SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
Download to read offline
ทักทาย
สวัสดี นองๆ ทุกคน
กาวสูปที่ 16 กับภารกิจสานฝนสูความสําเร็จ พันธกิจ เพื่อเยาวชน ในโครงการ “ทบทวนความรูสู
มหาวิทยาลัยกับมามา ครั้งที่ 16” จัดโดย ผลิตภัณฑมามา รวมกับ เนชั่นกรุป เพื่อเตรียมความพรอมใหแกนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ที่กําลังเตรียมตัวเขาสูมหาวิทยาลัย ดวยการจัดการเรียนการสอนใน 4 ภูมิภาค โดยคณาจารย
ผูทรงคุณวุฒิ และเพื่อเปดโอกาสใหเกิดความเทาเทียมทางการศึกษาในทุกภาคสวนของประเทศ จึงไดทําการถายทอด
สัญญาณบรอดแบนดจากมหาวิทยาลัยหอการคาไทย ไปยังโรงเรียนตางๆ ทั่วประเทศที่สมัครเขารวมโครงการกวา
500 โรงเรียน
นับแตวินาทีนี้เปนตนไป ขอใหนองๆ ตั้งใจรับความรูจากคณาจารยผูเชี่ยวชาญที่ไดคัดกรองเนื้อหาสาระ
มาเติมเต็มใหแกนองๆ เพื่อนําไปใชสอบแขงขันในครั้งนี้
พิเศษ ! ในป 2558 ประเทศไทยจะกาวสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC ภาษาอังกฤษถือวา
มีความสําคัญยิ่ง...ดวยเล็งเห็นความสําคัญดังกลาว โครงการจึงไดจัดการเรียนการสอนแบบเขมขนใหกับนองๆ
อีก 1 วัน ที่มหาวิทยาลัยหอการคาไทย พรอมถายทอดบรอดแบรนดทั่วประเทศ
ดวยการแขงขัน และความทาทาย ที่รออยู... นองๆ จะตองเตรียมตัวใหพรอม รูจักใช “ทักษะ คิด วิเคราะห”
อยางละเอียดรอบคอบ และที่สําคัญตองมี “สมาธิ” แลวนองๆ จะพบกับโอกาส และทางเลือกที่มากขึ้น
พี่ๆ ขอเปนกําลังใจ และขออวยพรใหนองๆ โชคดีทุกคน
กองบรรณาธิการ
โครงการทบทวนความรูสูมหาวิทยาลัยกับมามา
สารบัญ
กลยุทธพิชิตขŒอสอบวิชาสังคมศึกษาฯ กับ อ.ชัย 3
วิเคราะหขŒอสอบตรง มข. ป‚ 2555 และ ป‚ 2556 6
TEST…..สอบตรง ม.ขอนแก‹น 8
พิชิต…..สอบตรง ม.ขอนแก‹น 9
TEST…..Clearinghouse (สังคม 7 วิชาสามัญ) 18
TEST…สังคม O-NET 19
พิชิต…..สังคม 7 วิชาสามัญ (Clearinghouse) และ O-NET 20
ข‹าวเด‹นในประเทศ ป‚ 2555 30
ข‹าวเด‹นต‹างประเทศ ป‚ 2555 32
แนวขŒอสอบเขŒามหาวิทยาลัย วิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โดย อ.สมชาย งามกาละ 37
วิชาสังคมศึกษา และวัฒนธรรม โดย อ.คมขํา ดีวงษา 43
สังคมศึกษา 2556 54
หนŒาที่พลเมืองและวัฒนธรรมการดําเนินชีวิต โดย อ.วีระชัย บัวผัน 67
เอกสารประกอบการสอน วิชาภาษาไทยโดย อ.กิจมาโนชย โรจนทรัพย (ครูลิลลี่) 87
วิทยาศาสตร O-Net โดย อ.กรกฤช ศรีวิชัย 92
วิทยาศาสตร O-Net โดย อ.เสนอ อมตเวทย 105
3
สวัสดีลูกศิษยทุกคน เวลาชางผานไปอยางรวดเร็วจริงๆ ตอนนี้นองๆ ไดขึ้นมาเรียนในชั้น ม.6 กันแลว ซึ่งถือเปนชวงสําคัญ
ของชีวิตที่จะกาวเขาไปสูการใชชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยที่ใฝฝนไว นองๆ เตรียมพรอมกับการสอบเขามหาวิทยาลัยที่ใกลเขามาหรือยัง
ถายังไมพรอมและตองการใหความฝนของนองๆ เปนจริงขึ้นมา อ.ชัย ขอแนะนําโครงการติวเขมเติมเต็มความรูระดับประเทศที่จะเปน
ตัวชวยเพิ่มพลังสมองและติดอาวุธทางปญญาใหกับนองๆ ได นั่นก็คือ “โครงการทบทวนความรูสูมหาวิทยาลัยกับมามาครั้งที่ 16”
นองๆ จะไดเรียนกับคุณครูที่มากดวยความรูและประสบการณการสอนที่พรอมจะถายทอดความรู ทักษะการคิด การฝกวิเคราะโจทย
การแนะนําเทคนิคและเคล็ดลับตางๆ เพื่อใหนองๆ พิชิตขอสอบไดอยางมั่นใจ
ตามคําขอจากนองๆ วิชาสังคมศึกษาฯ ในสวนของ อ.ชัย ในปนี้ ไดเพิ่มบทวิเคราะหขอสอบตรงของมหาวิทยาลัยขอนแกน (มข.)
เขาไปดวย เพื่อใหนองๆ ไดรูเปนแนวทางในการเตรียมตัวอานหนังสือสอบ รวมทั้งใหขอสอบใหมเพื่อประลองความรูกอนลงสูสนามจริง
ไดแก ขอสอบตรงของมหาวิทยาลัยขอนแกน ขอสอบสังคม 7 วิชาสามัญ (clearinghouse) และขอสอบสังคม O-NET
สุดทายนี้ อ.ชัย ขอเปนตัวแทนของนักเรียนทั่วประเทศเพื่อกลาวขอบคุณผูใหญใจดีทุกทานของมามาที่ไดจัดโครงการดีๆ ที่
เล็งเห็นถึงความสําคัญดานการศึกษาของเด็กไทยและการกระจายความรูไปสูนักเรียนทุกภูมิภาคอยางทั่วถึง ฉะนั้นโอกาสดีๆ ในชวง
ปดเทอมแบบนี้ นักเรียนพลาดไมไดเลยนะ แลวเรามาเจอกันในวันติวเขมนะจะ
รักลูกศิษยทุกคน ..... อ.ชัย.
ë ë ë
 รูเรา-รูเขา
 ขอสอบวิชาสังคมฯ
รูเรา รูเขา
- รูเนื้อหาครบ 5 สาระ - รับตรง / สอบ clearing house / สอบ O-NET
- ฝกทําขอสอบเกา - ออกแบบใด (อัตนัย ปรนัย จํานวนขอ จํานวนตัวเลือก)
- ประลองโจทยใหม - เรื่องใดออกบอย
- รูแนว “ตั้งคําถาม”
สอบตรง ขอสอบตรง ม.เชียงใหม ม.ขอนแกน ม.สงขลานครินทร
มี 100 ขอ แบบเลือกคําตอบเดียว มี 4 ตัวเลือก
สอบ Clearinghouse ขอสอบสังคมใน 7 วิชาสามัญ มี 50 ขอ แบบเลือกคําตอบเดียว มี 5 ตัวเลือก
สอบ O-NET สังคม O-NET 80 ขอ (แบบเลือกคําตอบเดียว มี 65 ขอ
แบบเลือก 2 คําตอบ มี 15 ขอ)
- สาระศาสนา 16 ขอ (13 + 3)
- สาระหนาที่พลเมืองฯ 16 ขอ (13 + 3)
- สาระเศรษฐศาสตร 16 ขอ (13 + 3)
- สาระประวัติศาสตร 16 ขอ (13 + 3)
- สาระภูมิศาสตร 16 ขอ (13 + 3)
วิชาสังคมศึกษา
อาจารยชัย ลาภเพิ่มทวี
กลยุทธพิชิตขŒอสอบวิชาสังคมศึกษาฯ กับ อ.ชัย
4
 รูปแบบการตั้งคําถาม
  เหตุ/ผล 1. เพราะเหตุใดจึงเกิดการปฏิรูปบานเมืองสมัยรัชกาลที่ 5
2. ผลจาก ส.เบาวริ่ง / ผลจากเงินเฟอ
 วัตถุประสงค/กอนหลัง 3. วัตถุประสงค WTO, IMF, UNCTAD, NATO
4. ใหเรียงลําดับเหตุการณกอน-หลัง
  เลนคํา 5. กรรโชกทรัพย รีดเอาทรัพย
  เหมือน/ตาง 6. มนุษย ≠ สัตวสังคมอื่น, LN ≠ UN
  มากสุด/นอยสุด 7. ขอใดสําคัญมากที่สุดหรือนอยที่สุด
  ไมใช/ยกเวน 8. ไมใช/ยกเวน
  แนวโนม 9. แนวโนมของสังคมไทย, ความขัดแยงในโลกปจจุบัน
  ตรง/ออม 10. การขัดเกลาทางตรง/ออม
 สาระการเรียนรูวิชาสังคมศึกษาฯ ตามหลักสูตรใหม
ประวัติศาสตร ë ประวัติศาสตรไทย
1. เวลาและการแบงยุคสมัยทางประวัติศาสตรไทย
2. วิธีการทางประวัติศาสตรและหลักฐาน
3. เหตุการณสําคัญทางประวัติศาสตรไทย
- รัฐโบราณในดินแดนไทย
- ความเปนมาของชนชาติไทย
- การปฏิรูปบานเมืองในสมัยรัชกาลที่ 5
- การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475
- พัฒนาการประวัติศาสตรไทยดานตางๆ ในสมัยสุโขทัย อยุธยา รัตนโกสินทร
- บุคคลสําคัญกับงานผลงาน
- ภูมิปญญาไทย
ë ประวัติศาสตรสากล
4. เวลา และการแบงยุคสมัยทางประวัติศาสตรสากล
5. อารยธรรมโลก (เมโสโปเตเมีย อียิปต กรีก โรมัน จีน อินเดีย)
6. เหตุการณสําคัญทางประวัติศาสตรสากล
- สมัยกลาง (ฟวดัล สงครามครูเสด การฟนฟูศิลปวิทยาการ)
- สมัยใหม (การปฏิรูปศาสนา การปฏิวัติวิทยาศาสตร การปฏิวัติอุตสาหกรรม การปฏิวัติโลก)
7. ความขัดแยงและความรวมมือ
- สงครามโลก สงครามเย็น
- องคการสหประชาชาติ
8. อาเซียนศึกษา
ภูมิศาสตร 1. เครื่องมือทางภูมิศาสตร
2. ปฏิสัมพันธเชิงภูมิศาสตร
3. การเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ
4. วิกฤตการณดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
5. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
เหตุ/ผล วัตถุประสงค/กอนหลัง
เลนคํา เหมือน/ตาง
มากสุด/นอยสุด ไมใช/ยกเวน
แนวโนม ตรง/ออม
5
เศรษฐศาสตร 1. เศรษฐศาสตรเบื้องตนและศัพทสําคัญ
2. ระบบเศรษฐกิจ
3. การพัฒนาเศรษฐกิจของไทยและแผนพัฒนาฯ
4. เศรษฐกิจพอเพียงและสหกรณ
5. นโยบายการเงินการคลัง
6. เศรษฐกิจระหวางประเทศ
7. วิกฤตเศรษฐกิจ
สังคมวัฒนธรรม 1. สังคมมนุษยและศัพททางสังคมวิทยา
2. วัฒนธรรม
3. สิทธิมนุษยชน
รัฐและการเมืองไทย 1. รัฐและระบอบการเมือง (ระบบรัฐบาล ประชาธิปไตย เผด็จการ)
2. รัฐธรรมนูญ (การเลือกตั้ง พรรคการเมือง องคกรสําคัญ)
3. การเมืองไทย (รัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล)
กฎหมาย 1. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมาย (ความหมาย ลักษณะ ประเภท และลําดับศักดิ์ของกฎหมาย)
2. กฎหมายแพง (บุคคล ทรัพย นิติกรรม หนี้และละเมิด เอกเทศสัญญา ครอบครัว มรดก)
3. กฎหมายอาญา
4. กระบวนการยุติธรรมทางแพงและอาญา
ศาสนาฯ 1. พระพุทธศาสนา
2. ศาสนาสากล (เตา ขงจื๊อ ชินโต / พราหมณ-ฮินดู เชน พุทธ ซิกข /
โซโรอัสเตอร ยูดาห คริสต อิสลาม)
 หนังสืออานเสริมเตรียมสอบวิชาสังคมศึกษาฯ
1. หัวใจสังคม O-NET
2. รูทันขอสอบสังคม O-NET
3. คลังขอสอบสังคม O-NET ฉบับ KEY
4. ลูกเลนขอสอบสังคม
 กําลังใจ “คติเตือนใจ ยามทอใจ”
- Where there’s a will there’s a way = ความพยายามอยูที่ไหน ความสําเร็จอยูที่นั่น
- Time and tide wait for no man = เวลาและวารีไมเคยคอยใคร
- Time lost cannot be recalled = เวลาที่สูญเสียไปแลว ไมสามารถเรียกกลับมาได
- Never put off till tomorrow what may be done today = อยาผัดวันประกันพรุง
- Nothing is impossible to a willing heart = ไมมีสิ่งใดเปนไปไมได ถาใจคิดจะทํา
- Whatever man has done, man can do = เมื่อเขาทําได เราตองทําได
- No pains, no gains = ไมมีอะไรไดมาโดยไมเจ็บปวด
ë ë ë ë ë
6
วิเคราะหขŒอสอบตรง มข. ป‚ 2555 และ ป‚ 2556
สาระศาสนา (20 ขอ)
มข.55 -หลักธรรมะที่ออกสอบ ไดแก อริยสัจ ทุกข อิทธิบาทสี่ พรหมวิหารสี่ สังคหวัตถุสี่ ฆราวาสธรรม ศีล (ศีล 5
ศีล 8 ศีล 10) ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร / วันสําคัญ (วิสาขบูชา มาฆบูชา อาสาฬหบูชา) / บุคคลในสมัยพุทธกาล
(โกณฑัญญะ) / ศาสนิกชนตัวอยาง (อนาคาริกะ ธรรมปาละ)
-ศาสนาคริสต (1 ขอ ตรีเอกานุภาพ) / ศาสนาอิสลาม (2 ขอ)
มข.56 -หลักธรรมะที่ออกสอบ ไดแก อริยสัจ ทุกข มนุษยธรรม อิทธิบาทสี่ พรหมวิหารสี่ มรรคมีองคแปด
ทางสายกลาง สาราณียธรรม อปริหานิยธรรม / บทสวดมนต (ธรรมคุณ โอปนยิโก) / การบริหารจิต
(กายานุปสสนา) / พระไตรปฎก / วันสําคัญและศาสนพิธี (อาสาฬหบูชา ทอดกฐิน) / บุคคลในสมัยพุทธกาล
(พระอัสสชิ พระสารีบุตร)
-ศาสนาคริสต (1 ขอ ตรีเอกานุภาพ) / ศาสนาเปรียบเทียบ (1 ขอ คริสต-อิสลาม)
วิเคราะห -ระดับความยากของขอสอบคือ ธรรมดา นองๆ ตองออกอานหลักธรรมเยอะกวาสวนอื่น สวนใหญเปนคําถาม
ขอสอบ พื้นฐานระดับ ม.ปลาย นองๆ ควรอานเพิ่มเติมจากหนังสือคูมือเตรียมสอบวิชาสังคมศึกษาฯทั่วไป สวนขอสอบ
และ ศาสนาสากล ออกสอบแค 2-3 ขอ
ขอแนะนํา -ขอแนะนํา เรื่องที่นองๆ ควรอานเพิ่มใหแมนยํา ถาสับสนจะเลือกคําตอบผิด ทําใหเสียคะแนนไปอยาง
นาเสียดายนะ เชน บทสวดมนตและคําแปล (พุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ) / พุทธศาสนพิธี (กุศลพิธี บุญพิธี
ทานพิธี) / ศาสนิกชนตัวอยางและคุณธรรมที่ควรถือเปนแบบอยาง
สาระหนาที่พลเมือง (20 ขอ)
มข.55 -รัฐและการเมืองไทย : ระบบประธานาธิบดี ประเทศใดที่มีกษัตริยหรือประธานาธิบดีเปนประมุข ศาลรัฐธรรมนูญ
นายกรัฐมนตรี (ยุบสภา) องคกรอิสระและองคกรอื่นตามรัฐธรรมนูญ
-กฎหมาย : ประเภทกฎหมาย เจาพนักงานบังคดีในคดีแพง เยาวชน (14-18 ป)
-สังคมวัฒนธรรม : ไมมี แตไปถามเรื่องขาวในประเทศและตางประเทศ
มข.56 -รัฐและการเมืองไทย : ระบบการเมือง (คอมมิวนิสต) ระบบประธานาธิบดี
-กฎหมาย : ไมมี แตถามขาวในประเทศและตางประเทศ 4-5 ขอ
-สังคมวัฒนธรรม : บรรทัดฐาน สถานภาพและบทบาท การขัดเกลาทางสังคม วัฒนธรรมไทย
วิเคราะห -ระดับความยากของขอสอบคือ ปานกลางถึงคอนขางยาก เพราะเนื้อหากวางและตองติดตามขาว ถาปนั้น
ขอสอบ ขาวไมเดนดังก็จะถามเนื้อหาตามบทเรียน เนื้อหาที่ออกบอยมักเปนเรื่องรัฐ และการเมืองไทย
และ -ขอแนะนํา นองๆ ตองดูขาวทั้งในประเทศและตางประเทศวาชวงครึ่งปแรกนี้มีเรื่องเดนอะไรบาง ขาวเกี่ยวกับ
ขอแนะนํา รัฐบาล เชน การปรับ ครม. เหตุการณทางการเมืองหรือการเลือกตั้งที่เกิดขึ้นทั้งในประเทศ และตางประเทศ
เชน การรัฐประหารที่อียิปต บุคคลที่เปนขาวดัง เชน เณรคํา ความรวมมือของไทยกับประเทศเพื่อนบาน
7
สาระเศรษฐศาสตร (20 ขอ)
มข.55 อุปสงค-อุปทาน การพยุงราคาสินคา เศรษฐกิจพอเพียง สหกรณ นโยบายการเงิน นโยบายการคลัง ภาษี
ทางตรง-ออม มาตรการทางการคา คาเงินบาทแข็ง การรวมกลุมทางเศรษฐกิจ (สหภาพเศรษฐกิจ) องคการ
ทางเศรษฐกิจ (WTO)
มข.56 หลักเศรษฐศาสตร กิจกรรมทางเศรษฐกิจ (การผลิต) ระบบเศรษฐกิจ (เสรีนิยม) กลไกราคา กฎอุปทาน
การคลัง (งบประมาณ ภาษี หนี้สาธารณะ) การเงิน (ปริมาณเงิน ธนาคารแหงประเทศไทย) ดุลบัญชีเดินสะพัด
กลุมทางเศรษฐกิจ (AEC)
วิเคราะห -ระดับความยากของขอสอบคือ ปานกลาง เนื้อหาที่ออกสอบจะอยูในบทเรียนระดับ ม.ปลาย หัวขอที่ถามบอย
ขอสอบ เชน การเงิน-การคลัง ภาษี เศรษฐกิจระหวางประเทศ
และ -ขอแนะนํา นองๆ ควรติดตามขาวเศรษฐกิจดวย เชน ภาวะเศรษฐกิจไทยปจจุบันและแนวทางแกไข เชน
ขอแนะนํา เงินเฟอ คาเงินบาทแข็ง ประชาคมอาเซียน
สาระประวัติศาสตร (20 ขอ)
มข.55 -ประวัติศาสตรพื้นฐาน : เทียบศักราช (จุลศักราช) การแบงยุคสมัย (ยุคกลาง) เปรียบเทียบยุคสมัยของไทย
กับโลก หลักฐานและวิธีการทางประวัติศาสตร
-ประวัติศาสตรไทย : สุโขทัย เหตุการณสมัย ร.4 และ ร.5
-ประวัติศาสตรโลก : ตะวันตก (ซูเมอร อียิปต มรดกยุคกลาง สมัยฟนฟูศิลปวิทยาการกับศิลปน ปฏิวัติอเมริกา
ปฏิวัติอุตสาหกรรม สงครามเย็น องคการระหวางประเทศ) / ตะวันออก (จีน เอเชียตะวันออกเฉียงใต)
มข.56 -ประวัติศาสตรพื้นฐาน :เทียบศักราช (มหาศักราช) วิธีการทางประวัติศาสตร
-ประวัติศาสตรไทย : เหตุการณสมัย ร.5 ยุคประชาธิปไตย (กบฏบวรเดช นายกรัฐมนตรี) บุคคลสําคัญและ
ผลงาน (พระยารัษฎานุประดิษฐมหิศรภักดี คอซิมบี้ ณ ระนอง)
-ประวัติศาสตรโลก : ตะวันตก (ยุคหิน ฟนีเซีย สงครามครูเสด ปฏิวัติอุตสาหกรรม สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามเย็น เหตุการณ 911 สหภาพยุโรป) / ตะวันออก (อินเดีย)
วิเคราะห -ระดับความยากของขอสอบคือ ปานกลาง เนื้อหาที่ออกสอบจะอยูในบทเรียนระดับ ม.ปลาย
ขอสอบ -ขอแนะนํา เนื้อหาของประวัติศาสตรโลกตะวันตกจะออกมากกวาประวัติศาสตรไทย (ประวัติศาสตรโลก
และ ออก 10-11 ขอ) นองๆ จึงตองแมนเนื้อหาในสวนนี้ใหมาก สวนประวัติศาสตรไทยออกบอยในเหตุการณใน
ขอแนะนํา สมัย ร.5 และยุคประชาธิปไตย ประวัติศาสตรโลกตะวันออกมีแค 1-2 ขอ
สาระภูมิศาสตร (20 ขอ)
มข.55 -เครื่องมือทางภูมิศาสตร ดาวเทียม ภูมิศาสตรไทยมีรูปภาพประกอบ
มข.56 -เครื่องมือทางภูมิศาสตร ดาวเทียม พายุ เอลนิโญ ภูมิศาสตรไทยมีรูปภาพประกอบ
วิเคราะห -ระดับความยากของขอสอบคือ คอนขางยาก โดยเฉพาะการตอบคําถามจากรูปภาพที่ใหมา นองๆ ตองอาน
ขอสอบ เจาะภาคตะวันออกเฉียงเหนือใหมากที่สุด
และ -ขอแนะนํา นองๆ ลองศึกษาจากขอสอบเกา จะรูวาคนออกขอสอบสาระภูมิศาสตรสุดยอดจริงๆ...ขอใหนองๆ
ขอแนะนํา ทุกคนโชคดี และเลือกคําตอบไดตรงใจของผูออกโจทย
8
TEST…..สอบตรง ม.ขอนแก‹น
1. หากเราเทียบเคียงประวัติศาสตรปลายสมัยอยุธยา เมื่อครั้ง
เสียกรุงครั้งที่สองกับประวัติศาสตรสากลจะเทียบกับขอใด
(1) ประวัติศาสตรยุคโบราณ
(2) ประวัติศาสตรยุคกลาง
(3) ประวัติศาสตรยุคใหม
(4) ประวัติศาสตรยุคปจจุบัน
2. เหตุการณใดถือเปนการสิ้นสุดสงครามเย็น
(1) การลมสลายของสหภาพโซเวียต ค.ศ.1991
(2) สหรัฐอเมริกาเปดความสัมพันธกับสหภาพโซเวียต
(3) จีนเปดประเทศและเปดความสัมพันธกับสหรัฐอเมริกา
(4) กอรบาชอฟประกาศนโยบายกลาสนอส-เปเรสทอยกา
3. ขอใดไมใชผลงานของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา-
เจาอยูหัว
(1) ยกเลิกจตุสดมภ
(2) จัดตั้งมณฑลเทศาภิบาล
(3) จัดทํางบประมาณแผนดิน
(4) ตราพระราชาบัญญัติประถมศึกษา
4. หลังสงครามเย็น (Cold War) ยุติลง นายกรัฐมนตรีทานใด
มีนโยบายสนับสนุนใหเอกชนไปลงทุนทําธุรกิจในประเทศ
เพื่อนบาน เปนคนแรกๆ
(1) นายชวน หลีกภัย
(2) นายอานันท ปนยารชุน
(3) พลเอกเปรม ติณสูลานนท
(4) พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ
5. ขอใดไมใชรัฐรวม
(1) สเปน
(2) อินเดีย
(3) มาเลเซีย
(4) สวิตเซอรแลนด
6. ขอใดไมใชองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2550
(1) คณะกรรมการการเลือกตั้ง
(2) คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน
