SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
พหุปัญญา
โฮเวิร์ด การ์ดเนอร์ นักจิตวิทยาและนักการศึกษาแห่งมหาวิทยา
ลัยฮาร์วาร์ดได้ศึกษาศักยภาพและความถนัดของคนแล้วจำาแนก
ปัญญาด้านต่างๆของมนุษย์ออกเป็น 8 ด้านตามทฤษฎีพหุปัญญา
ดังนี้
ปัญญาด้านภาพและมิติ
ความสามารถในการรับรู้ภาพและมิติต่างๆ มีความโน้มเอียงที่จะคิด
ในลักษณะที่เป็นภาพ มีความประสงค์ที่จะสร้างสรรค์ภาพที่ชัดเจนของสิ่ง
ใดๆขึ้นในใจเพื่อให้สามารถคงความทรงจำาในสาระข้อมูลของภาพนั้นไว้
ชอบที่จะดูภาพแผนที่ แผนภูมิ ภาพ วีดิทัศน์ และภาพยนตร์ บุคคลในกลุ่ม
ปัญญาประเภทนี้ได้แก่ นักเดินเรือ นักบิน ประติมากร ศิลปิน นักวาดภาพ
สถาปนิก
ด้านคำาศัพท์และภาษา
มีความสามารถในการใช้คำาศัพท์และภาษา มีพัฒนาการที่เกี่ยวกับ
ทักษะทางด้านเสียง มักจะเป็นนักพูดที่มีชื่อเสียง คนกลุ่มนี้จะคิดเป็นคำา
มากกว่าที่จะคิดเป็นภาพ บุคคลในกลุ่มปัญญาประเภทนี้ได้แก่ บุคคลในกลุ่ม
ปัญญาประเภทนี้ได้แก่ กวี นักเขียน นักพูด นักโต้วาที
ด้านตรรกะและคณิตศาสตร์
มีความสามารถในการใช้เหตุผล ตรรกะและจำานวน การคิดจะเป็นไป
โดยใช้แนวคิดและหลักการที่เกี่ยวกับเหตุผลและรูปแบบทางด้านตัวเลข
สามารถสร้างความเชื่อมโยงระหว่างข้อมูลหลายๆด้าน ชอบถามคำาถามและ
ชอบการค้นคว้าทดลอง บุคคลในกลุ่มปัญญาประเภทนี้ได้แก่ นัก
วิทยาศาสตร์ นักคณิตศาสตร์ นักคิด นักสถิติ
ด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว
มีความสามารถในการควบคุมการเคลื่อนที่และเคลื่อนไหวร่างกาย
สามารถควบคุมการใช้งานสิ่งต่างๆอย่างมีความชำานิ ชำานาญ แสดงออก
ด้วยการเคลื่อนไหว มีประสาทสัมผัสที่ดีในเรื่องการทรงตัวและการประสาน
สัมพันธ์ระหว่างมือกับตา บุคคลในกลุ่มปัญญาประเภทนี้ได้แก่ นักเต้นรำา
ศัลยแพทย์ นักประดิษฐ์ นักกีฬา
ด้านดนตรี
มีความสามารถในการสร้างสรรค์ดนตรี มีความพึงพอใจในเรื่องของ
ดนตรี คิดเป็นเสียงและคิดเป็นจังหวะ มีการตอบสนองต่อดนตรีและมีความ
ไวต่อเสียงต่างๆในสภาพแวดล้อม บุคคลในกลุ่มปัญญาประเภทนี้ได้แก่ นัก
ดนตรี นักแต่งเพลง วาทยากร
ด้านตัวตนตนเอง
มีความสามารถในการสะท้อนแนวคิดที่เกี่ยวกับตนเองและสามารถ
ตระหนักรู้ในสภาวะภายในจิตใจของตน พยายามทำาความเข้าใจในเรื่อง
ของความรู้สึกภายใน ความฝัน ความสัมพันธ์กับคนอื่นๆ รู้ถึงจุดเด่นและจุด
ด้อย บุคคลในกลุ่มปัญญาประเภทนี้ได้แก่ นักจิตวิทยา ผู้นำาทางศาสนา นัก
ปรัชญา
ด้านมนุษยสัมพันธ์
มีความสามารถในการสร้างสัมพันธ์และการทำาความเข้าใจกับบุคคล
อื่นๆ พยายามพิจารณาสิ่งต่างๆในมุมมองของคนอื่นเพื่อให้เข้าใจว่า คน
อื่นๆคิดและรู้สึกอย่างไร เป็นผู้ที่มีความสามารถในการจัดการกับเรื่องต่างๆ
และพยายามที่จะดำารงสันติภาพของกลุ่มไว้ให้ได้ กระตุ้นส่งเสริมให้เกิด
ความร่วมมือ บุคคลในกลุ่มปัญญาประเภทนี้ได้แก่ ครู นักสังคมสงเคราะห์
นักแสดง นักการเมือง พนักงานขายของ
