SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
บทที่ 2

                      เอกสารที่เกี่ยวข้อง

       ในการจัดทำาโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บบล็อก
(WebBlog) ด้วย Wordpress
 เรื่องลักษณะการทำางานของ 3G นี้ ผู้จัดทำาโครงงานได้ศึกษา
เอกสารและจากเว็บไซต์ต่างๆ ทีเกี่ยวข้องดังต่อไปนี้
                            ่


2.1 ความสำาคัญของเทคโนโลยี3G
    3G คือ โทรศัพท์เคลื่อนทียุคที่สาม หรือมาตรฐาน
                               ่
IMT-2000 นั้นนิยามสั้นๆ เพื่อให้เข้าใจตรงกันว่า

  •   “ต้องมี แพลทฟอร์ม (Platform) สำาหรับการหลอมรวมของ
      บริการต่างๆ อาทิ กิจการประจำาที่ (Fixed Service) กิจการ
      เคลื่อนที่ (Mobile Service) บริการสื่อสารเสียง ข้อมูล
      อินเทอร์เน็ต และ พหุสื่อ (Multimedia) เป็นไปในทิศทาง
      เดียวกัน” คือ สามารถถ่ายเท ส่งต่อข้อมูล ดิจิตอล ไปยัง
      อุปกรณ์โทรคมนาคมประเภทต่างๆ ให้สามารถรับส่งข้อมูล
      ได้
  •   “ความ สามารถในการใช้โครงข่ายทั่วโลก (Global
      Roaming) ” คือ ผู้บริโภคสามารถ ถืออุปกรณ์โทรศัพท์
      เคลื่อนที่ไปใช้ได้ทั่วโลก โดยไม่ต้องเปลี่ยนเครื่อง
  •   “บริการที่ไม่ขาดตอน (Seamless Delivery Service) ” คือ
      การใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่โดยไม่รู้สึกถึงการเปลี่ยน เซลล์
      ไซต์ (Cell Site) เขาใช้คำาว่า Seam less นั้นแปลว่า ไร้รอย
      ตะเข็บนะครับ
  •   อัตรา ความเร็วในการส่งข้อมูล (Transmission Rate) ใน
      มาตรฐาน IMT-2000 นั้นกำาหนดไว้ว่าต้องมีอัตราความเร็ว
      ดังนี้ [
        •
        o
o   ในสภาวะอยู่กับที่หรือขณะเดิน มีความเร็วอย่างน้อย
            ที่สุด 2 เมกะบิต/วินาที
        o   ในสภาวะเคลื่อนที่โดย ยานพาหนะ มีความเร็วอย่าง
            น้อยที่สุด 384 กิโลบิต/วินาที
        o   ทุกสภาวะ มีความเร็วอย่างมากที่สุด 14.4 เมกะบิต/
            วินาที

จุดเริ่มต้นของ เทคโนโลยี 3G

มาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อน ทียุคที่ 3 (Third Generation Mobile
                             ่
Network หรือ 3G) เป็นเทคโนโลยียุคถัดมาจากการเปิดให้บริการ
โทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่ 2 หรือ 2G ซึ่งประสบความสำาเร็จในการ
สร้างมูลค่าทางธุรกิจสื่อสารไร้สายอย่างมหาศาลนับ ตั้งแต่ พ.ศ.
2537 เป็นต้นมา ในยุคของโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2G มีมาตรฐานที่
สำาคัญที่มีการนิยมใช้งานทัวโลกอยู่ 2 มาตรฐาน กล่าวคือ
                           ่
มาตรฐาน GSM (Global System for Mobile Communication)
อันเป็นมาตรฐานของกลุ่มสหภาพยุโรป ปัจจุบันมีส่วนแบ่งทางการ
ตลาดทัวโลกสูงที่สุด และมาตรฐาน CDMA (Code Division
        ่
Multiple Access) อันเป็นมาตรฐานจากสหรัฐอเมริกา มีส่วนแบ่ง
การตลาดเป็นอันดับที่สอง

