SlideShare a Scribd company logo
1 of 162
“ STEM EDUCATION กับ การพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21”
3 พฤษภาคม 2560 ห้องประชุมสมุทรศรี วิทยาลัยสารพัดช่างมหาสารคาม
อบรมเชิงปฏิบัติการสาหรับครูผู้สอน
ดร.ชฎารัตน์ สุขศีล
ครูชานาญการ
วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม
ดร.มงคล แสงอรุณ
ครูชานาญการ
วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม
สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การศึกษา
ปวช.สาขาการบัญชี
ปวส.สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ปทส.สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
บธ.ม.สาขาสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ปร.ด.สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา
ตาแหน่งหน้าที่
ครูชานาญการ
หัวหน้างานวัดผลและประเมินผล
อาจารย์ประจาภาควิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม
อาจารย์ประจาหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ3
ดร.มงคล แสงอรุณ
การอบรม ปีการศึกษา 2559
สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ รุ่นที่ 4
สานักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ (วช)
Google Apps for Education
ชมรมครูวิชาชีพคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
สานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา
ชุดการเรียนรู้ C-PBL21
(Critical Thinking & Project Based Learning)
ชมรมการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
สานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
Performance Teaching 2016
คณะศึกษาศาสตร์ และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การถอดบทเรียน ชุดการเรียนรู้ C-PBL21
ชมรมการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา
คติในการทางาน
“ ไม่มีคาว่า ทาไม่ได้ เมื่อเราเปิดรับการแลกเปลี่ยน
และเรียนรู้ในทุกๆ วัน “
Credit : https://www.eduzones.com
ฉันชื่อ สมศักดิ์
ความรักเอา มาฝาก
Credit : https://www.gotoknow.org/posts/469992
Credit : การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21 : เรื่องเด่นเย็นนี้
ครูในศตวรรษที่ 21
ครู คือ บุคคลสาคัญที่มีบทบาทในการพัฒนาผู้เรียน
ดังนั้นการพัฒนาครูให้พร้อมกับการเปลี่ยนแปลงของโลก
ไม่ว่าจะเป็นทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและ
การแข่งขันในระดับเอเซียน หรือระดับสากล โดยครูต้อง
มีการเปลี่ยนแปลงตัวเองโดยสิ้นเชิงเพื่อให้เป็น
“ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21” บทบาทของครูอาจารย์จะต้องเปลี่ยนไป ครูที่รักศิษย์และเอาใจใส่
ศิษย์ แต่ยังใช้กระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบเดิมๆ จะไม่ใช่ครูที่ทาประโยชน์แก่ศิษย์อย่างแท้จริง
Credit : การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21 : นพ.วิจารณ์ พานิช
ครูที่มีใจแก่ศิษย์ยังไม่พอ ครูเพื่อศิษย์ต้องเปลี่ยนจุดสนใจหรือจุดเน้นการสอนไปเป็นเน้นการเรียน
(ทั้งของศิษย์และของตนเอง) ต้องมีการเรียนรู้และปรับปรุงรูปแบบการเรียนรู้ที่ตนเองได้ให้แก่ศิษย์
ด้วย ครูเพื่อศิษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเองจาก “ครูสอน” (teacheer)ไปเป็น “ครูฝึก”
(Coach) หรือ “ผู้อานวยความสะดวกในการเรียนรู้” (Learning facilitator)
และต้องเรียนรู้ทักษะในการทาหน้าที่นี้โดยรวมตัวกันเป็นกลุ่มเพื่อการเรียนรู้ร่วมกันอย่างเป็นระบบ
และต่อเนื่องที่เรียกว่า PLC (Professional Learning Community) เพื่อให้ครูได้เกิด
การพัฒนาตนเองและเรียนรู้ที่จะปรับเปลี่ยนแนวคิดและกระบวนการจัดการเรียนการสอนให้
สอดคล้องกับปัจจุบัน
Credit : การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21 : นพ.วิจารณ์ พานิช
E-Teacher : 9 E
Credit : https://moonoijudy.wordpress.com/2015/09/24/
E-Teacher : 9 E
1.Experience
ครูควรสร้างสรรค์และเรียนรู้การใช้เครื่องมือ/เทคโนโลยี
ใหม่ ๆ เช่น Internet
Credit : https://moonoijudy.wordpress.com/2015/09/24/
E-Teacher : 9 E
2.Extended
ครูควรค้นหาความรู้ตลอดเวลา มีการใช้เวลาว่างให้เกิด
ประโยชน์ในการค้นคว้าหาความรู้ด้วยเทคโนโลยี
Credit : https://moonoijudy.wordpress.com/2015/09/24/
E-Teacher : 9 E
3.Expanded
ครูควรขยายผลความรู้ เพื่อให้เกิดการเพิ่มพูนความรู้ที่
เป็นประโยชน์ต่อประชาชน ชุมชนโดยรวม
Credit : https://moonoijudy.wordpress.com/2015/09/24/
E-Teacher : 9 E
4.Exploration
ครูควรค้นคว้าและเลือกเนื้อหาสาระ เอกสารหลักฐาน
อ้างอิง ที่ทันสมัย เพื่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ในการ
นามาพัฒนาการจัดการเรียนการสอน
Credit : https://moonoijudy.wordpress.com/2015/09/24/
E-Teacher : 9 E
5.Evaluation
ครูควรเป็นนักประเมินที่ดี มีการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการ
ประเมินผล และเหมาะสมกับรูปแบบการเรียน เพราะ
ไม่ใช่ทุกเทคโนโลยีจะใช้ได้กับการเรียนทุกรูปแบบ
Credit : https://moonoijudy.wordpress.com/2015/09/24/
E-Teacher : 9 E
6.End-User
ครูควรเป็นผู้ใช้เทคโนโลยีได้อย่างหลากหลายและสามารถเป็น
ผู้ใช้ปลายทางที่ดี เช่น สามารถ Browse ไป Web Site
ได้ เป็นต้น
Credit : https://moonoijudy.wordpress.com/2015/09/24/
E-Teacher : 9 E
7.Enabler
ครูควรสามารถนาเทคโนโลยี ซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ มาใช้ในการ
สร้างบทเรียน สื่อ ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อเป็นการสร้าง
แรงจูงใจในการเรียนให้กับผู้เรียนมากขึ้น
Credit : https://moonoijudy.wordpress.com/2015/09/24/
E-Teacher : 9 E
8.Engagement
ครูที่ร่วมมือกัน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อให้เกิดชุมชน วิชาการทา
ให้เกิดแนวความคิดใหม่ ๆ เกิดชุมชนของครูบน Web
Credit : https://moonoijudy.wordpress.com/2015/09/24/
E-Teacher : 9 E
9.Efficient and Effective
ครูที่มีประสิทธิภาพประสิทธิผล ในการใช้เทคโนโลยีได้อย่าง
คล่องแคล่ว เป็นผู้ผลิต ผู้กระจาย และผู้ใช้ความรู้
Credit : https://moonoijudy.wordpress.com/2015/09/24/
ครูยุคใหม่กับการสอนในศตวรรษที่ 21
Credit : https://www.youtube.com/watch?v=kARe40dsi40 29/04/2560 : โรงเรียนโสมาภา สมุทรปราการ
ทักษะเด็กอาชีวะ ณ วันนี้
“3R8C”
Reading
(W)Riting
(A)Rithmatic
อ่านออก เขียนได้ มีทักษะการคานวณ
Critical Thinking and Problem Solving
Creativity and Innovation
Collaboration Teamwork and Leadership
Communication Information and Media Literacy
Cross-cultural Understanding
Computing and ICT Literacy
Career and Learning Skills
