SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
3.1 ชนิดของเครื่องเจาะ
3.2 ส่วนประกอบและหน้าที่ต่าง ๆ ของเครื่องเจาะ
3.3 การคานวณและเลือกใช้ค่าความเร็วตัด อัตราป้ อนของเครื่องเจาะ
3.4 หลักความปลอดภัยในการทางานบนเครื่องเจาะ
3.5 ขั้นตอนการใช้เครื่องเจาะ
3.6 การบารุงรักษาเครื่องเจาะ
เครื่องเจาะ เป็นเครื่องมือกลพื้นฐานใช้ในการเจาะรู ในการทางานประกอบต่าง ๆ เช่น
การย้าหมุด การขันสกรูยึด หรือดัดแปลงเป็นเครื่องคว้านก็ได้ เช่น งานคว้านบ่าเพลา นักเรียนที่
เริ่มศึกษางานเครื่องมือกลจะต้องมีความรู้ในเรื่องเครื่องเจาะ เพื่อนาไปใช้ในการเจาะรู ทาเกลียวด้วย
มือ ซึ่งนักเรียนจะได้เรียนในหน่วยที่ 16 สาหรับหน่วยเรียนนี้ นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับ ชนิดของ
เครื่องเจาะ ส่วนประกอบและหน้าที่ต่าง ๆ ของเครื่องเจาะ การคานวณและเลือกใช้ค่าความเร็วรอบ
ความเร็วตัด อัตราป้ อนของเครื่องเจาะ หลักความปลอดภัยในการทางานบนเครื่องเจาะ ขั้นตอนการ
ใช้เครื่องเจาะ และการบารุงรักษาเครื่องเจาะ
1. อธิบายชนิดของเครื่องเจาะ ส่วนประกอบและหน้าที่ต่าง ๆ ของเครื่องเจาะ การคานวณ
และเลือกใช้ค่าความเร็วตัด อัตราป้ อน ขั้นตอนการใช้เครื่องเจาะ การรักษาเครื่องเจาะได้
2. สามารถปฏิบัติงานบนเครื่องเจาะได้
3. มีกิจนิสัยที่ดีในการทางานบนเครื่องเจาะ
4. นาความรู้มาประยุกต์ใช้ในงานอาชีพได้
เครื่องเจาะ เป็นเครื่องกลพื้นฐานใช้ในการเจาะรู ในการทางานประกอบต่าง ๆ เช่น
การย้าหมุด การขันสกรูยึด หรือดัดแปลงเป็นเครื่องคว้านก็ได้ เช่น งานคว้านบ่าเพลา นักเรียนที่เริ่ม
ศึกษางานเครื่องมือกลจะต้องมีความรู้ในเรื่องเครื่องเจาะ เพื่อนาไปใช้ในการเจาะรู ทาเกลียวด้วยมือ ซึ่ง
นักเรียนจะได้เรียนในหน่วยที่ 16 สาหรับหน่วยเรียนนี้ นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับ ชนิดของเครื่อง
เจาะ ส่วนประกอบและหน้าที่ต่าง ๆ ของเครื่องเจาะ การคานวณและเลือกใช้ค่าความเร็วรอบ ความเร็ว
ตัด อัตราป้ อนของเครื่องเจาะ หลักความปลอดภัยในการทางานบนเครื่องเจาะ ขั้นตอนการใช้เครื่องเจาะ
และการบารุงรักษาเครื่องเจาะ
ในหน่วยเรียนนี้จะใช้เวลาเรียนทั้งหมด 2 ชั่วโมง นักเรียนต้องเรียนรู้ให้เข้าใจเพื่อ
เตรียมตัวในการเรียนหน่วยต่อไป ซึ่งมีผลต่อเนื่อง หากนักเรียนไม่เข้าใจ ควรถามครูผู้สอนที่คอย
ให้คาแนะนา
3.1 ชนิดของเครื่องเจาะ
เครื่องเจาะเป็นเครื่องมือกลที่ช่วยในการเจาะรูชิ้นงานโดยมีดอกสว่านเป็นตัวหมุนเจาะ
ชิ้นงาน เครื่องเจาะแบ่งตามสภาพใช้งาน และตามลักษณะเครื่องได้ดังนี้
3.1.1 เครื่องเจาะแบบตั้งโต๊ะ (Bench Type)
เป็นเครื่องขนาดเล็ก ตัวเครื่องจะวางบนโต๊ะงาน ที่แท่นเครื่องมีโต๊ะวางชิ้นงาน
สามารถหมุนได้รอบตัวเครื่อง การเจาะใช้การโยกแขนโยกขึ้นลง การส่งกาลังโดยทั่วไปจะใช้สายพาน
จากมอเตอร์ต้นกาลัง
รูปที่ 3.1 เครื่องเจาะแบบตั้งโต๊ะ
3.1.2 เครื่องเจาะตั้งพื้น (Floor Type)
ลักษณะคล้ายกับเครื่องเจาะแบบตั้งโต๊ะเพียงแต่มีขนาดใหญ่กว่าสามารถเจาะ
ชิ้นงานได้หลายขนาด และสามารถปรับใช้งานอื่น ๆ ได้ เช่น งานคว้าน เป็นต้น การส่งกาลังใช้
ระบบเฟืองทด จึงสามารถปรับความเร็วรอบได้หลายระดับ รับแรงบิดตัวจากสว่านได้สูง
รูปที่ 3.2 เครื่องเจาะแบบตั้งพื้น
3.1.3 เครื่องเจาะรัศมี (Radian Drilling Machine)
มีขนาดใหญ่กว่าเครื่องเจาะตั้งพื้น ที่เสาจะมีปลายคล้ายแขนยืนออกมา โดย
มีมอเตอร์ขับเกลียวให้เลื่อนขึ้นลงและหมุนได้รอบตัว ที่แขนจะมีชุดหัวเจาะสามารถเลื่อนเข้าออก
บนแขนได้ตามต้องการ ที่สุดหัวเจาะสามารถเปลี่ยนความเร็วโดยใช้คันโยกบังคับเฟืองเปลี่ยน
ความเร็วรอบได้หลายขั้น
รูปที่ 3.3 เครื่องเจาะรัศมี
3.1.4 เครื่องเจาะงานอุตสาหกรรม (Multi Spindle)
เป็นการออกแบบเครื่องเจาะให้สามารถทางานได้หลายอย่าง ในเครื่องเดียวกัน เช่น