จุดมุ่งหมายของการพัฒนา มาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2G ขึ้น ก็
เพื่อตอบสนองความต้องการใช้งานระบบสื่อสารไร้สายส่วนบุคคล
(Personal Communication) ในลักษณะไร้พรมแดน (Global
Communication) โดยเปิดโอกาสให้ผู้ใช้บริการสามารถนำาเครื่อง
ลูกข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ไปใช้ งานในที่ใด ๆ ก็ได้ทั่วโลกที่มีการ
ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ดังกล่าว และยังเป็นยุคของการนำา
มาตรฐานสื่อสารแบบดิจิตอลสมบูรณ์แบบมาใช้รักษาความ
ปลอดภัย และเสริมประสิทธิภาพในการสื่อสารหลากหลายรูปแบบ
ไม่วาจะเป็นบริการส่งข้อความแบบสั้น (Short Message Service
     ่
หรือ SMS) และการเริมต้นของยุคสื่อสารข้อมูลผ่านเครื่องลูกข่าย
                       ่
โทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็นครั้งแรก โดยมาตรฐาน GSM และ CDMA
ตอบสนองความต้องการสื่อสารข้อมูลด้วยอัตราเร็วสูงสุด 9,600
บิตต่อวินาที ซึ่งถือว่าเพียงพอเมื่อเปรียบเทียบกับอัตราเร็วของ
การสื่อสารผ่านโมเด็มใน เครือข่ายโทรศัพท์พื้นฐานเมื่อกว่าสิบปี
ก่อน

การตอบรับของกลุมผู้ บริโภคบริการสื่อสารไร้สายทัวโลก ทำาให้
                    ่                              ่
มาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2G สร้างรายได้ให้กับผู้ประกอบ
การณ์ทวโลกอย่างมหาศาล ก่อให้เกิดการเปิดสัมปทานและนำามา
         ั่
ซึ่งการแข่งขันอย่างรุนแรงในแทบทุกประเทศ ซึงปัจจัยดังกล่าว
                                              ่
นอกจากจะมีผลทำาให้เกิดการเพิ่มจำานวนของผู้ใช้บริการอย่าง
ก้าวกระโดดแล้ว ในขณะเดียวกันยังสร้างผลกระทบต่อรายได้โดย
เฉลี่ยต่อเลขหมาย (Average Revenue per User หรือ ARPU)
ของผู้ให้บริการเครือข่าย อันเนื่องมาจากการกลยุทธ์การแข่งขัน
ด้านราคา ยิ่งเมื่อมีการเปิดตัวบริการโทรศัพท์เคลื่อนทีแบบพร้อม
                                                     ่
ใช้ (Prepaid Subscriber) ตั้งแต่ พ.ศ. 2540 เป็นต้นมา ก็ทำาให้
เกิดการลดถอยของ ARPU ลงอย่างต่อเนื่อง พร้อม กับปัญหาผู้ใช้
บริการย้ายค่าย (Brand Switching) ทีรุนแรงขึ้น
                                      ่