(3) คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
(4) คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ
7. เมื่อศาลพิพากษาใหลูกหนี้แพคดี ใครมีอํานาจยึดทรัพยสิน
ของลูกหนี้มาชําระหนี้
(1) เจาหนาที่ตํารวจ
(2) เจาพนักงานบังคับคดี
(3) พนักงานอัยการ
(4) เจาหนี้ตามคําพิพากษา
8. พระรัตนตรัย ซึ่งเปนที่พึ่งและเคารพนับถือสูงสุดของชาวพุทธ
เกิดขึ้นครบบริบูรณในวันสําคัญทางศาสนาวันใด
(1) วันวิสาขบูชา
(2) วันอาสาฬหบูชา
(3) วันออกพรรษา
(4) วันมาฆบูชา
9. ศาสนาในขอใดที่ระบุวามีความเชื่อหรือศรัทธาในวันพิพากษา
ทั้งสองศาสนา
(1) พราหมณและพุทธ
(2) พุทธและคริสต
(3) คริสตและอิสลาม
(4) อิสลามและชินโต
10. ถาตองการทราบอัตราความเร็ว ทิศทางและความรุนแรง
ของพายุลวงหนา หรือใชพยากรณความแหงแลงที่จะเกิดขึ้น
ในอนาคต ทานควรจะเลือกใชขอมูลจากดาวเทียมอะไร
(1) GMS
(2) THEOS
(3) LANDSAT Quik Bird
(4) NOAA
11. ถารองมรสุมพาดผานจังหวัดสงขลา-ภูเก็ต ลักษณะภูมิอากาศ
ของประเทศไทยจะมีลักษณะตามขอใด
(1) พื้นที่สวนใหญของประเทศอยูภายใตอิทธิพลลมมรสุม
ตะวันตกเฉียงใต
(2) พื้นที่ภาคเหนือตอนลาง ภาคกลางตอนบนไดรับอิทธิพล
จากลมขาวเบาและลมวาว
(3) ทิศทางการเคลื่อนที่ของพายุหมุนเขตรอนจะพัดผานไป
สูตะวันตกเฉียงเหนือ
(4) พื้นที่สวนใหญของประเทศอยูภายใตอิทธิพลของลมรสุม
ตะวันออกเฉียงเหนือ
12. ปจจัยใดตอไปนี้จะสงผลใหดุลบัญชีเดินสะพัดของไทยปรับตัว
สูงขึ้น หากกําหนดใหปจจัยอื่นๆ ไมเปลี่ยนแปลง
ก. ภาครัฐเพิ่มงบประมาณเพื่อกระตุนการใชจาย
ข. เศรษฐกิจของประเทศคูคาของไทยขยายตัวในอัตรา
ที่สูงขึ้น
ค. ระดับการออมของเศรษฐกิจไทยเพิ่มสูงขึ้น
ง. อัตราแลกเปลี่ยนที่แทจริงของเงินบาทแข็งคาขึ้น
(1) ก และ ค
(2) ข และ ค
(3) ข และ ง
(4) ก และ ข
9
1. ลักษณะตามขอใดจัดเปนการศึกษาทางดานเศรษฐศาสตรมหภาค
1. การควบคุมราคานํ้ามัน 2. การแกไขปญหาเงินเฟอ
3. การประกันราคาขาวเปลือก 4. การศึกษาพฤติกรรมผูบริโภค
2. นายแดงนําเงินมาลงทุน 1 ลานบาท นายขาวนําที่ดินมาใชในกระบวนการการผลิต นายเขียวไดรับการวาจางใหเปนผูจัดการดูแล
กิจการทั้งหมด นางสาวฟาไดรับการวาจางใหเปนพนักงานบัญชีของบริษัท จากขอมูลดังกลาวใครคือผูประกอบการของธุรกิจแหงนี้
1. นายแดง 2. นายแดง และนายขาว
3. นายแดง นายขาว และนายเขียว 4. นายแดง นายขาว นายเขียว และนางสาวฟา
3. ขอใดเรียงลําดับบทบาทของภาคเอกชนในระบบเศรษฐกิจ จากบทบาทมากสุดไปหานอยสุดไดอยางถูกตอง
1. ระบบตลาด ระบบสังคมนิยม ระบบผสม
2. ระบบผสม ระบบเสรีนิยม ระบบสังคมนิยม
3. ระบบการวางแผนจากสวนกลาง ระบบผสม ระบบทุนนิยม
4. ระบบทุนนิยม ระบบผสม ระบบวางแผนจากสวนกลาง
4. ปจจุบันประเทศสวนใหญเปลี่ยนมาใชระบบเศรษฐกิจแบบผสม เพราะเหตุใด
1. ปองกันการกอกําเนิดของลัทธินายทุน
2. สรางความเปนธรรมทางเศรษฐกิจไดมากขึ้น
3. ใชทรัพยากรของประเทศใหเกิดประโยชนอยางแทจริง
4. ขยายความกาวหนาทางดานอุตสาหกรรมไดอยางเต็มที่
5. อุปสงคตลาด (Market Demand) ของนํ้าอัดลม แสดงถึงสิ่งใด
1. ความตองการซื้อนํ้าอัดลมทุกยี่หอของผูซื้อทุกคน 2. ความตองการซื้อ ณ ราคาดุลยภาพในตลาดนํ้าอัดลม
3. ปริมาณเสนอซื้อนํ้าอัดลมแตละยี่หอของผูซื้อทุกคน 4. ปริมาณเสนอซื้อนํ้าอัดลมทุกยี่หอของผูซื้อแตละคน
6. การเปลี่ยนแปลงของปจจัยในขอใดไมสงผลตอการกําหนดปริมาณเสนอซื้อสินคาในตลาด
1. รสนิยมของผูบริโภค 2. ปริมาณของสินคาที่เสนอขาย
3. การเพิ่มขึ้นของจํานวนประชากร 4. การคาดคะเนเกี่ยวกับระดับราคาสินคา
7. เมื่อราคาสินคา A ลดลง อุปสงคในการซื้อสินคา B จะเพิ่มขึ้น ในกรณีเชนนี้สินคา A และ B มีความสัมพันธกันในลักษณะใด
1. A และ B เปนสินคาที่ใชทดแทนกัน 2. A และ B เปนสินคาที่ใชประกอบกัน
3. A เปนสินคาดอย ขณะที่ B เปนสินคาปกติ 4. A เปนสินคาปกติ ขณะที่ B เปนสินคาดอย
8. ตลาดประเภทใดไมจําเปนตองมีการโฆษณาสินคาและบริการ
1. ตลาดผูกขาด 2. ตลาดผูขายนอยราย
3. ตลาดแขงขันสมบูรณ 4. ตลาดกึ่งแขงขันกึ่งผูกขาด
9. ขอใดสัมพันธกับหลักการสหกรณมากที่สุด
1. ทฤษฎีใหมขั้นที่ 1 เศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐาน
2. ทฤษฎีใหมขั้นที่ 2 เศรษฐกิจพอเพียงแบบกาวหนา
3. ทฤษฎีใหมขั้นที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐาน
4. ทฤษฎีใหมขั้นที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงแบบกาวหนา
10. จากสถานการณที่กําหนดใหตอไปนี้ “ชุมชนมรกตเปนชุมชนแออัด ตั้งอยูหลังนิคมอุตสาหกรรมแหงหนึ่ง ชาวชุมชนสวนใหญไมมี
ที่ดินทํากิน จึงอพยพเขาเมืองมาเชารถแท็กซี่ขับ โดยมีความหวังวาจะสงเงินไปใหครอบครัวลงทุนคาขาย” จากกรณีนี้ควรสงเสริม
ใหชุมชนดังกลาวจัดตั้งสหกรณประเภทใด
1. สหกรณนิคม 2. สหกรณบริการ
3. สหกรณรานคา 4. สหกรณเครดิตยูเนียน
พิชิต…..สอบตรง ม.ขอนแก‹น
10
11. การเก็บภาษีในขอใดลดความไมเทาเทียมกันของการกระจายรายได
1. ภาษีมรดก 2. ภาษีขาเขา
3. ภาษีการขาย 4. ภาษีมูลคาเพิ่ม
12. ขอใดเปนการพัฒนาเศรษฐกิจโดยใชนโยบายหนี้สาธารณะ
1. รัฐบาลลดการลงทุน 2. การลดภาษีเงินไดนิติบุคคล
3. การนําพันธบัตรรัฐบาลออกจําหนาย 4. การลดอัตราเงินสดสํารองตามกฎหมาย
13. รัฐบาลจัดทํางบประมาณแบบเกินดุลเพื่อวัตถุประสงคใด
1. แกปญหาเงินฝด 2. กระตุนใหมีการจางงานมากขึ้น
3. ลดความเหลื่อมลํ้าของคนภายในประเทศ 4. ชะลอเศรษฐกิจที่กําลังขยายตัวอยางรวดเร็ว
14. บุคคลในกลุมใดมักจะไดรับประโยชนจากการเกิดเงินเฟอมากกวาบุคคลในขออื่น ๆ
1. ลูกหนี้ 2. เจาหนี้ 3. ขาราชการ 4. ผูใชแรงงาน
15. ธุรกรรมในขอใดไมสงผลตอบัญชีเดินสะพัด
1. การนําเขาและการสงออก 2. การบริจาคระหวางประเทศ
3. การขนสงสินคาระหวางประเทศ 4. การกูยืมเงินทุนระหวางประเทศ
16. แนวทางการคุมครองตลาดสินคาภายในประเทศที่ประเทศไทยควรใชคือขอใด
1. เก็บภาษีนําเขาในอัตราที่ตํ่า 2. ผลิตเฉพาะสินคาที่เสียตนทุนตํ่า
3. ลดการอุดหนุนผูผลิตในประเทศ 4. จํากัดปริมาณนําเขาสินคาที่ประเทศสามารถผลิตได
17. การที่เงินบาทแข็งคาขึ้นจะสงผลกระทบตอการคาระหวางประเทศของไทยอยางไร
1. ประเทศไทยจะสงออกไดมากขึ้น
2. มูลคาการสงออกของประเทศเพิ่มขึ้น
3. ดุลการคาของประเทศไทยมีการปรับตัวดีขึ้น
4. สินคาจากประเทศไทยมีราคาแพงขึ้นในสายตาตลาดโลก
18. การกลาวถึงมาตรการทางเศรษฐกิจของภาครัฐในขอใดที่ถูกตองมากที่สุด
1. การดําเนินนโยบายการเงิน โดยการเพิ่มเงินใหกับกองทุนหมูบาน ชวงเศรษฐกิจหดตัว
2. การดําเนินนโยบายการเงิน โดยการเพิ่มอัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน ชวงเศรษฐกิจขยายตัว
3. การดําเนินนโยบายการคลัง โดยการซื้อคืนพันธบัตรจากประชาชน ชวงเศรษฐกิจหดตัว
4. การดําเนินนโยบายการคลัง โดยการเพิ่มอัตราภาษีและอัตราดอกเบี้ย ชวงเศรษฐกิจขยายตัว
19. หากธนาคารกลางตองการเพิ่มปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ ควรดําเนินมาตรการตามขอใด
1. เพิ่มอัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน 2. เพิ่มอัตราเงินสดสํารองตามกฎหมาย
3. ลดอัตรารับชวงซื้อลดตั๋วสัญญาใชเงิน 4. ออกพันธบัตรเพื่อจําหนวยแกประชาชน
20. ขอใดคือเปาหมายของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
1. นําไปสูการจัดตั้งชุมชนเอเชียตะวันออก
2. ลดอุปสรรคทางการคาระหวางกันใหเหลือนอยที่สุด
3. การรวมกลุมเศรษฐกิจเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน
4. สนับสนุนใหเกิดการคาเสรีบนฐานการแขงขันที่เทาเทียมกัน
21. แหลงอารยธรรมใดที่ปจจัยทางภูมิศาสตรกําหนดใหประชาชนมีระเบียบวินัยอยางเครงครัด
1. กรีก 2. โรมัน
3. อียิปต 4. เมโสโปเตเมีย
22. ยุคมืด (Dark Ages) สัมพันธกับขอใด
1. ความเสื่อมถอยของศาสนจักร 2. ความเสื่อมถอยของลัทธิจักรวรรดินิยม
3. ความรุงเรืองของอารยธรรมกรีก-โรมัน 4. ความรุงเรืองของระบบศักดินาสวามิภักดิ์
11
23. ผลจากการเดินเรือของใครทําใหสเปนครอบครองดินแดนสวนใหญในทวีปอเมริกาใต
1. วาสโกดา กามา 2. จอหน แคตบอต
3. อเมริโก เวสปุสซี่ 4. คริสโตเฟอร โคลัมบัส
24. นักประวัติศาสตรมีความเห็นวาสาเหตุที่แทจริงของสงครามฝน เกิดจากการขัดแยงดานใด
1. ดานศาสนา 2. ดานความคิด
3. ดานอารยธรรม 4. ดานเทคโนโลยี
25. ขอใดไมใชลักษณะสําคัญของประวัติศาสตรสมัยกลาง
1. เกิดสงครามครูเสดระหวางศาสนาคริสต และศาสนาอิสลาม
2. ศาสนจักรมีอิทธิพลทางการเมืองและวิธีชีวิตของคนในสังคม
3. เกิดอาณาจักรขนาดใหญรวมศูนยอํานาจทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม
4. คนพบหลักการ แนวคิดทางวิทยาศาสตรใหมๆ แตไมสามารถเผยแพรได
26. ผลงานของนักประดิษฐทานใดที่มีผลสําคัญตอการปฏิวัติอุตสหกรรมในระยะแรก
1. เจมส วัตต 2. ไมเคิล ฟาราเดย
3. โธมัส อัลวา เอดิสัน 4. เซอรไอแซค นิวตัน
27. ขอใดคือลักษณะสําคัญของสังคมยุโรปที่เปนผลจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมในคริสตศตวรรษที่ 18-19
1. ชนชั้นกรรมาชีพเปนพันธมิตรกับชนชั้นกลาง
2. เกิดระบบรัฐสวัสดิการแกประชาชนอยางทั่วถึง
3. สตรีมีบทบาททางสังคม เศรษฐกิจ เทาเทียมผูชาย
4. ชนชั้นกลางกาวขึ้นมามีอํานาจทางสังคมและการปกครอง
28. ความขัดแยงที่เกิดขึ้นชวงกอนและหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ตางกันอยางไร
1. กอนสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนความขัดแยงดานลัทธิความเชื่อ
2. หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนความขัดแยงดานลัทธิความเชื่อ
3. กอนสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนความขัดแยงดานอุมดการณทางการเมือง
4. หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนความขัดแยงดานอุดมการณทางการเมือง
29. เหตุการณใดสะทอนการผอนคลายความตึงเครียดของประเทศอภิมหาอํานาจ
1. การรวมมือสํารวจอวกาศ 2. การพัฒนาอาวุธทางยุทธศาสตรรวมกัน
3. การเขารวมแขงกีฬาโอลิมปกที่กรุงมอสโก 4. การแลกเปลี่ยนเทคโนโลยีดานนิวเคลียร
30. สงครามใดมีลักษณะเปนสงครามตัวแทน (Proxy war)
1. สงครามอินโดจีน 2. สงครามเวียดนาม
3. สงครามอาวเปอรเซีย 4. สงครามอิรัก-อิหราน
31. มาตรการสุดทาย (Final Solution) ของอดอลฟ ฮิตเลอร ไดรับอิทธิพลมาจากแนวคิดใด
1. “การเลือกสรรธรรมชาติ” ของ ชารลส ดารวิน
2. “การผลิตกอใหเกิดชนชั้นทางสังคม” ของ คารล มารกซ
3. “การเปลี่ยนแปลงพันธุของสิ่งมีชีวิต” ของ ธอมัส มัลทัส
4. “การกําหนดลักษณะทางพันธุกรรม” ของ เกรเกอร แมนเดล
32. ในทวีปอเมริกาใตใครคือผูนําการปลดปลอยการปกครองของสเปนในเขตนิวกรานาดา
1. ฮวน เปรอง 2. ซานตา แอนนา
3. ซิโมน โบลิวาร 4. โฮเซ เดอ ซานมารติน
33. ขอใดคือความหมายของ “ใบบอก”
1. หนังสือรายงานที่หัวเมืองสงมายังรัฐบาล 2. หนังสือสั่งการของเสนาบดีที่มีไปยังเจาเมือง
3. หนังสือที่ลูกขุน ณ ศาลหลวงสงไปยังผูตองหา 4. หนังสือสั่งการโตตอบระหวางเสนาบดีและเจาประเทศราช
12
34. อาณาจักรใดรุงเรืองโดยมีพื้นฐานทางการพาณิชยเปนหลัก
1. กัมพูชา 2. อยุธยา 3. จามปา 4. ศรีวิชัย
35. ขอใดเปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหเกิดภาวะเศรษฐกิจตกตํ่าในสมัยรัชกาลที่ 6-7
1. ผลกระทบจากสงครามโลกครั้งที่ 1
2. ผลจากการนําเงินไปใชเรื่องที่ไมกอใหเกิดรายได
3. ผลสืบเนื่องจากการปฏิรูปการปกครองสมัยรัชกาลที่ 5
4. ผลจากการสงนักเรียนไทยไปศึกษาตอตางประเทศจํานวนมาก
36. การขยายตัวของระบบเศรษฐกิจไทยสูระบบทุนนิยมเสรีปรากฏชัดเจนเมื่อใด
1. ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
2. ประกาศใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
3. จอมพล ป.พิบูลสงครามเปนนายกรัฐมนตรี ครั้งที่ 1
4. จอมพล ป.พิบูลสงครามเปนนายกรัฐมนตรี ครั้งที่ 2
37. สมญานาม “นายชางใหญแหงกรุงสยาม” หมายถึงบุคคลใด
1. ขรัวอินโขง
2. นายศิลป พีระศรี
3. สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยาลงกรณ
4. สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัตติวงศ
38. บุคคลใดที่มีแนวคิดเปนองครวม บูรณาการความรูความเขาใจทางสังคม วัฒนธรรมอยางลุมลึก โดยตั้งอยูบนหลักการศาสนา
และภูมิปญญาไทย จนไดรับการยกยองวาเปน “ราษฎรอาวุโส”
1. ดร.ปวย อึ๊งภากรณ 2. ศ.นพ.ประเวศ วะสี
3. ศ.ดร.นิธิ เอียวศรีวงศ 4. กรมหมื่นนราธิปพงศประพันธ
39. ประเทศใดมีเปาหมายในการหารายไดเขาประเทศโดยเปนแหลงผลิตไฟฟาจากพลังงานนํ้า
1. ลาว 2. เวียดนาม 3. มาเลเซีย 4. อินโดนีเซีย
40. นตฺถิ โลเก อนินฺทิโต (คนที่ไมถูกนินทา ไมมีในโลก) ตรงกับธรรมในขอใด
1. ทิศ 8 2. มรรค 8 3. โลกธรรม 8 4. อุโบสถศีล 8
41. พุทธศาสนาสุภาษิตขอใดสอดคลองกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง
1. สติ โลกสฺมิ ชาคโร (สติเปนเครื่องตื่นในโลก)
2. สนฺตุฎฐี ปรมํ ธนํ (ความสันโดษเปนทรัพยอยางยิ่ง)
3. อิณาทานํ ทุกขํ โลเก (การเปนหนี้เปนทุกขในโลก)
4. นตฺถิ สนฺติ ปรํ สุขํ (สุขอื่นยิ่งกวาความสงบไมมี)
42. คัมภีรใดชวยอธิบายความพระไตรปฎก
1. ฎีกา 2. อรรถกถา 3. สัททาวิเสส 4. ปกรณพิเศษ
43. การยึดหลัก “อัตตกิลถานุโยค” จะกอใหเกิดการปฏิบัติใด
1. การนั่งสมาธิทําจิตใหวาง
2. การทรมานรางกายใหลําบาก
3. การแสวงหาความสุขโดยไมยั้งคิด
4. การดําเนินชีวิตตามที่จิตปรารถนาอยางไรก็ได
44. ขอปฏิบัติใดผิดการทําบุญอัฐิ
1. นิมนตพระสงฆ 8 รูป ประกอบพิธี
2. การทอดผาบังสุกุลตองวางขวางสายโยง
3. สามารถนํารูปภาพผูตายมาตั้งสวดบังสุกุลแทนอัฐิได
4. สายสิญจนตองผูกโยงจากพระประธานมายังพระสงฆ
13
45. การเลือกคูครองจนไดผูที่มีความคิดและความประพฤติดีตรงกันคือหลักธรรมใด
1. สมสีลา 2. สมจาคา 3. สมสัทธา 4. สมปญญา
46. การตอนรับเพื่อนที่มาเยี่ยมบานดวยหลักอามิสปฏิสันถารคือขอใด
1. สันติคอยแนะนําใหคําปรึกษาแกปญหา 2. อารักษทําความสะอาดบานคอยตอนรับ
3. บุษบาจัดเลี้ยงขาวปลาอาหารกลางวันตอนรับ 4. พิเชษฐเนนการสนทนาธรรมกับเพื่อนผูมาเยือน
47. คุณธรรมของผูปกครองในขอใดเหมาะสําหรับนักการเมืองในปจจุบัน
1. ทาน 2. มัททวะ 3. อักโกธะ 4. อาชชวะ
48. นายกรัฐมนตรีสามารถสั่งการและแกปญหานํ้าทวมไดสําเร็จจัดวาสอดคลองกับหลักธรรมใด
1. ปริยัติธรรม 2. ปฏิบัติธรรม 3. ปฏิเวธธรรม 4. สัปปุริสธรรม
49. ขอใดไมเกี่ยวของกับหลักอริยสัจ 4
1. สุจารียึดถือหลักพรหมจรรยเพื่อความหลุดพน
2. สุนทรียคิดวาสรรพสิ่งมีการเกิดขึ้น ดับลง ตามเหตุปจจัย
3. สุนทรเชื่อวาชีวิตมนุษยลวนมีปญหา ตองไดรับความทุกขไมสิ้นสุด
4. สุนารีเชื่อวาการแกปญหาใหพนทุกข ตองปฏิบัติดวยความเพียรพยายามของตน
50. พระกีสาโคตรมีเถรี ถือครองจีวรเศราหมองจัดอยูในสันโดษขอใด
1. ยถาลาภสันโดษ 2. ยถาพลสันโดษ
3. ยถาโภคาสันโดษ 4. ยถาสารุปปสันโดษ
51. ขอใดกลาวถูกตองที่สุด
1. วันมาฆบูชาเปนวันพระธรรมเนื่องจากพระพุทธเจาทรงแสดงอนัตตาลักขณสูตร
2. วันอาสาฬหบูชาเปนวันพระสงฆ เพราะพระสงฆองคแรกไดรับประทานเอหิภิกขุอุปสัมปทา
3. วันมาฆบูชาเปนวันพระสงฆเพราะมีพระสงฆไดรับประทานเอหิภิกขุอุปสัมปทาพรอมกัน 1,250 รูป
4. วันอาสาฬหบูชาเปนวันพระรรมเนื่องจากพระพุทธเจาทรงแสดงธัมมจักกัปปวัตนสูตรเปนครั้งแรก
52. ขอใดจัดอยูในสัมมาทิฎฐิ
1. นิภาเชื่อวานรกสวรรคมีจริง 2. นิสิตระมัดระวังตนไมทําบาป
3. นิพนธรูสึกตนวาทําอะไรลงไป 4. นิพัฒนคิดวาอยูคนเดียวไมเปนทุกข
53. สาเหตุของปกขันทิกาพาธของพระพุทธเจาคือขอใด
1. การเสวยสุกรมัทวะ 2. การบําเพ็ญทุกกรกิริยา
3. ทรงตรากตรําพระวรกาย 4. การเสวยอาหารผิดสําแดง
54. ขอใดคือสาเหตุของการทําสังคายนาพระไตรปฎกครั้งแรกในประเทศไทย
1. เกิดสงครามขึ้นในสมัยอยุธยา 2. พระภิกษุประพฤติหยอนพระวินัย
3. การวางรากฐานของพระพุทธศาสนา 4. การปลอมตนเขามาบวชทําใหพุทธศาสนามัวหมอง
55. การเขาใจธรรมดาโลกของพระนางมัลลิกา จัดอยูในอริยสัจ 4 ขอใด
1. ทุกข 2. สมุทัย 3. นิโรธ 4. มรรค