คว้านรู การกัดและการกลึง หรือการเจาะดอกสว่านหลายดอกพร้อมกัน
รูปที่ 3.4 เครื่องเจาะขนาดใหญ่แนวนอน รูปที่ 3.5 เครื่องเจาะหลายหัว
3.1.5 สว่านมือ
เป็นสว่านที่ใช้กับงานติดตั้งเล็กๆ เช่น กรอบรูป โครงงานเหล็ก โครงอลูมิเนียม
และวัสดุที่มีเนื้ออ่อน เช่น ไม้ พลาสติก เป็นต้น สว่านมือ แบ่งได้ 2 ชนิด คือ
1)สว่านมือหมุนเจาะด้วยมือ ใช้เจาะรูโตไม่เกิน 5 มม. เจาะวัสดุ
เนื้ออ่อน เช่น ไม้ พลาสติก
รูปที่ 3.6 สว่านมือหมุนเจาะด้วยมือ
2) สว่านมือหมุนเจาะด้วยกาลังไฟฟ้ า นิยมใช้ เพราะสามารถเจาะงาน
บริเวณจุดต่างๆ ได้สะดวก เคลื่อนย้ายไปใช้งานตามสถานที่ต่างๆ ที่ไฟฟ้าไปถึง
รูปที่ 3.7 สว่านมือหมุนเจาะด้วยกาลังไฟฟ้ า
3.2 ส่วนประกอบและหน้าที่ต่าง ๆ ของเครื่องเจาะ
โดยปกติเครื่องเจาะจะมีส่วนประกอบและหน้าที่ต่าง ๆ ของเครื่องเจาะคล้าย ๆ กัน
ส่วนประกอบหลัก มีดังนี้
ระบบส่งกำลัง
เพลำจับดอกสว่ำน
โต๊ะงำน
เสำเครื่อง
ฐำนเครื่อง
รูปที่ 3.8 ส่วนประกอบหลักของเครื่องเจาะ
3.2.1 ระบบส่งกาลัง (Power Transmission)
เป็นส่วนที่อยู่บนสุดของเครื่องเจาะโดยมีมอเตอร์ไฟฟ้ าเป็นต้นกาลัง จะส่ง
กาลังผ่านสายพานลิ่ม (V–belt) ที่มีล้อสายพาน 2 - 3 ระดับ การปรับระดับในบาง
เครื่องจะส่งกาลังผ่านสายพานลิ่มมาขับชุดเฟืองทด (gear) อีกครั้งหนึ่ง ซึ่งการส่งกาลังด้วย
เฟืองทดจะสามารถปรับความเร็วรอบได้หลายระดับ
รอบสูง
รอบต่ำ
เฟือง
เพลาจับดอกสว่านระบบสายพาน เพลาจับดอกสว่านระบบเฟืองทด
รูปที่ 3.9 ระบบส่งกาลัง
3.2.2 เพลาจับดอกสว่าน (Drill Spindle)
เป็นเพลาทรงกระบอกสกรูกลวง ส่วนบนของเพลาจะต่อกับชุดส่งกาลัง
เพื่อให้เพลาจับดอกสว่านหมุน และส่วนล่างของเพลาจับดอกสว่านหมุน ภายในเพลาจับดอกสว่าน
จะเป็นรูเรียว แบบมอร์ส (Morse Taper) ใช้สาหรับจับยึดหัวจับดอกสว่าน (Drill
Chuck) หรือจับดอกสว่านก้านเรียวโดยตรง
รูปที่ 3.10 เพลาจับดอกสว่าน
3.2.3 เสาเครื่อง (Column)
ส่วนใหญ่ทาด้วยเหล็กหล่อแท่งกลมข้างในกลวงผิวเรียบมีความเที่ยงตรงสูง
แบ่งได้ 3 ส่วน ส่วนบนใช้ยึดชุดหัวเจาะ ส่วนล่างจะใช้ยึดฐานเครื่อง ช่องว่างระหว่างชุดหัวเจาะและ
ฐานจะใช้ยึดโต๊ะงาน
3.2.4 โต๊ะงาน (Table)
เป็นส่วนที่ใช้รองรับชิ้นงานเจาะหรือปากกาจับงานเจาะโดยจะทางานเหล็กหล่อ
มี รูยาวเป็นช่วง ๆ เลื่อนขึ้น-ลงตามเสาเครื่องได้ ปรับเป็นมุมต่าง ๆ เพื่อใช้เจาะรูในงานที่เอียง
เป็นมุมต่าง ๆ โต๊ะงานจะทาร่องตัวที (T-Slot) เพื่อการยึดงานและฐานปากกาจับงาน
3.2.5 ฐานเครื่องเจาะ (Base)
เป็นเหล็กหล่อที่อยู่ส่วนล่างสุดของเครื่องเจาะ จับยึดกับเสาเครื่อง จะยึดกับ
พื้นและใช้รองรับงานเจาะขนาดใหญ่ โดยที่ฐานเครื่องจะมีร่องตัวที สาหรับใช้จับยึดอุปกรณ์จับงาน
ชนิดต่าง ๆ
แท่นรองรับงำนแบบปรับได้
เสำสี่เหลี่ยมกลวง
ฐำน
เสำรองรับ TABLE
เกลียว
รูปที่ 3.11 เสาเครื่องและฐานเครื่อง
3.3 การคานว และเลือก ช้ค่าควา เรวตด อตราป้ อนของเครื่องเจาะ
3.3.1 ควา เรวรอบ
วำมเรวรอบ หมำย ง กำรหมน องแกนหมนดอกสว่ำนหมนรอบตัวเองต่อหน่วย องเวลำ
สำหรับเ รื่องเ ำ มีหน่วยวัด เปน วำมเรวรอบต่อนำที วำมเรวรอบมี วำมสัม ัน กับ วำมเรวตัด
สำมำร ำนว หำได้ ำกสูตร หรืออำ หำได้ ำกตำรำง หลักกำร ำนว
สูตรที่ ้ ือ V =
1000
nd
เมตร/นำที
เมื่อ V = วำมเรวตัด
d = เส้นรอบวง องดอกสว่ำน
n = วำมเรวรอบต่อนำที
1000 = กำรแปลงหน่วย ำกมลลเมตรมำเปนเมตร
ตัวอย่าง
ต้องการเจาะรูเส้นผ่าศูนย์กลาง 20 มม. ด้วยความเร็วตัด 20 เมตร/นาที จะต้อง
เปิดเครื่องเจาะให้มีความเร็วรอบเท่าใด
วิ ีทา
ำกสูตร V =
1000
dn
เมตร/นำที
แทน ่ำ V = วำมเรวตัด= 20 เมตร/นำที
d = เส้นรอบวง องดอกสว่ำน
= 3.14 x 20) มม.
n = วำมเรวรอบต่อนำที= ?
1000 = กำรแปลงหน่วย ำกมลลเมตรมำเปนเมตร
20 เมตร/นำที =
1000
n201416.3 
เมตร
n =
2014.3
100020