เพื่อเป็นการสร้างความ เชื่อมั่นในตราสินค้าและยังเป็นการสร้าง
รายได้ เพิ่มเพื่อชดเชย ARPU ทีลดตำ่าลง เนื่องจากปรากฏการณ์
                                   ่
อิ่มตัวของบริการสื่อสารด้วยเสียง (Voice Service) ผู้ประกอบการ
ในธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ทวโลกจึงมีความเห็นตรงกันที่จะ สร้าง
                             ั่
บริการสื่อสารไร้สายรูปแบบใหม่ ๆ ขึ้น โดยพัฒนาเครือข่าย
โทรศัพท์เคลื่อนที่ 2G ที่เปิดใช้งานอยู่ ให้มีศักยภาพเพิ่มเติมเพื่อ
รองรับบริการสื่อสารข้อมูลแบบที่มใช่เสียง (Non-Voice
                                     ิ
Communication) พร้อมกับการวางแผนธุรกิจ แผนปฏิบัติการทาง
วิศวกรรม การตลาด และแผนการลงทุน เพื่อสร้างกระแสความ
ต้องการ (Demand Aggregation) ให้กับฐานลูกค้าผู้ใช้บริการที่มี
อยู่เดิม เพื่อเพิ่ม ARPU ให้สูงขึ้น พร้อม ๆ กับผลักดันให้เกิด
บริการรูปแบบใหม่ ๆ ไม่วาจะเป็นการรับส่งข้อมูลแบบ EMS
                          ่
(Enhanced Messaging Service) หรือ MMS (Multimedia
Messaging Service) รวมถึงบริการท่องโลกอินเทอร์เน็ตไร้สาย
ผ่านอุปกรณ์สื่อสารรุ่นใหม่ ๆ ซึ่งมีทงที่เป็นโทรศัพท์เคลื่อนทีทั่ว ๆ
                                       ั้                     ่
ไป อุปกรณ์ไร้สายประเภท PDA (Personal Digital Assistant)
และโทรศัพท์เคลื่อนที่อัจฉริยะ (Smart Phone)
เพื่อเป็นการใช้ประโยชน์ จากเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2G ที่
ได้มีการลงทุนไว้แล้วให้เกิดประโยชน์สูงสุด มาตรฐานเทคโนโลยี
การสื่อสารข้อมูลในรูปแบบใหม่ ๆ จึงถูกกำาหนดขึ้น ภายใต้แนวคิด
ในการพัฒนาเครือข่ายเดิม ไม่ว่าจะเป็นเทคโนโลยี HSCSD
(High Speed Circuit Switching Data), GPRS (General
Packet Radio Service) หรือ EDGE (Enhanced Data Rate for
GPRS Evolution) ของค่าย GSM และเทคโนโลยี
cdma20001xEV-DV หรือ cdma20001xEV-DO ของค่าย CDMA
ดังแสดงพัฒนาการในรูปที่ 1 เรียกมาตรฐานต่อยอดดังกล่าวโดย
รวมว่า เทคโนโลยียุค 2.5G/2.75G ซึ่งในช่วงเวลานี้เองที่ปรากฏ
มีมาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ PDC (Packet Digital Cellular)
เปิดให้บริการสื่อสารข้อมูลในลักษณะของเทคโนโลยี 2.5G ภาย
ใต้ชื่อเครื่องหมายการค้า i-mode ซึ่งประสบความสำาเร็จอย่างมาก
ในการเปิดศักราชของการให้บริการสื่อสารข้อมูล แบบมัลติมีเดีย
ไร้สายในประเทศญี่ปุ่น และได้กลายเป็นต้นแบบของการจัดทำา
ธุรกิจ Non-Voice ให้กับผู้ประกอบการโทรศัพท์เคลื่อนที่ทวโลก
                                                       ั่
ในเวลาต่อมา

การเติบโตของธุรกิจ Non-Voice

ตั้งแต่ พ.ศ. 2543 เป็นต้นมาอันเป็นยุคเริ่มต้นของเทคโนโลยี
2.5G ผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนทีทั่วโลกรวมทั้งใน
                                            ่
ประเทศไทย มีการผลักดันบริการสื่อสารข้อมูลรูปแบบใหม่ ๆ ใน
รูปแบบ Non-Voice เพื่อสร้างกระแสนิยมในกลุมผู้บริโภคมากขึ้น
                                              ่
ไม่วาจะเป็นการใช้ประโยชน์จากเครือข่าย 2.5G อย่างเต็มรูปแบบ
     ่
หรือเป็นการผลักดันให้เกิดการยอมรับในบริการที่มีอยู่แล้ว อัน
ได้แก่บริการ SMS ซึ่งในปัจจุบันจะเห็นว่าบริการเหล่านี้ได้กลาย
เป็นช่องทางสำาคัญที่เพิ่ม มูลค่าให้บริการ ARPU ของบรรดาผู้ให้
บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ รูปที่ 2 แสดงให้เห็นถึงการ
เติบโตของบริการประเภทต่าง ๆ บนเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ใน
ภาพรวมของทั้งทวีปเอเชียตั้งแต่ช่วงปี พ.ศ. 2544 จนถึง พ.ศ.
2553 ซึ่งในท้ายที่สุดบริการแบบ Non-Voice จะมีสัดส่วนที่เป็น
นัยสำาคัญต่อรายได้รวมทังหมด
                         ้
สำาหรับธุรกิจโทรศัพท์ เคลื่อนที่ในประเทศไทยเอง นับตั้งแต่การ
เปิดให้บริการประเภท Non-Voice อย่างจริงจังเมื่อต้นปี พ.ศ.
2545 เป็นต้นมา บรรดาผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ก็
สามารถสร้างรายได้เพื่อ เสริมทดแทนการลดทอนของค่า ARPU
ภายในเครือข่ายของตน โดยเฉพาะอย่างยิงเมื่อมีการเปิดตัว
                                            ่
บริการสื่อสารไร้สายมัลติมีเดียของ บริษท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวร์เลส
                                        ั
มัลติมีเดีย จำากัด (HUTCH) เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2546 เป็นต้นมา
สภาพการแข่งขันในธุรกิจสื่อสารไร้สายในประเทศไทยก็เริมมุ่ง่
ความสำาคัญในการ สร้างบริการ Non-Voice ใหม่ ๆ ไม่วาจะ ่
เป็นการเปิดให้บริการ MMS อย่างเป็นทางการ การคิดโปรโมชั่นก
ระตุ้นการท่องอินเทอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ หรือแม้กระทัง่
การทดลองเปิดให้บริการชมภาพยนตร์ผ่านทางโทรศัพท์เคลื่อนที่
(TV on Mobile) ซึ่งความพยายามของผูให้บริการเครือข่ายแต่ละ
                                          ้
ราย ทำาให้เกิดกระแสความสนใจใช้บริการ Non-Voice เพิ่มมาก
ขึ้น

