SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
1
(มคอ.3)
รายละเอียดของรายวิชา การเงินธุรกิจ (Business Finance)
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะวิทยาการจัดการ
หมวดที่ 1 ข้อมูลโดยทั่วไป
1. รหัสและชื่อรายวิชา
3521101 การเงินธุรกิจ (Business Finance)
2. จานวนหน่วยกิต
3 หน่วยกิต 3(3-0)
3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
บริหารธุรกิจ 4 ปี
ประเภทของรายวิชากลุ่มวิชาวิทยาการจัดการ บังคับเรียน
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน
ผศ. ปานตา พิริยะจิตตะ
5. ภาคการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน
ภาคการศึกษาที่ .2./ ...60 / ชั้นปีที่ 2…(06,05,03,07)ค้าปลีก2จัดการทั่วไป2
6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี)
การบัญชี 1
7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี)
ไม่มี
8. สถานที่เรียน
อาคาร15ชั้น
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
9. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด
ภาค2ปี2560
2
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
1. เข้าใจเกี่ยวกับบทบาทการบริหารการเงิน
2. วิเคราะห์งบการเงินในธุรกิจ พร้อมข้อเสนอแนะได้
3. วางแผนและ พยากรณ์ทางการเงิน ในองค์กรธุรกิจได้
4. อธิบายการบริหารเงินทุนหมุนเวียน การบริหารเงินสด และหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด
5. เข้าใจเกี่ยวกับการบริหารลูกหนี้ และการบริหารสินค้าคงคลัง
6. เข้าใจเกี่ยวกับการจัดหาเงินทุน เพื่อพิจารณา ต้นทุนของเงินทุ นให้สอดรับกับ การตัดสินใจลงทุ นใน
โครงสร้างทางการเงิน
7. เพื่อวางแผนการจัดการด้าน การจัดหาเงินทุนระยะสั้น ปานกลางและยาว
8. อธิบายดอกเบี้ยทบต้น เพื่อประกอบใช้กับการตัดสินใจพิจารณาผลตอบแทนในอนาคต
9. เข้าใจ มูลค่าปัจจุบันและมูลค่าอนาคต เพื่อประกอบการตัดสินใจในการเลือกการลงทุน
10. วิเคราะห์โครงการลงทุนได้เพื่อให้สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงในบริบทต่างๆ
11. อธิบายนโยบายการจ่ายเงินปันผล
12. เข้าใจการ ขยายกิจการ การรวมกิจการ ตลอดจนการเลิกกิจการ
13. ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันโดยสามารถจัดทา งบประมาณ และการลงทุน
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษาไ ด้มีความรู้ และเข้าใจถึงหลักการ จัดการด้านการเงินที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
เพื่อ ให้ สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ
คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาถึงขอบเขต ลักษณะบทบาท และหน้าที่ของฝ่ายการเงินในธุรกิจ ตลอดจนเป้าหมายและ
ความสาคัญของการเงินธุรกิจ ตลาดการเงินและตลาดทุนโดยเน้นให้เข้าใจถึงหลักการเบื้องต้นในการจัดสรร
เงินทุนภายในธุรกิจ การจัดหาเงินทุนมาเพื่อใช้ในการดาเนินการของธุรกิจ การวางแผนการเงินที่เกี่ยวกับการเริ่ม
ลงทุนของกิจการ ขยายกิจการ การเพิ่มทุน นโยบายจัดสรรกาไรและเงินปันผล
3
1. จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา
บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ/งาน
ภาคสนาม/การฝึกงาน
การศึกษาด้วยตนเอง
บรรยาย 30 ชั่วโมงต่อ
ภาคการศึกษา
เนื้อหาที่นักศึกษา ไม่
เข้าใจในส่วนเฉลย
แบบฝึกหัด
ไม่มีการฝึกปฏิบัติงาน
ภาคสนาม
การศึกษาด้วยตนเอง 10
ชั่วโมงต่อภาคการศึกษา
2. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (โดยมีการนัดเวลาพิเศษที่ได้ทาการจัดสรรเวลา ในห้องสอนเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ว่า
ในทุกสัปดาห์นั้นข่าวสารด้านการเงินมีอะไรเปลี่ยนแป ลง และพัฒนา) โดยได้มีการ ให้นักศึกษาทาการสรุปข่าวที่
เกี่ยวข้องเป็นรายวัน
หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา
1. คุณธรรม จริยธรรม
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1. มี จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพโดยการให้นักศึกษาต้องจัดทารายงานด้วยตนเอง
2. มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัยในการศึกษา เช่น มีส่วนร่วมในการจัดกลุ่มและค้นคว้า
3. มีความตรงต่อเวลา บริหารเวลาให้มีประสิทธิภาพ เช่น พิจารณาจากเวลาเข้าเรียน
4. คานึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน เช่น มีส่วนร่วมในการตอบและแสดงความคิดเห็น
1.2 วิธีการสอน
1.มีการอธิบายขอบเขตของรายวิชา เพื่อให้นักศึกษาได้ทราบรายเนื้อหาที่สาคัญๆซึ่งนักศึกษาได้ประเมิน
ความรู้ตัวเอง
2 ตกลงกาหนดวิธีการเรียน การประเมิน และ ให้นักศึกษาจัดทา รายงานโดยที่ผู้สอนกาหนดขอบเขต
เนื้อหาให้แบ่งงานโดยแบ่งกลุ่มการศึกษา โดยผู้สอน ให้คาปรึกษาการจัดทารายงาน และทาการตรวจเช็คเนื้อหา
รายงาน ก่อนที่จะนาเสนอ
3. ผู้สอนบรรยายเนื้อหา ตามเอกสารประกอบการสอนในชั้นเรียน ทุกเรื่อง และตอบข้อสงสัยที่นักศึกษา
สนใจหรือสงสัย
4
4. ทาแบบทดสอบในชั้นเรียนเพื่อตอบโจทย์เนื้อหาที่ผู้สอนทาการสอน ตลอดจน รายงานที่จัดทาตามงาน
รายกลุ่ม และให้ทุกคนร่วมแสดงความคิดเห็น
5.ให้มีการนาเสนอเนื้อหารายงาน โดยนักศึกษา อาศัย สื่อข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตเช่นธนาคารแห่งประเทศ
ไทยประกอบจริง
6. ส่งงานตามที่มอบหมายโดยมีการเช็คชิ้นงาน ,เซ็นชื่อส่งในใบส่งงานตามรายชื่อกลุ่มที่กาหนด เช่น ทา
แบบฝึกหัดท้ายบทเรียนทุกบท และรวบรวมจัดทาเป็นรูปเล่มรายงาน