โฮเวิร์ด การ์ดเนอร์ (Howard Gardner) จำาแนกความฉลาดทางความคิด
ออกได้อย่างน้อยแปดวิถีทาง ผู้เรียนที่มีความฉลาดทางด้านใดด้านหนึ่ง
หรือกลุ่มหนึ่งมีแนวโน้มที่จะแสดงความชอบต่อการเรียนรู้ในวิถีทางนั้นหรือ
วิถีทางเหล่านั้น นั่นคือบุคคลมีรูปแบบหรือวิธีการในการเรียนรู้ที่สอดคล้อง
กับวิถีทางในการคิดอย่างชาญฉลาดของตน บุคลิกลักษณะที่แสดงออกและ
ลักษณะจำาเพาะของแต่ละวิถีทางในการคิดอย่างชาญฉลาดสามารถสรุป
รวมได้ดังตารางต่อไปนี้
บุคลิกภาพของผู้เรียน ลักษณะจำาเพาะของวิถี
ทางในการคิด
สนใจ
เรียนรู้ทาง
ด้าน
คำาศัพท์
และภาษา
ชอบ- เขียน เล่านิทาน
เก่ง – ในการจำาชื่อ สถานที่
วันที่และรายละเอียดเล็กๆ
น้อยๆ แม้จะไม่สำาคัญ
เรียนรู้ได้ดีด้วยการ พูด ฟัง
และการเห็นคำาต่างๆ
ความหมาย แบบแผน รูปแบบ
จุดมุ่งหมาย การฟัง การอ่าน
โครงสร้างภาษา ความรู้สึก การ
อุปมา อุปมัย
สนใจใน
เรื่องของ
ตรรกะ
และ
คณิตศาส
ตร์
ชอบ- การทดลอง การแก้
ปัญหา การทำางานเกี่ยวกับ
ตัวเลข การตั้งคำาถาม
เก่ง – จำาแนกประเภท การ
ใช้เหตุผล ตรรกะ การแก้
ปัญหา
เรียนรู้ได้ดีด้วยการ จำาแนก
แยกประเภท การทำางานกับ
รูปแบบหรือความสัมพันธ์ที่
เป็นนามธรรม
ความจริง การวิเคราะห์
สังเคราะห์ การตั้งสมมติฐาน
ความเป็นไปได้ การคำานวณ
การหาสัดส่วน
สนใจใน
เรื่องภาพ
และมิติ
ชอบ- ดูภาพ ดูสไลด์ ชม
ภาพยนตร์ เล่นกับ
เครื่องจักรกล
เก่ง – ในการสร้าง
จินตนาการ สัมผัสรู้ถึง
ความเปลี่ยนแปลง ภาพ
ปริศนา การอ่านแผนที่
แผนภูมิ
การรับรู้ การให้เหตุผล มิติ มุม
มองด้านต่างๆ การแสดงแบบ
ความสมมาตร
เรียนรู้ได้ดีด้วยการมอง
ภาพ การฝัน การการสร้าง
ภาพในใจ
สนใจใน
เรื่อง
ดนตรี
ชอบ – ร้อง/ฮัมเพลง ฟัง
ดนตรี เล่นดนตรี มีการตอบ
สนองต่อดนตรี
เก่ง – รับรู้เรื่องเสียง การจำา
ทำานองดนตรี ความสามารถ
รับรู้ในระดับเสียงและ
จังหวะของดนตรี การรักษา
เวลา
เรียนรู้ได้ดีด้วยการ อาศัย
จังหวะและท่วงทำานองของ
ดนตรี
ระดับเสียง ท่วงทำานอง จังหวะ
ความผิดแผกของเสียง ความ
สัมพันธ์ของเสียงดนตรี การ
ประพันธ์เพลง การบรรเลง
สนใจใน
เรื่อง
ร่างกาย
และการ
เคลื่อนไห
ว
ชอบ – เคลื่อนไหวไปมา
สัมผัสจับต้อง พูดคุย
สนทนาใช้ภาษาท่าทาง
เก่ง – กิจกรรมทาง
กายภาพ( กีฬา/เต้นรำา/การ
แสดง) หัตถกรรม
เรียนรู้ได้ดีด้วยการ สัมผัส
เคลื่อนไหว ปฏิสัมพันธ์กับ
เนื้อที่ จัดกระบวนการเรียน
รู้ผ่านการใช้ประสาทสัมผัส
ทางกาย
การควบคุมกล้ามเนื้อส่วนต่างๆ
การประสานงานของอวัยวะ
ต่างๆ การเคลื่อนไหว การ
ทรงตัว ความกระฉับกระเฉง
ปราดเปรียว ความคล่องแคล่ว
การแสดงออก
สนใจใน
เรื่อง
มนุษยสัม
พันธ์
ชอบ – คบเพื่อนฝูงมากมาย
สนทนากับคนอื่นๆ ร่วม
กิจกรรมกลุ่ม
เก่ง – ในการทำาความ
เข้าใจผู้คน การเป็นผู้นำา
การจัดการ การสื่อสาร
เรียนรู้ได้ดีด้วยการแบ่งปัน
เปรียบเทียบ สร้างความ
เชื่อมโยง การทำางานร่วม
กัน
ความสัมพันธ์ การมีปฏิสัมพันธ์
ลักษณะพื้นฐานทางอารมณ์