รอบต่อนำที
n = 318.5 รอบต่อนำที
นั่น ือ ต้องตัง วำมเรวรอบเท่ำกับ318.5 รอบต่อนำที หำกเ รื่องไม่สำมำร ปรับได้ ห้ปรับต่ำกว่ำที่ ำนว ไว้
เ ื่ออำยกำร ้งำนดอกเ ำ เกดกำรสกหรอ
ตวอ ่าง
นำดรูเ ำ 20 มม. แกนหมนดอกสว่ำนหมนด้วย วำมเรวรอบ 500 รอบ/นำที ต้อง ้ วำมเรว
ตัดเท่ำไร
วิ ีทา
ำกสูตร V =
1000
dn
เมตร/นำที
แทน ่ำ V = วำมเรวตัด= ?
d = เส้นรอบวง อง นงำน
= (3.14 x 20) มม.
n = วำมเรวรอบต่อนำที
= 500 รอบ/นำที
1000 = กำรแปลงหน่วย องมลลเมตรมำเปนเมตร
ดังนัน
V =
1000
5002014.3 
เมตร/นำที
V = 31.40 เมตร/นำที
3.3.3 การใช้ตารางความสัมพันธ์ความเร็วตัดและอัตราป้ อน
ตารางที่ 1 ความสัมพันธ์ของความเร็วตัด V (เมตร/นาที) และอัตราป้ อน S (มม./รอบ)
ในงานเจาะค่าในตารางเป็นค่าสาหรับดอกสว่านโต 1 มม. – 50 มม. ค่าสูงสุดสาหรับความเร็ว
ตัด ควรใช้กับสว่านขนาด 6 – 8 มม. และค่าความเร็วตัดต่าสุดใช้กับสว่านขนาด 35 – 50
มม.
วสด
สว่านทาจากเหลก
เครื่อง ือ
สว่านทาจากเหลก
รอบสง
สว่านทาจาก
ลหะแขง การ
หล่อ
เ น
V
(ม./
นำที)
S
(มม./รอบ)
V
(ม./นำที)
S
(มม./รอบ)
V
(ม./นำที)
S
(มม./รอบ)
เหลก
เหนี ว
6…16 0.02…0.3 20… .35 0.03…0.45 40…70 0.02…0.12 นา น
สบ่
เหลก
เครื่อง ือ
4…6 0.01 6…9 0.02 9…12 0.03…0.06 นา น
สบ่
เหลก
หล่อ
3…12 0.02…0.4 12… .40 0.05…1.3 20…1.3 0.03… .03 แห้ง
อล ิเนี 25…100 0.02…0.40 35… .200 0.03…0.06 60…125 0.03…0.40 แห้ง
วสด
สงเคราะห
8…20 0.02…0.20 20… .30 0.03…0.30 45…60 0.03…0.20 แห้ง
างแขง 20…30 0.02…0.30 30… .50 0.03…0.35 50…80 0.02…0.25 แห้ง
หินอ่อน - - 10 0.05…0.10 20…30 0.08…0.15 นา
แก้ว - - - - 8…15 0.04…0.05 แห้ง
ตารางที่ 2 ควา ส น ควา เรวตด การป้ อนเจาะ ขนาดดอกสว่าน การหล่อเ น
วสดงาน
ขนาดรเจาะ
การหล่อเ น
5 10 15 20 25 30
เหลก
St40
S 0.1 0.18 0.25 0.28 0.31 0.34 นำมันสบู่
นำมันหล่อเยนV 15 18 22 26 29 32
เหลก
St60
S 0.1 0.18 0.25 0.28 0.31 0.35 นำมันสบู่
นำมันหล่อเยนV 13 16 20 23 26 28
เหลก
St80
S 0.07 0.13 0.16 0.19 0.21 0.23 นำมันสบู่
นำมันหล่อเยนV 12 14 16 18 21 23
เหลก
St40
S 0.15 0.24 0.3 0.33 0.35 0.38
แห้ง
V 24 28 32 34 37 39
ทองเหลือง S 0.1 0.15 0.22 0.27 0.30 0.32 นำมันสบู่
นำมันหล่อเยนV 60 – 70 ม./นำที
บรอน S 0.1 0.15 0.22 0.27 0.30 0.32
แห้ง
V 30 – 40 ม./นำที
อล ิเนี S 0.05 0.2 0.3 0.4 0.46 0.5
แห้ง
V 80 – 150 ม./นำที
3.3.4 อตราป้ อนเจาะ
เปน วำมสัม ัน ร หว่ำง วำมเรวตัดแล กำรป้ อนตัด ย่ง วำมเรวตัดมำกกว่ำเท่ำ ดกำรป้ อนเ ำ
มำกตำมไปด้วย แสดงว่ำ นงำนเ ำ อัตรำป้ อน แปรตำม นำดดอกสว่ำน ย่งดอกสว่ำนหรือ นำด