56. คุณสมบัติของพระอานนทในขอใดมีประโยชนตอพระพุทธศาสนามากที่สุด
1. มองการณไกล 2. จดจําพระพุทธวจนะไดดีมาก
3. เมตตากรุณาอยางยิ่ง 4. มีความเพียรพยายามอยางแรงกลา
57. หลักศรัทธาตอกฎของพระเจา ตามทัศนะของศาสนาอิสลามสอดคลองกับหลักธรรมใดของพุทธศาสนา
1. ขันธ 5 2. ธรรมนิยาม
3. ปฏิจจสมุปบาท 4. มัชฌิมาปฏิปทา
14
58. ศีล 5 ขอใดตรงกับ “อัสเตยะ” ในศาสนาพราหมณ-ฮินดู
1. การไมลักทรัพย 2. การไมพูดโกหก
3. การไมประพฤติผิดในกาม 4. การไมเบียดเบียนสิ่งมีชีวิตนอยใหญ
59. วรรณคดีไทยเรื่องรามเกียรติ์ไดรับอิทธิพลจากศาสนาพราหมณ-ฮินดู นิกายใด
1. นิกายศักติ 2. นิกายไศวะ 3. นิกายพรหมัน 4. นิกายไวศณพ
60. ศีลในศาสนาคริสตขอใดกระทําเฉพาะบาทหลวงเทานั้น
1. ศีลจุม 2. ศีลกําลัง 3. ศีลอนุกรม 4. ศีลมหาสนิท
61. ประเทศใดมีการปกครองรูปแบบเดียวกัน
1. เวียดนาม ลาว 2. เวียดนาม กัมพูชา
3. อินโดนีเซีย บูรไน 4. อินโดนีเซีย มาเลเซีย
62. เพราะเหตุใดจึงเชื่อวาประเทศที่ตกเปนอาณานิคมของประเทศอื่นๆ ไมมีความเปน “รัฐ” ตามหลักรัฐศาสตร
1. ทําใหดินแดนมีขนาดเล็กลงกวาเดิม
2. ขาดความเปนอิสระในการปกครองตนเอง
3. ประชากรมีหลายเชื้อชาติและหลายวัฒนธรรม
4. ประชากรของประเทศตองยอมรับประมุขของประเทศอื่น
63. พฤติกรรมในขอใดที่แสดงวาประชาชนยังไมตระหนักถึงสิทธิและหนาที่ของตนเองตามระบอบประชาธิปไตย
1. ชาติชายดูขาวสารการเมืองจากโทรทัศนกอนนอนทุกคืน
2. ปรีชาไปรวมเดินขบวนกับกรรมกรประทวงนโยบายปรับคาจางแรงงาน
3. ชาตรีลืมไปลงคะแนนเลือกตั้งสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบลเพราะติดภารกิจประจําวัน
4. สมศักดิ์เขียนบทความลงหนังสือพิมพเสนอวิธีการแกไขปญหาความไมสงบในสามจังหวัดชายแดนภาคใต
64. สถานการณในขอใดตอไปนี้ไมใชวิถีทางในระบอบประชาธิปไตย
1. พอคาวิพากษวิจารณการทํางานของรัฐมนตรีบางทาน
2. นายสมัครฟองรองตอศาลเพื่อเรียกคาเสียหายจากโรงพยาบาลเอกชน
3. สาวโรงงานประทวงขอขึ้นคาแรงงานโดยสงบและแจงใหเจาหนาที่ทราบกอน
4. สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบลบางคนสนับสนุนใหชาวนาประทวงรัฐบาลเรื่องประกันราคาขาว
65. รัฐสภาสามารถควบคุมการทํางานของรัฐบาลใหเปนไปตามนโยบายที่แถลงไวตอรัฐสภาดวยวิธีใด
1. การตั้งกระทูถาม 2. การแตงตั้งผูนําฝายคาน
3. การเสนอรางพระราชบัญญัติ 4. การคัดคานรางพระราชบัญญัติ
66. ขอใดเปนองคกรอื่นตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
1. คณะกรรมการการเลือกตั้ง
2. คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน
3. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
4. คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ
67. ประเทศไทยไดรวมลงนามรับรองปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนแหงสหประชาชาติเมื่อใด
1. 3 มกราคม พ.ศ. 2483 2. 10 ธันวาคม พ.ศ. 2491
3. 15 มกราคม พ.ศ. 2500 4. 19 ธันวาคม พ.ศ. 2507
68. หลักการสําคัญเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนคือขอใด
1. หลักความเสมอภาค สิทธิ เสรีภาพ และการไมเลือกปฏิบัติ
2. หลักความเสมอภาค ภราดรภาพ และการขจัดการเลือกปฏิบัติ
3. หลักความเสมอภาค ความสามัคคี และการสงเสริมความยุติธรรม
4. หลักความเสมอภาค ความยุติธรรม และการขจัดความรุนแรงทุกรูปแบบ
15
69. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติจะดําเนินการอยางไรกับกรณีที่เห็นชอบตามที่มีผูรองเรียนวาการกระทําในทางปกครอง
กระทบตอสิทธิมนุษยชนและมีปญหาเกี่ยวกับความชอบดวยกฎหมาย
1. ฟองคดีตอศาลยุติธรรมแทนผูรองเรียน 2. เสนอแนะรัฐบาลใหตรวจสอบดําเนินการ
3. เสนอเรื่องพรอมความเห็นตอศาลปกครอง 4. เสนอเรื่องพรอมความเห็นตอศาลรัฐธรรมนูญ
70. ขอใดเปนการยกเลิกกฎหมายโดยตรง
1. กฎหมายใหมบัญญัติยกเลิกกฎหมายเกา
2. พระราชกําหนดที่ไมผานการอนุมัติของรัฐสภา
3. ศาลยกเลิกเทศบัญญัติที่ขัดหรือแยงตอกฎหมายอื่น
4. ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวารางพระราชบัญญัติขัดตอรัฐธรรมนูญ
71. นิติกรรมตามขอใดมีผลเปนโมฆียะ
1. นิติกรรมที่เกิดจากการแสดงเจตนาลวง
2. นิติกรรมที่เกิดจากการแสดงเจตนาเพราะถูกขมขู
3. นิติกรรมที่ไมทําใหถูกตองตามแบบที่กฎหมายกําหนด
4. นิติกรรมที่เกิดจากการแสดงเจตนาโดยสําคัญผิดในสาระสําคัญของนิติกรรม
72. เจามรดกมีทรัพยมรดก 100 ลานบาท มีทายาทโดยธรรมประเภทญาติไดแก ปู ผูสืบสันดาน พี่นองรวมบิดามารดาเดียวกัน และลุง
ทั้งหมดยังมีชีวิตอยู เมื่อเจามรดกถึงแกความตาย ทายาทโดยธรรมประเภทญาติของเจามรดกจะไดรับมรดกเรียงตามลําดับกอนหลัง
ดังขอใดตอไปนี้
1. พี่นองรวมบิดามารดาเดียวกัน ผูสืบสันดาน ปู ลุง 2. พี่นองรวมบิดามารดาเดียวกัน ผูสืบสันดาน ลุง ปู
3. ผูสืบสันดาน พี่นองรวมบิดามารดาเดียวกัน ลุง ปู 4. ผูสืบสันดาน พี่นองรวมบิดามารดาเดียวกัน ปู ลุง
73. ขอใดกลาวถูกตอง กรณีดําเชาบานของแดงเพื่ออยูอาศัย โดยมีกําหนดระยะเวลาการเชา 4 ป
1. ถามีหลักฐานการเชาเปนหนังสือลงลายมือชื่อ ดําและแดงฟองรองกันได
2. ถามีหลักฐานการเชาเปนหนังสือลงลายมือชื่อ ดําและแดงบังคับกันได 3 ป
3. ถามิไดทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ การเชานั้นเปนโมฆะ
4. ถามิไดทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ บังคับกันไดเพียง 3 ป
74. ทรัพยสินใดไมสามารถนําไปประกันการชําระหนี้ตามสัญญาจํานอง
1. แหวนเพชร 2. สัตวพาหนะ
3. แพที่อยูอาศัย 4. เรือมีระวาง 6 ตัน
75. นายดําละเมอเอาปนยิงนายแดงเปนเหตุใหนายแดงถึงแกความตาย นายดํามีความผิดทางอาญาหรือไม เพราะเหตุใด
1. ไมมีความผิดทางอาญา เพราะ ถือวานายดําไมมีการกระทํา
2. ไมมีความผิดทางอาญา เพราะ ถือวานายดําไมมีเจตนากระทําความผิดมาตั้งแตตน
3. มีความผิดทางอาญา เพราะการกระทําของนายดําครบองคประกอบความผิดทางอาญา
4. มีความผิดทางอาญา เพราะการเสียชีวิตของนายแดงเปนผลโดยตรงจากการกระทําของนายดํา
76. หนวยทางสังคมใดมีความสําคัญมากที่สุดในการถายทอดทางวัฒนธรรม
1. วัด 2. โรงเรียน 3. ครอบครัว 4. กลุมเพื่อน
77. “การที่คนทั่วไปรับประทานอาหารดวยชอน หรือการเขียนหนังสือซายไปขวา” เปนแนวปฏิบัติที่เรียกวาอะไร
1. จารีต 2. วิถีประชา 3. บรรทัดฐาน 4. กฎศีลธรรม
78. การที่คนเคารพกฎระเบียบปฏิบัติตามกฎหมายบานเมืองจัดเปนวัฒนธรรมดานใด
1. วัฒนธรรมทางสหธรรม 2. วัฒนธรรมทางเนติธรรม
3. วัฒนธรรมทางวัตถุธรรม 4. วัฒนธรรมทางศีลธรรม
79. ขอใดไมใชวัฒนธรรมทองถิ่นภาคเหนือ
1. งานทําบุญสลากภัต 2. งานทําบุญรับบัวโยนบัว
3. งานทําบุญทอดผาปาแถว 4. งานทําบุญตามกวยสลาก
16
80. “นายชุมพลพาครอบครัวของตนเขารวมงานประเพณีบุญเดือนสิบ ณ วัดโคกนาว” ขอความขางตนแสดงใหเห็นวานายชุมพล
เขารวมงานโดยมีวัตถุประสงคใด
1. เพื่อสืบทอดกิจกรรมดานพระพุทธศาสนา
2. เพื่อแสดงออกถึงความกตัญูตอบรรพบุรุษ
3. เพื่อถายทอดประเพณีวัฒนธรรมไทยในทองถิ่นภาคใต
4. เพื่อใหลูกหลานที่อยูกระจายกันไปไดมาพบปะพรอมหนากัน
81. ที่ราบสูงปาตาโกเนียในประเทศอารเจนตินาและซิลี ซึ่งอยูระหวางเทือกเขาแอนดีสและมหาสมุทรแอตแลนติก เกิดจากอิทธิพล
ของกระบวนการแปรสัณฐานทางธรณีในขอใด
1. รอยเลื่อน (Fault) 2. รอยคดโคง (Fold)
3. แผนดินไหว (Earthquake) 4. ตะกอนเถาถานการปะทุของภูเขาไฟ (Volcanic eruption)
82. สภาพภูมิอากาศในชวงบายมีลมกรรโชกแรง มีฟาแลบ ทําใหหลังคาบานพังเสียหาย ตนไมโคนลมฝนตกหนัก มีลูกเห็บ แตในชวงคํ่า
สภาพอากาศกลับมาเปนปกติ สภาพดังกลาวตรงกับการเกิดพายุในขอใด
1. พายุฝน 2. พายุลูกเห็บ 3. พายุฝนคะนอง 4. พายุดีเปรสชัน
83. ชั้นบรรยากาศใดที่มีทัศนวิสัยที่ดี เหมาะกับการบินมากที่สุด
1. สเตรโตสเฟยร (Stratosphere) 2. มีโซสเฟยร (Mesosphere)
3. ไอโอสเฟยร (Ionosphere) 4. โทรโพสเฟยร (Troposphere)
84. เพราะเหตุใดการบินถายภาพทางอากาศจึงใหมีการเหลื่อมทั้งดานหนาและดานขาง
1. ตองการประหยัดภาพ 2. ตองการนําไปใชดูภาพสามมิติ
3. ตองการเนนรายละเอียดเพิ่มมากขึ้น 4. ตองการปองกันการถายภาพผิดพลาด
85. ภูมิภาคใดของเอเชียที่มีประชากรอาศัยอยูเบาบาง
1. เอเชียใต 2. เอเชียตะวันออก
3. เอเชียตะวันออกเฉียงใต 4. เอเชียตะวันออกเฉียงใต
86. ขอใดคือคําขวัญวันสิ่งแวดลอมโลกประจําป พ.ศ.2556
1. กิน อยู รูคิด เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม (THINK EAT SAVE)
2. คุณคือพลัง สรางสรรคเศรษฐกิจ เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม (Green Economy : Does it include you?)
3. ปาไมมีคุณ เกื้อหนุนสรรพชีวิต คิดถนอมรักษา (Forests : Nature at your Service)
4. ความหลากหลายทางชีวภาพ กูวิกฤติชีวิตโลก (Many Species One Planet One Future)
87. นายเคนนั่งเรือไปเที่ยวกับเพื่อนและปสสาวะลงในนํ้า ถือเปนการทําผิดกฎหมายที่เกี่ยวของกับการจัดการดานทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอมฉบับใด
1. พระราชบัญญัติการผังเมือง
2. พระราชบัญญัติสาธารณสุข
3. พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาสิ่งแวดลอม
4. พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง
88. ขอใดไมใชภูมิปญญาทองถิ่นเกี่ยวกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
1. การบวชปา 2. การทําฝายแมว
3. การปลูกไมยืนตนที่หัวไรปลายนา 4. การเผาแปลงเกษตรเพื่อกําจัดวัชพืช
89. แนวทางการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน ใหความสําคัญกับสิ่งใดมากที่สุด
1. การนําไปทิ้ง 2. การลดมลพิษจากแหลงกําเนิด
3. การบําบัดของเสีย 4. การใชหมุนเวียนและนํากลับมาใชใหม
90. โครงการใดไมไดมีเปาหมายเพื่อแกไขปญหานํ้าเนาเสีย
1. โครงการไตธรรมชาติ 2. โครงการแกมลิง
3. โครงการนํ้าดีไลนํ้าเสีย 4. โครงการพื้นที่ชุมนํ้าเทียม
17
91. ขอใดคือผลกระทบของการปลอยสารคลอโรฟลูออโรคารบอนจากพื้นผิวโลกขึ้นสูชั้นบรรยากาศจนเกิดปฏิกิริยากับรังสีอัลตราไวโอเลต
1. เกิดหมอกควันและฝนกรด 2. เกิดปรากฏการณฝนดาวตก
3. ชั้นโอโซนของโลกถูกทําลาย 4. อุณหภูมิของโลกจะคอยๆ ลดลง
92. ขอใดไมใชผลกระทบที่เกิดจากภาวะโลกรอน
1. เกิดเหตุการณฝนกรด 2. เกิดเหตุการณระดับนํ้าทะเลสูงขึ้น
3. เกิดเหตุการณไฟปาทําใหสูญเสียปาไมและสัตวปา 4. เกิดเหตุการณปะการังตายตามแนวชายฝงมหาสมุทรอินเดีย
93. ขอใดไมใชวัตถุประสงคหลักขององคการเอกชนอิสระกรีนพืช (greenpeace)
1. ตอตานการขนยายกากสารพิษเขามาทิ้งในไทย
2. ตอตานการใชพันธุพืชที่ตกแตงทางพันธุกรรม
3. ตอตานการใชพลังงานกาซชีวภาพเพื่อแกไขภาวะโลกรอน
4. ตอตานการใชเตาเผาขยะที่ทําใหเกิดสารกอมะเร็งปนเปอนในอวกาศ
94. องคกรเอกชนใดมีวัตถุประสงคหลักเพื่ออนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพของปาชายเลน
1. สมาคมหยาดนํ้าฝน 2. กลุมสมาพันธราศีไศล 3. สมาคมสรางสรรคไทย 4. กองทุนสิ่งแวดลอมโลก
95. ขอใดเปนการใชทรัพยากรที่ถูกวิธีที่สุด
1. การสรางเขื่อนเพื่อกักเก็บนํ้าไวใชในฤดูแลง
2. การพัฒนาที่พักในวนอุทยานเพื่อใหเพียงพอแกนักทองเที่ยว
3. การขุดแรธาตุขึ้นมาใชใหไดประโยชนโดยเร็วเพื่อไมใหเสียโอกาส
4. การถางปาและตัดไมในที่ลาดชันเพื่อการเกษตรขั้นบันไดสมัยใหม
96. อนุสัญญาบาเซิล (Basel convention) มีวัตถุประสงคหลักตามขอใด
1. อนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพ 2. ตอตานการใชพันธุพืชที่ตกแตงทางพันธุกรรม
3. ควบคุมการถายเทกากของเสียอันตรายเขามาทิ้งในไทย 4. สงเสริมการใชพลังงานชีวภาพ เพื่อแกไขปญหาโลกรอน
97. ขอใดเปนอํานาจ บทบาท หนาที่ และภารกิจของกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม
1. ดําเนินการตามกฎหมายวาดวยแรในสวนที่เกี่ยวของ
2. สงเสริม เผยแพรและประชาสัมพันธดานสิ่งแวดลอม
3. บริการขอมูลสารสนเทศและถายทอดเทคโนโลยีดานปาไม
4. ใหความชวยเหลือและคําปรึกษาแนะนําเกี่ยวกับการจัดการมลพิษ
98. การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่ดีรวมทั้งมีประสิทธิภาพควรดําเนินการตามขอใด
1. ประชาชนในทองถิ่นเห็นความสําคัญและมีสวนรวม
2. เพิ่มจํานวนเจาหนาที่และงบประมาณอยางเพียงพอ
3. เนนมาตรการทางกฎหมายใหรัดกุมมีบทลงโทษอยางหนัก
4. จัดตั้งมูลนิธิเพื่อการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
99. ผูใดมีสัตวปาสงวนหรือสัตวปาคุมครองไวในครอบครอง มีบทกําหนดโทษตาม พ.ร.บ.สงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ.2553
ตามขอใด
1. ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน 4 ป ปรับไมเกิน 40,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
2. ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน 5 ป ปรับไมเกิน 50,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
3. ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน 6 ป ปรับไมเกิน 60,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
4. ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน 4 ป ปรับไมเกิน 50,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
100.เจาของหรือผูครอบครองแหลงกําเนิดมลพิษไมปฏิบัติตามกฎหมายหรือคําสั่งเกี่ยวกับการควบคุมปองกันแกไขแหลงกําเนิดมลพิษ
มีโทษตามขอใด
1. จําคุกไมเกิน 1 ป ปรับไมเกิน 100 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
2. จําคุกไมเกิน 1 ป ปรับไมเกิน 1,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
3. จําคุกไมเกิน 1 ป ปรับไมเกิน 10,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
4. จําคุกไมเกิน 1 ป ปรับไมเกิน 100,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
Zq8 y5ru5q okucibxtjdtjtfbi5p8rjf8el706oxuperw7vjczcsslqyboei9ottz
Zq8 y5ru5q okucibxtjdtjtfbi5p8rjf8el706oxuperw7vjczcsslqyboei9ottz
Zq8 y5ru5q okucibxtjdtjtfbi5p8rjf8el706oxuperw7vjczcsslqyboei9ottz
Zq8 y5ru5q okucibxtjdtjtfbi5p8rjf8el706oxuperw7vjczcsslqyboei9ottz
Zq8 y5ru5q okucibxtjdtjtfbi5p8rjf8el706oxuperw7vjczcsslqyboei9ottz
Zq8 y5ru5q okucibxtjdtjtfbi5p8rjf8el706oxuperw7vjczcsslqyboei9ottz
Zq8 y5ru5q okucibxtjdtjtfbi5p8rjf8el706oxuperw7vjczcsslqyboei9ottz
Zq8 y5ru5q okucibxtjdtjtfbi5p8rjf8el706oxuperw7vjczcsslqyboei9ottz
Zq8 y5ru5q okucibxtjdtjtfbi5p8rjf8el706oxuperw7vjczcsslqyboei9ottz
Zq8 y5ru5q okucibxtjdtjtfbi5p8rjf8el706oxuperw7vjczcsslqyboei9ottz
Zq8 y5ru5q okucibxtjdtjtfbi5p8rjf8el706oxuperw7vjczcsslqyboei9ottz
Zq8 y5ru5q okucibxtjdtjtfbi5p8rjf8el706oxuperw7vjczcsslqyboei9ottz
Zq8 y5ru5q okucibxtjdtjtfbi5p8rjf8el706oxuperw7vjczcsslqyboei9ottz
Zq8 y5ru5q okucibxtjdtjtfbi5p8rjf8el706oxuperw7vjczcsslqyboei9ottz
Zq8 y5ru5q okucibxtjdtjtfbi5p8rjf8el706oxuperw7vjczcsslqyboei9ottz
Zq8 y5ru5q okucibxtjdtjtfbi5p8rjf8el706oxuperw7vjczcsslqyboei9ottz
Zq8 y5ru5q okucibxtjdtjtfbi5p8rjf8el706oxuperw7vjczcsslqyboei9ottz
Zq8 y5ru5q okucibxtjdtjtfbi5p8rjf8el706oxuperw7vjczcsslqyboei9ottz
Zq8 y5ru5q okucibxtjdtjtfbi5p8rjf8el706oxuperw7vjczcsslqyboei9ottz
Zq8 y5ru5q okucibxtjdtjtfbi5p8rjf8el706oxuperw7vjczcsslqyboei9ottz
Zq8 y5ru5q okucibxtjdtjtfbi5p8rjf8el706oxuperw7vjczcsslqyboei9ottz
Zq8 y5ru5q okucibxtjdtjtfbi5p8rjf8el706oxuperw7vjczcsslqyboei9ottz
Zq8 y5ru5q okucibxtjdtjtfbi5p8rjf8el706oxuperw7vjczcsslqyboei9ottz
Zq8 y5ru5q okucibxtjdtjtfbi5p8rjf8el706oxuperw7vjczcsslqyboei9ottz
Zq8 y5ru5q okucibxtjdtjtfbi5p8rjf8el706oxuperw7vjczcsslqyboei9ottz