การจูงใจ การร่วมมือ ภาวะ
ผู้นำา
สนใจใน
เรื่องของ
ตัวตน
ชอบ – การทำางานตาม
ลำาพัง ทำาตามความสนใจ
ของตนเอง
เก่ง – แก้ไขความขัดแย้ง มี
ความเข้าใจในตนเอง มุ่ง
มั่นสู่เป้าหมายภายใน
คล้อยตามความสนใจ
การเห็นคุณค่าของตนเอง การ
ไตร่ตรอง อารมณ์ เอกลักษณ์
การเลือกทางเลือก ความเชื่อ
มั่น ดุลยภาพ
สัญชาตญาณและความ
ปรารถนาของตนเอง
เรียนรู้ได้ดีด้วยการ ทำางาน
ตามลำาพัง ทำาโครงการของ
ตนตามลำาพัง วางกรอบ
ความก้าวหน้าของตนเอง
และมีพื้นที่จำาเพาะของ
ตนเอง
สนใจใน
เรื่อง
ธรรมชาติ
ชอบ – สังเกตสิ่งต่างๆ จำาสิ่ง
ต่างๆได้ และสามารถ
จำาแนกแยกแยะสิ่งต่างๆได้
เก่ง – ระบุชื่อสิ่งต่างๆรอบๆ
ตัวได้ ค้นพบความสัมพันธ์
ระหว่างของสิ่ง สร้างสรรค์
กระบวนการจัดกลุ่มและ
เรียงลำาดับสิ่งต่างๆ
เรียนรู้ได้ดีด้วยการ สำารวจ
ตรวจสอบ สังเกต เชื่อมโยง
วิเคราะห์และทดลอง
ชื่อ สัญลักษณ์ ความสัมพันธ์
การแบ่งแยกประเภท การจัด
เรียงลำาดับชั้น การเชื่อมโยง
ตารางที่ 1 รูปแบบการเรียนรู้และวิถีทางในการคิดที่แตกต่าง
(ปรับแต่งโดย Michael Pohl)
ในโลกยุคปัจจุบันนี้ ผู้เรียนจำาเป็นต้องใช้วิถีทางในการคิดที่สอดคล้อง
กับความสามารถของตน ตารางต่อไปจะเป็นตัวอย่างของ การคิดอย่างมี
วิจารณญาณและการคิดอย่างสร้างสรรค์ของแต่ละวิถีทางในการคิด เป็น
เพียงการแสดงตัวอย่างให้เห็นเท่านั้นมิได้มีจุดมุ่งหมายที่จะจำากัดขอบเขต
ไว้แต่เพียงตามตัวอย่างเท่านั้น ยังมีวิถีทางที่เป็นไปได้อีกมากมายนัก
ด้านที่
ถนัด
การนำาเสนอตัวอย่าง
การคิดอย่างมี
วิจารณญาณ
การคิดอย่างสร้างสรรค์
ผู้ที่ใฝ่ใจ
ทางด้าน
คำาศัพท์
และภาษา
* การอ่านหนังสือทบทวนหรือ
อ่านเพื่อหาความหมาย
* การนำาเสนอเพื่อให้ข้อมูล
ย้อนกลับ
* การบรรยายขั้นตอนของ
เหตุการณ์หรือปฏิบัติการ
* การสร้างสื่อผสมเพื่อใช้นำา
เสนอต่อผู้ชมกลุ่มจำาเพาะ
* การจัดทำาตารางเพื่อการ
สัมภาษณ์
* การก่อกำาเนิดแนวคิดหรือ
ข้อมูลเพื่อใช้แก้ปัญหาใน
การสื่อสาร
ผู้ที่ใฝ่ใจ * การวิเคราะห์ข้อมูลตัวเลข * การแก้ปัญหาโดยใช้ข้อมูล
ทางด้าน
ตรรกะ
และ
คณิตศาส
ตร์
เพื่อพิจารณารูปแบบและแนว
โน้ม
* การเปรียบเทียบคุณลักษณะ
เพื่อแบ่งกลุ่มวัสดุ
* การควบคุมขั้นตอนการ
ตัดสินใจในการออกแบบและ
การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์
จากแนวโน้มในอดีต
* การประดิษฐ์รูปแบบที่ซำ้าๆ
หรือการฝังรอยเป็นรูปทรง
ต่างๆ
* การสร้างสูตรหรือข้อ
กำาหนดเพื่อให้ผู้อื่นนำาไปใช้
ผู้ที่ใฝ่ใจ
ทางด้าน
ภาพและ
มิติ
* การวิจารณ์งานศิลปะหรือ
การสร้างรูปทรงเรขาคณิต
* การค้นหาคำาตอบจากหลัก
การที่ซับซ้อนหรือวิถีทางที่วก
วน
* การพิจารณาความสัมพันธ์
ระหว่างระยะทาง ทิศทางและ/
หรือความเร็ว
* การออกแบบปะติดปะต่อ
เศษผ้าเข้าเป็นผืนเพื่อเป็นที่
ระลึกในเหตุการณ์ต่างๆ
* การสร้างสรรค์แผนภูมิ
อธิบายความคิด เหตุการณ์
หรือความรู้สึกของใครๆ
* การรำาลึกถึงภาพชีวิตใน
อดีตและจินตนาการไปถึง