Compassion
Reading
“อ่านออก”3R
3R(W)Riting
“เขียนได้”
(A)Rithmatic
“มีทักษะการคานวณ”3R
Critical Thinking and Problem Solving
Creativity and Innovation
Collaboration Teamwork and Leadership
Communication Information and Media Literacy
Cross-cultural Understanding
Computing and ICT Literacy
Career and Learning Skills
Compassion
Critical Thinking and Problem Solving
มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และแก้ป้ญหาได้8C
8C Creativity and Innovation
คิดสร้างสรรค์ คิดเชิงนวตกรรม
8C Collaboration Teamwork and Leadership
ความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา
8C Communication Information and Media Literacy
ทักษะในการสื่อสารและการรู้ทันสื่อ
8C Cross-cultural Understanding
ความเข้าใจความแตกต่างทางวัฒนธรรม กระบวนการคิดข้ามวัฒนธรรม
8C Computing and ICT Literacy
ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และการรู้เท่าทันเทคโนโลยี
8C Career and Learning Skills
ทักษะอาชีพและการเรียนรู้
8C Compassion
มีวินัย คุณธรรมและจริยธรรม
การใช้ชุดการจัดการเรียนรู้ C-PBL21
Critical Thinking & Project Based Learning
เปิดประสบการณ์ :
“การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21
สู่งานวิจัยการเรียนการสอนโดยตรง จากครูร่วมกับศิษย์”
ชมรมการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
สานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ดร.มงคล แสงอรุณ
วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม
STEP
1
STEP
2
STEP
3
STEP
4
STEP
5
STEP
6
ชุดการจัดการเรียนรู้ C-PBL21 (7 Module)
คุณธรรม จริยธรรม จิตสาธารณะ และเศรษฐกิจพอเพียง
FacilitatorTeacher
ครูพันธุ์ใหม่
ทำอยู่ แต่ อยำกให้เป็น
8 บทบำท
ผู้อำนวยควำมสะดวกในกำรเรียนรู้
(Facilitator)
ช่วยเสริมสร้างผู้เรียนให้พร้อมสู่การเรียนรู้
ในศตวรรษที่ 21”
CLIP STEP
C onfidence : สร้างความเชื่อมั่น
L inkage : เชื่อมโยงการเรียนรู้
I ndividualv : ปัจเจกบุคคล
P lanning : การวางแผน
S elf-regulation : กากับตนเอง
T ransformation : ปรับเปลี่ยน
E xciting : ท้าทาย
P articipation : ตอบสนอง
Confidence ความมั่นใจ
การสร้างควำมมั่นใจในตนเองแก่ผู้เรียน
Linkage เชื่อมโยง
ช่วยให้ผู้เรียนเชื่อมโยงการเรียนรู้กับสิ่งต่างๆ ได้
53
54
Individual ปัจเจก
ช่วยเสริมสร้างความเป็นปัจเจกบุคคลของผู้เรียน
Planning วางแผน
การช่วยให้ผู้เรียนมีกำรวำงแผน เพื่อไปให้ถึงเป้าหมาย
Self-regulation กากับตนเอง
การช่วยให้ผู้เรียนมีกำรกำกับตนเองในการเรียนรู้
Transformation ปรับเปลี่ยน
ช่วยให้ผู้เรียนมีกำรปรับเปลี่ยนตนเอง
Exciting ท้าทาย
ช่วยให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึกตื่นเต้นท้ำทำยในการเรียนรู้
Participation ตอบสนอง
ช่วยให้ผู้เรียนตั้งใจและตอบสนอง ต่อการเรียนรู้ในชั้นเรียน
C onfidence
L inkage
I ndividual
P lanning
S elf-regulation
T ransformation
E xciting
P articipation
การเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
62
บรรยากาศการเรียนรู้
การลงมือปฎิบัติ
เป็นตัวหลัก ไม่ใช่การบรรยาย
เป็นตัวหลัก
(Edgar Dale)63
I hear and I forget
I see and I remember
I do and I understand
-Confucius-
ฉันฟังและฉันก็ลืม
ฉันเห็นและฉันก็จา
ฉันลงมือทาจึงเข้าใจ
-ขงจื๊อ-
64
65
66
Credit : ชมรมการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สานักพัฒนาครู
โครงงานวิชาชีพ
Professional business computer project.
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
เตรียมผู้เรียน
การคิดวิเคราะห์โดยใช้กระบวนการคิด
การคิดอย่างเป็นระบบ
การประเมินสถานการณ์
Credit : ชมรมการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตรวรรษที่ 21 สานักพัฒนาครู
1)แนะนาตนเอง
2)กิจกรรมพับกระดาษ
3)วัดความถนัด
ฉันชื่อ……………เอา……………มากฝาก
ฉันชื่อ สมศักดิ์
ความรักเอา มาฝาก
พับทุกสิ่งจากกระดาษ A4
กาหนดให้ :
1.กระดาษ A4 จานวน 1 แผ่น ให้พับอะไรก็ได้ที่สื่อ
ได้ถึงความหมายจากการพับ ให้ได้มากชิ้นที่สุด
2.ใช้ระยะเวลา 10 นาที
3. อธิบายเรื่องราวจากสิ่งที่พับ
พับทุกสิ่งจากกระดาษ A4 เวลา 10 นาที
INPUT
PROCESS
OUTPUT
โครงการวิชาชีพสาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
โครงการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาชีพคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
นักศึกษาปวส.ต้องสร้างชิ้นงาน
ชิ้นงานที่ได้เกิดจากการประมวลผลการเรียนรู้
รูปแบบชิ้นงานลักษณะ Database / Animation
Web Page / Programming / E-Commerce
Application On Mobile และอื่นๆ
โครงการพัฒนา ชิ้นงาน ที่สัมพันธ์กับการเรียนรู้ในสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ความรู้ที่เรียนมา
สารวจความสามารถจากการเรียนรู้
เพื่อเป็นแนวทางใน
การเลือกประเภทของโครงการ วิชาชีพคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
วัดความสามารถในการเรียนที่ผ่านมา
5 : เกิดความรู้ มีทักษะในการปฏิบัติ ได้แนวความคิดในการประยุกต์ใช้งาน
เกิดแรงบันดาลใจให้อยากสร้างชิ้นงานที่เกี่ยวข้อง มองเห็นช่องทางในการทาโครงการ
4 : เกิดความรู้ มีทักษะในการปฏิบัติ ได้แนวความคิดในการประยุกต์ใช้งาน
เกิดแรงบันดาลใจให้อยากสร้างชิ้นงานที่เกี่ยวข้อง
3 : เกิดความรู้ มีทักษะในการปฏิบัติ
เกิดแนวความคิดในการประยุกต์ใช้งาน
2 : เกิดความรู้ มีทักษะในการปฏิบัติ
1 : เกิดความรู้
วัดความสามารถในการเรียนที่ผ่านมา
“ โครงการ ที่จะจัดทา
ควรสอดคล้อง และ ไปในทิศทางเดียวกัน
กับ ความสามารถที่เกิดจากการเรียนรู้ที่ผ่านมา
เพื่อให้โครงการ บรรลุผล ตามกาหนด ”
สารวจชุมชน
ออกสารวจชุมชนเพื่อหา Idea
การใช้เทคนิค Force Connection
การใช้ Mind Mapping
Credit : ชมรมการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สานักพัฒนาครู
หางานให้สัมพันธ์กับโครงการ
เพื่อเป็นแนวทางใน
การเลือกงานให้สอดคล้องกับประเภทโครงการวิชาชีพคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
สารวจชุมชนรอบตัว
กาหนดให้ :
1.สารวจสิ่งรอบตัวที่เรา และเรามีความสนใจ
2.เขียนลงบนกระดาษ ให้มากที่สุด
3.ใช้ระยะเวลา 20 นาที
สิ่งที่ได้จากการสารวจชุมชนรอบตัว
80
เผาป่าหน้าแล้ง
แรงงานต่างด้าว
โรงงานอุตสาหกรรม
สื่อ
ยาเสพติด
ปลูกพืชไร้ดิน
อุบัติเหตุทางถนน
ปัญหาการจราจร
เศรษฐกิจไทย
วัดคุณหญิงส้มจีน
น้าหมัก
ควันไฟ
ตลาดโรงเกลือ
ตารวจ
การท่องเที่ยว
วัดจันกะพ้อ
อุบัติเหตุทางถนน
Credit : ชมรมการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สานักพัฒนาครู
จัดระเบียบของการสารวจ
กาหนดให้ :
1.นาข้อมูลที่ได้มาจัดหมวดหมู่ จากการสารวจ