More Related Content

More from Supipat Mokmamern

R o4waynzmhjnolfplx fpvfn1eltpmbp4ak8qg2zban4xu7nyrou7ltqfylpwb7wx
R o4waynzmhjnolfplx fpvfn1eltpmbp4ak8qg2zban4xu7nyrou7ltqfylpwb7wxR o4waynzmhjnolfplx fpvfn1eltpmbp4ak8qg2zban4xu7nyrou7ltqfylpwb7wx
R o4waynzmhjnolfplx fpvfn1eltpmbp4ak8qg2zban4xu7nyrou7ltqfylpwb7wxSupipat Mokmamern
 
Bx i agzuln0ggbawa1iusvennm6cl2yz4sxnfyyxl1kg2mcfii36tmvidgsnbknqu
Bx i agzuln0ggbawa1iusvennm6cl2yz4sxnfyyxl1kg2mcfii36tmvidgsnbknquBx i agzuln0ggbawa1iusvennm6cl2yz4sxnfyyxl1kg2mcfii36tmvidgsnbknqu
Bx i agzuln0ggbawa1iusvennm6cl2yz4sxnfyyxl1kg2mcfii36tmvidgsnbknquSupipat Mokmamern
 
Brv19 r nmxazdgwdmln31m8toctxtciffqsgtr8phxs2ucszdrr6tiuzff6mva30d
Brv19 r nmxazdgwdmln31m8toctxtciffqsgtr8phxs2ucszdrr6tiuzff6mva30dBrv19 r nmxazdgwdmln31m8toctxtciffqsgtr8phxs2ucszdrr6tiuzff6mva30d
Brv19 r nmxazdgwdmln31m8toctxtciffqsgtr8phxs2ucszdrr6tiuzff6mva30dSupipat Mokmamern
 
C xr nryvikiplsyrky0cac6azaxgdw3eii57rdhaelxoa3jbck8mxedm73uydagvs
C xr nryvikiplsyrky0cac6azaxgdw3eii57rdhaelxoa3jbck8mxedm73uydagvsC xr nryvikiplsyrky0cac6azaxgdw3eii57rdhaelxoa3jbck8mxedm73uydagvs
C xr nryvikiplsyrky0cac6azaxgdw3eii57rdhaelxoa3jbck8mxedm73uydagvsSupipat Mokmamern
 
C xr nryvikiplsyrky0cac6azaxgdw3eii57rdhaelxoa3jbck8mxedm73uydagvs
C xr nryvikiplsyrky0cac6azaxgdw3eii57rdhaelxoa3jbck8mxedm73uydagvsC xr nryvikiplsyrky0cac6azaxgdw3eii57rdhaelxoa3jbck8mxedm73uydagvs
C xr nryvikiplsyrky0cac6azaxgdw3eii57rdhaelxoa3jbck8mxedm73uydagvsSupipat Mokmamern
 