อนาคต
ผู้ที่ใฝ่ใจ
ทางด้าน
ดนตรี
* การฟังท่วงทำานองหรือ
เนื้อหาของดนตรี
* การพิจารณาว่าเสียงดนตรี
หรือเสียงร้องนั้นๆ ถูกต้องตาม
ที่ควรหรือไม่
* การวิเคราะห์โครงสร้างของ
ดนตรีหรือละครเพลง
* การประพันธ์ทำานองหรือ
จังหวะเพลง
* การกำาหนดความสมดุลและ
ความแปรผันของเสียงดนตรี
* การประดิษฐ์จังหวะการ
เต้นรำาแบบใหม่ๆให้เข้ากับ
เพลง
ผู้ที่ใฝ่ใจ
ทางด้าน
ร่างกาย
และการ
เคลื่อนไห
ว
* การพัฒนาทักษะทางด้าน
การคว้าจับ การตีและการ
ขว้างหรือปา
* การวิเคราะห์ยุทธวิธีที่ใช้ใน
การเล่นเกมแบบเป็นทีม
* การไตร่ตรองและทำาความ
เข้าใจว่าการบริหารกล้ามเนื้อ
จำาเพาะใดๆ มีผลดีอย่างไร
* การสร้างกฎ กติกาสำาหรับ
เกมที่คิดหรือดัดแปลงขึ้นใหม่
* การพัฒนาการเคลื่อนไหว
ในเกมกีฬาในส่วนที่
เกี่ยวข้องกับผู้เล่นคนใหม่ๆ
* การคาดคะเนเกี่ยวกับเรื่อง
อารมณ์ที่เกิดขึ้นสืบเนื่องจาก
กิจกรรมทางกายภาพ
ผู้ที่ใฝ่ใจ
ทางด้าน
มนุษยสัม
พันธ์
* การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผล
ต่อการทำางานของกลุ่ม
* การควบคุมการตัดสินใจใน
กระบวนการที่เกี่ยวเนื่องกับ
การกระทำาอย่างเป็น
ประชาธิปไตย
* การเปรียบเทียบความแตก
ต่างของบทบาท/ความสัมพันธ์
ในการแบ่งปันหรือในการ
ทำางานร่วมกัน
* การสรรสร้างบรรยากาศที่
ผู้คนรู้สึกได้ถึงคุณค่าและการ
ยอมรับนับถือ
* การสร้างกระบวนการและ
โครงสร้างต่างๆภายใน
องค์กรที่เป็นประชาธิปไตย
* การแสวงหาหนทางในการ
สร้างมิตรภาพและการชี้นำาผู้
อื่น
ผู้ที่ใฝ่ใจ
ในเรื่อง
ของตัวตน
* การระบุบ่งถึงเรื่องที่ตนให้
ความสนใจ
* การสรุปเหตุผลที่เป็นต้นตอ
ของความเกรี้ยวกราดหรือขัด
แย้งอย่างรุนแรง
* การเปรียบเทียบความแตก
ต่างระหว่างแผนในการเรียนรู้
หรือในการแสวงหาความ
สำาเร็จของตน
* การพัฒนาทัศนคติที่มีต่อ
ตนหรือเอกลักษณ์ของตน
* การใคร่ครวญถึงความเป็น
ไปได้ในการดำาเนินการตาม
ความสนใจหรือตามความ
ปรารถนาของตน
* การสร้างโครงการเพื่อให้
บรรลุเป้าหมายหรือความ
ต้องการของตน
ผู้ที่ใฝ่ใจ
ในเรื่อง
ของ
ธรรมชาติ
* การเฝ้าสังเกตสิ่งที่มีชีวิต
ภายใต้สภาพแวดล้อมหรือ
สถานการณ์ต่างๆ
* การตรวจสอบความเหมือน
และความแตกต่างระหว่าง
วัสดุ เหตุการณ์และการปฏิบัติ
การต่างๆ
* การ
* การสร้างวิถีทางในการ
รับมือกับเรื่องราวที่เป็น
ปัญหาเกี่ยวกับสภาพแวดล้อม
* การออกแบบวิธีการทดลอง
เพื่อทดสอบสถานการณ์ใดๆ
ในแง่มุมจำาเพาะ
* การสร้างแผนภูมิแสดง
ลำาดับหรือขั้นตอนของ
แนวคิด เหตุการณ์และการก
ระทำาที่สำาคัญ
ปัจจุบัน การ์ดเนอร์ได้เพิ่มปัญญาด้านอื่นๆเพิ่มเติมอีกได้แก่ ปัญญาทางด้าน
การดำารงอยู่ของชีวิต หรือด้านจิตนิยม(Existential Intelligence) ซึ่งเป็นปัญญา
ที่เกี่ยวกับการดำารงอยู่ของมนุษย์ การหาความหมายของชีวิต เข้าใจความ
สัมพันธ์ของโลกทางกายภาพกับโลกของจิตใจ มีความเข้าใจในสัจธรรม
ของชีวิตเป็นต้น กับปัญญาทางด้านจิตวิญญาณ
  _______2