รูเ ำ มี นำดเลกเท่ำ ด กำรป้ อนเ ำ น้อยแล นำดรูเ ำ ห ่กำรป้ อนเ ำ มำกตำม อันเปน ลมำ
ำกสูตร วำมเรวตัดนันเอง สำมำร เปดตำรำงที่ 1 แล 2 ได้
3.4 หลกควา ปลอด นการทางานบนเครื่องเจาะ
3.4.1 ตรว สอบส่วนต่ำง องเ รื่องเ ำ ทก รังก่อนป บัตงำน ว่ำมีส่วน ำรด หรือมีส ำ ร้อมที่
ทำงำนได้หรือไม่ ้ำมี ห้แ ้ง ู้ วบ มทรำบแล แก้ไ
3.4.2 งำนที่ เ ำ ต้อง ับ ห้แน่นด้วยปำกกำ ับงำนหรือด้วยอปกร ยดกับ ต งำน ห้ำม ้มือ ับ
งำนเ ำ เปนอัน ำด เ รำ เมื่อดอกสว่ำน ท ล มีแรงส บัดมำก ่ง เปนอันตรำยกับู้ป บัตงำน
3.4.3 ต้อง ับดอกสว่ำน ห้แน่น แล อดปร แ ันหัว ับออกทก รังที่ ันหัว ับเสร
3.4.4 ต้องตรว วำม ม องดอกสว่ำนทก รังที่ เ ำ เ รำ ้ำดอกสว่ำนไม่ ม เ ำ ไม่เ ้ำ แล
อำ หัก ่งเปนอันตรำยต่อ ู้ป บัตงำน
3.4.5 ป้ อนเ ำ ต้องกดดอกสว่ำนกนงำนอย่ำงสม่ำเสมอ วร อนดอกสว่ำนเ ื่อ ำยเ ลห
บ้ำง แล ต้องหล่อเยนตำม นด องวัสดเ ำ ด้วย
3.4.6 ต้อง อดเ รื่องปร ดับ เ ่น แหวน นำ กำ เกบรวบ ม แ นเสือ ห้เรียบร้อย ม นันหัว ับดอก
สว่ำนอำ หมนแล ดงเอำส่วนต่ำง องร่ำงกำยเ ้ำไป น เ ำ งำน
3.4.7 ต้องหยดเ รื่องทก รังที่ เปลี่ยนดอกสว่ำนหรือ ับงำน
3.4.8 ต้องสวมแว่นตำนร ัยทก รังที่ป บัตงำนกับเ รื่องเ ำ
3.5 ขนตอนการ ช้เครื่องเจาะ
3.5.1 ตรวจสอบส่วนต่าง ๆ ของเครื่องเจาะพร้อมปฏิบัติงาน
3.5.2 จับชิ้นงานให้แน่นด้วยปากกาจับงานหรือด้วยอุปกรณ์ยึดกับโต๊ะงาน ห้ามใช้มือจับงานเจาะเป็น
อันขาด เพราะเมื่อดอกสว่านเจาะทะลุจะมีแรงสะบัดมากซึ่งจะเป็นอันตรายกับผู้ปฏิบัติงานและก่อนนางานเข้าเจาะต้องใช้
ดอกตอกนาศูนย์ (Center Punch)
3.5.3 จับดอกสว่านให้แน่น แล้วกดปลายดอกสว่านให้จี้ลงตรงจุดที่ตอกนาศูนย์ไว้หากไม่แน่ใจว่าเรา
ตอกนาศูนย์ตรงหรือไม่สามารถใช้ดอกเจาะนาศูนย์ (Center Drill) ช่วยนาเจาะจะทาให้รูเจาะตรงตามที่กาหนดไว้
หากเป็นรูโตมาก ๆ ควรเจาะรูเล็ก ๆ นาก่อนเพื่อลดแรงที่ใช้ในการกดเจาะ
3.5.4 เปิดเครื่องแล้วเลื่อนดอกสว่านเข้าเจาะงาน ในขณะที่ทาการเจาะให้ยกดอกสว่านขึ้นบ่อย ๆ
เพื่อคายเศษและลดความร้อนที่เกิดจากการเสียดสีงาน พร้อมทั้งใช้น้าหล่อเย็นเพื่อช่วยรักษาคมตัดขณะเจาะดอกสว่าน
ใกล้ทะลุจะเกิดแรงบิดตัวมาต้องค่อย ๆ เจาะเพื่อลดแรงบิดตัว
3.6 การบารงรก าเครื่องเจาะ
3.6.1 ตรวจสอบน้ามันหล่อลื่นในระบบส่งกาลัง รางเลื่อน อยู่ในระดับที่กาหนดหรือไม่ใน
กรณีเป็น
เครื่องเจาะรัศมี
3.6.2 มีการตรวจสอบระบบหล่อลื่น รายวัน สัปดาห์ เดือน เพื่อยืดอายุการใช้งาน
ของเครื่อง
3.6.3 ตรวจสอบความตึงหย่อนของสายพานในกรณีเป็นเครื่องเจาะตั้งพื้นและใส่
จารบีในชุดเฟืองทด
3.6.4 เมื่อจะเปลี่ยนความเร็วรอบทุกครั้งต้องให้เครื่องหยุดสนิทเพื่อป้ องกัน