2.ทาการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ แบบอิสระ ลงบนกระดาษ A4
3. ใช้ระยะเวลา 20 นาที
วิธีแก้ปัญหาในกรณีที่ Idea หัวข้อกระจัดกระจาย
โดยเทคนิค Force Connections
82
อาชีพ
• ปลูกพืชไร้ดิน
• น้าหมัก
• ตารวจ
• สื่อ
เศรษฐกิจ
• แรงงานต่างด้าว
• เศรษฐกิจไทย
ปัญหาในชุมชน
• อุบัติเหตุทางถนน
• การจราจร
• ยาเสพติด
• โรงงานอุตสาหกรรม
• เผาป่าหน้าแล้ง
• ควันไฟ
สถานที่สาคัญ
• วัดคุณหญิงส้มจีน
• วัดจันกะพ้อ
• ตลาดพระอินทร์ราชา
• ตลาดโรงเกลือ
Credit : ชมรมการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สานักพัฒนาครู
วิธีแก้ปัญหาในกรณีที่ Idea หัวข้อกระจัดกระจาย
โดยเทคนิค Force Connections
อาชีพ
• ปลูกพืชไร้ดิน
• น้าหมัก
• ตารวจ
• สื่อ
เศรษฐกิจ
• แรงงานต่างด้าว
• เศรษฐกิจไทย
ปัญหาในชุมชน
• อุบัติเหตุทางถนน
• การจราจร
• ยาเสพติด
• โรงงานอุตสาหกรรม
• เผาป่าหน้าแล้ง
• ควันไฟ
สถานที่สาคัญ
• วัดคุณหญิงส้มจีน
• วัดจันกะพ้อ
• ตลาดพระอินทร์ราชา
• ตลาดโรงเกลือ
Credit : ชมรมการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สานักพัฒนาครู
วิธีแก้ปัญหาในกรณีที่ Idea หัวข้อกระจัดกระจาย
โดยเทคนิค Force Connections
84
อาชีพ
• ปลูกพืชไร้ดิน
• น้าหมัก
• ตารวจ
• สื่อ
เศรษฐกิจ
• แรงงานต่างด้าว
• เศรษฐกิจไทย
ปัญหาในชุมชน
• อุบัติเหตุทางถนน
• การจราจร
• ยาเสพติด
• โรงงานอุตสาหกรรม
• เผาป่าหน้าแล้ง
• ควันไฟ
สถานที่สาคัญ
• วัดคุณหญิงส้มจีน
• วัดจันกะพ้อ
• ตลาดพระอินทร์ราชา
• ตลาดโรงเกลือ
Credit : ชมรมการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สานักพัฒนาครู
จัดทา Mapping
กาหนดให้ :
1.ทาการเขียน Mapping โดยระบุประเภทของโครงการ
ที่ได้จาก การสารวจความสามารถด้านการเรียนรู้ ไว้ตรงกลาง
2.จากนั้น นาสิ่งที่สารวจได้และคิดว่ามีความสัมพันธ์ที่เหมาะ
สมในการจะเป็นเนื้อหาที่สอดคล้องกับประเภทโครงการมาเขียน
ในรูปแบบ Mapping โดยทาทั้งหมด 3 แกนเพื่อตัดสินใจ
3. ใช้ระยะเวลา 20 นาที
เทคนิคการเขียน Mind Mapping
86
Credit : ชมรมการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สานักพัฒนาครู
Mind Mapping
87
Credit : ชมรมการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สานักพัฒนาครู
วิเคราะห์การตัดสินใจ
การวิเคราะห์การตัดสินใจ (Decision Analysis : DA)
5ขั้นตอน 1.เลือกอะไร 2.เลือกด้วยหลักเกณฑ์อะไร
3.ทางเลือกใดถูกต้องที่สุด 4.ถ้าเลือกจะเสี่ยงอะไรใหม
5.ทางเลือกไหนเหมาะสมที่สุด
Credit : ชมรมการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตรวรรษที่ 21 สานักพัฒนาครู
วิเคราะห์ตัดสินใจเลือกหัวข้องาน
กาหนดให้ :
1.นาข้อมูลที่ได้จากการเขียน Mind Mapping
เขียนในแบบวิเคราะห์การตัดสินใจ
2.ทาการวิเคราะห์โดยใช้ 5 ขั้นตอนสาหรับการตัดสินใจ
3.ประเมินการตัดสินใจจากการวิเคราะห์ในข้อ 2
4.สรุปหัวข้องานที่ต้องการจัดทาโครงการ
5.ระยะเวลา 20 นาที
ขั้นตอนการวิเคราะห์การตัดสินใจ
3. ทางเลือกไหนถูกใจที่สุด 4. ถ้าเลือก จะเสี่ยงอะไร 5. ทางเลือกไหน
เหมาะที่สุด
1. ต้องการเลือกอะไร 2. เลือกด้วย
หลักเกณฑ์อะไร
ข้อผิดพลาดถ้าไม่วิเคราะห์การตัดสินใจ
ปลูกเรือนผิด คิดจนเรือนทลาย
พบไม้งาม เมื่อขวานบิ่น
วิเคราะห์ตัดสินใจเลือก (Decision Analysis : DA)
92
Credit : ชมรมการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สานักพัฒนาครู
โครงการสุขภาพด้านกาย
โครงการสุขภาพด้านจิต
โครงการสุขภาพด้านปัญญา
โครงการสุขภาพด้านสังคม
5ขั้นตอน
ตัดสินใจเลือกโครงการที่เราสามารถ
ทาได้ และบรรลุผลที่ดีที่สุด
Credit : สอนเด็กทาโครงงานสอนอาจารย์ทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข
แบบเสนอโครงการ
ชื่อโครงการ
การพัฒนาโปรแกรมจัดการฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษาวิทยาลัยเทคนิคชัยภูมิ
โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล
สารวจชุมชน การตัดสินใจส่วนที่เกี่ยวข้องกับโครงการ นักเรียนนักศึกษา
ขอบเขตของโครงการ วิทยาลัยเทคนิคชัยภูมิ
แบบสารวจความสามารถประเภทของโครงการ
พื้นที่ในการจัดทาโครงการ
Credit : สอนเด็กทาโครงงานสอนอาจารย์ทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข
แบบเสนอโครงการ
ผู้รับผิดชอบโครงการ
ที่ปรึกษาโครงการ
1.นายร่วมด้วย ช่วยกันทา
2.นางสาวขยัน หมั่นการงาน
1.อาจารย์ถนัด คล่องโครงการ
2.อาจารย์ชี้นา ปรึกษาหาแนว
Credit : สอนเด็กทาโครงงานสอนอาจารย์ทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข
หลักการและเหตุผล การอธิบายให้กระจ่างชัดว่าทาไมต้องทา ทาแล้วได้อะไร
หากไม่ทาจะเกิดผลเสียอย่างไร ใช้หลักการเขียนคล้าย
การเขียนเรียงความ ทั่วๆ ไป คือ มีคานา เนื้อเรื่อง และสรุป
ส่วนที่ 1 คานา
เป็นการบรรยายถึงสภาพทั่วๆไป หรือปัญหาที่มี ส่วนสนับสนุนให้
ริเริ่มทาโครงการนี้ขึ้น
ส่วนที่ 2 เนื้อเรื่อง
อธิบายถึงรายละเอียดเชื่อมโยงให้เห็นประโยชน์ ของการทาโครงการ
โดยมีหลักการ ทฤษฎี สนับสนุนเรื่องที่ศึกษา หรือการบรรยายผลกระทบ
ถ้าไม่ทาโครงการเรื่องนี้
ส่วนที่ 3 สรุป
สรุปถึงความจาเป็นที่ต้องดาเนินการตามส่วนที่ 2 เพื่อแก้ไขปัญหา ค้นพบ กระบวนการ
การสร้าง หรือการพัฒนาระบบ นวตกรรม หรือ สิ่งประดิษฐ์ใหม่ให้เป็นไปตามเหตุผลส่วนที่
1
Credit : สอนเด็กทาโครงงานสอนอาจารย์ทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข
วัตถุประสงค์ การกาหนดจุดมุ่งหมายปลายทางที่ต้องการให้เกิดจากการจัดทา
โครงการวิชาชีพคอมพิวเตอร์ธุรกิจในครั้งนี้
วัตถุประสงค์โดยทั่วไปนิยมเขียน 1-3 ข้อ
ข้อที่ 1 เพื่อศึกษาข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการที่จะทา
เป็นการบอกถึงข้อมูลที่ต้องการศึกษาและสอดคล้องกับโครงการที่ทา
เพื่อศึกษาข้อมูลการจัดทาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ส่วนที่ 2 เพื่อพัฒนาเครื่องมือสาหรับใช้ในโครงการ
เป็นการบอกถึงสิ่งที่จะนามาพัฒนาเป็นเครื่องมือที่ใช้ในโครงการ
เพื่อพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ชุด คอมเบื้องต้นสาหรับผู้สูงวัย
ส่วนที่ 3 เพื่อหาความพึงพอใจของโครงการ
เป็นการหาความพึงพอใจในการใช้เครื่องมือที่สร้างสาหรับโครงการ
เพื่อหาความพึงพอใจของผู้สูงวัย ต่อการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
Credit : สอนเด็กทาโครงงานสอนอาจารย์ทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข
เป้าหมายเชิงปริมาณ
เป้าหมายเชิงคุณภาพ
บอกปริมาณของสิ่งที่เกิดขึ้นในโครงการ
1.โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ชุด คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสาหรับผู้สูงวัย จานวน 1 ชุด
2.ทดลองใช้โปรแกรม กับผู้สูงวัย ในเขตจังหวัดชัยภูมิ จานวน 150 คน
บอกคุณภาพที่เกิดขึ้นในโครงการ