More Related Content

Similar to _______2

แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปองแผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปองsomchaitumdee50
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...Padvee Academy
 
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วยสรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วยkrunakhonch
 
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรหลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรRayoon Singchlad
 
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้sirirak Ruangsak
 
เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11Benjarat Meechalat
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matSiriphan Kristiansen
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Mickey Toon Luffy
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตรPat1803
 
บทบาทครู
บทบาทครูบทบาทครู
บทบาทครูPnong Club
 
บทความ
บทความบทความ
บทความaorchalisa
 

Similar to _______2 (20)

แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปองแผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
 
ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้ป2
ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้ป2ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้ป2
ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้ป2
 
Brains power point
Brains power pointBrains power point
Brains power point
 
การใช้เหตุผล
การใช้เหตุผลการใช้เหตุผล
การใช้เหตุผล
 
Brains power point
Brains power pointBrains power point
Brains power point
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
 
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วยสรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรหลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
 
อ เกษตร
อ เกษตรอ เกษตร
อ เกษตร
 
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
 
เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11
 
Mil chap 1 ____ julia nov29
Mil chap 1   ____ julia nov29Mil chap 1   ____ julia nov29
Mil chap 1 ____ julia nov29
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
บทบาทครู
บทบาทครูบทบาทครู
บทบาทครู
 
