกฎหมาย การจดทะเบียนภาษี และปัญหาทางด้านแรงงาน เป็นต้น – เท้าสะเอว หมายถึง ท้าทาย, เลิกคิ้ว หมายถึง ทักทาย – ใช้ปากชี้ของ – กินข้าวบ้านเพื่อนสามารถห่อกลับได้แต่ควรมีของ ฝากให้เขาด้วย – ตกแต่งบ้าน 2 เดือน ต้อนรับคริสต์มาส
  • 39. สิงคโปร์ • เมืองหลวง : สิงคโปร์ ภาษา : ภาษามาเลย์ เป็นภาษาราชการ รองลงมาคือจีนกลาง ส่งเสริม ให้พูดได้ 2 ภาษาคือ จีนกลาง และให้ใช้อังกฤษ เพื่อติดต่องานและ ชีวิตประจาวัน ประชากร : ประกอบด้วยชาวจีน 76.5%, มาเลย์ 13.8%, อินเดีย 8.1% นับถือศาสนา : พุทธ 42.5%, อิสลาม 14.9%, คริสต์ 14.5%, ฮินดู 4%, ไม่นับถือศาสนา 25% ระบบการปกครอง : สาธารณรัฐ (ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีสภา เดียว) โดยมีประธานาธิปดีเป็นประมุข และนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้า ฝ่ ายบริหาร • จุดแข็ง – รายได้เฉลี่ยต่อคน เป็นอันดับ 1 ในอาเซียน และอันดับ 15 ของโลก – แรงงานมีทักษะสูง
  • 40. • ข้อควรรู้ – หน่วยราชการเปิดทาการวันจันทร์ – ศุกร์ ระหว่างเวลา 08.30 น.-13.00 น. และ 14.00 น. – 16.30 น. และวันเสาร์ เปิดทาการระหว่างเวลา 08.00 น. – 13.00 น. – การหลบหนีเข้าสิงคโปร์และประกอบอาชีพเร่ขายบริการ ผิดกฎหมาย จะถูกลงโทษอย่างรุนแรง – การลักลอบนายาเสพติด อาวุธปืนและสิ่งผิดกฎหมาย อื่นๆ จะได้รับโทษอย่างรุนแรงถึงขั้นประหารชีวิต – ขึ้นบันไดเลื่อนให้ชิดซ้าย – ห้ามทิ้งขยะเรี่ยราด, ห้ามเก็บผลไม้ในที่สาธารณะ – ผู้สูงอายุทางาน ถือเป็นเรื่องปกติ
  • 41. เวียดนาม • เมืองหลวง : กรุงฮานอย ภาษา : ภาษาเวียดนาม เป็นภาษาราชการ ประชากร : ประกอบด้วยชาวเวียด 80%, เขมร 10% นับถือศาสนา : พุทธนิกายมหายาน 70%, คริสต์ 15% ระบบการปกครอง : ระบบสังคมนิยม โดยพรรค คอมมิวนิสต์เป็นพรรคการเมืองเดียว • จุดแข็ง – มีปริมาณสารองน้ามันดิบมากเป็นอันดับ 2 ในเอเชียแป ซิฟิค
  • 42. • ข้อควรรู้ – หน่วยงานราชการ สานักงาน และองค์กรให้บริการสาธารณสุข เปิดทาการระหว่างเวลา 08.00 น. – 16.30 น. ตั้งแต่วันจันทร์ – ศุกร์ – เวียดนามไม่อนุญาตให้ถ่ายภาพอาคารที่ทาการต่างๆ ของรัฐ – คดียาเสพติดการฉ้อโกงหน่วยงานของรัฐมีโทษประหารชีวิต – ตีกลองแทนออดเข้าเรียน – ชุดนักเรียนหญิงเป็นชุดอ่าวหญ่าย – คนภาคเหนือไม่ทานน้าแข็ง – ไม่ถ่ายรูป 3 คนอย่างเด็ดขาด เพราะถือว่าจะทาให้เบื่อกัน หรือ แแยกกันหรือใครคนใดเสียชีวิต – ต้องเชิญผู้ใหญ่ก่อนทานข้าว
  • 43. ไทย • เมืองหลวง : กรุงเทพมหานคร ภาษา : ภาษาไทย เป็นภาษาราชการ ประชากร : ประกอบด้วยชาวไทยเป็นส่วนใหญ่ นับถือศาสนา : พุทธนิกายเถรวาท 95%, อิสลาม 4% ระบบการปกครอง : ระบบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข • จุดแข็ง – เป็นศูนย์กลางเชื่อมโยงคมนาคมด้านต่างๆ ใน ภูมิภาคอาเซียน – มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมที่มี ชื่อเสียง
  • 44. • ข้อควรรู้ – ไปศาสนสถานควรแต่งกายเรียบร้อย, ก่อนเข้าอุโบสถ ต้องถอดรองเท้า – ห้ามพระสงฆ์สัมผัสสตรี – สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นที่เคารพสัการะ การละเมิด ใดๆ ถือเป็นความผิดตามรัฐธรรมนูญ – ทักทายกันด้วยการไหว้ – ถือว่าเท้าเป็นของต่า ไม่ควรพาดบนโต๊ะ หรือเก้าอี้หรือ หันทิศทางไปที่ใคร – ธงชาติถือเป็นของสูง ไม่ควรนามากระทาการใดๆที่เป็น การเหยียดหยาม – การแสดงออกทางเพศในที่สาธารณะ ยังไม่ได้รับการ ยอมรับในวัฒนธรรมไทย