More Related Content

What's hot

ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
kruminsana
 
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้า
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้าSlชุดการสอนวงจรไฟฟ้า
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้า
krupornpana55
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
Coverslide Bio
 
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
Apinya Phuadsing
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
คุณครูพี่อั๋น
 
การสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิตการสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิต
พัน พัน
 

What's hot (20)

4
44
4
 
การเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรงการเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรง
 
สรุปสูตรตรีโกณมิติ
สรุปสูตรตรีโกณมิติสรุปสูตรตรีโกณมิติ
สรุปสูตรตรีโกณมิติ
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
 
บทที่ 2 ของไหลสถิต+คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 2 ของไหลสถิต+คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 2 ของไหลสถิต+คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 2 ของไหลสถิต+คลิป (Fluid Mechanics)
 
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้า
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้าSlชุดการสอนวงจรไฟฟ้า
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้า
 
(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม
(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม
(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
 
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
รวมเอกสารแนะแนวทาง
รวมเอกสารแนะแนวทางรวมเอกสารแนะแนวทาง
รวมเอกสารแนะแนวทาง
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
การสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิตการสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิต
 

งานนำเสนอ3

  • 1. 3.1 ชนิดของเครื่องเจาะ 3.2 ส่วนประกอบและหน้าที่ต่าง ๆ ของเครื่องเจาะ 3.3 การคานวณและเลือกใช้ค่าความเร็วตัด อัตราป้ อนของเครื่องเจาะ 3.4 หลักความปลอดภัยในการทางานบนเครื่องเจาะ 3.5 ขั้นตอนการใช้เครื่องเจาะ 3.6 การบารุงรักษาเครื่องเจาะ
  • 2. เครื่องเจาะ เป็นเครื่องมือกลพื้นฐานใช้ในการเจาะรู ในการทางานประกอบต่าง ๆ เช่น การย้าหมุด การขันสกรูยึด หรือดัดแปลงเป็นเครื่องคว้านก็ได้ เช่น งานคว้านบ่าเพลา นักเรียนที่ เริ่มศึกษางานเครื่องมือกลจะต้องมีความรู้ในเรื่องเครื่องเจาะ เพื่อนาไปใช้ในการเจาะรู ทาเกลียวด้วย มือ ซึ่งนักเรียนจะได้เรียนในหน่วยที่ 16 สาหรับหน่วยเรียนนี้ นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับ ชนิดของ เครื่องเจาะ ส่วนประกอบและหน้าที่ต่าง ๆ ของเครื่องเจาะ การคานวณและเลือกใช้ค่าความเร็วรอบ ความเร็วตัด อัตราป้ อนของเครื่องเจาะ หลักความปลอดภัยในการทางานบนเครื่องเจาะ ขั้นตอนการ ใช้เครื่องเจาะ และการบารุงรักษาเครื่องเจาะ
  • 3. 1. อธิบายชนิดของเครื่องเจาะ ส่วนประกอบและหน้าที่ต่าง ๆ ของเครื่องเจาะ การคานวณ และเลือกใช้ค่าความเร็วตัด อัตราป้ อน ขั้นตอนการใช้เครื่องเจาะ การรักษาเครื่องเจาะได้ 2. สามารถปฏิบัติงานบนเครื่องเจาะได้ 3. มีกิจนิสัยที่ดีในการทางานบนเครื่องเจาะ 4. นาความรู้มาประยุกต์ใช้ในงานอาชีพได้