รูปที่ 3 และ 4 แสดงถึงความสำาคัญของรายได้ที่เกิดขึ้นจากบริการ
Non-Voice นับตั้งแต่ช่วงต้นปี พ.ศ. 2546 เป็นต้นมา อันมีผล
ทำาให้บรรดาผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่สามารถเพิ่มค่า
ARPU ของตนให้มีแนวโน้มสูงขึ้น พร้อม ๆ กับการเพิ่มจำานวนผู้ใช้
บริการภายในเครือข่ายของตน ซึ่งแตกต่างจากสภาพการณ์ในช่วง
ก่อนหน้านี้ทรายได้เฉลี่ยของตนตกลงเรื่อย ๆ สวนทางกับการเพิ่ม
              ี่
จำานวนของกลุ่มผู้ใช้บริการ โดยเฉพาะเมื่อพิจารณาถึงกลุ่มผูใช้ ้
บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่พร้อมใช้ ซึ่งถือเป็นกลุ่มผู้ใช้บริการส่วน
ใหญ่ของประเทศ มีการเพิ่มค่า ARPU ขึ้นอย่างต่อเนื่อง แม้ส่วน
หนึ่งจะมาจากนโยบายการตลาดของผู้ให้บริการที่มีการจำากัดเวลา
ในการโทร ให้สัมพันธ์กับวงเงินก็ตาม แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้เช่นกันว่า
ความนิยมในบริการ Non-Voice ประเภท SMS และ EMS โดย
เฉพาะที่อยูในรูปแบบของบริการดาวน์โหลดรูปภาพ
            ่
(Logo/Animation) และเสียงเรียกเข้า (Ringtone) ในกลุ่มวัยรุ่น
และนักศึกษามีผลอย่างเป็นนัยสำาคัญต่อการเพิ่มค่า ARPU ดัง
กล่าว

ข้อจำากัดของเครือ ข่าย 2.5G และ 2.75G
มาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อน ที่ 2.5G หรือ 2.75G แม้จะสามารถ
รองรับการสื่อสารประเภท Non-Voice ได้ แต่ก็ไม่อาจสร้างบริการ
ประเภท Killer Application ทีผลิกผันรูปแบบการให้บริการได้
                               ่
อย่างชัดเจน ดังจะเห็นได้จากสถาการณ์การให้บริการโทรศัพท์
เคลื่อนที่ในประเทศไทย ทีแม้จะมีการเติบโตอย่างชัดเจนในตลาด
                           ่
ประเภท Non-Voice แต่เมื่อศึกษาอย่างละเอียดก็จะพบว่าบริการ
ที่ประสบความสำาเร็จเกือบทั้งหมด ล้วนเป็นบริการประเภท SMS
และ EMS ทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นการดาวน์โหลดรูปภาพหรือเสียง
เรียกเข้า รวมถึงการเล่นเกมส์ตอบปัญหาหรือส่งผลโหวตที่ปรากฏ
อยู่ตามสื่อชนิดต่าง ๆ ซึ่งบริการเหล่านี้ลวนเป็นบริการพื้นฐานใน
                                         ้
เครือข่าย 2G