1.ผู้สูงวัย มีความพึงพอใจ ต่อโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ในระดับ มากที่สุด
ตัวอย่าง
ตัวอย่าง
Credit : สอนเด็กทาโครงงานสอนอาจารย์ทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข
งบประมาณ
ทรัพยากรที่ใช้
กาหนดช่วงเวลาทั้งหมดในการจัดทาโครงการ
การจัดทาโครงการเริ่มเมื่อวันที่ สิ้นสุดในวันที่
กาหนดอุปกรณ์ในการจัดทาโครงการ
1 เครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุค จานวน 1 เครื่อง
2 เครื่อง Printer จานวน 1 เครื่อง
โปรแกรมที่ใช้ กาหนดซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการทาโครงการ
ตัวอย่าง
ตัวอย่าง
ตัวอย่าง
1 โปรแกรมระบบปฏิบัติการ Windows 10
2 โปรแกรมภาษา C++
การวางแผนกิจกรรม
การวางแผนกิจกรรมแบบ PDCA
การเขียนรายละเอียดของปฏิทินปฏิบัติกิจกรรม
การวิเคราะห์ปัญหาที่อาจเกิดขึ้น (Potential Problem Analysis : PPA)
Credit : ชมรมการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตรวรรษที่ 21 สานักพัฒนาครู
Credit : สอนเด็กทาโครงงานสอนอาจารย์ทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข
แบบเสนอโครงการ
วิธีการและขั้นตอนการดาเนินงาน
รายการ
เดือน
ต.ค.
เดือน พ.ย. เดือน ธ.ค. เดือน ม.ค. เดือน
ก.พ.
๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑ ๒
๑. วางแผนโครงการ
๒. เสนอโครงการ
๓. ขออนุมัติโครงการ
๔. ดาเนินการ
๕. นาเสนอโครงการ
๖. ประเมินผล
๗. สรุปและรายงานผล
สัปดาห์ที่ ภารกิจ เป้าหมาย ผล
5 ทาแบบสอบถามสารวจความคิดเห็นของคนในพื้นที่เรื่องปัญหา
การจราจร
ได้ข้อมูลเพื่อใช้ทาสื่อ นักศึกษาได้ความรู้
4 เริ่มเรียนรู้ตามหัวข้อใน mind map เนื้อหาความรู้เพื่อนาไปใช้
แก้ปัญหา
ตั้งใจเรียน
และได้ความรู้
3 ระดมสมองสิ่งที่อยากเรียนรู้เพื่อแก้ปัญหาชุมชน
จนได้ Project ที่จะเรียนรู้และแก้ปัญหา
ผู้เรียนมีเป้าหมายในการเรียนรู้ที่
ชัดเจน
ตั้งใจเรียน
2 พานักศึกษาไปสารวจชุมชน
(สร้างแรงบันดาลใจให้แก่ผู้เรียน)
ทาให้ผู้เรียนเกิดความอยากเรียนรู้ ตั้งใจเรียน
1 เตรีมพร้อมผู้เรียนให้รู้ให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ มีทักษะการคิด รู้จักลาดับ
ความสาคัญในชีวิต
แผนการปฏิบัติงาน
101
สัปดาห์ที่ ภารกิจ เป้าหมาย ผล
15 นาเสนอผลงาน ความพึงพอใจ% / จานวนผู้ฟังฯลฯ ความเข้าใจในงานของตนเอง
14 Presentation Package 100%
13 Achieve Goal ผลผลิตเสร็จสมบูรณ์
(สื่อสร้างสรรค์รณรงค์เรื่องวินัยจราจร)
100%
12 ส่งรูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์ รายงาน การสรุปความรู้
11 ตัดต่อวีดีโอ (สื่อสร้างสรรค์รณรงค์เรื่องวินัยจราจร) วีดีโอ นักศึกษาได้ความรู้ ทักษะอาชีพและการ
ทางานเป็นทีม
10 ถ่ายทาวีดีโอ (สื่อสร้างสรรค์รณรงค์เรื่องวินัยจราจร) ทางานให้บรรลุแผน นักศึกษาได้ความรู้ ทักษะอาชีพและการ
ทางานเป็นทีม
9 ถ่ายทาวีดีโอ (สื่อสร้างสรรค์รณรงค์เรื่องวินัยจราจร) ทางานให้บรรลุแผน นักศึกษาได้ความรู้ ทักษะอาชีพและการ
ทางานเป็นทีม
8 ดาเนินการตาม story board เตรียมการถ่ายทา ติดต่อ
สถานที่ฯ
ทางานให้บรรลุแผน
7 เขียน story board เรื่องที่อยากรณรงค์ ได้ Story board เพื่อแก้ปัญหาใน
Project
นักศึกษาได้ความรู้
และฝึกการทางานเป็นทีม
6 เข้าพบพูดคุยกับตารวจหรือผู้ดูแลเรื่องการจราจรในพื้นที่
เพื่อขอข้อมูลสถิติ และแนวทางการแก้ปัญหาของ
ผู้รับผิดชอบในพื้นที่
ได้ข้อมูลเพื่อใช้ทาสื่อ นักศึกษาได้ความรู้
แผนการปฏิบัติงาน
102
การลงมือปฏิบัติ
Credit : ชมรมการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สานักพัฒนาครู
Credit : สอนเด็กทาโครงงานสอนอาจารย์ทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข
แบบเสนอโครงการ
การติดตามผล
ปัญหาและอุปสรรค์
1. สารวจผลการใช้โปรแกรม ชุดคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กับผู้สูงวัย โดยการสัมภาษณ์
สิ่งที่เกิดขึ้นระหว่างการทาโครงการ
ตัวอย่าง
การติดตามผลที่ได้จากการทาโครงการ
2. ทาการปรับปรุงข้อบกพร่องของโปรแกรม จากผลการสัมภาษณ์
ตัวอย่าง
1. ระยะเวลาในการจัดทาโครงการมีระยะเวลาจากัด
2. อุปกรณ์ในการดาเนินงานโครงการมีประสิทธิภาพต่า
สรุปข้อมูลเพื่อการนาเสนอ
Credit : ชมรมการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตรวรรษที่ 21 สานักพัฒนาครู
Credit : สอนเด็กทาโครงงานสอนอาจารย์ทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข
แบบเสนอโครงการ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. เกิดทักษะในการสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ตัวอย่าง
สิ่งที่ได้จากการทาโครงการ
2. โปรแกรมที่ได้จากการทาโครงการสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้จริง
สาหรับผู้สูงวัย
การต่อยอดองค์ความรู้
Credit : ชมรมการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตรวรรษที่ 21 สานักพัฒนาครู
Credit : ชมรมการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สานักพัฒนาครูและบุคลากรอาชีวศึกษา
การวัดและประเมินผลกิจกรรมโครงการ
แบบประเมินชิ้นงานตามสภาพจริง
ประเมินความพึงพอใจของผู้เรียน
Credit : ชมรมการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สานักพัฒนาครูและบุคลากรอาชีวศึกษา
Credit : ชมรมการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตรวรรษที่ 21 สานักพัฒนาครู
การนาชุดการเรียนรู้ C-PBL21 สู้การปฏิบัติจริง
อาจารย์สรวงสุดา แสนดี สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธานี
Credit : ชมรมการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สานักพัฒนาครูและบุคลากรอาชีวศึกษา
การนาชุดการเรียนรู้ C-PBL21 สู้การปฏิบัติจริง
อาจารย์นิพร จุไทยรัตน์ สาขาวิชาการบัญชี
วิทยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี
Credit : ชมรมการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สานักพัฒนาครูและบุคลากรอาชีวศึกษา
การนาชุดการเรียนรู้ C-PBL21
สู้การปฏิบัติจริง
อาจารย์พิมพ์สุรีย์ พงษ์เสือ
สาขาวิชาการตลาด
วิทยาลัยพณิชยการบึงพระพิษณุโลก
Credit : ชมรมการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สานักพัฒนาครูและบุคลากรอาชีวศึกษา
การนาชุดการเรียนรู้ C-PBL21
สู้การปฏิบัติจริง
อาจารย์อนรรฆ บุบผาวัลย์
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี
Credit : ชมรมการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สานักพัฒนาครูและบุคลากรอาชีวศึกษา
การนาชุดการเรียนรู้ C-PBL21
สู้การปฏิบัติจริง
อาจารย์มณีกาญจน์ ภักดีสรเดช
สาขาวิชาการจัดการ
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์
Credit : ชมรมการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สานักพัฒนาครูและบุคลากรอาชีวศึกษา
การนาชุดการเรียนรู้ C-PBL21 สู่การปฏิบัติจริง
ดร.มงคล แสงอรุณ