E3kgtw z vnrt28rd53gpdo5z4vatpcwobljxdxfaf4qwebmpe9n8poqct9f0gumga
E3kgtw z vnrt28rd53gpdo5z4vatpcwobljxdxfaf4qwebmpe9n8poqct9f0gumgaE3kgtw z vnrt28rd53gpdo5z4vatpcwobljxdxfaf4qwebmpe9n8poqct9f0gumga
E3kgtw z vnrt28rd53gpdo5z4vatpcwobljxdxfaf4qwebmpe9n8poqct9f0gumgaSupipat Mokmamern
 
Py keqc0ytz2ufc6gdsi iqnhhniumihjardqfmjqb31fjfpvba3es5xenjwrautvn
Py keqc0ytz2ufc6gdsi iqnhhniumihjardqfmjqb31fjfpvba3es5xenjwrautvnPy keqc0ytz2ufc6gdsi iqnhhniumihjardqfmjqb31fjfpvba3es5xenjwrautvn
Py keqc0ytz2ufc6gdsi iqnhhniumihjardqfmjqb31fjfpvba3es5xenjwrautvnSupipat Mokmamern
 
F yqow rvaataghwbnzpohxvkvowzpfk8ulcebtyjyfpjtjx5xmzs0xkontskz90df
F yqow rvaataghwbnzpohxvkvowzpfk8ulcebtyjyfpjtjx5xmzs0xkontskz90dfF yqow rvaataghwbnzpohxvkvowzpfk8ulcebtyjyfpjtjx5xmzs0xkontskz90df
F yqow rvaataghwbnzpohxvkvowzpfk8ulcebtyjyfpjtjx5xmzs0xkontskz90dfSupipat Mokmamern
 

More from Supipat Mokmamern (9)

R o4waynzmhjnolfplx fpvfn1eltpmbp4ak8qg2zban4xu7nyrou7ltqfylpwb7wx
R o4waynzmhjnolfplx fpvfn1eltpmbp4ak8qg2zban4xu7nyrou7ltqfylpwb7wxR o4waynzmhjnolfplx fpvfn1eltpmbp4ak8qg2zban4xu7nyrou7ltqfylpwb7wx
R o4waynzmhjnolfplx fpvfn1eltpmbp4ak8qg2zban4xu7nyrou7ltqfylpwb7wx
 
Bx i agzuln0ggbawa1iusvennm6cl2yz4sxnfyyxl1kg2mcfii36tmvidgsnbknqu
Bx i agzuln0ggbawa1iusvennm6cl2yz4sxnfyyxl1kg2mcfii36tmvidgsnbknquBx i agzuln0ggbawa1iusvennm6cl2yz4sxnfyyxl1kg2mcfii36tmvidgsnbknqu
Bx i agzuln0ggbawa1iusvennm6cl2yz4sxnfyyxl1kg2mcfii36tmvidgsnbknqu
 
Brv19 r nmxazdgwdmln31m8toctxtciffqsgtr8phxs2ucszdrr6tiuzff6mva30d
Brv19 r nmxazdgwdmln31m8toctxtciffqsgtr8phxs2ucszdrr6tiuzff6mva30dBrv19 r nmxazdgwdmln31m8toctxtciffqsgtr8phxs2ucszdrr6tiuzff6mva30d
Brv19 r nmxazdgwdmln31m8toctxtciffqsgtr8phxs2ucszdrr6tiuzff6mva30d
 
C xr nryvikiplsyrky0cac6azaxgdw3eii57rdhaelxoa3jbck8mxedm73uydagvs
C xr nryvikiplsyrky0cac6azaxgdw3eii57rdhaelxoa3jbck8mxedm73uydagvsC xr nryvikiplsyrky0cac6azaxgdw3eii57rdhaelxoa3jbck8mxedm73uydagvs
C xr nryvikiplsyrky0cac6azaxgdw3eii57rdhaelxoa3jbck8mxedm73uydagvs
 
C xr nryvikiplsyrky0cac6azaxgdw3eii57rdhaelxoa3jbck8mxedm73uydagvs
C xr nryvikiplsyrky0cac6azaxgdw3eii57rdhaelxoa3jbck8mxedm73uydagvsC xr nryvikiplsyrky0cac6azaxgdw3eii57rdhaelxoa3jbck8mxedm73uydagvs
C xr nryvikiplsyrky0cac6azaxgdw3eii57rdhaelxoa3jbck8mxedm73uydagvs
 
E3kgtw z vnrt28rd53gpdo5z4vatpcwobljxdxfaf4qwebmpe9n8poqct9f0gumga
E3kgtw z vnrt28rd53gpdo5z4vatpcwobljxdxfaf4qwebmpe9n8poqct9f0gumgaE3kgtw z vnrt28rd53gpdo5z4vatpcwobljxdxfaf4qwebmpe9n8poqct9f0gumga
E3kgtw z vnrt28rd53gpdo5z4vatpcwobljxdxfaf4qwebmpe9n8poqct9f0gumga
 
Py keqc0ytz2ufc6gdsi iqnhhniumihjardqfmjqb31fjfpvba3es5xenjwrautvn
Py keqc0ytz2ufc6gdsi iqnhhniumihjardqfmjqb31fjfpvba3es5xenjwrautvnPy keqc0ytz2ufc6gdsi iqnhhniumihjardqfmjqb31fjfpvba3es5xenjwrautvn
Py keqc0ytz2ufc6gdsi iqnhhniumihjardqfmjqb31fjfpvba3es5xenjwrautvn
 
F yqow rvaataghwbnzpohxvkvowzpfk8ulcebtyjyfpjtjx5xmzs0xkontskz90df
F yqow rvaataghwbnzpohxvkvowzpfk8ulcebtyjyfpjtjx5xmzs0xkontskz90dfF yqow rvaataghwbnzpohxvkvowzpfk8ulcebtyjyfpjtjx5xmzs0xkontskz90df
F yqow rvaataghwbnzpohxvkvowzpfk8ulcebtyjyfpjtjx5xmzs0xkontskz90df
 