ข้อจำากัดของเครือข่าย โทรศัพท์เคลื่อน 2.5G และ 2.75G เกิดขึ้น
มาจากความพยายามพัฒนาเครือข่าย 2G เดิม ไม่ว่าจะเป็น
มาตรฐาน GSM หรือ CDMA ให้เกิดประโยชน์สูงสุด คุ้มค่าการ
ลงทุน ทำาให้ผู้ให้บริการเครือข่ายไม่อาจบริหารจัดการทรัพยากร
เครือข่ายโทรศัพท์ เคลื่อนที่ได้อย่างคล่องตัว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ในกรณีของเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM ไม่ว่าจะเป็นย่าน
ความถี่ 900 เมกะเฮิตรซ์ , 1800 เมกะเฮิตรซ์ หรือ 1900 เมกะ
เฮิตรซ์ เนื่องจากอุปกรณ์ที่มีการติดตั้งใช้งานมาตั้งแต่การเปิดให้
บริการในยุค 2G ล้วนเป็นเทคโนโลยีเก่า มีการทำางานแบบ Time
Division Multiple Access (TDMA) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีเก่า ต้อง
จัดสรรวงจรให้กับผู้ใช้งานตายตัว ไม่สามารถนำาทรัพยากรเครือ
ข่ายมาใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เทคโนโลยีดังกล่าวเหมาะ
สำาหรับการสื่อสารข้อมูลแบบ Voice ซึ่งต้องการคุณภาพและความ
คมชัดในการสนทนา

แม้เมื่อมีการพัฒนา เทคโนโลยี GPRS และ EDGE ซึ่งถือเป็นการ
เสริมเทคโนโลยีสื่อสารข้อมูลแบบแพ็กเกตสวิตชิ่ง (Packet
Switching) ทีมีความยืดหยุ่นในการสื่อสารข้อมูลแบบ Non-Voice
                ่
ในลักษณะเดียวกับที่พบในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตก็ตาม แต่
เทคโนโลยีทง 2 ประเภทนี้ก็ถือว่าเป็นการ ต่อยอด บนเครือข่าย
             ั้
แบบเดิมที่มีการทำางานแบบ TDMA ทำาให้ผู้ให้บริการเครือข่าย
ต้องพะวงกับการจัดสรรทรัพยากรช่องสื่อสาร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
กับการจัดสรรวงจรสื่อสารผ่านคลื่นความถี่วทยุจากสถานีฐาน ไป
                                           ิ
ยังเครื่องลูกข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ทำาให้ไม่สามารถเปิดให้บริการ
แบบ Non-Voice ได้อย่างเต็มรูปแบบ เนื่องจากจะทำาให้เกิดผล
รบกวนต่อจำานวนวงจรสื่อสารแบบ Voice มากจนเกินไป

ด้วยเหตุดังกล่าว จึงพบว่าไม่มีผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์
เคลื่อนที่ 2.5G หรือ 2.75G รายใดในโลก สามารถเปิดให้บริการ
เทคโนโลยี GPRS ด้วยอัตราเร็วสูงสุด 171 กิโลบิตต่อวินาที หรือ
EDGE ด้วยอัตราเร็ว 384 กิโลบิตต่อวินาทีได้ เนื่องจากการทำาเช่น
นั้นจะทำาให้สถานีฐาน (Base Station) ทีทำาหน้าที่รบส่งสัญญาณ
                                          ่         ั
กับเครื่องลูกข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ไม่มีวงจรสื่อสารเหลือสำาหรับ
ให้บริการแบบ Voice อีกต่อไป ผลที่เกิดขึ้นในมุมมองของผู้ใช้
บริการก็คือความเชื่องช้าในการสื่อสารข้อมูล ผ่านเครือข่าย 2.5G
และ 2.75G ทำาให้หมดความสนใจที่จะใช้บริการต่อไป โดยใน
ขณะเดียวกันก็มีบริการสื่อสารอัตราเร็วสูงแบบบรอดแบนด์ผ่านคู่
สาย เช่น DSL (Digital Subscriber Line) เป็นทางเลือกสำาหรับ
ใช้บริการ ความสนใจที่จะใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่เพื่อรับส่ง
ข้อมูลจึงมีอยู่ เฉพาะการเล่นเกมส์และส่ง SMS, MMS ซึ่งทำาได้
ง่าย และมีการประชาสัมพันธ์ดึงดูดใจมากมาย