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม
ผู้สอนทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
Classroom Action Research
การใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์
ค้นคว้าเพื่อหา
ความรู้ใหม่ทางการศึกษา
วิธีสอน
 รูปแบบการสอนใหม่
สอนใหม่
ทฤษฏีทางการศึกษาใหม่
สิ่งประดิษฐ์ใหม่ทางการศึกษา
สื่อการเรียนการสอน
ชุดการเรียน
แบบฝึกหัด
โปรแกรมการเรียน
Classroom Action Research : วิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
Credit : สอนเด็กทาโครงงานสอนอาจารย์ทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข
Classroom Action Research : วิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
ผ่านการตรวจสอบ
อย่างเป็นระบบ
ผลการวิจัยมีประโยชน์
โดยใช้ผลการค้นพบเป็น
แนวทางนาไปจัดการเรียน
การสอน เพื่อพัฒนาผู้เรียน
ให้เกิดการเรียนรู้ตามเป้าหมาย
ความรู้ และ
สิ่งประดิษฐ์ใหม่
ที่ได้จากการวิจัย
ครูได้พัฒนาตนเอง
คือ เป็นผู้สร้างความรู้
Credit : สอนเด็กทาโครงงานสอนอาจารย์ทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข
ครูมืออาชีพควร มีทักษะการสอน
ให้นักเรียนได้สร้างความรู้เอง
ขณะเดียวกัน ครูก็สร้างความรู้เอง
ด้วย และสร้างนวตกรรมการเรียนรู้
ครูเป็นนักวิจัยและพัฒนา
ทาให้เป็นผู้ก้าวหน้าในอาชีพครู
เพราะการค้นพบความรู้ใหม่
ทาให้ได้ผลงานทางการศึกษา
ดังนั้น กิจกรรมวิจัยในชั้นเรียนจึงต้องควบคู่กับ
การเรียนการสอน ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุง
และ พัฒนาการเรียนการสอน
Classroom Action Research : วิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
Credit : สอนเด็กทาโครงงานสอนอาจารย์ทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข
Credit : สอนเด็กทาโครงงานสอนอาจารย์ทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข
ขั้นตอนการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน เพื่อสร้างนวตกรรมการเรียนรู้
“ขั้นตอน 5 ก้าวของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน”
ก้าวที่ 1 ระบุปัญหา
ก้าวที่ 2 ศึกษานวตกรรม
ก้าวที่ 3 ลงมือทาเพื่อแก้ไข
ก้าวที่ 4 สรุปจับใจผลการแก้
ก้าวที่ 5 เผยแพร่นวตกรรมกับเพื่อนครู
Credit : สอนเด็กทาโครงงานสอนอาจารย์ทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข
ขั้นตอนการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน เพื่อสร้างนวตกรรมการเรียนรู้
“ขั้นตอน 5 ก้าวของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน”
ก้าวที่ 1 ระบุปัญหา
1.วิเคราะห์บันทึกหลังสอน
2.ศึกษาลักษณะปัญหาด้านความรู้ ทักษะ ความสามารถของผู้เรียน คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์จากการประเมินตามสภาพจริง
ก้าวที่ 2 ศึกษานวตกรรม
1.ศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหา อาจใช้นวตกรรมต่างๆ เช่น รูปแบบการสอน
เทคนิคการสอน วิธีสอน แผนการสอน และนวตกรรมชั้นสูง เช่น ชุดการเรียนรู้
ชุดกิจกรรม
2.ระบุคาถามการวิจัย ชื่อหัวข้อ และ วัตถุประสงค์การวิจัย
Credit : สอนเด็กทาโครงงานสอนอาจารย์ทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข
ขั้นตอนการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน เพื่อสร้างนวตกรรมการเรียนรู้
“ขั้นตอน 5 ก้าวของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน”
ก้าวที่ 3 ลงมือทาเพื่อแก้ไข
1.ดาเนินการตามแผน เก็บข้อมูลอย่างละเอียดและมีการปรับปรุง
2.วิเคราะห์และสื่อความหมายข้อมูล
ก้าวที่ 4 สรุปจับใจผลการแก้
1.แปลความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
2.แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนครู
3.อภิปรายและเขียนข้อเสนอแนะ
Credit : สอนเด็กทาโครงงานสอนอาจารย์ทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข
ขั้นตอนการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน เพื่อสร้างนวตกรรมการเรียนรู้
“ขั้นตอน 5 ก้าวของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน”
ก้าวที่ 5 เผยแพร่นวัตกรรมกับเพื่อนครู
1.แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันและกันในผลงานวิจัย
2.เผยแพร่ผลงานวิจัยและความเห็นให้ข้อมูลย้อนกลับ
3.ให้ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใช้
4.ให้ข้อเสนอแนะในการทาวิจัยอย่างต่อเนื่อง
Credit : สอนเด็กทาโครงงานสอนอาจารย์ทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข
เครื่องมือวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
เครื่องมือทดลอง
เครื่องมือรวบรวมข้อมูล
นวัตกรรมการเรียนรู้ในการแก้ปัญหรือหรือใช้ทดลองแก้ปัญหาการเรียนการสอน
การใช้วิธีสอน เทคนิคการสอน รูปแบบการสอน กิจกรรมการเรียนการสอน
รวมทั้งชุดฝึก
เพื่อตอบปัญหาการวิจัย เช่น แบบสอบถาม แบบสังเกต แบบวัด แบบสารวจ แบบ
สัมภาษณ์ แบบทดสอบ
Credit : สอนเด็กทาโครงงานสอนอาจารย์ทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข
การวิเคราะห์ข้อมูลในวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
วิเคราะห์เชิงปริมาณ
วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคณุภาพ
จานวนนับ คิดร้อยละ หาค่าเฉลี่ย วัดการกระจาย และทดสอบค่าเฉลี่ย (t-test)
ใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
Credit : สอนเด็กทาโครงงานสอนอาจารย์ทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข
ประเภทของการของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
งานวิจัยเชิงสารวจ
สืบค้นคาตอบที่มีอยู่แล้ว เพื่อหาสภาพปัญหาและแนวทางแก้ไข
งานสารวจเด็กในด้านต่างๆ เช่น ความรู้ ทักษะหรือกระบวนการคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ ควมพอใจ ความถนัด
งานวิจัยเชิงทดลอง
สืบค้นหาคาตอบที่ยังไม่มีคาตอบ ต้องทาการทดลองก่อนจึงจะรู้ผล เป็นความสัมพันธ์
ระหว่างตัวแปรต้นกับตัวแปรตาม
ตัวแปรต้น : รูปแบบ วิธีสอน เทคนิค แนวการสอน กิจกรรมที่มีอยู่แล้วนาไปทดลอง
เทคนิควิธีการ กิจกรรมที่ผู้วิจัยลองมาใช้กับผู้เรียนว่าได้ผลหรือไม่
ตัวแปรตาม : ผลการเรียนรู้ด้านที่ไม่ใช่วิชาการ ผลการเรียนด้านปฏิบัติ
Credit : สอนเด็กทาโครงงานสอนอาจารย์ทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข
ประเภทของการของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
งานวิจัยเชิงวิจัยและพัฒนา
งานวิจัยสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ที่สร้างกันได้
หน่วยการเรียนรู้ วิธีสอนผสมผสาน ชุดการสอน ชุดการเรียนรู้ ชุดกิจกรรม ชุดฝึก
สื่อการเรียนรู้ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
Credit : สอนเด็กทาโครงงานสอนอาจารย์ทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข
นวตกรรมการเรียนรู้สาหรับการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
นวตกรรมการเรียนรู้
นวตกรรมการเรียนรู้จากการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน ที่ทาได้ไม่ยาก มี 3 ประเภท
1.ประเภทรูปแบบ วิธีสอน เทคนิคการสอน เทคนิคการสอนเพื่อน แนวทางการสอน
2.ชุดกิจกรรม ชุดกิจกรรมการสอน ชุดกิจกรรมการเรียน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
แบบเรียน แบบโปรแกรม คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ชุดแบบฝึก ชุดแนวฝึกปฏิบัติ
3.สื่อการเรียนรู้ วิดิทัศน์ ภาพยนตร์ สไลด์ เทปเพลง เทปบรรยาย เอกสารส่งเสริม
การอ่าน
Credit : สอนเด็กทาโครงงานสอนอาจารย์ทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข
นวตกรรมการเรียนรู้สาหรับการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
งานวิจัยปฏิบัตการในชั้นเรียนด้านวิจัยและพัฒนา
นวตกรรม
R&D
วัตถุประสงค์การ
วิจัยและพัฒนา
1.รูปแบบ
วิธี
เทคนิค
กิจกรรม
2.ชุดกิจกรรม
3.สื่อการเรียนรู้
ผัง นวัตกรรมการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่ต้องการพัฒนาผู้เรียน
Credit : สอนเด็กทาโครงงานสอนอาจารย์ทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข
นวตกรรมการเรียนรู้สาหรับการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การใช้นวตกรรมการเรียนรู้ในการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
นวตกรรมที่นาไปใช้
1.ความรู้ความเข้าใจ
-การอุปนัยร่วมกับเทคนิคการเรียนรู้
-รูปแบบ วิธีการสอน
-ชุดกิจกรรม ชุดแบบฝึกต่างๆ เพื่อ
สร้างความรู้
ผลการเรียนรู้ที่ต้องการพัฒนาผู้เรียน
Credit : สอนเด็กทาโครงงานสอนอาจารย์ทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข
นวตกรรมการเรียนรู้สาหรับการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การใช้นวตกรรมการเรียนรู้ในการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
นวตกรรมที่นาไปใช้
2.ทักษะกระบวนการ
-ทักษะการคิด
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะกระบวนการกลุ่ม
-ทักษะการปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
-ทักษะการคิด
-รูปแบบและวิธีการสอนร่วมกับ
เทคนิคต่างๆ
-ชุดกิจกรรมต่างๆ
ผลการเรียนรู้ที่ต้องการพัฒนาผู้เรียน
Credit : สอนเด็กทาโครงงานสอนอาจารย์ทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข
นวตกรรมการเรียนรู้สาหรับการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การใช้นวตกรรมการเรียนรู้ในการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
นวตกรรมที่นาไปใช้
3.คุณลักษณะและค่านิยม
-คุณธรรมจริยธรรม
-ความเป็นกัลยาณมิตร
-ความมีจิตสาธารณะ
-วิธีใช้สถานการณ์จาลอง
-วิธีกรณีศึกษา
-การเป็นแบบอย่าง
-บทบาสมมุติ
-วิธีคู่สัญญา
-ชุดกิจกรรมต่างๆ
ตัวแปรที่ต้องการพัฒนาหรือเสริมสร้าง
ตัวแปรตาม/ตัวแปรที่ต้องการศึกษา
Credit : สอนเด็กทาโครงงานสอนอาจารย์ทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข
หลักการตั้งชื่องานวิจัยปกิบัติการในชั้นเรียน
ตัวแปรที่ใช้แก้ปัญหา หรือจัดกระทาขี้น
เพื่อเสริมสร้างผลการเรียนรู้ที่เป็น
ปัญหาของนักเรียน
ตัวแปรต้น/ตัวแปรจัดกระทา
Credit : สอนเด็กทาโครงงานสอนอาจารย์ทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข
หลักการตั้งชื่องานวิจัยปกิบัติการในชั้นเรียน
ตัวแปรตามของกลุ่มเป้าหมาย
(ชั้น+โรงเรียน) โดยใช้ตัวแปรต้น
การศึกษา
การพัฒนา
การเสริมสร้าง
ความสามารถในการวิเคราะห์ของนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสุขวิทยา
โดยใช้ชุดกิจกรรม
การศึกษา
การพัฒนา
การเสริมสร้าง
เพื่อการศึกษาผลการใช้ชุดกิจกรรมในการเสริมสร้างความสามารถในการวิเคราะห์
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสุขวิทยา
แบบที่ 1
Credit : สอนเด็กทาโครงงานสอนอาจารย์ทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข
หลักการตั้งชื่องานวิจัยปกิบัติการในชั้นเรียน
(ตัวแปรต้น)
(ตัวแปรตาม)…ของ
การเรียนรู้
การเรียนการสอน
เพื่อศึกษาการเสริมสร้างความสามารถในการวิเคราะห์ของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสุขวิทยา ด้วยการใช้ชุดกิจกรรม
แบบที่ 2
ผล
โดยใช้…
ที่มีต่อ…
กลุ่มเป้าหมายในโรงเรียน
ผลการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมที่มีต่อความสามารถในการวิเคราะห์
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสุขวิทยา
Credit : สอนเด็กทาโครงงานสอนอาจารย์ทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข
วิจัยเชิงวิชาการ
1.สร้างชุดกิจกรรมเสริมสร้างความสามารถในการวิเคราะห์ สาหรับ
นักเรียนประถมศึกษาตอนปลาย
ตัวอย่างหัวข้อวิจัย : การสร้างชุดกิจกรรมพัฒนาความสามารถ
ในการวิเคราะห์สาหรับนักเรียนประถมศึกษาตอนปลาย
2.ศึกษาคุณภาพของชุดกิจกรรมเสริมสร้างความสามารถในการ
วิเคราะห์สาหรับนักเรียนประถมศึกษาตอนปลาย
Credit : สอนเด็กทาโครงงานสอนอาจารย์ทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข
แบบฟอร์มโครงการเพื่อขอทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
1.ที่มาและความสาคัญของการทาวิจัย
2.คาถามการวิจัย
3.วัตถุประสงค์ของการทาวิจัย
4.สมมุติฐาน (ถ้ามี)
5.ขอบเขตการทาวิจัย : กลุ่มเป้าหมาย/ตัวแปรที่ศึกษา
6.วิธีดาเนินการ : เครื่องมือวิจัย/การเก็บรวบรวมข้อมูล
7.ผลที่คาดว่าจะได้รับ
8.แผนกาหนดเวลาปฏิบัติการ
9.เอกสารอ้างอิง
Credit : การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21 มูลนิธิสยามกัมมาจล
เปิดประสบการณ์ :
“การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21
สู่งานวิจัยการเรียนการสอนโดยตรง จากครูร่วมกับศิษย์”
ชมรมการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
สานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ดร.มงคล แสงอรุณ
วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม
การใช้ชุดการเรียนรู้แบบC-PBL21 สาหรับกิจกรรมโครงการ
ภายใต้การนิเทศของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม
Learning to use a C-PBL21 for project activities under the supervision of students.
The Diploma Business Computer. Mahasarakham Vocational College.
ดร.มงคล แสงอรุณ
ภาควิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม
ดร.ชฎารัตน์ สุขศีล
ภาควิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม
การใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 สาหรับ กิจกรรมโครงการ
ภายใต้การนิเทศของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม
บทนา
มุ่งเน้นที่จะผลิตผู้มีความรู้ความเข้าใจ และทักษะในระดับฝีมือ
มีสมรรถนะที่สามารถปฏิบัติอาชีพได้จริงมีคุณธรรม จริยธรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพ และมีกิจนิสัยที่เหมาะสมในการทางาน