บทความ
บทความบทความ
บทความ
 
พหุปัญญา
พหุปัญญาพหุปัญญา
พหุปัญญา
 

_______2

  • 1. พหุปัญญา โฮเวิร์ด การ์ดเนอร์ นักจิตวิทยาและนักการศึกษาแห่งมหาวิทยา ลัยฮาร์วาร์ดได้ศึกษาศักยภาพและความถนัดของคนแล้วจำาแนก ปัญญาด้านต่างๆของมนุษย์ออกเป็น 8 ด้านตามทฤษฎีพหุปัญญา ดังนี้ ปัญญาด้านภาพและมิติ ความสามารถในการรับรู้ภาพและมิติต่างๆ มีความโน้มเอียงที่จะคิด ในลักษณะที่เป็นภาพ มีความประสงค์ที่จะสร้างสรรค์ภาพที่ชัดเจนของสิ่ง ใดๆขึ้นในใจเพื่อให้สามารถคงความทรงจำาในสาระข้อมูลของภาพนั้นไว้ ชอบที่จะดูภาพแผนที่ แผนภูมิ ภาพ วีดิทัศน์ และภาพยนตร์ บุคคลในกลุ่ม ปัญญาประเภทนี้ได้แก่ นักเดินเรือ นักบิน ประติมากร ศิลปิน นักวาดภาพ สถาปนิก ด้านคำาศัพท์และภาษา มีความสามารถในการใช้คำาศัพท์และภาษา มีพัฒนาการที่เกี่ยวกับ ทักษะทางด้านเสียง มักจะเป็นนักพูดที่มีชื่อเสียง คนกลุ่มนี้จะคิดเป็นคำา มากกว่าที่จะคิดเป็นภาพ บุคคลในกลุ่มปัญญาประเภทนี้ได้แก่ บุคคลในกลุ่ม ปัญญาประเภทนี้ได้แก่ กวี นักเขียน นักพูด นักโต้วาที ด้านตรรกะและคณิตศาสตร์ มีความสามารถในการใช้เหตุผล ตรรกะและจำานวน การคิดจะเป็นไป โดยใช้แนวคิดและหลักการที่เกี่ยวกับเหตุผลและรูปแบบทางด้านตัวเลข สามารถสร้างความเชื่อมโยงระหว่างข้อมูลหลายๆด้าน ชอบถามคำาถามและ ชอบการค้นคว้าทดลอง บุคคลในกลุ่มปัญญาประเภทนี้ได้แก่ นัก วิทยาศาสตร์ นักคณิตศาสตร์ นักคิด นักสถิติ ด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว มีความสามารถในการควบคุมการเคลื่อนที่และเคลื่อนไหวร่างกาย สามารถควบคุมการใช้งานสิ่งต่างๆอย่างมีความชำานิ ชำานาญ แสดงออก ด้วยการเคลื่อนไหว มีประสาทสัมผัสที่ดีในเรื่องการทรงตัวและการประสาน สัมพันธ์ระหว่างมือกับตา บุคคลในกลุ่มปัญญาประเภทนี้ได้แก่ นักเต้นรำา ศัลยแพทย์ นักประดิษฐ์ นักกีฬา ด้านดนตรี มีความสามารถในการสร้างสรรค์ดนตรี มีความพึงพอใจในเรื่องของ ดนตรี คิดเป็นเสียงและคิดเป็นจังหวะ มีการตอบสนองต่อดนตรีและมีความ ไวต่อเสียงต่างๆในสภาพแวดล้อม บุคคลในกลุ่มปัญญาประเภทนี้ได้แก่ นัก ดนตรี นักแต่งเพลง วาทยากร ด้านตัวตนตนเอง มีความสามารถในการสะท้อนแนวคิดที่เกี่ยวกับตนเองและสามารถ ตระหนักรู้ในสภาวะภายในจิตใจของตน พยายามทำาความเข้าใจในเรื่อง ของความรู้สึกภายใน ความฝัน ความสัมพันธ์กับคนอื่นๆ รู้ถึงจุดเด่นและจุด
  • 2. ด้อย บุคคลในกลุ่มปัญญาประเภทนี้ได้แก่ นักจิตวิทยา ผู้นำาทางศาสนา นัก ปรัชญา ด้านมนุษยสัมพันธ์ มีความสามารถในการสร้างสัมพันธ์และการทำาความเข้าใจกับบุคคล อื่นๆ พยายามพิจารณาสิ่งต่างๆในมุมมองของคนอื่นเพื่อให้เข้าใจว่า คน อื่นๆคิดและรู้สึกอย่างไร เป็นผู้ที่มีความสามารถในการจัดการกับเรื่องต่างๆ และพยายามที่จะดำารงสันติภาพของกลุ่มไว้ให้ได้ กระตุ้นส่งเสริมให้เกิด ความร่วมมือ บุคคลในกลุ่มปัญญาประเภทนี้ได้แก่ ครู นักสังคมสงเคราะห์ นักแสดง นักการเมือง พนักงานขายของ โฮเวิร์ด การ์ดเนอร์ (Howard Gardner) จำาแนกความฉลาดทางความคิด ออกได้อย่างน้อยแปดวิถีทาง ผู้เรียนที่มีความฉลาดทางด้านใดด้านหนึ่ง หรือกลุ่มหนึ่งมีแนวโน้มที่จะแสดงความชอบต่อการเรียนรู้ในวิถีทางนั้นหรือ วิถีทางเหล่านั้น นั่นคือบุคคลมีรูปแบบหรือวิธีการในการเรียนรู้ที่สอดคล้อง กับวิถีทางในการคิดอย่างชาญฉลาดของตน บุคลิกลักษณะที่แสดงออกและ ลักษณะจำาเพาะของแต่ละวิถีทางในการคิดอย่างชาญฉลาดสามารถสรุป รวมได้ดังตารางต่อไปนี้ บุคลิกภาพของผู้เรียน ลักษณะจำาเพาะของวิถี ทางในการคิด สนใจ เรียนรู้ทาง ด้าน คำาศัพท์ และภาษา ชอบ- เขียน เล่านิทาน เก่ง – ในการจำาชื่อ สถานที่ วันที่และรายละเอียดเล็กๆ น้อยๆ แม้จะไม่สำาคัญ เรียนรู้ได้ดีด้วยการ พูด ฟัง และการเห็นคำาต่างๆ ความหมาย แบบแผน รูปแบบ จุดมุ่งหมาย การฟัง การอ่าน โครงสร้างภาษา ความรู้สึก การ อุปมา อุปมัย สนใจใน เรื่องของ ตรรกะ และ คณิตศาส ตร์ ชอบ- การทดลอง การแก้ ปัญหา การทำางานเกี่ยวกับ ตัวเลข การตั้งคำาถาม เก่ง – จำาแนกประเภท การ ใช้เหตุผล ตรรกะ การแก้ ปัญหา เรียนรู้ได้ดีด้วยการ จำาแนก แยกประเภท การทำางานกับ รูปแบบหรือความสัมพันธ์ที่ เป็นนามธรรม ความจริง การวิเคราะห์ สังเคราะห์ การตั้งสมมติฐาน ความเป็นไปได้ การคำานวณ การหาสัดส่วน สนใจใน เรื่องภาพ และมิติ ชอบ- ดูภาพ ดูสไลด์ ชม ภาพยนตร์ เล่นกับ เครื่องจักรกล เก่ง – ในการสร้าง จินตนาการ สัมผัสรู้ถึง ความเปลี่ยนแปลง ภาพ ปริศนา การอ่านแผนที่ แผนภูมิ การรับรู้ การให้เหตุผล มิติ มุม มองด้านต่างๆ การแสดงแบบ ความสมมาตร
  • 3. เรียนรู้ได้ดีด้วยการมอง ภาพ การฝัน การการสร้าง ภาพในใจ สนใจใน เรื่อง ดนตรี ชอบ – ร้อง/ฮัมเพลง ฟัง ดนตรี เล่นดนตรี มีการตอบ สนองต่อดนตรี เก่ง – รับรู้เรื่องเสียง การจำา ทำานองดนตรี ความสามารถ รับรู้ในระดับเสียงและ จังหวะของดนตรี การรักษา เวลา เรียนรู้ได้ดีด้วยการ อาศัย จังหวะและท่วงทำานองของ ดนตรี ระดับเสียง ท่วงทำานอง จังหวะ ความผิดแผกของเสียง ความ สัมพันธ์ของเสียงดนตรี การ ประพันธ์เพลง การบรรเลง สนใจใน เรื่อง ร่างกาย และการ เคลื่อนไห ว ชอบ – เคลื่อนไหวไปมา สัมผัสจับต้อง พูดคุย สนทนาใช้ภาษาท่าทาง เก่ง – กิจกรรมทาง กายภาพ( กีฬา/เต้นรำา/การ แสดง) หัตถกรรม เรียนรู้ได้ดีด้วยการ สัมผัส เคลื่อนไหว ปฏิสัมพันธ์กับ เนื้อที่ จัดกระบวนการเรียน รู้ผ่านการใช้ประสาทสัมผัส ทางกาย การควบคุมกล้ามเนื้อส่วนต่างๆ การประสานงานของอวัยวะ ต่างๆ การเคลื่อนไหว การ ทรงตัว ความกระฉับกระเฉง ปราดเปรียว ความคล่องแคล่ว การแสดงออก สนใจใน เรื่อง มนุษยสัม พันธ์ ชอบ – คบเพื่อนฝูงมากมาย สนทนากับคนอื่นๆ ร่วม กิจกรรมกลุ่ม เก่ง – ในการทำาความ เข้าใจผู้คน การเป็นผู้นำา การจัดการ การสื่อสาร เรียนรู้ได้ดีด้วยการแบ่งปัน เปรียบเทียบ สร้างความ เชื่อมโยง การทำางานร่วม กัน ความสัมพันธ์ การมีปฏิสัมพันธ์ ลักษณะพื้นฐานทางอารมณ์ การจูงใจ การร่วมมือ ภาวะ ผู้นำา สนใจใน เรื่องของ ตัวตน ชอบ – การทำางานตาม ลำาพัง ทำาตามความสนใจ ของตนเอง เก่ง – แก้ไขความขัดแย้ง มี ความเข้าใจในตนเอง มุ่ง มั่นสู่เป้าหมายภายใน คล้อยตามความสนใจ การเห็นคุณค่าของตนเอง การ ไตร่ตรอง อารมณ์ เอกลักษณ์ การเลือกทางเลือก ความเชื่อ มั่น ดุลยภาพ
  • 4. สัญชาตญาณและความ ปรารถนาของตนเอง เรียนรู้ได้ดีด้วยการ ทำางาน ตามลำาพัง ทำาโครงการของ ตนตามลำาพัง วางกรอบ ความก้าวหน้าของตนเอง และมีพื้นที่จำาเพาะของ ตนเอง สนใจใน เรื่อง ธรรมชาติ ชอบ – สังเกตสิ่งต่างๆ จำาสิ่ง ต่างๆได้ และสามารถ จำาแนกแยกแยะสิ่งต่างๆได้ เก่ง – ระบุชื่อสิ่งต่างๆรอบๆ ตัวได้ ค้นพบความสัมพันธ์ ระหว่างของสิ่ง สร้างสรรค์ กระบวนการจัดกลุ่มและ เรียงลำาดับสิ่งต่างๆ เรียนรู้ได้ดีด้วยการ สำารวจ ตรวจสอบ สังเกต เชื่อมโยง วิเคราะห์และทดลอง ชื่อ สัญลักษณ์ ความสัมพันธ์ การแบ่งแยกประเภท การจัด เรียงลำาดับชั้น การเชื่อมโยง ตารางที่ 1 รูปแบบการเรียนรู้และวิถีทางในการคิดที่แตกต่าง (ปรับแต่งโดย Michael Pohl) ในโลกยุคปัจจุบันนี้ ผู้เรียนจำาเป็นต้องใช้วิถีทางในการคิดที่สอดคล้อง กับความสามารถของตน ตารางต่อไปจะเป็นตัวอย่างของ การคิดอย่างมี วิจารณญาณและการคิดอย่างสร้างสรรค์ของแต่ละวิถีทางในการคิด เป็น เพียงการแสดงตัวอย่างให้เห็นเท่านั้นมิได้มีจุดมุ่งหมายที่จะจำากัดขอบเขต ไว้แต่เพียงตามตัวอย่างเท่านั้น ยังมีวิถีทางที่เป็นไปได้อีกมากมายนัก ด้านที่ ถนัด การนำาเสนอตัวอย่าง การคิดอย่างมี วิจารณญาณ การคิดอย่างสร้างสรรค์ ผู้ที่ใฝ่ใจ ทางด้าน คำาศัพท์ และภาษา * การอ่านหนังสือทบทวนหรือ อ่านเพื่อหาความหมาย * การนำาเสนอเพื่อให้ข้อมูล ย้อนกลับ * การบรรยายขั้นตอนของ เหตุการณ์หรือปฏิบัติการ * การสร้างสื่อผสมเพื่อใช้นำา เสนอต่อผู้ชมกลุ่มจำาเพาะ * การจัดทำาตารางเพื่อการ สัมภาษณ์ * การก่อกำาเนิดแนวคิดหรือ ข้อมูลเพื่อใช้แก้ปัญหาใน การสื่อสาร ผู้ที่ใฝ่ใจ * การวิเคราะห์ข้อมูลตัวเลข * การแก้ปัญหาโดยใช้ข้อมูล