ใบงานที่1
ใบงานที่1ใบงานที่1
ใบงานที่1
 

Zq8 y5ru5q okucibxtjdtjtfbi5p8rjf8el706oxuperw7vjczcsslqyboei9ottz

  • 1. ทักทาย สวัสดี นองๆ ทุกคน กาวสูปที่ 16 กับภารกิจสานฝนสูความสําเร็จ พันธกิจ เพื่อเยาวชน ในโครงการ “ทบทวนความรูสู มหาวิทยาลัยกับมามา ครั้งที่ 16” จัดโดย ผลิตภัณฑมามา รวมกับ เนชั่นกรุป เพื่อเตรียมความพรอมใหแกนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ที่กําลังเตรียมตัวเขาสูมหาวิทยาลัย ดวยการจัดการเรียนการสอนใน 4 ภูมิภาค โดยคณาจารย ผูทรงคุณวุฒิ และเพื่อเปดโอกาสใหเกิดความเทาเทียมทางการศึกษาในทุกภาคสวนของประเทศ จึงไดทําการถายทอด สัญญาณบรอดแบนดจากมหาวิทยาลัยหอการคาไทย ไปยังโรงเรียนตางๆ ทั่วประเทศที่สมัครเขารวมโครงการกวา 500 โรงเรียน นับแตวินาทีนี้เปนตนไป ขอใหนองๆ ตั้งใจรับความรูจากคณาจารยผูเชี่ยวชาญที่ไดคัดกรองเนื้อหาสาระ มาเติมเต็มใหแกนองๆ เพื่อนําไปใชสอบแขงขันในครั้งนี้ พิเศษ ! ในป 2558 ประเทศไทยจะกาวสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC ภาษาอังกฤษถือวา มีความสําคัญยิ่ง...ดวยเล็งเห็นความสําคัญดังกลาว โครงการจึงไดจัดการเรียนการสอนแบบเขมขนใหกับนองๆ อีก 1 วัน ที่มหาวิทยาลัยหอการคาไทย พรอมถายทอดบรอดแบรนดทั่วประเทศ ดวยการแขงขัน และความทาทาย ที่รออยู... นองๆ จะตองเตรียมตัวใหพรอม รูจักใช “ทักษะ คิด วิเคราะห” อยางละเอียดรอบคอบ และที่สําคัญตองมี “สมาธิ” แลวนองๆ จะพบกับโอกาส และทางเลือกที่มากขึ้น พี่ๆ ขอเปนกําลังใจ และขออวยพรใหนองๆ โชคดีทุกคน กองบรรณาธิการ โครงการทบทวนความรูสูมหาวิทยาลัยกับมามา
  • 2. สารบัญ กลยุทธพิชิตขŒอสอบวิชาสังคมศึกษาฯ กับ อ.ชัย 3 วิเคราะหขŒอสอบตรง มข. ป‚ 2555 และ ป‚ 2556 6 TEST…..สอบตรง ม.ขอนแก‹น 8 พิชิต…..สอบตรง ม.ขอนแก‹น 9 TEST…..Clearinghouse (สังคม 7 วิชาสามัญ) 18 TEST…สังคม O-NET 19 พิชิต…..สังคม 7 วิชาสามัญ (Clearinghouse) และ O-NET 20 ข‹าวเด‹นในประเทศ ป‚ 2555 30 ข‹าวเด‹นต‹างประเทศ ป‚ 2555 32 แนวขŒอสอบเขŒามหาวิทยาลัย วิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โดย อ.สมชาย งามกาละ 37 วิชาสังคมศึกษา และวัฒนธรรม โดย อ.คมขํา ดีวงษา 43 สังคมศึกษา 2556 54 หนŒาที่พลเมืองและวัฒนธรรมการดําเนินชีวิต โดย อ.วีระชัย บัวผัน 67 เอกสารประกอบการสอน วิชาภาษาไทยโดย อ.กิจมาโนชย โรจนทรัพย (ครูลิลลี่) 87 วิทยาศาสตร O-Net โดย อ.กรกฤช ศรีวิชัย 92 วิทยาศาสตร O-Net โดย อ.เสนอ อมตเวทย 105
  • 3. 3 สวัสดีลูกศิษยทุกคน เวลาชางผานไปอยางรวดเร็วจริงๆ ตอนนี้นองๆ ไดขึ้นมาเรียนในชั้น ม.6 กันแลว ซึ่งถือเปนชวงสําคัญ ของชีวิตที่จะกาวเขาไปสูการใชชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยที่ใฝฝนไว นองๆ เตรียมพรอมกับการสอบเขามหาวิทยาลัยที่ใกลเขามาหรือยัง ถายังไมพรอมและตองการใหความฝนของนองๆ เปนจริงขึ้นมา อ.ชัย ขอแนะนําโครงการติวเขมเติมเต็มความรูระดับประเทศที่จะเปน ตัวชวยเพิ่มพลังสมองและติดอาวุธทางปญญาใหกับนองๆ ได นั่นก็คือ “โครงการทบทวนความรูสูมหาวิทยาลัยกับมามาครั้งที่ 16” นองๆ จะไดเรียนกับคุณครูที่มากดวยความรูและประสบการณการสอนที่พรอมจะถายทอดความรู ทักษะการคิด การฝกวิเคราะโจทย การแนะนําเทคนิคและเคล็ดลับตางๆ เพื่อใหนองๆ พิชิตขอสอบไดอยางมั่นใจ ตามคําขอจากนองๆ วิชาสังคมศึกษาฯ ในสวนของ อ.ชัย ในปนี้ ไดเพิ่มบทวิเคราะหขอสอบตรงของมหาวิทยาลัยขอนแกน (มข.) เขาไปดวย เพื่อใหนองๆ ไดรูเปนแนวทางในการเตรียมตัวอานหนังสือสอบ รวมทั้งใหขอสอบใหมเพื่อประลองความรูกอนลงสูสนามจริง ไดแก ขอสอบตรงของมหาวิทยาลัยขอนแกน ขอสอบสังคม 7 วิชาสามัญ (clearinghouse) และขอสอบสังคม O-NET สุดทายนี้ อ.ชัย ขอเปนตัวแทนของนักเรียนทั่วประเทศเพื่อกลาวขอบคุณผูใหญใจดีทุกทานของมามาที่ไดจัดโครงการดีๆ ที่ เล็งเห็นถึงความสําคัญดานการศึกษาของเด็กไทยและการกระจายความรูไปสูนักเรียนทุกภูมิภาคอยางทั่วถึง ฉะนั้นโอกาสดีๆ ในชวง ปดเทอมแบบนี้ นักเรียนพลาดไมไดเลยนะ แลวเรามาเจอกันในวันติวเขมนะจะ รักลูกศิษยทุกคน ..... อ.ชัย. ë ë ë  รูเรา-รูเขา  ขอสอบวิชาสังคมฯ รูเรา รูเขา - รูเนื้อหาครบ 5 สาระ - รับตรง / สอบ clearing house / สอบ O-NET - ฝกทําขอสอบเกา - ออกแบบใด (อัตนัย ปรนัย จํานวนขอ จํานวนตัวเลือก) - ประลองโจทยใหม - เรื่องใดออกบอย - รูแนว “ตั้งคําถาม” สอบตรง ขอสอบตรง ม.เชียงใหม ม.ขอนแกน ม.สงขลานครินทร มี 100 ขอ แบบเลือกคําตอบเดียว มี 4 ตัวเลือก สอบ Clearinghouse ขอสอบสังคมใน 7 วิชาสามัญ มี 50 ขอ แบบเลือกคําตอบเดียว มี 5 ตัวเลือก สอบ O-NET สังคม O-NET 80 ขอ (แบบเลือกคําตอบเดียว มี 65 ขอ แบบเลือก 2 คําตอบ มี 15 ขอ) - สาระศาสนา 16 ขอ (13 + 3) - สาระหนาที่พลเมืองฯ 16 ขอ (13 + 3) - สาระเศรษฐศาสตร 16 ขอ (13 + 3) - สาระประวัติศาสตร 16 ขอ (13 + 3) - สาระภูมิศาสตร 16 ขอ (13 + 3) วิชาสังคมศึกษา อาจารยชัย ลาภเพิ่มทวี กลยุทธพิชิตขŒอสอบวิชาสังคมศึกษาฯ กับ อ.ชัย
  • 4. 4  รูปแบบการตั้งคําถาม   เหตุ/ผล 1. เพราะเหตุใดจึงเกิดการปฏิรูปบานเมืองสมัยรัชกาลที่ 5 2. ผลจาก ส.เบาวริ่ง / ผลจากเงินเฟอ  วัตถุประสงค/กอนหลัง 3. วัตถุประสงค WTO, IMF, UNCTAD, NATO 4. ใหเรียงลําดับเหตุการณกอน-หลัง   เลนคํา 5. กรรโชกทรัพย รีดเอาทรัพย   เหมือน/ตาง 6. มนุษย ≠ สัตวสังคมอื่น, LN ≠ UN   มากสุด/นอยสุด 7. ขอใดสําคัญมากที่สุดหรือนอยที่สุด   ไมใช/ยกเวน 8. ไมใช/ยกเวน   แนวโนม 9. แนวโนมของสังคมไทย, ความขัดแยงในโลกปจจุบัน   ตรง/ออม 10. การขัดเกลาทางตรง/ออม  สาระการเรียนรูวิชาสังคมศึกษาฯ ตามหลักสูตรใหม ประวัติศาสตร ë ประวัติศาสตรไทย 1. เวลาและการแบงยุคสมัยทางประวัติศาสตรไทย 2. วิธีการทางประวัติศาสตรและหลักฐาน 3. เหตุการณสําคัญทางประวัติศาสตรไทย - รัฐโบราณในดินแดนไทย - ความเปนมาของชนชาติไทย - การปฏิรูปบานเมืองในสมัยรัชกาลที่ 5 - การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 - พัฒนาการประวัติศาสตรไทยดานตางๆ ในสมัยสุโขทัย อยุธยา รัตนโกสินทร - บุคคลสําคัญกับงานผลงาน - ภูมิปญญาไทย ë ประวัติศาสตรสากล 4. เวลา และการแบงยุคสมัยทางประวัติศาสตรสากล 5. อารยธรรมโลก (เมโสโปเตเมีย อียิปต กรีก โรมัน จีน อินเดีย) 6. เหตุการณสําคัญทางประวัติศาสตรสากล - สมัยกลาง (ฟวดัล สงครามครูเสด การฟนฟูศิลปวิทยาการ) - สมัยใหม (การปฏิรูปศาสนา การปฏิวัติวิทยาศาสตร การปฏิวัติอุตสาหกรรม การปฏิวัติโลก) 7. ความขัดแยงและความรวมมือ - สงครามโลก สงครามเย็น - องคการสหประชาชาติ 8. อาเซียนศึกษา ภูมิศาสตร 1. เครื่องมือทางภูมิศาสตร 2. ปฏิสัมพันธเชิงภูมิศาสตร 3. การเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ 4. วิกฤตการณดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 5. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เหตุ/ผล วัตถุประสงค/กอนหลัง เลนคํา เหมือน/ตาง มากสุด/นอยสุด ไมใช/ยกเวน แนวโนม ตรง/ออม
  • 5. 5 เศรษฐศาสตร 1. เศรษฐศาสตรเบื้องตนและศัพทสําคัญ 2. ระบบเศรษฐกิจ 3. การพัฒนาเศรษฐกิจของไทยและแผนพัฒนาฯ 4. เศรษฐกิจพอเพียงและสหกรณ 5. นโยบายการเงินการคลัง 6. เศรษฐกิจระหวางประเทศ 7. วิกฤตเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม 1. สังคมมนุษยและศัพททางสังคมวิทยา 2. วัฒนธรรม 3. สิทธิมนุษยชน รัฐและการเมืองไทย 1. รัฐและระบอบการเมือง (ระบบรัฐบาล ประชาธิปไตย เผด็จการ) 2. รัฐธรรมนูญ (การเลือกตั้ง พรรคการเมือง องคกรสําคัญ) 3. การเมืองไทย (รัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล) กฎหมาย 1. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมาย (ความหมาย ลักษณะ ประเภท และลําดับศักดิ์ของกฎหมาย) 2. กฎหมายแพง (บุคคล ทรัพย นิติกรรม หนี้และละเมิด เอกเทศสัญญา ครอบครัว มรดก) 3. กฎหมายอาญา 4. กระบวนการยุติธรรมทางแพงและอาญา ศาสนาฯ 1. พระพุทธศาสนา 2. ศาสนาสากล (เตา ขงจื๊อ ชินโต / พราหมณ-ฮินดู เชน พุทธ ซิกข / โซโรอัสเตอร ยูดาห คริสต อิสลาม)  หนังสืออานเสริมเตรียมสอบวิชาสังคมศึกษาฯ 1. หัวใจสังคม O-NET 2. รูทันขอสอบสังคม O-NET 3. คลังขอสอบสังคม O-NET ฉบับ KEY 4. ลูกเลนขอสอบสังคม  กําลังใจ “คติเตือนใจ ยามทอใจ” - Where there’s a will there’s a way = ความพยายามอยูที่ไหน ความสําเร็จอยูที่นั่น - Time and tide wait for no man = เวลาและวารีไมเคยคอยใคร - Time lost cannot be recalled = เวลาที่สูญเสียไปแลว ไมสามารถเรียกกลับมาได - Never put off till tomorrow what may be done today = อยาผัดวันประกันพรุง - Nothing is impossible to a willing heart = ไมมีสิ่งใดเปนไปไมได ถาใจคิดจะทํา - Whatever man has done, man can do = เมื่อเขาทําได เราตองทําได - No pains, no gains = ไมมีอะไรไดมาโดยไมเจ็บปวด ë ë ë ë ë
  • 6. 6 วิเคราะหขŒอสอบตรง มข. ป‚ 2555 และ ป‚ 2556 สาระศาสนา (20 ขอ) มข.55 -หลักธรรมะที่ออกสอบ ไดแก อริยสัจ ทุกข อิทธิบาทสี่ พรหมวิหารสี่ สังคหวัตถุสี่ ฆราวาสธรรม ศีล (ศีล 5 ศีล 8 ศีล 10) ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร / วันสําคัญ (วิสาขบูชา มาฆบูชา อาสาฬหบูชา) / บุคคลในสมัยพุทธกาล (โกณฑัญญะ) / ศาสนิกชนตัวอยาง (อนาคาริกะ ธรรมปาละ) -ศาสนาคริสต (1 ขอ ตรีเอกานุภาพ) / ศาสนาอิสลาม (2 ขอ) มข.56 -หลักธรรมะที่ออกสอบ ไดแก อริยสัจ ทุกข มนุษยธรรม อิทธิบาทสี่ พรหมวิหารสี่ มรรคมีองคแปด ทางสายกลาง สาราณียธรรม อปริหานิยธรรม / บทสวดมนต (ธรรมคุณ โอปนยิโก) / การบริหารจิต (กายานุปสสนา) / พระไตรปฎก / วันสําคัญและศาสนพิธี (อาสาฬหบูชา ทอดกฐิน) / บุคคลในสมัยพุทธกาล (พระอัสสชิ พระสารีบุตร) -ศาสนาคริสต (1 ขอ ตรีเอกานุภาพ) / ศาสนาเปรียบเทียบ (1 ขอ คริสต-อิสลาม) วิเคราะห -ระดับความยากของขอสอบคือ ธรรมดา นองๆ ตองออกอานหลักธรรมเยอะกวาสวนอื่น สวนใหญเปนคําถาม ขอสอบ พื้นฐานระดับ ม.ปลาย นองๆ ควรอานเพิ่มเติมจากหนังสือคูมือเตรียมสอบวิชาสังคมศึกษาฯทั่วไป สวนขอสอบ และ ศาสนาสากล ออกสอบแค 2-3 ขอ ขอแนะนํา -ขอแนะนํา เรื่องที่นองๆ ควรอานเพิ่มใหแมนยํา ถาสับสนจะเลือกคําตอบผิด ทําใหเสียคะแนนไปอยาง นาเสียดายนะ เชน บทสวดมนตและคําแปล (พุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ) / พุทธศาสนพิธี (กุศลพิธี บุญพิธี ทานพิธี) / ศาสนิกชนตัวอยางและคุณธรรมที่ควรถือเปนแบบอยาง สาระหนาที่พลเมือง (20 ขอ) มข.55 -รัฐและการเมืองไทย : ระบบประธานาธิบดี ประเทศใดที่มีกษัตริยหรือประธานาธิบดีเปนประมุข ศาลรัฐธรรมนูญ นายกรัฐมนตรี (ยุบสภา) องคกรอิสระและองคกรอื่นตามรัฐธรรมนูญ -กฎหมาย : ประเภทกฎหมาย เจาพนักงานบังคดีในคดีแพง เยาวชน (14-18 ป) -สังคมวัฒนธรรม : ไมมี แตไปถามเรื่องขาวในประเทศและตางประเทศ มข.56 -รัฐและการเมืองไทย : ระบบการเมือง (คอมมิวนิสต) ระบบประธานาธิบดี -กฎหมาย : ไมมี แตถามขาวในประเทศและตางประเทศ 4-5 ขอ -สังคมวัฒนธรรม : บรรทัดฐาน สถานภาพและบทบาท การขัดเกลาทางสังคม วัฒนธรรมไทย วิเคราะห -ระดับความยากของขอสอบคือ ปานกลางถึงคอนขางยาก เพราะเนื้อหากวางและตองติดตามขาว ถาปนั้น ขอสอบ ขาวไมเดนดังก็จะถามเนื้อหาตามบทเรียน เนื้อหาที่ออกบอยมักเปนเรื่องรัฐ และการเมืองไทย และ -ขอแนะนํา นองๆ ตองดูขาวทั้งในประเทศและตางประเทศวาชวงครึ่งปแรกนี้มีเรื่องเดนอะไรบาง ขาวเกี่ยวกับ ขอแนะนํา รัฐบาล เชน การปรับ ครม. เหตุการณทางการเมืองหรือการเลือกตั้งที่เกิดขึ้นทั้งในประเทศ และตางประเทศ เชน การรัฐประหารที่อียิปต บุคคลที่เปนขาวดัง เชน เณรคํา ความรวมมือของไทยกับประเทศเพื่อนบาน
  • 7. 7 สาระเศรษฐศาสตร (20 ขอ) มข.55 อุปสงค-อุปทาน การพยุงราคาสินคา เศรษฐกิจพอเพียง สหกรณ นโยบายการเงิน นโยบายการคลัง ภาษี ทางตรง-ออม มาตรการทางการคา คาเงินบาทแข็ง การรวมกลุมทางเศรษฐกิจ (สหภาพเศรษฐกิจ) องคการ ทางเศรษฐกิจ (WTO) มข.56 หลักเศรษฐศาสตร กิจกรรมทางเศรษฐกิจ (การผลิต) ระบบเศรษฐกิจ (เสรีนิยม) กลไกราคา กฎอุปทาน การคลัง (งบประมาณ ภาษี หนี้สาธารณะ) การเงิน (ปริมาณเงิน ธนาคารแหงประเทศไทย) ดุลบัญชีเดินสะพัด กลุมทางเศรษฐกิจ (AEC) วิเคราะห -ระดับความยากของขอสอบคือ ปานกลาง เนื้อหาที่ออกสอบจะอยูในบทเรียนระดับ ม.ปลาย หัวขอที่ถามบอย ขอสอบ เชน การเงิน-การคลัง ภาษี เศรษฐกิจระหวางประเทศ และ -ขอแนะนํา นองๆ ควรติดตามขาวเศรษฐกิจดวย เชน ภาวะเศรษฐกิจไทยปจจุบันและแนวทางแกไข เชน ขอแนะนํา เงินเฟอ คาเงินบาทแข็ง ประชาคมอาเซียน สาระประวัติศาสตร (20 ขอ) มข.55 -ประวัติศาสตรพื้นฐาน : เทียบศักราช (จุลศักราช) การแบงยุคสมัย (ยุคกลาง) เปรียบเทียบยุคสมัยของไทย กับโลก หลักฐานและวิธีการทางประวัติศาสตร -ประวัติศาสตรไทย : สุโขทัย เหตุการณสมัย ร.4 และ ร.5 -ประวัติศาสตรโลก : ตะวันตก (ซูเมอร อียิปต มรดกยุคกลาง สมัยฟนฟูศิลปวิทยาการกับศิลปน ปฏิวัติอเมริกา ปฏิวัติอุตสาหกรรม สงครามเย็น องคการระหวางประเทศ) / ตะวันออก (จีน เอเชียตะวันออกเฉียงใต) มข.56 -ประวัติศาสตรพื้นฐาน :เทียบศักราช (มหาศักราช) วิธีการทางประวัติศาสตร -ประวัติศาสตรไทย : เหตุการณสมัย ร.5 ยุคประชาธิปไตย (กบฏบวรเดช นายกรัฐมนตรี) บุคคลสําคัญและ ผลงาน (พระยารัษฎานุประดิษฐมหิศรภักดี คอซิมบี้ ณ ระนอง) -ประวัติศาสตรโลก : ตะวันตก (ยุคหิน ฟนีเซีย สงครามครูเสด ปฏิวัติอุตสาหกรรม สงครามโลกครั้งที่ 1 สงครามเย็น เหตุการณ 911 สหภาพยุโรป) / ตะวันออก (อินเดีย) วิเคราะห -ระดับความยากของขอสอบคือ ปานกลาง เนื้อหาที่ออกสอบจะอยูในบทเรียนระดับ ม.ปลาย ขอสอบ -ขอแนะนํา เนื้อหาของประวัติศาสตรโลกตะวันตกจะออกมากกวาประวัติศาสตรไทย (ประวัติศาสตรโลก และ ออก 10-11 ขอ) นองๆ จึงตองแมนเนื้อหาในสวนนี้ใหมาก สวนประวัติศาสตรไทยออกบอยในเหตุการณใน ขอแนะนํา สมัย ร.5 และยุคประชาธิปไตย ประวัติศาสตรโลกตะวันออกมีแค 1-2 ขอ สาระภูมิศาสตร (20 ขอ) มข.55 -เครื่องมือทางภูมิศาสตร ดาวเทียม ภูมิศาสตรไทยมีรูปภาพประกอบ มข.56 -เครื่องมือทางภูมิศาสตร ดาวเทียม พายุ เอลนิโญ ภูมิศาสตรไทยมีรูปภาพประกอบ วิเคราะห -ระดับความยากของขอสอบคือ คอนขางยาก โดยเฉพาะการตอบคําถามจากรูปภาพที่ใหมา นองๆ ตองอาน ขอสอบ เจาะภาคตะวันออกเฉียงเหนือใหมากที่สุด และ -ขอแนะนํา นองๆ ลองศึกษาจากขอสอบเกา จะรูวาคนออกขอสอบสาระภูมิศาสตรสุดยอดจริงๆ...ขอใหนองๆ ขอแนะนํา ทุกคนโชคดี และเลือกคําตอบไดตรงใจของผูออกโจทย