สอดคล้องกับความต้องการของเศรษฐกิจและสังคมสามารถปฏิบัติงานได้
อย่างมีความสุข และพัฒนาตนเองให้มีความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพ
ผู้เรียนเมื่อเรียนจบจะต้องมีงานทา และสามารถที่จะดารงชีวิตอย่าง
ความสุขในสังคมได้อย่างภาคภูมิ
นโยบายการจัดการศึกษา
สอดคล้องและไปในทิศทางเดียวกัน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 12
ครู คือ บุคคลสาคัญที่มีบทบาทในการพัฒนาผู้เรียน ดังนั้นการพัฒนาครูให้
พร้อมกับการเปลี่ยนแปลงของโลกไม่ว่าจะเป็นทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง
และการแข่งขันในระดับเอเซียน หรือระดับสากล โดยครูต้องมีการเปลี่ยนแปลง
ตัวเองโดยสิ้นเชิงเพื่อให้เป็น
“ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21” บทบาทของครูอาจารย์จะต้องเปลี่ยนไป ครูที่รัก
ศิษย์และเอาใจใส่ศิษย์ แต่ยังใช้กระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบเดิมๆ จะไม่ใช่
ครูที่ทาประโยชน์แก่ศิษย์อย่างแท้จริง
ครูที่มีใจแก่ศิษย์ยังไม่พอ ครูเพื่อศิษย์ต้องเปลี่ยนจุดสนใจหรือจุดเน้นการสอน
ไปเป็นเน้นการเรียน (ทั้งของศิษย์และของตนเอง) ต้องมีการเรียนรู้และปรับปรุง
รูปแบบการเรียนรู้ที่ตนเองได้ให้แก่ศิษย์ด้วย ครูเพื่อศิษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง
จาก “ครูสอน” (teacheer)ไปเป็น “ครูฝึก” (Coach) หรือ
“ผู้อานวยความสะดวกในการเรียนรู้” (Learning facilitator)
และต้องเรียนรู้ทักษะในการทาหน้าที่นี้โดยรวมตัวกันเป็นกลุ่มเพื่อการเรียนรู้
ร่วมกันอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องที่เรียกว่า
PLC (Professional Learning Community)
เพื่อให้ครูได้เกิดการพัฒนาตนเองและเรียนรู้ที่จะปรับเปลี่ยนแนวคิดและ
กระบวนการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับปัจจุบัน
ในการวิจัยในครั้งนี้จึงมีการนาชุดการจัดการเรียนรู้ C-PBL21 ของ ชมรมพัฒนาทักษะ
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มาใช้ เป็นเครื่องมือ
เพื่อช่วยให้ครูสามารถจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องและเชื่อมโยงกับทักษะที่จาเป็นในการ
จัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
การพัฒนาครูผู้สอนให้มีความรู้ ความเข้าใจและทักษะการจัดการเรียนการสอน
ที่เน้นกระบวนการคิดเชิงระบบ ซึ่งสอดคล้องกับแนวพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
ที่มีรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้มุ่งให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ ได้คิด
ได้วิเคราะห์ สังเคราะห์ และได้ปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง มีประสบการณ์ตรง ได้ฝึกปฏิบัติ
จนค้นพบความถนัด และสามารถเลือกวิธีเรียนรู้ด้วยตนเอง มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกลุ่ม
ได้ฝึกคิดอย่างหลากหลาย ตลอดจนมีโอกาสในการฝึกประเมินผลงานของตนเอง
การปรับปรุงตนเองและยอมรับผู้อื่น ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาการศึกษาของประเทศในอนาคต
วัตถุประสงค์การวิจัย
1.เพื่อทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21
สาหรับกิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม
2.เพื่อสารวจความพึงพอใจของการชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21
สาหรับกิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม
วิธีดาเนินการวิจัย
ระยะที่ 1
ทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 ในการทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศของนักศึกษา
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม
ระยะที่ 2
การสารวจความพึงพอใจของผู้เรียน หลังจากทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 มาใช้ในการ
ทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม
ระยะที่ 1
ทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 ในการทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศของนักศึกษา
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม
ประชากร นักศึกษาระดับปวส. จานวน 120 คน
กลุ่มตัวอย่าง สุ่มแบบเจาะจง นักศึกษาระดับปวส. จานวน 25 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ชุดการเรียนรู้ C-PBL21
ระยะที่ 2
การสารวจความพึงพอใจของผู้เรียน หลังจากทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 มาใช้ในการ
ทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม
เครื่องมือสาหรับการวิจัย แบบประเมินความพึงพอใจ
ต่อชุดการเรียนรู้ C-PBL21 จานวน 28 ข้อ
การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าสถิติพื้นฐาน ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัย ระยะที่ 1
ทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 ในการทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศ
ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม
ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 ประกอบด้วยขั้นตอนการเรียนรู้ 7 ขั้นตอน
ผลการวิจัย
การหลอมรวมความรู้เดิมของผู้เรียน สู่ความรู้ใหม่ที่จะเกิดขึ้น ด้วยกระบวนการคิดวิเคราะห์
อย่างเป็นระบบ และการประเมินสถานการณ์
ระยะที่ 1 ทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21
ในการทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคามขั้นที่ 1 การเตรียมผู้เรียน
ผู้เรียนเกิดการพัฒนาการด้านการคิดอย่างเป็นระบบ และทราบถึงศักยภาพของตนเองในการจัดทาโครงการ
กระบวนการ CLIPSTEP เพื่อกระตุ้นและเสริมแรง
พับกระดาษ เพื่อเน้นกระบวนการเชื่อมโยงความคิดอย่างเป็นระบบถ่ายทอดสู่การสร้างชิ้นงาน
การถ่ายทอดความรู้ และให้ผู้เรียนได้ประเมินสถานการณ์ก่อนการทาโครงการ
ผลการวิจัย
การสารวจข้อมูลในชุมชน โดยการเก็บข้อมูลตามสภาพจริง เป็นทีม เพื่อให้ได้ข้อมูลสาหรับทาโครงการ
ระยะที่ 1 ทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21
ในการทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคามขั้นที่ 2 การสารวจชุมชน
ผู้เรียนสารวจและเก็บข้อมูลในชุมชน เพื่อนามาจัดความสัมพันธ์ของข้อมูล แสดงความคิดเพื่อการค้นหา
โครงการที่เหมาะสมสาหรับจัดทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศ โดยเกิดจากมติของสมาชิกกลุ่ม
Foce Connection
จัดความสัมพันธ์ข้อมูล
การลงชุมชน
ข้อมูลสาหรับการจัดทาโครงการ
Mind Mapping
ค้นหาโครงการที่น่าสนใจ
CPBL21sarapatchangMK
CPBL21sarapatchangMK
CPBL21sarapatchangMK
CPBL21sarapatchangMK
CPBL21sarapatchangMK
CPBL21sarapatchangMK
CPBL21sarapatchangMK
CPBL21sarapatchangMK
CPBL21sarapatchangMK
CPBL21sarapatchangMK