  • 4. เครื่องเจาะ เป็นเครื่องกลพื้นฐานใช้ในการเจาะรู ในการทางานประกอบต่าง ๆ เช่น การย้าหมุด การขันสกรูยึด หรือดัดแปลงเป็นเครื่องคว้านก็ได้ เช่น งานคว้านบ่าเพลา นักเรียนที่เริ่ม ศึกษางานเครื่องมือกลจะต้องมีความรู้ในเรื่องเครื่องเจาะ เพื่อนาไปใช้ในการเจาะรู ทาเกลียวด้วยมือ ซึ่ง นักเรียนจะได้เรียนในหน่วยที่ 16 สาหรับหน่วยเรียนนี้ นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับ ชนิดของเครื่อง เจาะ ส่วนประกอบและหน้าที่ต่าง ๆ ของเครื่องเจาะ การคานวณและเลือกใช้ค่าความเร็วรอบ ความเร็ว ตัด อัตราป้ อนของเครื่องเจาะ หลักความปลอดภัยในการทางานบนเครื่องเจาะ ขั้นตอนการใช้เครื่องเจาะ และการบารุงรักษาเครื่องเจาะ
  • 5. ในหน่วยเรียนนี้จะใช้เวลาเรียนทั้งหมด 2 ชั่วโมง นักเรียนต้องเรียนรู้ให้เข้าใจเพื่อ เตรียมตัวในการเรียนหน่วยต่อไป ซึ่งมีผลต่อเนื่อง หากนักเรียนไม่เข้าใจ ควรถามครูผู้สอนที่คอย ให้คาแนะนา
  • 7. 3.1.1 เครื่องเจาะแบบตั้งโต๊ะ (Bench Type) เป็นเครื่องขนาดเล็ก ตัวเครื่องจะวางบนโต๊ะงาน ที่แท่นเครื่องมีโต๊ะวางชิ้นงาน สามารถหมุนได้รอบตัวเครื่อง การเจาะใช้การโยกแขนโยกขึ้นลง การส่งกาลังโดยทั่วไปจะใช้สายพาน จากมอเตอร์ต้นกาลัง รูปที่ 3.1 เครื่องเจาะแบบตั้งโต๊ะ
  • 8. 3.1.2 เครื่องเจาะตั้งพื้น (Floor Type) ลักษณะคล้ายกับเครื่องเจาะแบบตั้งโต๊ะเพียงแต่มีขนาดใหญ่กว่าสามารถเจาะ ชิ้นงานได้หลายขนาด และสามารถปรับใช้งานอื่น ๆ ได้ เช่น งานคว้าน เป็นต้น การส่งกาลังใช้ ระบบเฟืองทด จึงสามารถปรับความเร็วรอบได้หลายระดับ รับแรงบิดตัวจากสว่านได้สูง รูปที่ 3.2 เครื่องเจาะแบบตั้งพื้น
  • 9. 3.1.3 เครื่องเจาะรัศมี (Radian Drilling Machine) มีขนาดใหญ่กว่าเครื่องเจาะตั้งพื้น ที่เสาจะมีปลายคล้ายแขนยืนออกมา โดย มีมอเตอร์ขับเกลียวให้เลื่อนขึ้นลงและหมุนได้รอบตัว ที่แขนจะมีชุดหัวเจาะสามารถเลื่อนเข้าออก บนแขนได้ตามต้องการ ที่สุดหัวเจาะสามารถเปลี่ยนความเร็วโดยใช้คันโยกบังคับเฟืองเปลี่ยน ความเร็วรอบได้หลายขั้น รูปที่ 3.3 เครื่องเจาะรัศมี
  • 10. 3.1.4 เครื่องเจาะงานอุตสาหกรรม (Multi Spindle) เป็นการออกแบบเครื่องเจาะให้สามารถทางานได้หลายอย่าง ในเครื่องเดียวกัน เช่น คว้านรู การกัดและการกลึง หรือการเจาะดอกสว่านหลายดอกพร้อมกัน รูปที่ 3.4 เครื่องเจาะขนาดใหญ่แนวนอน รูปที่ 3.5 เครื่องเจาะหลายหัว
  • 11. 3.1.5 สว่านมือ เป็นสว่านที่ใช้กับงานติดตั้งเล็กๆ เช่น กรอบรูป โครงงานเหล็ก โครงอลูมิเนียม และวัสดุที่มีเนื้ออ่อน เช่น ไม้ พลาสติก เป็นต้น สว่านมือ แบ่งได้ 2 ชนิด คือ 1)สว่านมือหมุนเจาะด้วยมือ ใช้เจาะรูโตไม่เกิน 5 มม. เจาะวัสดุ เนื้ออ่อน เช่น ไม้ พลาสติก รูปที่ 3.6 สว่านมือหมุนเจาะด้วยมือ
  • 12. 2) สว่านมือหมุนเจาะด้วยกาลังไฟฟ้ า นิยมใช้ เพราะสามารถเจาะงาน บริเวณจุดต่างๆ ได้สะดวก เคลื่อนย้ายไปใช้งานตามสถานที่ต่างๆ ที่ไฟฟ้าไปถึง รูปที่ 3.7 สว่านมือหมุนเจาะด้วยกาลังไฟฟ้ า
  • 13. 3.2 ส่วนประกอบและหน้าที่ต่าง ๆ ของเครื่องเจาะ โดยปกติเครื่องเจาะจะมีส่วนประกอบและหน้าที่ต่าง ๆ ของเครื่องเจาะคล้าย ๆ กัน ส่วนประกอบหลัก มีดังนี้ ระบบส่งกำลัง เพลำจับดอกสว่ำน โต๊ะงำน เสำเครื่อง ฐำนเครื่อง รูปที่ 3.8 ส่วนประกอบหลักของเครื่องเจาะ
  • 14. 3.2.1 ระบบส่งกาลัง (Power Transmission) เป็นส่วนที่อยู่บนสุดของเครื่องเจาะโดยมีมอเตอร์ไฟฟ้ าเป็นต้นกาลัง จะส่ง กาลังผ่านสายพานลิ่ม (V–belt) ที่มีล้อสายพาน 2 - 3 ระดับ การปรับระดับในบาง เครื่องจะส่งกาลังผ่านสายพานลิ่มมาขับชุดเฟืองทด (gear) อีกครั้งหนึ่ง ซึ่งการส่งกาลังด้วย เฟืองทดจะสามารถปรับความเร็วรอบได้หลายระดับ รอบสูง รอบต่ำ เฟือง เพลาจับดอกสว่านระบบสายพาน เพลาจับดอกสว่านระบบเฟืองทด รูปที่ 3.9 ระบบส่งกาลัง