7.มีการนานักศึกษาดูงานในองค์กรที่ดาเนินธุรกรรมทางการเงินทีเกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่ ศึกษา รวมทั้ง
องค์กรที่วางแผนทางการเงินเช่นธนาคารแห่งประเทศไทย เกี่ยวข้องกับเนื้อหารายวิชาที ทาการสอน
1.3 วิธีการประเมินผล
1. การมีส่วนร่วมในการเรียนเช่น การดูงาน การอภิปราย รายงาน และตอบคาถาม
2. การตรงต่อเวลา เช่น การส่งงาน การเข้าเรียน
3. การประเมินผลจากการทดสอบและงานตามที่มอบหมาย เช่นแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
2. ความรู้
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
เข้าใจเกี่ยวกั บบทบาทการบริหารการเงิน วิเคราะห์งบการเงินในธุรกิจ เพื่อบอกถึงปัญหา ตลอดจนนา
ข้อมูลที่ได้ ประกอบการวางแผนและ พยากรณ์ทางการเงิน เข้าใจการบริหารเงินทุนหมุนเวียน การบริหารเงินสด
และหลักทรัพย์ วิเคราะห์การบริหารลูกหนี้ และการบริหารสินค้าคงคลัง เพื่อทาการวางแผนการเงิน ด้านการ
จัดหาเงินทุนระยะสั้น ปานกลางและยาว สามารถอธิบายดอกเบี้ยทบต้น วิเคราะห์โครงการลงทุน เพื่อ
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
2.2 วิธีการสอน
1.ทดสอบพื้นฐานความรู้ด้านการบัญชีเบื้องต้น และทาการแจ้งขอบเขตลักษณะรายวิชา การพิจารณาแนว
ทางการให้คะแนนในชั้นเ รียนตลอดจน แนวทางการเรียน ว่าจะมีการ บรรยายโดยผู้สอนในบางเนื้อหา พร้อม
เสนอแนะแนวทางในการทางาน และนักศึกษาอภิปราย รวมทั้งการซักถามในชั้นเรียน
2.การทางานกลุ่ม ซึ่งในแต่ละกลุ่มจะรับผิดชอบงานของกลุ่มตั้งแต่ การค้นคว้าเนื้อหา จัดทารูปเล่ม และ
การตอบคาถามเนื้อหาร ายงานของแต่ละกลุ่ม แล้วนาเสนอ และต้องทาการสรุปคาตอบเป็นลายลักษณ์อักษรให้
เรียบร้อยพร้อมส่ง เพื่อให้เพื่อนกลุ่มอื่นที่ไม่ได้จัดทาในเรื่องนั้นได้รับความรู้ด้วย
3.ให้นักศึกษาทาการสืบค้น เช่น ธนาคารแห่งประเทศไทย www.bot.or.th, tsi-thailand.org โดยผู้สอน
ได้ทาการแนะนาให้รู้จักและการใช้เวบไซต์ เหล่านี้ เพื่อให้นักศึกษาได้รับประโยชน์กล่าวคือ เวบไซต์เหล่านี้จะมี
5
การเพิ่มความรู้ในลักษณะให้การเข้าฟังอบรมสัมมนา (ดูงานในองค์กรที่เกี่ยวข้อง )ซึ่งความรู้ด้านนี้จะเปลี่ยนแปลง
ตลอดเวลา ก็แ นะนาให้นักศึกษาทาการสมัคร สมาชิก เพื่อทาการรับทร าบข่าวสารทุกด้านที่เกี่ยวข้องกับด้าน
การเงิน โดยแจ้งให้เปิดศึกษาทุกวันด้วย
4.ได้แนะนาให้นักศึกษาว่าหลังจากที่เรามีความรู้เหล่านี้ด้านบริหารการเงินแล้วนั้นจะมีการนาไป
ประยุกต์ใช้จริงในชีวิตประจาวันและจัดทาแผนธุรกิจรวมทั้งวิเคราะห์โครงการลงทุนได้
5 ได้ทาการประสานไปที่ องค์กรที่ให้ความรู้เชิงปฎิบัติ (ดูงาน) เพื่อให้นักศึกษาได้สัมผัสกับบรรยากาศ
การลงทุนจริง และแนะนาให้นักศึกษาเรียนรู้ผ่าน อินเตอรเนทในส่วนที่เกี่ยวข้อง เช่น การลงทุน , ข่าวสารด้าน
การเงินที่ทันสมัยตามสภ าพแวดล้อมทางการเมืองและ เศรษฐกิจ ซึ่งมีประเด็นใกล้เคียงกับคาอธิบาย รายวิชาที
ศึกษา (เวบที่เกี่ยวข้องเช่น ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย:ในส่วนตลาดทุน, ธนาคารแห่งประเทศไทย :.ในส่วน
ตลาดเงิน) และศึกษา ตัวอย่างธุรกิจที่ สถานภาพต่างๆที่มีสภาพหมุนเวียนไปตามวัฏจักรธุรกิจ เช่น ตัวอย่าง
ธุรกิจ แบบการรวมกิจการ และการจ่ายเงินปันผล ตัวอย่างการวิเคราะห์งบการเงิน และนามาสรุปผลให้เพื่อนๆ ฟัง
6 ฝึกให้นักศึกษาปฏิบัติจริงตามโจทย์การบ้านด้วยกัน หลังจากศึกษาจบ ทุกครั้งที่ได้ศึกษาจบเป็นรายบท
2.3 วิธีการประเมินผล
1.ประเมินจากการนาเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล และตอบข้อซักถามระหว่างการนาเสนองาน ในวันที่มีการ
นาเสนองานนั้น นักศึกษาทุกคนต้องเข้าร่วมฟัง เพราะจะมีการพิจารณาเกณฑ์การให้คะแนนการมีส่วนร่วม และ
ตรวจเช็คความสนใจด้วยการตั้งคาถามทดสอบ ถาม
2.พิจารณาเนื้อหารายงานรูปเล่มที่ทาการส่งนั้นได้มีการพัฒนาตามความรู้จริงในยุคโลกาภิวัตน์ และเพื่อ
เป็นการทราบว่านักศึกษาได้ใช้บริการเวบไซต์ที่กล่าวมานั้นจริงหรือไม่ จะมีการให้นาเสนอรายงานโดยอาศัยผ่าน
เวบไซต์ที่กล่าวมาในชั้นเรียนด้วย และให้นักศึกษาบอกขั้นตอนในการศึกษาจัดทารายงาน
3.พิจารณาความรู้จากนักศึกษาพิจารณาจากความสนใจ ด้วยการถามตอบ, งานการบ้าน, การทดสอบ
ย่อย สอบกลางภาค, สอบปลายภาค ด้วยแบบทดสอบ/ข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการทฤษฎีและการนาไปใช้
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
1. การวิเคราะห์ปัญหาจากกรณีศึกษา การคานวณตัวเลข การแก้สมการ
2 การนาเสนอเนื้อหาในส่วนที่เกี่ยวข้องกับขอบเขตที่ได้แบ่งให้ค้นหา
3. การประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
4. การวิเคราะห์โครงการลงทุน(ให้นักศึกษา นากรณีศึกษาที่ค้นพบจากการลงทุนจริงของธุรกิจอื่นที่สนใจ
แล้วนามาประยุกต์เป็นการลงทุนของตัวเอง)
3.2 วิธีการสอน
6
1. บรรยาย อภิปราย และแบ่งกลุ่มการทางาน
2. วิเคราะห์กรณีศึกษา
3. ฝึกให้นักศึกษากล้าแสดงแนวคิดด้วยความมั่นใจตัวเอง(โดยทาตัวใกล้ชิด เสมือน เพื่อน)
3.3 วิธีการประเมินผล
1.การนาเสนอรายงานพร้อมการแสดงแนวคิดตามความสามารถ
2.การตอบแบบทดสอบ พร้อมการแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.สอบย่อยหลังเรียนจบ และสอบปลายภาค jตามเนื้อหาที่วางแผนไว้
4.สรุปรายงานการดูงานในองค์กรที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่ศึกษา
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
1.พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน(ให้นักศึกษา เป็นเพื่อนช่วยเพื่อนอธิบาย
ด้านความรู้)
2.พัฒนาความเป็นผู้นาและผู้ตามในการทางานเป็นทีม