More Related Content

What's hot

โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาดโครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
Siriluk Singka
 
กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1
tassanee chaicharoen
 
1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป
1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป
1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป
Preecha Asipong
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
พัน พัน
 
ผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยา
ผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยาผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยา
ผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยา
Thammawat Yamsri
 
กำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้ากำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้า
krusuparat01
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
supreechafkk
 
สถาบันทางสังคม
สถาบันทางสังคมสถาบันทางสังคม
สถาบันทางสังคม
thnaporn999
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
Padvee Academy
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลกประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลก
Muntana Pannil
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
พัน พัน
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
Gob Chantaramanee
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมือง
Padvee Academy
 
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
DuangdenSandee
 

What's hot (20)

โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาดโครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
 
กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1
 
1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป
1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป
1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
 
ผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยา
ผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยาผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยา
ผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยา
 
กำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้ากำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้า
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
 
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
 
สถาบันทางสังคม
สถาบันทางสังคมสถาบันทางสังคม
สถาบันทางสังคม
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลกประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลก
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการ
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมือง
 
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
 
ความเรียงขั้นสูง
ความเรียงขั้นสูงความเรียงขั้นสูง
ความเรียงขั้นสูง
 

Similar to CPBL21sarapatchangMK

หลักสูตรสาระการงานอาชีพ
หลักสูตรสาระการงานอาชีพหลักสูตรสาระการงานอาชีพ
หลักสูตรสาระการงานอาชีพ
dechathon
 
ทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าว
ทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าวทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าว
ทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าว
Samorn Tara
 
Ict literacy
Ict literacyIct literacy
Ict literacy
Bodaidog
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
Nattapon
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 

Similar to CPBL21sarapatchangMK (20)

การจัดระบบ Ict อาชีวศึกษา2
การจัดระบบ Ict อาชีวศึกษา2การจัดระบบ Ict อาชีวศึกษา2
การจัดระบบ Ict อาชีวศึกษา2
 
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมรายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยี
หลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยีหลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยี
หลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยี
 
หลักสูตรสาระการงานอาชีพ
หลักสูตรสาระการงานอาชีพหลักสูตรสาระการงานอาชีพ
หลักสูตรสาระการงานอาชีพ
 
ทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าว
ทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าวทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าว
ทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าว
 
test
testtest
test
 
Ict literacy
Ict literacyIct literacy
Ict literacy
 
ICT Literacy
ICT LiteracyICT Literacy
ICT Literacy
 
Community College Burirum
Community College BurirumCommunity College Burirum
Community College Burirum
 
Teachercom c
Teachercom cTeachercom c
Teachercom c
 
กิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศ
กิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศกิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศ
กิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศ
 
กิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศ
กิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศกิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศ
กิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศ
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา05
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา05สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา05
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา05
 
Com68
Com68Com68
Com68
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
 
Resume Pises Tantimala
Resume Pises TantimalaResume Pises Tantimala
Resume Pises Tantimala
 

CPBL21sarapatchangMK

Editor's Notes

  1. ทำไมจึงต้องเปลี่ยน
  2. Edgar Dale ศาสตราจารย์จากมหาวิทยาลัย OHIO ได้ศึกษากระบวนการเรียนรู้ที่จะพัฒนาผู้เรียนได้เต็มตามศักยภาพ ปิรามิดแห่งการเรียนรู้ แสดงให้เห็นถึงค่าร้อยละจากการจัดกิจกรรมที่ต่างกันแต่ละอย่าง จะทำให้เก็บในความทรงจำต่างกัน - การเรียนในห้องเรียน (Lecture) นั่งฟังบรรยาย จะจำได้เพียง 5% - การอ่านเอง (Reading) จะจำได้เพิ่มขึ้นเป็น 10% - การฟังและได้เห็น (Audiovisual) เช่นดูโทรทัศน์ ฟังวิทยุ จำได้ 20% - การได้เห็นตัวอย่าง (Demonstration) จะช่วยให้จำได้ 30% - การได้แลกเปลี่ยนพูดคุยกัน (Discussion) เช่น การพูดคุยแลกเปลี่ยนความรู้กันในกลุ่ม จะช่วยให้จำได้ถึง 70% - การได้ทดลองปฏิบัติเอง (Practice doing) จะจำได้ถึง 80% - และการได้สอนผู้อื่น (Teaching) เช่น การติว หรือการสอน จะช่วยให้จำได้ถึง 95%
  3. อธิบาย : 1ประเภทของโครงงานที่จะทำ มีกี่ประเภท 2 ความถนัดของแต่ละบุคคล โดยแบบวัดความถนัด