  • 15. 3.2.2 เพลาจับดอกสว่าน (Drill Spindle) เป็นเพลาทรงกระบอกสกรูกลวง ส่วนบนของเพลาจะต่อกับชุดส่งกาลัง เพื่อให้เพลาจับดอกสว่านหมุน และส่วนล่างของเพลาจับดอกสว่านหมุน ภายในเพลาจับดอกสว่าน จะเป็นรูเรียว แบบมอร์ส (Morse Taper) ใช้สาหรับจับยึดหัวจับดอกสว่าน (Drill Chuck) หรือจับดอกสว่านก้านเรียวโดยตรง รูปที่ 3.10 เพลาจับดอกสว่าน
  • 16. 3.2.3 เสาเครื่อง (Column) ส่วนใหญ่ทาด้วยเหล็กหล่อแท่งกลมข้างในกลวงผิวเรียบมีความเที่ยงตรงสูง แบ่งได้ 3 ส่วน ส่วนบนใช้ยึดชุดหัวเจาะ ส่วนล่างจะใช้ยึดฐานเครื่อง ช่องว่างระหว่างชุดหัวเจาะและ ฐานจะใช้ยึดโต๊ะงาน 3.2.4 โต๊ะงาน (Table) เป็นส่วนที่ใช้รองรับชิ้นงานเจาะหรือปากกาจับงานเจาะโดยจะทางานเหล็กหล่อ มี รูยาวเป็นช่วง ๆ เลื่อนขึ้น-ลงตามเสาเครื่องได้ ปรับเป็นมุมต่าง ๆ เพื่อใช้เจาะรูในงานที่เอียง เป็นมุมต่าง ๆ โต๊ะงานจะทาร่องตัวที (T-Slot) เพื่อการยึดงานและฐานปากกาจับงาน
  • 17. 3.2.5 ฐานเครื่องเจาะ (Base) เป็นเหล็กหล่อที่อยู่ส่วนล่างสุดของเครื่องเจาะ จับยึดกับเสาเครื่อง จะยึดกับ พื้นและใช้รองรับงานเจาะขนาดใหญ่ โดยที่ฐานเครื่องจะมีร่องตัวที สาหรับใช้จับยึดอุปกรณ์จับงาน ชนิดต่าง ๆ แท่นรองรับงำนแบบปรับได้ เสำสี่เหลี่ยมกลวง ฐำน เสำรองรับ TABLE เกลียว รูปที่ 3.11 เสาเครื่องและฐานเครื่อง
  • 18. 3.3 การคานว และเลือก ช้ค่าควา เรวตด อตราป้ อนของเครื่องเจาะ 3.3.1 ควา เรวรอบ วำมเรวรอบ หมำย ง กำรหมน องแกนหมนดอกสว่ำนหมนรอบตัวเองต่อหน่วย องเวลำ สำหรับเ รื่องเ ำ มีหน่วยวัด เปน วำมเรวรอบต่อนำที วำมเรวรอบมี วำมสัม ัน กับ วำมเรวตัด สำมำร ำนว หำได้ ำกสูตร หรืออำ หำได้ ำกตำรำง หลักกำร ำนว สูตรที่ ้ ือ V = 1000 nd เมตร/นำที เมื่อ V = วำมเรวตัด d = เส้นรอบวง องดอกสว่ำน n = วำมเรวรอบต่อนำที 1000 = กำรแปลงหน่วย ำกมลลเมตรมำเปนเมตร
  • 19. ตัวอย่าง ต้องการเจาะรูเส้นผ่าศูนย์กลาง 20 มม. ด้วยความเร็วตัด 20 เมตร/นาที จะต้อง เปิดเครื่องเจาะให้มีความเร็วรอบเท่าใด วิ ีทา ำกสูตร V = 1000 dn เมตร/นำที แทน ่ำ V = วำมเรวตัด= 20 เมตร/นำที d = เส้นรอบวง องดอกสว่ำน = 3.14 x 20) มม. n = วำมเรวรอบต่อนำที= ? 1000 = กำรแปลงหน่วย ำกมลลเมตรมำเปนเมตร 20 เมตร/นำที = 1000 n201416.3  เมตร n = 2014.3 100020   รอบต่อนำที n = 318.5 รอบต่อนำที นั่น ือ ต้องตัง วำมเรวรอบเท่ำกับ318.5 รอบต่อนำที หำกเ รื่องไม่สำมำร ปรับได้ ห้ปรับต่ำกว่ำที่ ำนว ไว้ เ ื่ออำยกำร ้งำนดอกเ ำ เกดกำรสกหรอ
  • 20. ตวอ ่าง นำดรูเ ำ 20 มม. แกนหมนดอกสว่ำนหมนด้วย วำมเรวรอบ 500 รอบ/นำที ต้อง ้ วำมเรว ตัดเท่ำไร วิ ีทา ำกสูตร V = 1000 dn เมตร/นำที แทน ่ำ V = วำมเรวตัด= ? d = เส้นรอบวง อง นงำน = (3.14 x 20) มม. n = วำมเรวรอบต่อนำที = 500 รอบ/นำที 1000 = กำรแปลงหน่วย องมลลเมตรมำเปนเมตร ดังนัน V = 1000 5002014.3  เมตร/นำที V = 31.40 เมตร/นำที
  • 21. 3.3.3 การใช้ตารางความสัมพันธ์ความเร็วตัดและอัตราป้ อน ตารางที่ 1 ความสัมพันธ์ของความเร็วตัด V (เมตร/นาที) และอัตราป้ อน S (มม./รอบ) ในงานเจาะค่าในตารางเป็นค่าสาหรับดอกสว่านโต 1 มม. – 50 มม. ค่าสูงสุดสาหรับความเร็ว ตัด ควรใช้กับสว่านขนาด 6 – 8 มม. และค่าความเร็วตัดต่าสุดใช้กับสว่านขนาด 35 – 50 มม. วสด สว่านทาจากเหลก เครื่อง ือ สว่านทาจากเหลก รอบสง สว่านทาจาก ลหะแขง การ หล่อ เ น V (ม./ นำที) S (มม./รอบ) V (ม./นำที) S (มม./รอบ) V (ม./นำที) S (มม./รอบ) เหลก เหนี ว 6…16 0.02…0.3 20… .35 0.03…0.45 40…70 0.02…0.12 นา น สบ่ เหลก เครื่อง ือ 4…6 0.01 6…9 0.02 9…12 0.03…0.06 นา น สบ่ เหลก หล่อ 3…12 0.02…0.4 12… .40 0.05…1.3 20…1.3 0.03… .03 แห้ง อล ิเนี 25…100 0.02…0.40 35… .200 0.03…0.06 60…125 0.03…0.40 แห้ง วสด สงเคราะห 8…20 0.02…0.20 20… .30 0.03…0.30 45…60 0.03…0.20 แห้ง างแขง 20…30 0.02…0.30 30… .50 0.03…0.35 50…80 0.02…0.25 แห้ง หินอ่อน - - 10 0.05…0.10 20…30 0.08…0.15 นา แก้ว - - - - 8…15 0.04…0.05 แห้ง