3.พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกาหนด
3. สามารถวิเคราะห์ และเสนอแนะเมื่อมีปัญหา
4. มีการพัฒนาความรู้ความสามารถการวิเคราะห์ และแนวทางการบริหาร
5 แบ่งสายการรับผิดชอบ
4.2 วิธีการสอน
1. จัดกิจกรรมกลุ่มในการแก้ปัญหา
2. กาหนดกรณีให้วิเคราะห์ หรือค้นหากรณีมาเพื่อแก้ประเด็นปัญหา
3. การนาเสนอรายงานซึ่งได้เสนอแนะแนวทางให้แล้ว
4.3 วิธีการประเมินผล
1. รายงานที่นาเสนอจากการศึกษาด้วยตนเองและ พัฒนาองค์ความรู้ที่ดูงาน
2. สอบปากเปล่าโดยพิจารณาจากเนื้อหารายงานที่นาเสนอ
3 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
1. มีทักษะการใช้วิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการตัด สินใจเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาหรือข้อ
7
โต้แย้ง
2. สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบการนาเสนอที่
เหมาะสมกับปัญหา
3. สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 วิธีการสอน
1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาที่น่าเชื่อถือ
2. นาเสนอโดยใช้วิธีการเรียนรู้ร่วมกัน
3.ฝึกวิเคราะห์ด้วยตนเอง
5.3 วิธีการประเมินผล
1. การจัดทารายงาน และการนาเสนอด้วยสื่ออิเลคโทรนิค
2. การมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ด้วยตนเอง จากการทดสอบ
3.ผลจากการดูงาน นั้น สามารถนามาปรับใช้อย่างไรกับชีวิตประจาวันและการทาธุรกิจ
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
1. แผนการสอน
สัปดาห์
ที่
หัวข้อ/รายละเอียด จานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียน การ
สอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี)
ผู้สอน
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชี 3 1.ให้นักศึกษา ศึกษา
จากตาราด้วยตัวเองก่อน
2.ให้นักศึกษาอธิบาย
ความหมายการบัญชีตาม
ความเข้าใจ พร้อมอธิบาย
หลักการบันทึกบัญชี
กระบวนการต่างๆ จน
สิ้นสุดที่งบการเงินเพื่อ
เห็นแนวทางที่จะประกอบ
ศึกษา
ผศ. ปานตา พิริยะจิตตะ
2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเงิน
ธุรกิจ
3 ให้นักศึกษาทาความ
เข้าใจองค์ประกอบงบ
ผศ. ปานตา พิริยะจิตตะ
8
สัปดาห์
ที่
หัวข้อ/รายละเอียด จานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียน การ
สอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี)
ผู้สอน
การเงินและโครงสร้างด้าน
การเงิน
3-4 การวิเคราะห์งบการเงิน 6 ให้นักศึกษา สืบค้น
ประเภทงบการเงินบริษัท
ต่างๆ ผ่านอินเตอร์เนท
และให้นักศึกษารู้วิธีการ
วิเคราะห์งบ จะได้พบ
จุดอ่อน (ปัญหา)พร้อม
เสนอแนะวิธีการปรับปรุง
ให้การดาเนินธุรกิจมี
ศักยภาพมากขึ้น
ผศ. ปานตา พิริยะจิตตะ
5 งบกระแสเงินสด
สอบย่อย1
3 ให้นักศึกษาเข้าใจงบ
กระแสเงินสดทั้ง
วิธีการจัดทาและ
ประโยชน์ของงบ
กระแสเงินสดโดยการ
อภิปราย
ผศ. ปานตา พิริยะจิตตะ
6 การบริหารเงินทุนหมุนเวียน
การบริหารเงินสด
3 นักศึกษา ศึกษาการ
บริหารเงินทุนหมุนเวียน
และจัดการด้านรับ
จ่ายเงินสดได้ตาม
หลักการรวมทั้งหาข้อสรุป
เกี่ยวกับการบริหาร
หลักทรัพย์ในความ
ต้องการตลาดได้
ผศ. ปานตา พิริยะจิตตะ
7 การจัดการลูกหนี้ 3 นักศึกษาฝึกวิเคราะห์
สินเชื่อ ด้วยการจัดหา
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ
ผศ. ปานตา พิริยะจิตตะ
9
สัปดาห์
ที่
หัวข้อ/รายละเอียด จานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียน การ
สอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี)
ผู้สอน
ลูกหนี้ว่าสามารถจัดหาได้
จากที่ใดบ้าง และตัดสินใจ
ให้สินเชื่อโดยมีหลัก
พิจารณาอย่างไร
(กรณีศึกษา)
8 สอบย่อย2 3 ทุกเรื่องที่เรียนผ่านมา ผศ. ปานตา พิริยะจิตตะ
9 การจัดการสินค้าคงคลัง 3 อธิบาย วิธีการประเมิน
เรื่องการสั่งซื้อ จุด
สั่งซื้อ และ สต็อคเพื่อ
ความปลอดภัย โดย
พิจารณาที่จุดต้นทุน
ต่าที่สุด
ผศ. ปานตา พิริยะจิตตะ
10 วางแผนและการจัดทางบประมาณ 3 ศึกษา วางแผนการลงทุน
ในอนาคตโดยใช้ข้อมูล
ในอดีตเป็นตัว
พิจารณา และจัดทา
งบประมาณการลงทุน
ผศ. ปานตา พิริยะจิตตะ
11-12 มูลค่าเงินปัจจุบันและอนาคต
งบลงทุน
สอบย่อยมูลค่าเงินปัจจุบันและ
อนาคต;วิเคราะห์โครงการลงทุน
6 ฝึกการคานวณดอกเบี้ย
และการประมาณการเรื่อง
เงินลงทุน และ
ผลตอบแทนที่พึ่งได้ เพื่อ
เป็นข้อมูลในการตัดสินใจ
เลือกการลงทุน
ผศ. ปานตา พิริยะจิตตะ
13 ตลาดเงิน ตลาดทุน
เงินทุนระยะสั้น ,ปานกลาง ,ยาว,
พันธบัตร,หุ้นกู้ หุ้นสามัญ,
หุ้นบุริมสิทธิ์
3 1.ให้นักศึกษา ศึกษาจาก
ตาราเกี่ยวกับตลาดเงิน
ตลาดทุน เพื่อศึกษา
เกี่ยวกับแหล่งได้มา และ
ผศ. ปานตา พิริยะจิตตะ
10
สัปดาห์
ที่
หัวข้อ/รายละเอียด จานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียน การ
สอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี)
ผู้สอน
พร้อมนาเสนอรายงานโดยนักศึกษา ใช้ไป เงินทุนประเภท
ต่างๆ และ
2 ให้นักศึกษาประยุกต์
ความรู้ที่เรียนไปแล้ว มา
ใช้กับการบริหารเงินทุน
ในธุรกิจได้ โดยการจัดทา
เป็นกรณีศึกษาเพื่อ
นาเสนอ
14
นโยบายการจัดสรรเงินปันผล 3 ให้นักศึกษา ศึกษา
รูปแบบและวิธีการ
จ่ายเงินปันผล
คานวณเงินปันผลได้
และทราบวิธีการ
ดาเนิน
ผศ. ปานตา พิริยะจิตตะ
15 การขยายกิจการ 3 ให้นักศึกษาเข้าใจ
ความหมายการรวม
ขยาย และเลิกกิจการ
หลังจากนั้นให้นักศึกษา
สืบค้นธุรกิจจริงเกี่ยวกับ
การรวม ขยายและเลิก
กิจการมาเป็นกรณีศึกษา
เป็นตัวอย่างประกอบการ
นาเสนอ
ผศ. ปานตา พิริยะจิตตะ
16 สอบปลายภาค 3 สอบเนื้อหารายงานที่แบ่ง
ให้จัดทาทั้งหมด
ผศ. ปานตา พิริยะจิตตะ
11