  • 5. ทางด้าน ตรรกะ และ คณิตศาส ตร์ เพื่อพิจารณารูปแบบและแนว โน้ม * การเปรียบเทียบคุณลักษณะ เพื่อแบ่งกลุ่มวัสดุ * การควบคุมขั้นตอนการ ตัดสินใจในการออกแบบและ การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ จากแนวโน้มในอดีต * การประดิษฐ์รูปแบบที่ซำ้าๆ หรือการฝังรอยเป็นรูปทรง ต่างๆ * การสร้างสูตรหรือข้อ กำาหนดเพื่อให้ผู้อื่นนำาไปใช้ ผู้ที่ใฝ่ใจ ทางด้าน ภาพและ มิติ * การวิจารณ์งานศิลปะหรือ การสร้างรูปทรงเรขาคณิต * การค้นหาคำาตอบจากหลัก การที่ซับซ้อนหรือวิถีทางที่วก วน * การพิจารณาความสัมพันธ์ ระหว่างระยะทาง ทิศทางและ/ หรือความเร็ว * การออกแบบปะติดปะต่อ เศษผ้าเข้าเป็นผืนเพื่อเป็นที่ ระลึกในเหตุการณ์ต่างๆ * การสร้างสรรค์แผนภูมิ อธิบายความคิด เหตุการณ์ หรือความรู้สึกของใครๆ * การรำาลึกถึงภาพชีวิตใน อดีตและจินตนาการไปถึง อนาคต ผู้ที่ใฝ่ใจ ทางด้าน ดนตรี * การฟังท่วงทำานองหรือ เนื้อหาของดนตรี * การพิจารณาว่าเสียงดนตรี หรือเสียงร้องนั้นๆ ถูกต้องตาม ที่ควรหรือไม่ * การวิเคราะห์โครงสร้างของ ดนตรีหรือละครเพลง * การประพันธ์ทำานองหรือ จังหวะเพลง * การกำาหนดความสมดุลและ ความแปรผันของเสียงดนตรี * การประดิษฐ์จังหวะการ เต้นรำาแบบใหม่ๆให้เข้ากับ เพลง ผู้ที่ใฝ่ใจ ทางด้าน ร่างกาย และการ เคลื่อนไห ว * การพัฒนาทักษะทางด้าน การคว้าจับ การตีและการ ขว้างหรือปา * การวิเคราะห์ยุทธวิธีที่ใช้ใน การเล่นเกมแบบเป็นทีม * การไตร่ตรองและทำาความ เข้าใจว่าการบริหารกล้ามเนื้อ จำาเพาะใดๆ มีผลดีอย่างไร * การสร้างกฎ กติกาสำาหรับ เกมที่คิดหรือดัดแปลงขึ้นใหม่ * การพัฒนาการเคลื่อนไหว ในเกมกีฬาในส่วนที่ เกี่ยวข้องกับผู้เล่นคนใหม่ๆ * การคาดคะเนเกี่ยวกับเรื่อง อารมณ์ที่เกิดขึ้นสืบเนื่องจาก กิจกรรมทางกายภาพ ผู้ที่ใฝ่ใจ ทางด้าน มนุษยสัม พันธ์ * การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผล ต่อการทำางานของกลุ่ม * การควบคุมการตัดสินใจใน กระบวนการที่เกี่ยวเนื่องกับ การกระทำาอย่างเป็น ประชาธิปไตย * การเปรียบเทียบความแตก ต่างของบทบาท/ความสัมพันธ์ ในการแบ่งปันหรือในการ ทำางานร่วมกัน * การสรรสร้างบรรยากาศที่ ผู้คนรู้สึกได้ถึงคุณค่าและการ ยอมรับนับถือ * การสร้างกระบวนการและ โครงสร้างต่างๆภายใน องค์กรที่เป็นประชาธิปไตย * การแสวงหาหนทางในการ สร้างมิตรภาพและการชี้นำาผู้ อื่น
  • 6. ผู้ที่ใฝ่ใจ ในเรื่อง ของตัวตน * การระบุบ่งถึงเรื่องที่ตนให้ ความสนใจ * การสรุปเหตุผลที่เป็นต้นตอ ของความเกรี้ยวกราดหรือขัด แย้งอย่างรุนแรง * การเปรียบเทียบความแตก ต่างระหว่างแผนในการเรียนรู้ หรือในการแสวงหาความ สำาเร็จของตน * การพัฒนาทัศนคติที่มีต่อ ตนหรือเอกลักษณ์ของตน * การใคร่ครวญถึงความเป็น ไปได้ในการดำาเนินการตาม ความสนใจหรือตามความ ปรารถนาของตน * การสร้างโครงการเพื่อให้ บรรลุเป้าหมายหรือความ ต้องการของตน ผู้ที่ใฝ่ใจ ในเรื่อง ของ ธรรมชาติ * การเฝ้าสังเกตสิ่งที่มีชีวิต ภายใต้สภาพแวดล้อมหรือ สถานการณ์ต่างๆ * การตรวจสอบความเหมือน และความแตกต่างระหว่าง วัสดุ เหตุการณ์และการปฏิบัติ การต่างๆ * การ * การสร้างวิถีทางในการ รับมือกับเรื่องราวที่เป็น ปัญหาเกี่ยวกับสภาพแวดล้อม * การออกแบบวิธีการทดลอง เพื่อทดสอบสถานการณ์ใดๆ ในแง่มุมจำาเพาะ * การสร้างแผนภูมิแสดง ลำาดับหรือขั้นตอนของ แนวคิด เหตุการณ์และการก ระทำาที่สำาคัญ ปัจจุบัน การ์ดเนอร์ได้เพิ่มปัญญาด้านอื่นๆเพิ่มเติมอีกได้แก่ ปัญญาทางด้าน การดำารงอยู่ของชีวิต หรือด้านจิตนิยม(Existential Intelligence) ซึ่งเป็นปัญญา ที่เกี่ยวกับการดำารงอยู่ของมนุษย์ การหาความหมายของชีวิต เข้าใจความ สัมพันธ์ของโลกทางกายภาพกับโลกของจิตใจ มีความเข้าใจในสัจธรรม ของชีวิตเป็นต้น กับปัญญาทางด้านจิตวิญญาณ