  • 8. 8 TEST…..สอบตรง ม.ขอนแก‹น 1. หากเราเทียบเคียงประวัติศาสตรปลายสมัยอยุธยา เมื่อครั้ง เสียกรุงครั้งที่สองกับประวัติศาสตรสากลจะเทียบกับขอใด (1) ประวัติศาสตรยุคโบราณ (2) ประวัติศาสตรยุคกลาง (3) ประวัติศาสตรยุคใหม (4) ประวัติศาสตรยุคปจจุบัน 2. เหตุการณใดถือเปนการสิ้นสุดสงครามเย็น (1) การลมสลายของสหภาพโซเวียต ค.ศ.1991 (2) สหรัฐอเมริกาเปดความสัมพันธกับสหภาพโซเวียต (3) จีนเปดประเทศและเปดความสัมพันธกับสหรัฐอเมริกา (4) กอรบาชอฟประกาศนโยบายกลาสนอส-เปเรสทอยกา 3. ขอใดไมใชผลงานของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา- เจาอยูหัว (1) ยกเลิกจตุสดมภ (2) จัดตั้งมณฑลเทศาภิบาล (3) จัดทํางบประมาณแผนดิน (4) ตราพระราชาบัญญัติประถมศึกษา 4. หลังสงครามเย็น (Cold War) ยุติลง นายกรัฐมนตรีทานใด มีนโยบายสนับสนุนใหเอกชนไปลงทุนทําธุรกิจในประเทศ เพื่อนบาน เปนคนแรกๆ (1) นายชวน หลีกภัย (2) นายอานันท ปนยารชุน (3) พลเอกเปรม ติณสูลานนท (4) พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ 5. ขอใดไมใชรัฐรวม (1) สเปน (2) อินเดีย (3) มาเลเซีย (4) สวิตเซอรแลนด 6. ขอใดไมใชองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 (1) คณะกรรมการการเลือกตั้ง (2) คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน (3) คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ (4) คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ 7. เมื่อศาลพิพากษาใหลูกหนี้แพคดี ใครมีอํานาจยึดทรัพยสิน ของลูกหนี้มาชําระหนี้ (1) เจาหนาที่ตํารวจ (2) เจาพนักงานบังคับคดี (3) พนักงานอัยการ (4) เจาหนี้ตามคําพิพากษา 8. พระรัตนตรัย ซึ่งเปนที่พึ่งและเคารพนับถือสูงสุดของชาวพุทธ เกิดขึ้นครบบริบูรณในวันสําคัญทางศาสนาวันใด (1) วันวิสาขบูชา (2) วันอาสาฬหบูชา (3) วันออกพรรษา (4) วันมาฆบูชา 9. ศาสนาในขอใดที่ระบุวามีความเชื่อหรือศรัทธาในวันพิพากษา ทั้งสองศาสนา (1) พราหมณและพุทธ (2) พุทธและคริสต (3) คริสตและอิสลาม (4) อิสลามและชินโต 10. ถาตองการทราบอัตราความเร็ว ทิศทางและความรุนแรง ของพายุลวงหนา หรือใชพยากรณความแหงแลงที่จะเกิดขึ้น ในอนาคต ทานควรจะเลือกใชขอมูลจากดาวเทียมอะไร (1) GMS (2) THEOS (3) LANDSAT Quik Bird (4) NOAA 11. ถารองมรสุมพาดผานจังหวัดสงขลา-ภูเก็ต ลักษณะภูมิอากาศ ของประเทศไทยจะมีลักษณะตามขอใด (1) พื้นที่สวนใหญของประเทศอยูภายใตอิทธิพลลมมรสุม ตะวันตกเฉียงใต (2) พื้นที่ภาคเหนือตอนลาง ภาคกลางตอนบนไดรับอิทธิพล จากลมขาวเบาและลมวาว (3) ทิศทางการเคลื่อนที่ของพายุหมุนเขตรอนจะพัดผานไป สูตะวันตกเฉียงเหนือ (4) พื้นที่สวนใหญของประเทศอยูภายใตอิทธิพลของลมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือ 12. ปจจัยใดตอไปนี้จะสงผลใหดุลบัญชีเดินสะพัดของไทยปรับตัว สูงขึ้น หากกําหนดใหปจจัยอื่นๆ ไมเปลี่ยนแปลง ก. ภาครัฐเพิ่มงบประมาณเพื่อกระตุนการใชจาย ข. เศรษฐกิจของประเทศคูคาของไทยขยายตัวในอัตรา ที่สูงขึ้น ค. ระดับการออมของเศรษฐกิจไทยเพิ่มสูงขึ้น ง. อัตราแลกเปลี่ยนที่แทจริงของเงินบาทแข็งคาขึ้น (1) ก และ ค (2) ข และ ค (3) ข และ ง (4) ก และ ข
  • 9. 9 1. ลักษณะตามขอใดจัดเปนการศึกษาทางดานเศรษฐศาสตรมหภาค 1. การควบคุมราคานํ้ามัน 2. การแกไขปญหาเงินเฟอ 3. การประกันราคาขาวเปลือก 4. การศึกษาพฤติกรรมผูบริโภค 2. นายแดงนําเงินมาลงทุน 1 ลานบาท นายขาวนําที่ดินมาใชในกระบวนการการผลิต นายเขียวไดรับการวาจางใหเปนผูจัดการดูแล กิจการทั้งหมด นางสาวฟาไดรับการวาจางใหเปนพนักงานบัญชีของบริษัท จากขอมูลดังกลาวใครคือผูประกอบการของธุรกิจแหงนี้ 1. นายแดง 2. นายแดง และนายขาว 3. นายแดง นายขาว และนายเขียว 4. นายแดง นายขาว นายเขียว และนางสาวฟา 3. ขอใดเรียงลําดับบทบาทของภาคเอกชนในระบบเศรษฐกิจ จากบทบาทมากสุดไปหานอยสุดไดอยางถูกตอง 1. ระบบตลาด ระบบสังคมนิยม ระบบผสม 2. ระบบผสม ระบบเสรีนิยม ระบบสังคมนิยม 3. ระบบการวางแผนจากสวนกลาง ระบบผสม ระบบทุนนิยม 4. ระบบทุนนิยม ระบบผสม ระบบวางแผนจากสวนกลาง 4. ปจจุบันประเทศสวนใหญเปลี่ยนมาใชระบบเศรษฐกิจแบบผสม เพราะเหตุใด 1. ปองกันการกอกําเนิดของลัทธินายทุน 2. สรางความเปนธรรมทางเศรษฐกิจไดมากขึ้น 3. ใชทรัพยากรของประเทศใหเกิดประโยชนอยางแทจริง 4. ขยายความกาวหนาทางดานอุตสาหกรรมไดอยางเต็มที่ 5. อุปสงคตลาด (Market Demand) ของนํ้าอัดลม แสดงถึงสิ่งใด 1. ความตองการซื้อนํ้าอัดลมทุกยี่หอของผูซื้อทุกคน 2. ความตองการซื้อ ณ ราคาดุลยภาพในตลาดนํ้าอัดลม 3. ปริมาณเสนอซื้อนํ้าอัดลมแตละยี่หอของผูซื้อทุกคน 4. ปริมาณเสนอซื้อนํ้าอัดลมทุกยี่หอของผูซื้อแตละคน 6. การเปลี่ยนแปลงของปจจัยในขอใดไมสงผลตอการกําหนดปริมาณเสนอซื้อสินคาในตลาด 1. รสนิยมของผูบริโภค 2. ปริมาณของสินคาที่เสนอขาย 3. การเพิ่มขึ้นของจํานวนประชากร 4. การคาดคะเนเกี่ยวกับระดับราคาสินคา 7. เมื่อราคาสินคา A ลดลง อุปสงคในการซื้อสินคา B จะเพิ่มขึ้น ในกรณีเชนนี้สินคา A และ B มีความสัมพันธกันในลักษณะใด 1. A และ B เปนสินคาที่ใชทดแทนกัน 2. A และ B เปนสินคาที่ใชประกอบกัน 3. A เปนสินคาดอย ขณะที่ B เปนสินคาปกติ 4. A เปนสินคาปกติ ขณะที่ B เปนสินคาดอย 8. ตลาดประเภทใดไมจําเปนตองมีการโฆษณาสินคาและบริการ 1. ตลาดผูกขาด 2. ตลาดผูขายนอยราย 3. ตลาดแขงขันสมบูรณ 4. ตลาดกึ่งแขงขันกึ่งผูกขาด 9. ขอใดสัมพันธกับหลักการสหกรณมากที่สุด 1. ทฤษฎีใหมขั้นที่ 1 เศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐาน 2. ทฤษฎีใหมขั้นที่ 2 เศรษฐกิจพอเพียงแบบกาวหนา 3. ทฤษฎีใหมขั้นที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐาน 4. ทฤษฎีใหมขั้นที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงแบบกาวหนา 10. จากสถานการณที่กําหนดใหตอไปนี้ “ชุมชนมรกตเปนชุมชนแออัด ตั้งอยูหลังนิคมอุตสาหกรรมแหงหนึ่ง ชาวชุมชนสวนใหญไมมี ที่ดินทํากิน จึงอพยพเขาเมืองมาเชารถแท็กซี่ขับ โดยมีความหวังวาจะสงเงินไปใหครอบครัวลงทุนคาขาย” จากกรณีนี้ควรสงเสริม ใหชุมชนดังกลาวจัดตั้งสหกรณประเภทใด 1. สหกรณนิคม 2. สหกรณบริการ 3. สหกรณรานคา 4. สหกรณเครดิตยูเนียน พิชิต…..สอบตรง ม.ขอนแก‹น
  • 10. 10 11. การเก็บภาษีในขอใดลดความไมเทาเทียมกันของการกระจายรายได 1. ภาษีมรดก 2. ภาษีขาเขา 3. ภาษีการขาย 4. ภาษีมูลคาเพิ่ม 12. ขอใดเปนการพัฒนาเศรษฐกิจโดยใชนโยบายหนี้สาธารณะ 1. รัฐบาลลดการลงทุน 2. การลดภาษีเงินไดนิติบุคคล 3. การนําพันธบัตรรัฐบาลออกจําหนาย 4. การลดอัตราเงินสดสํารองตามกฎหมาย 13. รัฐบาลจัดทํางบประมาณแบบเกินดุลเพื่อวัตถุประสงคใด 1. แกปญหาเงินฝด 2. กระตุนใหมีการจางงานมากขึ้น 3. ลดความเหลื่อมลํ้าของคนภายในประเทศ 4. ชะลอเศรษฐกิจที่กําลังขยายตัวอยางรวดเร็ว 14. บุคคลในกลุมใดมักจะไดรับประโยชนจากการเกิดเงินเฟอมากกวาบุคคลในขออื่น ๆ 1. ลูกหนี้ 2. เจาหนี้ 3. ขาราชการ 4. ผูใชแรงงาน 15. ธุรกรรมในขอใดไมสงผลตอบัญชีเดินสะพัด 1. การนําเขาและการสงออก 2. การบริจาคระหวางประเทศ 3. การขนสงสินคาระหวางประเทศ 4. การกูยืมเงินทุนระหวางประเทศ 16. แนวทางการคุมครองตลาดสินคาภายในประเทศที่ประเทศไทยควรใชคือขอใด 1. เก็บภาษีนําเขาในอัตราที่ตํ่า 2. ผลิตเฉพาะสินคาที่เสียตนทุนตํ่า 3. ลดการอุดหนุนผูผลิตในประเทศ 4. จํากัดปริมาณนําเขาสินคาที่ประเทศสามารถผลิตได 17. การที่เงินบาทแข็งคาขึ้นจะสงผลกระทบตอการคาระหวางประเทศของไทยอยางไร 1. ประเทศไทยจะสงออกไดมากขึ้น 2. มูลคาการสงออกของประเทศเพิ่มขึ้น 3. ดุลการคาของประเทศไทยมีการปรับตัวดีขึ้น 4. สินคาจากประเทศไทยมีราคาแพงขึ้นในสายตาตลาดโลก 18. การกลาวถึงมาตรการทางเศรษฐกิจของภาครัฐในขอใดที่ถูกตองมากที่สุด 1. การดําเนินนโยบายการเงิน โดยการเพิ่มเงินใหกับกองทุนหมูบาน ชวงเศรษฐกิจหดตัว 2. การดําเนินนโยบายการเงิน โดยการเพิ่มอัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน ชวงเศรษฐกิจขยายตัว 3. การดําเนินนโยบายการคลัง โดยการซื้อคืนพันธบัตรจากประชาชน ชวงเศรษฐกิจหดตัว 4. การดําเนินนโยบายการคลัง โดยการเพิ่มอัตราภาษีและอัตราดอกเบี้ย ชวงเศรษฐกิจขยายตัว 19. หากธนาคารกลางตองการเพิ่มปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ ควรดําเนินมาตรการตามขอใด 1. เพิ่มอัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน 2. เพิ่มอัตราเงินสดสํารองตามกฎหมาย 3. ลดอัตรารับชวงซื้อลดตั๋วสัญญาใชเงิน 4. ออกพันธบัตรเพื่อจําหนวยแกประชาชน 20. ขอใดคือเปาหมายของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 1. นําไปสูการจัดตั้งชุมชนเอเชียตะวันออก 2. ลดอุปสรรคทางการคาระหวางกันใหเหลือนอยที่สุด 3. การรวมกลุมเศรษฐกิจเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน 4. สนับสนุนใหเกิดการคาเสรีบนฐานการแขงขันที่เทาเทียมกัน 21. แหลงอารยธรรมใดที่ปจจัยทางภูมิศาสตรกําหนดใหประชาชนมีระเบียบวินัยอยางเครงครัด 1. กรีก 2. โรมัน 3. อียิปต 4. เมโสโปเตเมีย 22. ยุคมืด (Dark Ages) สัมพันธกับขอใด 1. ความเสื่อมถอยของศาสนจักร 2. ความเสื่อมถอยของลัทธิจักรวรรดินิยม 3. ความรุงเรืองของอารยธรรมกรีก-โรมัน 4. ความรุงเรืองของระบบศักดินาสวามิภักดิ์
  • 11. 11 23. ผลจากการเดินเรือของใครทําใหสเปนครอบครองดินแดนสวนใหญในทวีปอเมริกาใต 1. วาสโกดา กามา 2. จอหน แคตบอต 3. อเมริโก เวสปุสซี่ 4. คริสโตเฟอร โคลัมบัส 24. นักประวัติศาสตรมีความเห็นวาสาเหตุที่แทจริงของสงครามฝน เกิดจากการขัดแยงดานใด 1. ดานศาสนา 2. ดานความคิด 3. ดานอารยธรรม 4. ดานเทคโนโลยี 25. ขอใดไมใชลักษณะสําคัญของประวัติศาสตรสมัยกลาง 1. เกิดสงครามครูเสดระหวางศาสนาคริสต และศาสนาอิสลาม 2. ศาสนจักรมีอิทธิพลทางการเมืองและวิธีชีวิตของคนในสังคม 3. เกิดอาณาจักรขนาดใหญรวมศูนยอํานาจทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม 4. คนพบหลักการ แนวคิดทางวิทยาศาสตรใหมๆ แตไมสามารถเผยแพรได 26. ผลงานของนักประดิษฐทานใดที่มีผลสําคัญตอการปฏิวัติอุตสหกรรมในระยะแรก 1. เจมส วัตต 2. ไมเคิล ฟาราเดย 3. โธมัส อัลวา เอดิสัน 4. เซอรไอแซค นิวตัน 27. ขอใดคือลักษณะสําคัญของสังคมยุโรปที่เปนผลจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมในคริสตศตวรรษที่ 18-19 1. ชนชั้นกรรมาชีพเปนพันธมิตรกับชนชั้นกลาง 2. เกิดระบบรัฐสวัสดิการแกประชาชนอยางทั่วถึง 3. สตรีมีบทบาททางสังคม เศรษฐกิจ เทาเทียมผูชาย 4. ชนชั้นกลางกาวขึ้นมามีอํานาจทางสังคมและการปกครอง 28. ความขัดแยงที่เกิดขึ้นชวงกอนและหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ตางกันอยางไร 1. กอนสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนความขัดแยงดานลัทธิความเชื่อ 2. หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนความขัดแยงดานลัทธิความเชื่อ 3. กอนสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนความขัดแยงดานอุมดการณทางการเมือง 4. หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนความขัดแยงดานอุดมการณทางการเมือง 29. เหตุการณใดสะทอนการผอนคลายความตึงเครียดของประเทศอภิมหาอํานาจ 1. การรวมมือสํารวจอวกาศ 2. การพัฒนาอาวุธทางยุทธศาสตรรวมกัน 3. การเขารวมแขงกีฬาโอลิมปกที่กรุงมอสโก 4. การแลกเปลี่ยนเทคโนโลยีดานนิวเคลียร 30. สงครามใดมีลักษณะเปนสงครามตัวแทน (Proxy war) 1. สงครามอินโดจีน 2. สงครามเวียดนาม 3. สงครามอาวเปอรเซีย 4. สงครามอิรัก-อิหราน 31. มาตรการสุดทาย (Final Solution) ของอดอลฟ ฮิตเลอร ไดรับอิทธิพลมาจากแนวคิดใด 1. “การเลือกสรรธรรมชาติ” ของ ชารลส ดารวิน 2. “การผลิตกอใหเกิดชนชั้นทางสังคม” ของ คารล มารกซ 3. “การเปลี่ยนแปลงพันธุของสิ่งมีชีวิต” ของ ธอมัส มัลทัส 4. “การกําหนดลักษณะทางพันธุกรรม” ของ เกรเกอร แมนเดล 32. ในทวีปอเมริกาใตใครคือผูนําการปลดปลอยการปกครองของสเปนในเขตนิวกรานาดา 1. ฮวน เปรอง 2. ซานตา แอนนา 3. ซิโมน โบลิวาร 4. โฮเซ เดอ ซานมารติน 33. ขอใดคือความหมายของ “ใบบอก” 1. หนังสือรายงานที่หัวเมืองสงมายังรัฐบาล 2. หนังสือสั่งการของเสนาบดีที่มีไปยังเจาเมือง 3. หนังสือที่ลูกขุน ณ ศาลหลวงสงไปยังผูตองหา 4. หนังสือสั่งการโตตอบระหวางเสนาบดีและเจาประเทศราช
  • 12. 12 34. อาณาจักรใดรุงเรืองโดยมีพื้นฐานทางการพาณิชยเปนหลัก 1. กัมพูชา 2. อยุธยา 3. จามปา 4. ศรีวิชัย 35. ขอใดเปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหเกิดภาวะเศรษฐกิจตกตํ่าในสมัยรัชกาลที่ 6-7 1. ผลกระทบจากสงครามโลกครั้งที่ 1 2. ผลจากการนําเงินไปใชเรื่องที่ไมกอใหเกิดรายได 3. ผลสืบเนื่องจากการปฏิรูปการปกครองสมัยรัชกาลที่ 5 4. ผลจากการสงนักเรียนไทยไปศึกษาตอตางประเทศจํานวนมาก 36. การขยายตัวของระบบเศรษฐกิจไทยสูระบบทุนนิยมเสรีปรากฏชัดเจนเมื่อใด 1. ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2. ประกาศใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 3. จอมพล ป.พิบูลสงครามเปนนายกรัฐมนตรี ครั้งที่ 1 4. จอมพล ป.พิบูลสงครามเปนนายกรัฐมนตรี ครั้งที่ 2 37. สมญานาม “นายชางใหญแหงกรุงสยาม” หมายถึงบุคคลใด 1. ขรัวอินโขง 2. นายศิลป พีระศรี 3. สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยาลงกรณ 4. สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัตติวงศ 38. บุคคลใดที่มีแนวคิดเปนองครวม บูรณาการความรูความเขาใจทางสังคม วัฒนธรรมอยางลุมลึก โดยตั้งอยูบนหลักการศาสนา และภูมิปญญาไทย จนไดรับการยกยองวาเปน “ราษฎรอาวุโส” 1. ดร.ปวย อึ๊งภากรณ 2. ศ.นพ.ประเวศ วะสี 3. ศ.ดร.นิธิ เอียวศรีวงศ 4. กรมหมื่นนราธิปพงศประพันธ 39. ประเทศใดมีเปาหมายในการหารายไดเขาประเทศโดยเปนแหลงผลิตไฟฟาจากพลังงานนํ้า 1. ลาว 2. เวียดนาม 3. มาเลเซีย 4. อินโดนีเซีย 40. นตฺถิ โลเก อนินฺทิโต (คนที่ไมถูกนินทา ไมมีในโลก) ตรงกับธรรมในขอใด 1. ทิศ 8 2. มรรค 8 3. โลกธรรม 8 4. อุโบสถศีล 8 41. พุทธศาสนาสุภาษิตขอใดสอดคลองกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง 1. สติ โลกสฺมิ ชาคโร (สติเปนเครื่องตื่นในโลก) 2. สนฺตุฎฐี ปรมํ ธนํ (ความสันโดษเปนทรัพยอยางยิ่ง) 3. อิณาทานํ ทุกขํ โลเก (การเปนหนี้เปนทุกขในโลก) 4. นตฺถิ สนฺติ ปรํ สุขํ (สุขอื่นยิ่งกวาความสงบไมมี) 42. คัมภีรใดชวยอธิบายความพระไตรปฎก 1. ฎีกา 2. อรรถกถา 3. สัททาวิเสส 4. ปกรณพิเศษ 43. การยึดหลัก “อัตตกิลถานุโยค” จะกอใหเกิดการปฏิบัติใด 1. การนั่งสมาธิทําจิตใหวาง 2. การทรมานรางกายใหลําบาก 3. การแสวงหาความสุขโดยไมยั้งคิด 4. การดําเนินชีวิตตามที่จิตปรารถนาอยางไรก็ได 44. ขอปฏิบัติใดผิดการทําบุญอัฐิ 1. นิมนตพระสงฆ 8 รูป ประกอบพิธี 2. การทอดผาบังสุกุลตองวางขวางสายโยง 3. สามารถนํารูปภาพผูตายมาตั้งสวดบังสุกุลแทนอัฐิได 4. สายสิญจนตองผูกโยงจากพระประธานมายังพระสงฆ