More Related Content

Similar to มคอ3การเงินภาค2ปี2560

โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพratchadaphun
 
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1Bhayubhong
 
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมPrasert Boon
 
แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]kvlovelove
 
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdfssuser49d450
 
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.3230 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32ฺBadBoy 20151963
 
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.3230 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32Kruthai Kidsdee
 
ผลการเรียนรู้ยุววาณิช
ผลการเรียนรู้ยุววาณิชผลการเรียนรู้ยุววาณิช
ผลการเรียนรู้ยุววาณิชSaranpattara Jace
 
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่าวิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่าNDuangkaew
 
สภาวิชาชีพหลักสูตรบัญชีAnnounce 17 2552
สภาวิชาชีพหลักสูตรบัญชีAnnounce 17 2552สภาวิชาชีพหลักสูตรบัญชีAnnounce 17 2552
สภาวิชาชีพหลักสูตรบัญชีAnnounce 17 2552P Pattarawit
 
มคอ.3 il156
มคอ.3 il156มคอ.3 il156
มคอ.3 il156Ajnawa Sing
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการkanidta vatanyoo
 
แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์
แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์
แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์Wongvian Wongkaso
 

Similar to มคอ3การเงินภาค2ปี2560 (20)

โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพ
 
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
 
2.
2.2.
2.
 