  • 22. ตารางที่ 2 ควา ส น ควา เรวตด การป้ อนเจาะ ขนาดดอกสว่าน การหล่อเ น วสดงาน ขนาดรเจาะ การหล่อเ น 5 10 15 20 25 30 เหลก St40 S 0.1 0.18 0.25 0.28 0.31 0.34 นำมันสบู่ นำมันหล่อเยนV 15 18 22 26 29 32 เหลก St60 S 0.1 0.18 0.25 0.28 0.31 0.35 นำมันสบู่ นำมันหล่อเยนV 13 16 20 23 26 28 เหลก St80 S 0.07 0.13 0.16 0.19 0.21 0.23 นำมันสบู่ นำมันหล่อเยนV 12 14 16 18 21 23 เหลก St40 S 0.15 0.24 0.3 0.33 0.35 0.38 แห้ง V 24 28 32 34 37 39 ทองเหลือง S 0.1 0.15 0.22 0.27 0.30 0.32 นำมันสบู่ นำมันหล่อเยนV 60 – 70 ม./นำที บรอน S 0.1 0.15 0.22 0.27 0.30 0.32 แห้ง V 30 – 40 ม./นำที อล ิเนี S 0.05 0.2 0.3 0.4 0.46 0.5 แห้ง V 80 – 150 ม./นำที
  • 23. 3.3.4 อตราป้ อนเจาะ เปน วำมสัม ัน ร หว่ำง วำมเรวตัดแล กำรป้ อนตัด ย่ง วำมเรวตัดมำกกว่ำเท่ำ ดกำรป้ อนเ ำ มำกตำมไปด้วย แสดงว่ำ นงำนเ ำ อัตรำป้ อน แปรตำม นำดดอกสว่ำน ย่งดอกสว่ำนหรือ นำด รูเ ำ มี นำดเลกเท่ำ ด กำรป้ อนเ ำ น้อยแล นำดรูเ ำ ห ่กำรป้ อนเ ำ มำกตำม อันเปน ลมำ ำกสูตร วำมเรวตัดนันเอง สำมำร เปดตำรำงที่ 1 แล 2 ได้
  • 24. 3.4 หลกควา ปลอด นการทางานบนเครื่องเจาะ 3.4.1 ตรว สอบส่วนต่ำง องเ รื่องเ ำ ทก รังก่อนป บัตงำน ว่ำมีส่วน ำรด หรือมีส ำ ร้อมที่ ทำงำนได้หรือไม่ ้ำมี ห้แ ้ง ู้ วบ มทรำบแล แก้ไ 3.4.2 งำนที่ เ ำ ต้อง ับ ห้แน่นด้วยปำกกำ ับงำนหรือด้วยอปกร ยดกับ ต งำน ห้ำม ้มือ ับ งำนเ ำ เปนอัน ำด เ รำ เมื่อดอกสว่ำน ท ล มีแรงส บัดมำก ่ง เปนอันตรำยกับู้ป บัตงำน 3.4.3 ต้อง ับดอกสว่ำน ห้แน่น แล อดปร แ ันหัว ับออกทก รังที่ ันหัว ับเสร 3.4.4 ต้องตรว วำม ม องดอกสว่ำนทก รังที่ เ ำ เ รำ ้ำดอกสว่ำนไม่ ม เ ำ ไม่เ ้ำ แล อำ หัก ่งเปนอันตรำยต่อ ู้ป บัตงำน 3.4.5 ป้ อนเ ำ ต้องกดดอกสว่ำนกนงำนอย่ำงสม่ำเสมอ วร อนดอกสว่ำนเ ื่อ ำยเ ลห บ้ำง แล ต้องหล่อเยนตำม นด องวัสดเ ำ ด้วย 3.4.6 ต้อง อดเ รื่องปร ดับ เ ่น แหวน นำ กำ เกบรวบ ม แ นเสือ ห้เรียบร้อย ม นันหัว ับดอก สว่ำนอำ หมนแล ดงเอำส่วนต่ำง องร่ำงกำยเ ้ำไป น เ ำ งำน 3.4.7 ต้องหยดเ รื่องทก รังที่ เปลี่ยนดอกสว่ำนหรือ ับงำน 3.4.8 ต้องสวมแว่นตำนร ัยทก รังที่ป บัตงำนกับเ รื่องเ ำ
  • 25. 3.5 ขนตอนการ ช้เครื่องเจาะ 3.5.1 ตรวจสอบส่วนต่าง ๆ ของเครื่องเจาะพร้อมปฏิบัติงาน 3.5.2 จับชิ้นงานให้แน่นด้วยปากกาจับงานหรือด้วยอุปกรณ์ยึดกับโต๊ะงาน ห้ามใช้มือจับงานเจาะเป็น อันขาด เพราะเมื่อดอกสว่านเจาะทะลุจะมีแรงสะบัดมากซึ่งจะเป็นอันตรายกับผู้ปฏิบัติงานและก่อนนางานเข้าเจาะต้องใช้ ดอกตอกนาศูนย์ (Center Punch) 3.5.3 จับดอกสว่านให้แน่น แล้วกดปลายดอกสว่านให้จี้ลงตรงจุดที่ตอกนาศูนย์ไว้หากไม่แน่ใจว่าเรา ตอกนาศูนย์ตรงหรือไม่สามารถใช้ดอกเจาะนาศูนย์ (Center Drill) ช่วยนาเจาะจะทาให้รูเจาะตรงตามที่กาหนดไว้ หากเป็นรูโตมาก ๆ ควรเจาะรูเล็ก ๆ นาก่อนเพื่อลดแรงที่ใช้ในการกดเจาะ 3.5.4 เปิดเครื่องแล้วเลื่อนดอกสว่านเข้าเจาะงาน ในขณะที่ทาการเจาะให้ยกดอกสว่านขึ้นบ่อย ๆ เพื่อคายเศษและลดความร้อนที่เกิดจากการเสียดสีงาน พร้อมทั้งใช้น้าหล่อเย็นเพื่อช่วยรักษาคมตัดขณะเจาะดอกสว่าน ใกล้ทะลุจะเกิดแรงบิดตัวมาต้องค่อย ๆ เจาะเพื่อลดแรงบิดตัว
  • 26. 3.6 การบารงรก าเครื่องเจาะ 3.6.1 ตรวจสอบน้ามันหล่อลื่นในระบบส่งกาลัง รางเลื่อน อยู่ในระดับที่กาหนดหรือไม่ใน กรณีเป็น เครื่องเจาะรัศมี 3.6.2 มีการตรวจสอบระบบหล่อลื่น รายวัน สัปดาห์ เดือน เพื่อยืดอายุการใช้งาน ของเครื่อง 3.6.3 ตรวจสอบความตึงหย่อนของสายพานในกรณีเป็นเครื่องเจาะตั้งพื้นและใส่ จารบีในชุดเฟืองทด 3.6.4 เมื่อจะเปลี่ยนความเร็วรอบทุกครั้งต้องให้เครื่องหยุดสนิทเพื่อป้ องกัน