  • 13. 13 45. การเลือกคูครองจนไดผูที่มีความคิดและความประพฤติดีตรงกันคือหลักธรรมใด 1. สมสีลา 2. สมจาคา 3. สมสัทธา 4. สมปญญา 46. การตอนรับเพื่อนที่มาเยี่ยมบานดวยหลักอามิสปฏิสันถารคือขอใด 1. สันติคอยแนะนําใหคําปรึกษาแกปญหา 2. อารักษทําความสะอาดบานคอยตอนรับ 3. บุษบาจัดเลี้ยงขาวปลาอาหารกลางวันตอนรับ 4. พิเชษฐเนนการสนทนาธรรมกับเพื่อนผูมาเยือน 47. คุณธรรมของผูปกครองในขอใดเหมาะสําหรับนักการเมืองในปจจุบัน 1. ทาน 2. มัททวะ 3. อักโกธะ 4. อาชชวะ 48. นายกรัฐมนตรีสามารถสั่งการและแกปญหานํ้าทวมไดสําเร็จจัดวาสอดคลองกับหลักธรรมใด 1. ปริยัติธรรม 2. ปฏิบัติธรรม 3. ปฏิเวธธรรม 4. สัปปุริสธรรม 49. ขอใดไมเกี่ยวของกับหลักอริยสัจ 4 1. สุจารียึดถือหลักพรหมจรรยเพื่อความหลุดพน 2. สุนทรียคิดวาสรรพสิ่งมีการเกิดขึ้น ดับลง ตามเหตุปจจัย 3. สุนทรเชื่อวาชีวิตมนุษยลวนมีปญหา ตองไดรับความทุกขไมสิ้นสุด 4. สุนารีเชื่อวาการแกปญหาใหพนทุกข ตองปฏิบัติดวยความเพียรพยายามของตน 50. พระกีสาโคตรมีเถรี ถือครองจีวรเศราหมองจัดอยูในสันโดษขอใด 1. ยถาลาภสันโดษ 2. ยถาพลสันโดษ 3. ยถาโภคาสันโดษ 4. ยถาสารุปปสันโดษ 51. ขอใดกลาวถูกตองที่สุด 1. วันมาฆบูชาเปนวันพระธรรมเนื่องจากพระพุทธเจาทรงแสดงอนัตตาลักขณสูตร 2. วันอาสาฬหบูชาเปนวันพระสงฆ เพราะพระสงฆองคแรกไดรับประทานเอหิภิกขุอุปสัมปทา 3. วันมาฆบูชาเปนวันพระสงฆเพราะมีพระสงฆไดรับประทานเอหิภิกขุอุปสัมปทาพรอมกัน 1,250 รูป 4. วันอาสาฬหบูชาเปนวันพระรรมเนื่องจากพระพุทธเจาทรงแสดงธัมมจักกัปปวัตนสูตรเปนครั้งแรก 52. ขอใดจัดอยูในสัมมาทิฎฐิ 1. นิภาเชื่อวานรกสวรรคมีจริง 2. นิสิตระมัดระวังตนไมทําบาป 3. นิพนธรูสึกตนวาทําอะไรลงไป 4. นิพัฒนคิดวาอยูคนเดียวไมเปนทุกข 53. สาเหตุของปกขันทิกาพาธของพระพุทธเจาคือขอใด 1. การเสวยสุกรมัทวะ 2. การบําเพ็ญทุกกรกิริยา 3. ทรงตรากตรําพระวรกาย 4. การเสวยอาหารผิดสําแดง 54. ขอใดคือสาเหตุของการทําสังคายนาพระไตรปฎกครั้งแรกในประเทศไทย 1. เกิดสงครามขึ้นในสมัยอยุธยา 2. พระภิกษุประพฤติหยอนพระวินัย 3. การวางรากฐานของพระพุทธศาสนา 4. การปลอมตนเขามาบวชทําใหพุทธศาสนามัวหมอง 55. การเขาใจธรรมดาโลกของพระนางมัลลิกา จัดอยูในอริยสัจ 4 ขอใด 1. ทุกข 2. สมุทัย 3. นิโรธ 4. มรรค 56. คุณสมบัติของพระอานนทในขอใดมีประโยชนตอพระพุทธศาสนามากที่สุด 1. มองการณไกล 2. จดจําพระพุทธวจนะไดดีมาก 3. เมตตากรุณาอยางยิ่ง 4. มีความเพียรพยายามอยางแรงกลา 57. หลักศรัทธาตอกฎของพระเจา ตามทัศนะของศาสนาอิสลามสอดคลองกับหลักธรรมใดของพุทธศาสนา 1. ขันธ 5 2. ธรรมนิยาม 3. ปฏิจจสมุปบาท 4. มัชฌิมาปฏิปทา
  • 14. 14 58. ศีล 5 ขอใดตรงกับ “อัสเตยะ” ในศาสนาพราหมณ-ฮินดู 1. การไมลักทรัพย 2. การไมพูดโกหก 3. การไมประพฤติผิดในกาม 4. การไมเบียดเบียนสิ่งมีชีวิตนอยใหญ 59. วรรณคดีไทยเรื่องรามเกียรติ์ไดรับอิทธิพลจากศาสนาพราหมณ-ฮินดู นิกายใด 1. นิกายศักติ 2. นิกายไศวะ 3. นิกายพรหมัน 4. นิกายไวศณพ 60. ศีลในศาสนาคริสตขอใดกระทําเฉพาะบาทหลวงเทานั้น 1. ศีลจุม 2. ศีลกําลัง 3. ศีลอนุกรม 4. ศีลมหาสนิท 61. ประเทศใดมีการปกครองรูปแบบเดียวกัน 1. เวียดนาม ลาว 2. เวียดนาม กัมพูชา 3. อินโดนีเซีย บูรไน 4. อินโดนีเซีย มาเลเซีย 62. เพราะเหตุใดจึงเชื่อวาประเทศที่ตกเปนอาณานิคมของประเทศอื่นๆ ไมมีความเปน “รัฐ” ตามหลักรัฐศาสตร 1. ทําใหดินแดนมีขนาดเล็กลงกวาเดิม 2. ขาดความเปนอิสระในการปกครองตนเอง 3. ประชากรมีหลายเชื้อชาติและหลายวัฒนธรรม 4. ประชากรของประเทศตองยอมรับประมุขของประเทศอื่น 63. พฤติกรรมในขอใดที่แสดงวาประชาชนยังไมตระหนักถึงสิทธิและหนาที่ของตนเองตามระบอบประชาธิปไตย 1. ชาติชายดูขาวสารการเมืองจากโทรทัศนกอนนอนทุกคืน 2. ปรีชาไปรวมเดินขบวนกับกรรมกรประทวงนโยบายปรับคาจางแรงงาน 3. ชาตรีลืมไปลงคะแนนเลือกตั้งสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบลเพราะติดภารกิจประจําวัน 4. สมศักดิ์เขียนบทความลงหนังสือพิมพเสนอวิธีการแกไขปญหาความไมสงบในสามจังหวัดชายแดนภาคใต 64. สถานการณในขอใดตอไปนี้ไมใชวิถีทางในระบอบประชาธิปไตย 1. พอคาวิพากษวิจารณการทํางานของรัฐมนตรีบางทาน 2. นายสมัครฟองรองตอศาลเพื่อเรียกคาเสียหายจากโรงพยาบาลเอกชน 3. สาวโรงงานประทวงขอขึ้นคาแรงงานโดยสงบและแจงใหเจาหนาที่ทราบกอน 4. สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบลบางคนสนับสนุนใหชาวนาประทวงรัฐบาลเรื่องประกันราคาขาว 65. รัฐสภาสามารถควบคุมการทํางานของรัฐบาลใหเปนไปตามนโยบายที่แถลงไวตอรัฐสภาดวยวิธีใด 1. การตั้งกระทูถาม 2. การแตงตั้งผูนําฝายคาน 3. การเสนอรางพระราชบัญญัติ 4. การคัดคานรางพระราชบัญญัติ 66. ขอใดเปนองคกรอื่นตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 1. คณะกรรมการการเลือกตั้ง 2. คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน 3. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ 4. คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ 67. ประเทศไทยไดรวมลงนามรับรองปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนแหงสหประชาชาติเมื่อใด 1. 3 มกราคม พ.ศ. 2483 2. 10 ธันวาคม พ.ศ. 2491 3. 15 มกราคม พ.ศ. 2500 4. 19 ธันวาคม พ.ศ. 2507 68. หลักการสําคัญเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนคือขอใด 1. หลักความเสมอภาค สิทธิ เสรีภาพ และการไมเลือกปฏิบัติ 2. หลักความเสมอภาค ภราดรภาพ และการขจัดการเลือกปฏิบัติ 3. หลักความเสมอภาค ความสามัคคี และการสงเสริมความยุติธรรม 4. หลักความเสมอภาค ความยุติธรรม และการขจัดความรุนแรงทุกรูปแบบ
  • 15. 15 69. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติจะดําเนินการอยางไรกับกรณีที่เห็นชอบตามที่มีผูรองเรียนวาการกระทําในทางปกครอง กระทบตอสิทธิมนุษยชนและมีปญหาเกี่ยวกับความชอบดวยกฎหมาย 1. ฟองคดีตอศาลยุติธรรมแทนผูรองเรียน 2. เสนอแนะรัฐบาลใหตรวจสอบดําเนินการ 3. เสนอเรื่องพรอมความเห็นตอศาลปกครอง 4. เสนอเรื่องพรอมความเห็นตอศาลรัฐธรรมนูญ 70. ขอใดเปนการยกเลิกกฎหมายโดยตรง 1. กฎหมายใหมบัญญัติยกเลิกกฎหมายเกา 2. พระราชกําหนดที่ไมผานการอนุมัติของรัฐสภา 3. ศาลยกเลิกเทศบัญญัติที่ขัดหรือแยงตอกฎหมายอื่น 4. ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวารางพระราชบัญญัติขัดตอรัฐธรรมนูญ 71. นิติกรรมตามขอใดมีผลเปนโมฆียะ 1. นิติกรรมที่เกิดจากการแสดงเจตนาลวง 2. นิติกรรมที่เกิดจากการแสดงเจตนาเพราะถูกขมขู 3. นิติกรรมที่ไมทําใหถูกตองตามแบบที่กฎหมายกําหนด 4. นิติกรรมที่เกิดจากการแสดงเจตนาโดยสําคัญผิดในสาระสําคัญของนิติกรรม 72. เจามรดกมีทรัพยมรดก 100 ลานบาท มีทายาทโดยธรรมประเภทญาติไดแก ปู ผูสืบสันดาน พี่นองรวมบิดามารดาเดียวกัน และลุง ทั้งหมดยังมีชีวิตอยู เมื่อเจามรดกถึงแกความตาย ทายาทโดยธรรมประเภทญาติของเจามรดกจะไดรับมรดกเรียงตามลําดับกอนหลัง ดังขอใดตอไปนี้ 1. พี่นองรวมบิดามารดาเดียวกัน ผูสืบสันดาน ปู ลุง 2. พี่นองรวมบิดามารดาเดียวกัน ผูสืบสันดาน ลุง ปู 3. ผูสืบสันดาน พี่นองรวมบิดามารดาเดียวกัน ลุง ปู 4. ผูสืบสันดาน พี่นองรวมบิดามารดาเดียวกัน ปู ลุง 73. ขอใดกลาวถูกตอง กรณีดําเชาบานของแดงเพื่ออยูอาศัย โดยมีกําหนดระยะเวลาการเชา 4 ป 1. ถามีหลักฐานการเชาเปนหนังสือลงลายมือชื่อ ดําและแดงฟองรองกันได 2. ถามีหลักฐานการเชาเปนหนังสือลงลายมือชื่อ ดําและแดงบังคับกันได 3 ป 3. ถามิไดทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ การเชานั้นเปนโมฆะ 4. ถามิไดทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ บังคับกันไดเพียง 3 ป 74. ทรัพยสินใดไมสามารถนําไปประกันการชําระหนี้ตามสัญญาจํานอง 1. แหวนเพชร 2. สัตวพาหนะ 3. แพที่อยูอาศัย 4. เรือมีระวาง 6 ตัน 75. นายดําละเมอเอาปนยิงนายแดงเปนเหตุใหนายแดงถึงแกความตาย นายดํามีความผิดทางอาญาหรือไม เพราะเหตุใด 1. ไมมีความผิดทางอาญา เพราะ ถือวานายดําไมมีการกระทํา 2. ไมมีความผิดทางอาญา เพราะ ถือวานายดําไมมีเจตนากระทําความผิดมาตั้งแตตน 3. มีความผิดทางอาญา เพราะการกระทําของนายดําครบองคประกอบความผิดทางอาญา 4. มีความผิดทางอาญา เพราะการเสียชีวิตของนายแดงเปนผลโดยตรงจากการกระทําของนายดํา 76. หนวยทางสังคมใดมีความสําคัญมากที่สุดในการถายทอดทางวัฒนธรรม 1. วัด 2. โรงเรียน 3. ครอบครัว 4. กลุมเพื่อน 77. “การที่คนทั่วไปรับประทานอาหารดวยชอน หรือการเขียนหนังสือซายไปขวา” เปนแนวปฏิบัติที่เรียกวาอะไร 1. จารีต 2. วิถีประชา 3. บรรทัดฐาน 4. กฎศีลธรรม 78. การที่คนเคารพกฎระเบียบปฏิบัติตามกฎหมายบานเมืองจัดเปนวัฒนธรรมดานใด 1. วัฒนธรรมทางสหธรรม 2. วัฒนธรรมทางเนติธรรม 3. วัฒนธรรมทางวัตถุธรรม 4. วัฒนธรรมทางศีลธรรม 79. ขอใดไมใชวัฒนธรรมทองถิ่นภาคเหนือ 1. งานทําบุญสลากภัต 2. งานทําบุญรับบัวโยนบัว 3. งานทําบุญทอดผาปาแถว 4. งานทําบุญตามกวยสลาก
  • 16. 16 80. “นายชุมพลพาครอบครัวของตนเขารวมงานประเพณีบุญเดือนสิบ ณ วัดโคกนาว” ขอความขางตนแสดงใหเห็นวานายชุมพล เขารวมงานโดยมีวัตถุประสงคใด 1. เพื่อสืบทอดกิจกรรมดานพระพุทธศาสนา 2. เพื่อแสดงออกถึงความกตัญูตอบรรพบุรุษ 3. เพื่อถายทอดประเพณีวัฒนธรรมไทยในทองถิ่นภาคใต 4. เพื่อใหลูกหลานที่อยูกระจายกันไปไดมาพบปะพรอมหนากัน 81. ที่ราบสูงปาตาโกเนียในประเทศอารเจนตินาและซิลี ซึ่งอยูระหวางเทือกเขาแอนดีสและมหาสมุทรแอตแลนติก เกิดจากอิทธิพล ของกระบวนการแปรสัณฐานทางธรณีในขอใด 1. รอยเลื่อน (Fault) 2. รอยคดโคง (Fold) 3. แผนดินไหว (Earthquake) 4. ตะกอนเถาถานการปะทุของภูเขาไฟ (Volcanic eruption) 82. สภาพภูมิอากาศในชวงบายมีลมกรรโชกแรง มีฟาแลบ ทําใหหลังคาบานพังเสียหาย ตนไมโคนลมฝนตกหนัก มีลูกเห็บ แตในชวงคํ่า สภาพอากาศกลับมาเปนปกติ สภาพดังกลาวตรงกับการเกิดพายุในขอใด 1. พายุฝน 2. พายุลูกเห็บ 3. พายุฝนคะนอง 4. พายุดีเปรสชัน 83. ชั้นบรรยากาศใดที่มีทัศนวิสัยที่ดี เหมาะกับการบินมากที่สุด 1. สเตรโตสเฟยร (Stratosphere) 2. มีโซสเฟยร (Mesosphere) 3. ไอโอสเฟยร (Ionosphere) 4. โทรโพสเฟยร (Troposphere) 84. เพราะเหตุใดการบินถายภาพทางอากาศจึงใหมีการเหลื่อมทั้งดานหนาและดานขาง 1. ตองการประหยัดภาพ 2. ตองการนําไปใชดูภาพสามมิติ 3. ตองการเนนรายละเอียดเพิ่มมากขึ้น 4. ตองการปองกันการถายภาพผิดพลาด 85. ภูมิภาคใดของเอเชียที่มีประชากรอาศัยอยูเบาบาง 1. เอเชียใต 2. เอเชียตะวันออก 3. เอเชียตะวันออกเฉียงใต 4. เอเชียตะวันออกเฉียงใต 86. ขอใดคือคําขวัญวันสิ่งแวดลอมโลกประจําป พ.ศ.2556 1. กิน อยู รูคิด เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม (THINK EAT SAVE) 2. คุณคือพลัง สรางสรรคเศรษฐกิจ เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม (Green Economy : Does it include you?) 3. ปาไมมีคุณ เกื้อหนุนสรรพชีวิต คิดถนอมรักษา (Forests : Nature at your Service) 4. ความหลากหลายทางชีวภาพ กูวิกฤติชีวิตโลก (Many Species One Planet One Future) 87. นายเคนนั่งเรือไปเที่ยวกับเพื่อนและปสสาวะลงในนํ้า ถือเปนการทําผิดกฎหมายที่เกี่ยวของกับการจัดการดานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมฉบับใด 1. พระราชบัญญัติการผังเมือง 2. พระราชบัญญัติสาธารณสุข 3. พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาสิ่งแวดลอม 4. พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง 88. ขอใดไมใชภูมิปญญาทองถิ่นเกี่ยวกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 1. การบวชปา 2. การทําฝายแมว 3. การปลูกไมยืนตนที่หัวไรปลายนา 4. การเผาแปลงเกษตรเพื่อกําจัดวัชพืช 89. แนวทางการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน ใหความสําคัญกับสิ่งใดมากที่สุด 1. การนําไปทิ้ง 2. การลดมลพิษจากแหลงกําเนิด 3. การบําบัดของเสีย 4. การใชหมุนเวียนและนํากลับมาใชใหม 90. โครงการใดไมไดมีเปาหมายเพื่อแกไขปญหานํ้าเนาเสีย 1. โครงการไตธรรมชาติ 2. โครงการแกมลิง 3. โครงการนํ้าดีไลนํ้าเสีย 4. โครงการพื้นที่ชุมนํ้าเทียม
  • 17. 17 91. ขอใดคือผลกระทบของการปลอยสารคลอโรฟลูออโรคารบอนจากพื้นผิวโลกขึ้นสูชั้นบรรยากาศจนเกิดปฏิกิริยากับรังสีอัลตราไวโอเลต 1. เกิดหมอกควันและฝนกรด 2. เกิดปรากฏการณฝนดาวตก 3. ชั้นโอโซนของโลกถูกทําลาย 4. อุณหภูมิของโลกจะคอยๆ ลดลง 92. ขอใดไมใชผลกระทบที่เกิดจากภาวะโลกรอน 1. เกิดเหตุการณฝนกรด 2. เกิดเหตุการณระดับนํ้าทะเลสูงขึ้น 3. เกิดเหตุการณไฟปาทําใหสูญเสียปาไมและสัตวปา 4. เกิดเหตุการณปะการังตายตามแนวชายฝงมหาสมุทรอินเดีย 93. ขอใดไมใชวัตถุประสงคหลักขององคการเอกชนอิสระกรีนพืช (greenpeace) 1. ตอตานการขนยายกากสารพิษเขามาทิ้งในไทย 2. ตอตานการใชพันธุพืชที่ตกแตงทางพันธุกรรม 3. ตอตานการใชพลังงานกาซชีวภาพเพื่อแกไขภาวะโลกรอน 4. ตอตานการใชเตาเผาขยะที่ทําใหเกิดสารกอมะเร็งปนเปอนในอวกาศ 94. องคกรเอกชนใดมีวัตถุประสงคหลักเพื่ออนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพของปาชายเลน 1. สมาคมหยาดนํ้าฝน 2. กลุมสมาพันธราศีไศล 3. สมาคมสรางสรรคไทย 4. กองทุนสิ่งแวดลอมโลก 95. ขอใดเปนการใชทรัพยากรที่ถูกวิธีที่สุด 1. การสรางเขื่อนเพื่อกักเก็บนํ้าไวใชในฤดูแลง 2. การพัฒนาที่พักในวนอุทยานเพื่อใหเพียงพอแกนักทองเที่ยว 3. การขุดแรธาตุขึ้นมาใชใหไดประโยชนโดยเร็วเพื่อไมใหเสียโอกาส 4. การถางปาและตัดไมในที่ลาดชันเพื่อการเกษตรขั้นบันไดสมัยใหม 96. อนุสัญญาบาเซิล (Basel convention) มีวัตถุประสงคหลักตามขอใด 1. อนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพ 2. ตอตานการใชพันธุพืชที่ตกแตงทางพันธุกรรม 3. ควบคุมการถายเทกากของเสียอันตรายเขามาทิ้งในไทย 4. สงเสริมการใชพลังงานชีวภาพ เพื่อแกไขปญหาโลกรอน 97. ขอใดเปนอํานาจ บทบาท หนาที่ และภารกิจของกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 1. ดําเนินการตามกฎหมายวาดวยแรในสวนที่เกี่ยวของ 2. สงเสริม เผยแพรและประชาสัมพันธดานสิ่งแวดลอม 3. บริการขอมูลสารสนเทศและถายทอดเทคโนโลยีดานปาไม 4. ใหความชวยเหลือและคําปรึกษาแนะนําเกี่ยวกับการจัดการมลพิษ 98. การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่ดีรวมทั้งมีประสิทธิภาพควรดําเนินการตามขอใด 1. ประชาชนในทองถิ่นเห็นความสําคัญและมีสวนรวม 2. เพิ่มจํานวนเจาหนาที่และงบประมาณอยางเพียงพอ 3. เนนมาตรการทางกฎหมายใหรัดกุมมีบทลงโทษอยางหนัก 4. จัดตั้งมูลนิธิเพื่อการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 99. ผูใดมีสัตวปาสงวนหรือสัตวปาคุมครองไวในครอบครอง มีบทกําหนดโทษตาม พ.ร.บ.สงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ.2553 ตามขอใด 1. ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน 4 ป ปรับไมเกิน 40,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 2. ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน 5 ป ปรับไมเกิน 50,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 3. ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน 6 ป ปรับไมเกิน 60,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 4. ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน 4 ป ปรับไมเกิน 50,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 100.เจาของหรือผูครอบครองแหลงกําเนิดมลพิษไมปฏิบัติตามกฎหมายหรือคําสั่งเกี่ยวกับการควบคุมปองกันแกไขแหลงกําเนิดมลพิษ มีโทษตามขอใด 1. จําคุกไมเกิน 1 ป ปรับไมเกิน 100 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 2. จําคุกไมเกิน 1 ป ปรับไมเกิน 1,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 3. จําคุกไมเกิน 1 ป ปรับไมเกิน 10,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 4. จําคุกไมเกิน 1 ป ปรับไมเกิน 100,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