แบบสรุปโครงการ สอดคล้องกับกลยุทธ์
แบบสรุปโครงการ   สอดคล้องกับกลยุทธ์แบบสรุปโครงการ   สอดคล้องกับกลยุทธ์
แบบสรุปโครงการ สอดคล้องกับกลยุทธ์
 
หน่วยที่ 1 แผนที่ 1
หน่วยที่ 1 แผนที่ 1หน่วยที่ 1 แผนที่ 1
หน่วยที่ 1 แผนที่ 1
 
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
 
แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]
 
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
 
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.3230 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
 
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.3230 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
 
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.3230 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
 
04 curriculum
04 curriculum04 curriculum
04 curriculum
 
ผลการเรียนรู้ยุววาณิช
ผลการเรียนรู้ยุววาณิชผลการเรียนรู้ยุววาณิช
ผลการเรียนรู้ยุววาณิช
 
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่าวิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
 
สภาวิชาชีพหลักสูตรบัญชีAnnounce 17 2552
สภาวิชาชีพหลักสูตรบัญชีAnnounce 17 2552สภาวิชาชีพหลักสูตรบัญชีAnnounce 17 2552
สภาวิชาชีพหลักสูตรบัญชีAnnounce 17 2552
 
มคอ.3 il156
มคอ.3 il156มคอ.3 il156
มคอ.3 il156
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
 
แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์
แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์
แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์
 
วิชา 4472141
วิชา 4472141วิชา 4472141
วิชา 4472141
 

มคอ3การเงินภาค2ปี2560

  • 1. 1 (มคอ.3) รายละเอียดของรายวิชา การเงินธุรกิจ (Business Finance) ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะวิทยาการจัดการ หมวดที่ 1 ข้อมูลโดยทั่วไป 1. รหัสและชื่อรายวิชา 3521101 การเงินธุรกิจ (Business Finance) 2. จานวนหน่วยกิต 3 หน่วยกิต 3(3-0) 3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา บริหารธุรกิจ 4 ปี ประเภทของรายวิชากลุ่มวิชาวิทยาการจัดการ บังคับเรียน 4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน ผศ. ปานตา พิริยะจิตตะ 5. ภาคการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน ภาคการศึกษาที่ .2./ ...60 / ชั้นปีที่ 2…(06,05,03,07)ค้าปลีก2จัดการทั่วไป2 6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี) การบัญชี 1 7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี) ไม่มี 8. สถานที่เรียน อาคาร15ชั้น คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 9. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด ภาค2ปี2560
  • 2. 2 หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา 1. เข้าใจเกี่ยวกับบทบาทการบริหารการเงิน 2. วิเคราะห์งบการเงินในธุรกิจ พร้อมข้อเสนอแนะได้ 3. วางแผนและ พยากรณ์ทางการเงิน ในองค์กรธุรกิจได้ 4. อธิบายการบริหารเงินทุนหมุนเวียน การบริหารเงินสด และหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด 5. เข้าใจเกี่ยวกับการบริหารลูกหนี้ และการบริหารสินค้าคงคลัง 6. เข้าใจเกี่ยวกับการจัดหาเงินทุน เพื่อพิจารณา ต้นทุนของเงินทุ นให้สอดรับกับ การตัดสินใจลงทุ นใน โครงสร้างทางการเงิน 7. เพื่อวางแผนการจัดการด้าน การจัดหาเงินทุนระยะสั้น ปานกลางและยาว 8. อธิบายดอกเบี้ยทบต้น เพื่อประกอบใช้กับการตัดสินใจพิจารณาผลตอบแทนในอนาคต 9. เข้าใจ มูลค่าปัจจุบันและมูลค่าอนาคต เพื่อประกอบการตัดสินใจในการเลือกการลงทุน 10. วิเคราะห์โครงการลงทุนได้เพื่อให้สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงในบริบทต่างๆ 11. อธิบายนโยบายการจ่ายเงินปันผล 12. เข้าใจการ ขยายกิจการ การรวมกิจการ ตลอดจนการเลิกกิจการ 13. ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันโดยสามารถจัดทา งบประมาณ และการลงทุน 2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา เพื่อให้นักศึกษาไ ด้มีความรู้ และเข้าใจถึงหลักการ จัดการด้านการเงินที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เพื่อ ให้ สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ คาอธิบายรายวิชา ศึกษาถึงขอบเขต ลักษณะบทบาท และหน้าที่ของฝ่ายการเงินในธุรกิจ ตลอดจนเป้าหมายและ ความสาคัญของการเงินธุรกิจ ตลาดการเงินและตลาดทุนโดยเน้นให้เข้าใจถึงหลักการเบื้องต้นในการจัดสรร เงินทุนภายในธุรกิจ การจัดหาเงินทุนมาเพื่อใช้ในการดาเนินการของธุรกิจ การวางแผนการเงินที่เกี่ยวกับการเริ่ม ลงทุนของกิจการ ขยายกิจการ การเพิ่มทุน นโยบายจัดสรรกาไรและเงินปันผล
  • 3. 3 1. จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ/งาน ภาคสนาม/การฝึกงาน การศึกษาด้วยตนเอง บรรยาย 30 ชั่วโมงต่อ ภาคการศึกษา เนื้อหาที่นักศึกษา ไม่ เข้าใจในส่วนเฉลย แบบฝึกหัด ไม่มีการฝึกปฏิบัติงาน ภาคสนาม การศึกษาด้วยตนเอง 10 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษา 2. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (โดยมีการนัดเวลาพิเศษที่ได้ทาการจัดสรรเวลา ในห้องสอนเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ว่า ในทุกสัปดาห์นั้นข่าวสารด้านการเงินมีอะไรเปลี่ยนแป ลง และพัฒนา) โดยได้มีการ ให้นักศึกษาทาการสรุปข่าวที่ เกี่ยวข้องเป็นรายวัน หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา 1. คุณธรรม จริยธรรม 1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 1. มี จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพโดยการให้นักศึกษาต้องจัดทารายงานด้วยตนเอง 2. มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัยในการศึกษา เช่น มีส่วนร่วมในการจัดกลุ่มและค้นคว้า 3. มีความตรงต่อเวลา บริหารเวลาให้มีประสิทธิภาพ เช่น พิจารณาจากเวลาเข้าเรียน 4. คานึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน เช่น มีส่วนร่วมในการตอบและแสดงความคิดเห็น 1.2 วิธีการสอน 1.มีการอธิบายขอบเขตของรายวิชา เพื่อให้นักศึกษาได้ทราบรายเนื้อหาที่สาคัญๆซึ่งนักศึกษาได้ประเมิน ความรู้ตัวเอง 2 ตกลงกาหนดวิธีการเรียน การประเมิน และ ให้นักศึกษาจัดทา รายงานโดยที่ผู้สอนกาหนดขอบเขต เนื้อหาให้แบ่งงานโดยแบ่งกลุ่มการศึกษา โดยผู้สอน ให้คาปรึกษาการจัดทารายงาน และทาการตรวจเช็คเนื้อหา รายงาน ก่อนที่จะนาเสนอ 3. ผู้สอนบรรยายเนื้อหา ตามเอกสารประกอบการสอนในชั้นเรียน ทุกเรื่อง และตอบข้อสงสัยที่นักศึกษา สนใจหรือสงสัย
  • 4. 4 4. ทาแบบทดสอบในชั้นเรียนเพื่อตอบโจทย์เนื้อหาที่ผู้สอนทาการสอน ตลอดจน รายงานที่จัดทาตามงาน รายกลุ่ม และให้ทุกคนร่วมแสดงความคิดเห็น 5.ให้มีการนาเสนอเนื้อหารายงาน โดยนักศึกษา อาศัย สื่อข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตเช่นธนาคารแห่งประเทศ ไทยประกอบจริง 6. ส่งงานตามที่มอบหมายโดยมีการเช็คชิ้นงาน ,เซ็นชื่อส่งในใบส่งงานตามรายชื่อกลุ่มที่กาหนด เช่น ทา แบบฝึกหัดท้ายบทเรียนทุกบท และรวบรวมจัดทาเป็นรูปเล่มรายงาน 7.มีการนานักศึกษาดูงานในองค์กรที่ดาเนินธุรกรรมทางการเงินทีเกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่ ศึกษา รวมทั้ง องค์กรที่วางแผนทางการเงินเช่นธนาคารแห่งประเทศไทย เกี่ยวข้องกับเนื้อหารายวิชาที ทาการสอน 1.3 วิธีการประเมินผล 1. การมีส่วนร่วมในการเรียนเช่น การดูงาน การอภิปราย รายงาน และตอบคาถาม 2. การตรงต่อเวลา เช่น การส่งงาน การเข้าเรียน 3. การประเมินผลจากการทดสอบและงานตามที่มอบหมาย เช่นแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน 2. ความรู้ 2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ เข้าใจเกี่ยวกั บบทบาทการบริหารการเงิน วิเคราะห์งบการเงินในธุรกิจ เพื่อบอกถึงปัญหา ตลอดจนนา ข้อมูลที่ได้ ประกอบการวางแผนและ พยากรณ์ทางการเงิน เข้าใจการบริหารเงินทุนหมุนเวียน การบริหารเงินสด และหลักทรัพย์ วิเคราะห์การบริหารลูกหนี้ และการบริหารสินค้าคงคลัง เพื่อทาการวางแผนการเงิน ด้านการ จัดหาเงินทุนระยะสั้น ปานกลางและยาว สามารถอธิบายดอกเบี้ยทบต้น วิเคราะห์โครงการลงทุน เพื่อ ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน 2.2 วิธีการสอน 1.ทดสอบพื้นฐานความรู้ด้านการบัญชีเบื้องต้น และทาการแจ้งขอบเขตลักษณะรายวิชา การพิจารณาแนว ทางการให้คะแนนในชั้นเ รียนตลอดจน แนวทางการเรียน ว่าจะมีการ บรรยายโดยผู้สอนในบางเนื้อหา พร้อม เสนอแนะแนวทางในการทางาน และนักศึกษาอภิปราย รวมทั้งการซักถามในชั้นเรียน 2.การทางานกลุ่ม ซึ่งในแต่ละกลุ่มจะรับผิดชอบงานของกลุ่มตั้งแต่ การค้นคว้าเนื้อหา จัดทารูปเล่ม และ การตอบคาถามเนื้อหาร ายงานของแต่ละกลุ่ม แล้วนาเสนอ และต้องทาการสรุปคาตอบเป็นลายลักษณ์อักษรให้ เรียบร้อยพร้อมส่ง เพื่อให้เพื่อนกลุ่มอื่นที่ไม่ได้จัดทาในเรื่องนั้นได้รับความรู้ด้วย 3.ให้นักศึกษาทาการสืบค้น เช่น ธนาคารแห่งประเทศไทย www.bot.or.th, tsi-thailand.org โดยผู้สอน ได้ทาการแนะนาให้รู้จักและการใช้เวบไซต์ เหล่านี้ เพื่อให้นักศึกษาได้รับประโยชน์กล่าวคือ เวบไซต์เหล่านี้จะมี
  • 5. 5 การเพิ่มความรู้ในลักษณะให้การเข้าฟังอบรมสัมมนา (ดูงานในองค์กรที่เกี่ยวข้อง )ซึ่งความรู้ด้านนี้จะเปลี่ยนแปลง ตลอดเวลา ก็แ นะนาให้นักศึกษาทาการสมัคร สมาชิก เพื่อทาการรับทร าบข่าวสารทุกด้านที่เกี่ยวข้องกับด้าน การเงิน โดยแจ้งให้เปิดศึกษาทุกวันด้วย 4.ได้แนะนาให้นักศึกษาว่าหลังจากที่เรามีความรู้เหล่านี้ด้านบริหารการเงินแล้วนั้นจะมีการนาไป ประยุกต์ใช้จริงในชีวิตประจาวันและจัดทาแผนธุรกิจรวมทั้งวิเคราะห์โครงการลงทุนได้ 5 ได้ทาการประสานไปที่ องค์กรที่ให้ความรู้เชิงปฎิบัติ (ดูงาน) เพื่อให้นักศึกษาได้สัมผัสกับบรรยากาศ การลงทุนจริง และแนะนาให้นักศึกษาเรียนรู้ผ่าน อินเตอรเนทในส่วนที่เกี่ยวข้อง เช่น การลงทุน , ข่าวสารด้าน การเงินที่ทันสมัยตามสภ าพแวดล้อมทางการเมืองและ เศรษฐกิจ ซึ่งมีประเด็นใกล้เคียงกับคาอธิบาย รายวิชาที ศึกษา (เวบที่เกี่ยวข้องเช่น ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย:ในส่วนตลาดทุน, ธนาคารแห่งประเทศไทย :.ในส่วน ตลาดเงิน) และศึกษา ตัวอย่างธุรกิจที่ สถานภาพต่างๆที่มีสภาพหมุนเวียนไปตามวัฏจักรธุรกิจ เช่น ตัวอย่าง ธุรกิจ แบบการรวมกิจการ และการจ่ายเงินปันผล ตัวอย่างการวิเคราะห์งบการเงิน และนามาสรุปผลให้เพื่อนๆ ฟัง 6 ฝึกให้นักศึกษาปฏิบัติจริงตามโจทย์การบ้านด้วยกัน หลังจากศึกษาจบ ทุกครั้งที่ได้ศึกษาจบเป็นรายบท 2.3 วิธีการประเมินผล 1.ประเมินจากการนาเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล และตอบข้อซักถามระหว่างการนาเสนองาน ในวันที่มีการ นาเสนองานนั้น นักศึกษาทุกคนต้องเข้าร่วมฟัง เพราะจะมีการพิจารณาเกณฑ์การให้คะแนนการมีส่วนร่วม และ ตรวจเช็คความสนใจด้วยการตั้งคาถามทดสอบ ถาม 2.พิจารณาเนื้อหารายงานรูปเล่มที่ทาการส่งนั้นได้มีการพัฒนาตามความรู้จริงในยุคโลกาภิวัตน์ และเพื่อ เป็นการทราบว่านักศึกษาได้ใช้บริการเวบไซต์ที่กล่าวมานั้นจริงหรือไม่ จะมีการให้นาเสนอรายงานโดยอาศัยผ่าน เวบไซต์ที่กล่าวมาในชั้นเรียนด้วย และให้นักศึกษาบอกขั้นตอนในการศึกษาจัดทารายงาน 3.พิจารณาความรู้จากนักศึกษาพิจารณาจากความสนใจ ด้วยการถามตอบ, งานการบ้าน, การทดสอบ ย่อย สอบกลางภาค, สอบปลายภาค ด้วยแบบทดสอบ/ข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการทฤษฎีและการนาไปใช้ 3. ทักษะทางปัญญา 3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา 1. การวิเคราะห์ปัญหาจากกรณีศึกษา การคานวณตัวเลข การแก้สมการ 2 การนาเสนอเนื้อหาในส่วนที่เกี่ยวข้องกับขอบเขตที่ได้แบ่งให้ค้นหา 3. การประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน 4. การวิเคราะห์โครงการลงทุน(ให้นักศึกษา นากรณีศึกษาที่ค้นพบจากการลงทุนจริงของธุรกิจอื่นที่สนใจ แล้วนามาประยุกต์เป็นการลงทุนของตัวเอง) 3.2 วิธีการสอน
  • 6. 6 1. บรรยาย อภิปราย และแบ่งกลุ่มการทางาน 2. วิเคราะห์กรณีศึกษา 3. ฝึกให้นักศึกษากล้าแสดงแนวคิดด้วยความมั่นใจตัวเอง(โดยทาตัวใกล้ชิด เสมือน เพื่อน) 3.3 วิธีการประเมินผล 1.การนาเสนอรายงานพร้อมการแสดงแนวคิดตามความสามารถ 2.การตอบแบบทดสอบ พร้อมการแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.สอบย่อยหลังเรียนจบ และสอบปลายภาค jตามเนื้อหาที่วางแผนไว้ 4.สรุปรายงานการดูงานในองค์กรที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่ศึกษา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 1.พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน(ให้นักศึกษา เป็นเพื่อนช่วยเพื่อนอธิบาย ด้านความรู้) 2.พัฒนาความเป็นผู้นาและผู้ตามในการทางานเป็นทีม 3.พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกาหนด 3. สามารถวิเคราะห์ และเสนอแนะเมื่อมีปัญหา 4. มีการพัฒนาความรู้ความสามารถการวิเคราะห์ และแนวทางการบริหาร 5 แบ่งสายการรับผิดชอบ 4.2 วิธีการสอน 1. จัดกิจกรรมกลุ่มในการแก้ปัญหา 2. กาหนดกรณีให้วิเคราะห์ หรือค้นหากรณีมาเพื่อแก้ประเด็นปัญหา 3. การนาเสนอรายงานซึ่งได้เสนอแนะแนวทางให้แล้ว 4.3 วิธีการประเมินผล 1. รายงานที่นาเสนอจากการศึกษาด้วยตนเองและ พัฒนาองค์ความรู้ที่ดูงาน 2. สอบปากเปล่าโดยพิจารณาจากเนื้อหารายงานที่นาเสนอ 3 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา 1. มีทักษะการใช้วิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการตัด สินใจเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาหรือข้อ
  • 7. 7 โต้แย้ง 2. สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบการนาเสนอที่ เหมาะสมกับปัญหา 3. สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 วิธีการสอน 1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาที่น่าเชื่อถือ 2. นาเสนอโดยใช้วิธีการเรียนรู้ร่วมกัน 3.ฝึกวิเคราะห์ด้วยตนเอง 5.3 วิธีการประเมินผล 1. การจัดทารายงาน และการนาเสนอด้วยสื่ออิเลคโทรนิค 2. การมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ด้วยตนเอง จากการทดสอบ 3.ผลจากการดูงาน นั้น สามารถนามาปรับใช้อย่างไรกับชีวิตประจาวันและการทาธุรกิจ หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 1. แผนการสอน สัปดาห์ ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียน การ สอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี) ผู้สอน 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชี 3 1.ให้นักศึกษา ศึกษา จากตาราด้วยตัวเองก่อน 2.ให้นักศึกษาอธิบาย ความหมายการบัญชีตาม ความเข้าใจ พร้อมอธิบาย หลักการบันทึกบัญชี กระบวนการต่างๆ จน สิ้นสุดที่งบการเงินเพื่อ เห็นแนวทางที่จะประกอบ ศึกษา ผศ. ปานตา พิริยะจิตตะ 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเงิน ธุรกิจ 3 ให้นักศึกษาทาความ เข้าใจองค์ประกอบงบ ผศ. ปานตา พิริยะจิตตะ
  • 8. 8 สัปดาห์ ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียน การ สอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี) ผู้สอน การเงินและโครงสร้างด้าน การเงิน 3-4 การวิเคราะห์งบการเงิน 6 ให้นักศึกษา สืบค้น ประเภทงบการเงินบริษัท ต่างๆ ผ่านอินเตอร์เนท และให้นักศึกษารู้วิธีการ วิเคราะห์งบ จะได้พบ จุดอ่อน (ปัญหา)พร้อม เสนอแนะวิธีการปรับปรุง ให้การดาเนินธุรกิจมี ศักยภาพมากขึ้น ผศ. ปานตา พิริยะจิตตะ 5 งบกระแสเงินสด สอบย่อย1 3 ให้นักศึกษาเข้าใจงบ กระแสเงินสดทั้ง วิธีการจัดทาและ ประโยชน์ของงบ กระแสเงินสดโดยการ อภิปราย ผศ. ปานตา พิริยะจิตตะ 6 การบริหารเงินทุนหมุนเวียน การบริหารเงินสด 3 นักศึกษา ศึกษาการ บริหารเงินทุนหมุนเวียน และจัดการด้านรับ จ่ายเงินสดได้ตาม หลักการรวมทั้งหาข้อสรุป เกี่ยวกับการบริหาร หลักทรัพย์ในความ ต้องการตลาดได้ ผศ. ปานตา พิริยะจิตตะ 7 การจัดการลูกหนี้ 3 นักศึกษาฝึกวิเคราะห์ สินเชื่อ ด้วยการจัดหา ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ ผศ. ปานตา พิริยะจิตตะ
  • 9. 9 สัปดาห์ ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียน การ สอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี) ผู้สอน ลูกหนี้ว่าสามารถจัดหาได้ จากที่ใดบ้าง และตัดสินใจ ให้สินเชื่อโดยมีหลัก พิจารณาอย่างไร (กรณีศึกษา) 8 สอบย่อย2 3 ทุกเรื่องที่เรียนผ่านมา ผศ. ปานตา พิริยะจิตตะ 9 การจัดการสินค้าคงคลัง 3 อธิบาย วิธีการประเมิน เรื่องการสั่งซื้อ จุด สั่งซื้อ และ สต็อคเพื่อ ความปลอดภัย โดย พิจารณาที่จุดต้นทุน ต่าที่สุด ผศ. ปานตา พิริยะจิตตะ 10 วางแผนและการจัดทางบประมาณ 3 ศึกษา วางแผนการลงทุน ในอนาคตโดยใช้ข้อมูล ในอดีตเป็นตัว พิจารณา และจัดทา งบประมาณการลงทุน ผศ. ปานตา พิริยะจิตตะ 11-12 มูลค่าเงินปัจจุบันและอนาคต งบลงทุน สอบย่อยมูลค่าเงินปัจจุบันและ อนาคต;วิเคราะห์โครงการลงทุน 6 ฝึกการคานวณดอกเบี้ย และการประมาณการเรื่อง เงินลงทุน และ ผลตอบแทนที่พึ่งได้ เพื่อ เป็นข้อมูลในการตัดสินใจ เลือกการลงทุน ผศ. ปานตา พิริยะจิตตะ 13 ตลาดเงิน ตลาดทุน เงินทุนระยะสั้น ,ปานกลาง ,ยาว, พันธบัตร,หุ้นกู้ หุ้นสามัญ, หุ้นบุริมสิทธิ์ 3 1.ให้นักศึกษา ศึกษาจาก ตาราเกี่ยวกับตลาดเงิน ตลาดทุน เพื่อศึกษา เกี่ยวกับแหล่งได้มา และ ผศ. ปานตา พิริยะจิตตะ
  • 10. 10 สัปดาห์ ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียน การ สอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี) ผู้สอน พร้อมนาเสนอรายงานโดยนักศึกษา ใช้ไป เงินทุนประเภท ต่างๆ และ 2 ให้นักศึกษาประยุกต์ ความรู้ที่เรียนไปแล้ว มา ใช้กับการบริหารเงินทุน ในธุรกิจได้ โดยการจัดทา เป็นกรณีศึกษาเพื่อ นาเสนอ 14 นโยบายการจัดสรรเงินปันผล 3 ให้นักศึกษา ศึกษา รูปแบบและวิธีการ จ่ายเงินปันผล คานวณเงินปันผลได้ และทราบวิธีการ ดาเนิน ผศ. ปานตา พิริยะจิตตะ 15 การขยายกิจการ 3 ให้นักศึกษาเข้าใจ ความหมายการรวม ขยาย และเลิกกิจการ หลังจากนั้นให้นักศึกษา สืบค้นธุรกิจจริงเกี่ยวกับ การรวม ขยายและเลิก กิจการมาเป็นกรณีศึกษา เป็นตัวอย่างประกอบการ นาเสนอ ผศ. ปานตา พิริยะจิตตะ 16 สอบปลายภาค 3 สอบเนื้อหารายงานที่แบ่ง ให้จัดทาทั้งหมด ผศ. ปานตา พิริยะจิตตะ
  • 11. 11