มาตรฐานโทรศัพท์ เคลื่อนที่ 3G

เพื่อเป็นการเพิ่มความ คล่องตัวในการเปิดให้บริการ Non-Voice
อย่างเต็มรูปแบบ พร้อมทั้งยังคงรักษาคุณภาพในการให้บริการ
Voice ด้วยระดับคุณภาพที่ทัดเทียมหรือดีกว่าในยุค 2G องค์กร
สากล 3GPP (Third Generation Program Partnership) และ
3GPP2 จึงได้กำาหนดมาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G ขึ้น โดยมี
มาตรฐานสำาคัญอยู่ 2 ประเภท คือ

มาตรฐาน UMTS (Universal Mobile Telecommunications
Services) เป็นมาตรฐานที่ออกแบบมาสำาหรับผู้ให้บริการเครือข่าย
โทรศัพท์เคลื่อนที่ได้นำา ไปพัฒนาจากยุค 2G/2.5G/2.75G ไปสู่
มาตรฐานยุค 3G อย่างเต็มตัว รับผิดชอบการพัฒนามาตรฐานโดย
องค์กร 3GPP มีเทคโนโลยีหลักที่ปัจจุบันมีการยอมรับใช้งานทั่ว
โลกคือมาตรฐาน Wideband Code Division Multiple Access
(W-CDMA) โดยในอนาคตจะมีการพัฒนาต่อเนื่องไปสู่มาตรฐาน
HSDPA (High Speed Downlink Packet Access) ซึ่งรองรับการ
สื่อสารด้วยอัตราเร็วสูงถึง 14 เมกะบิตต่อวินาที หรือเร็วกว่าการ
สื่อสารแบบ 2.75G ถึง 36 เท่า มาตรฐาน W-CDMA นี้เองที่
กิจการร่วมค้า ไทย - โมบาย กำาลังจะดำาเนินการพัฒนาเพื่อเปิดให้
บริการภายในต้นปี พ.ศ. 2548 นอกจากจะเป็นเส้นทางในการ
พัฒนาสู่มาตรฐาน 3G ของบรรดาผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์
เคลื่อนที่ GSM แล้ว มาตรฐาน W-CDMA ยังได้รบการยอมรับจาก
                                                 ั
ผู้ให้บริการรายใหญ่อย่างบริษท NTT DoCoMo ผู้เปิดให้บริการ
                              ั
โทรศัพท์เคลื่อนที่ I-mode ซึ่งใช้เทคโนโลยี PDC ให้เป็น
มาตรฐาน 3G สำาหรับใช้งานภายใต้เครื่องหมายการค่า “FOMA”
โดยได้เปิดให้บริการในประเทศญี่ปุ่นตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.
2544 เป็นต้นมา และปัจจุบัน W-CDMA ได้กลายเป็นเครือข่าย
3G ทีใหญ่ที่สุดในประเทศญี่ปุ่น มาตรฐาน cdma2000 เป็นการ
        ่
พัฒนาเครือข่าย CDMA ให้รองรับการสื่อสารในยุค 3G รับผิดชอบ
การพัฒนามาตรฐานโดยองค์กร 3GPP2 มีเทคโนโลยีหลักคือ
cdma2000-3xRTT ที่มีศักยภาพเทียบเท่ากับมาตรฐาน W-
CDMA ของค่ายยุโรป แต่ปัจจุบันยังไม่มีกำาหนดความพร้อม
สำาหรับให้บริการเชิงพาณิชย์ที่ชัดเจน สำาหรับในประเทศไทย
บริษท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวร์เลส มัลติมีเดีย จำากัด เปิดให้บริการ
      ั
เฉพาะเครือข่าย cdma20001xEV-DO ซึ่งยังมีขีดความสามารถ
เทียบเท่าเครือข่าย 2.75G เท่านั้น

มาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อน ที่ W-CDMA ได้รบการออกแบบมาเพื่อ
                                         ั
ให้รองรับการสื่อสารแบบมัลติมีเดียสมบูรณ์แบบ โดยเปลี่ยนแปลง
รูปแบบการสื่อสารชนิด TDMA ที่ปรากฏอยู่ในเครือข่ายโทรศัพท์
เคลื่อนที่ยุค 2G/2.5G/2.75G ไปเป็นการสื่อสารแบบแพ็กเกตส
วิทชิ่งเต็มรูปแบบ สามารถรองรับทังการสื่อสารทั้ง Voice และ
                                 ้
Non-Voice โดยมีมาตรฐานการรองรับและควบคุมคุณภาพของ
ข้อมูลที่สมบูรณ์แบบ อันเป็นผลต่อเนื่องมาจากความก้าวหน้าของ
เทคโนโลยีการเข้ารหัสข้อมูล (Information Coding) จึงทำาให้ผู้
ให้บริการเครือข่าย 3G ก้าวพ้นจากข้อจำากัดในการบริหารจัดการ
ข้อมูลประเภท Voice และ Non-Voice ดังที่ปรากฏอยู่ในมาตรฐาน
2G/2.5G/2.75G ได้อย่างเด็ดขาด
อย่างไรก็ตามเพื่อให้ เครือข่าย W-CDMA สามารถรองรับการ
สื่อสารข้อมูลได้อย่างเต็มรูปแบบ และให้เกิดความคล่องตัวในการ
จัดสรรทรัพยากรความถีวิทยุ จึงจำาเป็นต้องมีการกำาหนดย่าน
                        ่
ความถี่สำาหรับใช้เปิดให้บริการ โดยเป็นไปตามแผนผังการจัดวาง
ความถี่สากลทั่วโลกดังแสดงในรูปที่ 5 ด้วยเหตุดังกล่าวจึงทำาให้
กิจการร่วมค้าไทย - โมบาย เป็นเพียงผูให้บริการโทรศัพท์
                                       ้
เคลื่อนที่รายเดียวในประเทศไทยที่สามารถเปิด ให้บริการเครือ
ข่าย 3G แบบ W-CDMA ได้ในทันที เนื่องจากมีสิทธิ์ใช้คลื่น
ความถี่วทยุในย่าน 1965 – 1980 เมกะเฮิตรซ์ และ 2155 – 2170
         ิ
เมกะเฮิตรซ์ ขณะที่ผให้บริการเครือข่ายรายอื่น ๆ จำาเป็นต้องยื่น
                     ู้
คำาร้องผ่านกระบวนการจัดสรรคลื่นความถีวิทยุโดยคณะกรรมการ
                                         ่
กิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์แห่งชาติ (กสช.) ซึ่งคาด
ว่าจะต้องใช้เวลาอีกหลายปีเพื่อได้สิทธิ์ในการเปิดให้บริการ W-
CDMA เป็นรายต่อไป

จุดเด่นของ มาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G แบบ W-CDMA

นอกจากมาตรฐานโทรศัพท์ เคลื่อนที่ 3G จะมีการพัฒนา
เทคโนโลยีสถานีฐาน (Base Station Subsystem) จากยุค 2G
ซึ่งใช้เทคโนโลยี TDMA เป็นการรับส่งข้อมูลในรูปแบบแพ็กเกต
เพื่อความคล่องตัวในการจัดสรรทรัพยากร ความถี่สำาหรับให้
บริการทังแบบ Voice และ Non-Voice อย่างเกิดประโยชน์สูงสุด
         ้
อันจะช่วยสร้างความรู้สึกให้กับผู้ใช้บริการ (End User
Perception) ถึงความรวดเร็วในการสื่อสารข้อมูล และยังคงรักษา
คุณภาพของการสนทนาที่เหนือกว่ามาตรฐาน 2G/2.5G/2.75G
แล้ว มาตรฐาน W-CDMA ยังมีความคล่องตัวในการเชื่อมต่อเข้า
กับเครือข่ายข้อมูลที่อยู่ในโลกอิน เทอร์เน็ต เนื่องจากมาตรฐาน
การเชื่อมต่อต่าง ๆ สอดรับกับมาตรฐานของอุตสาหกรรม
อินเทอร์เน็ตทุกประการ ก่อให้เกิดการเปิดกว้างในรูปแบบของ
ความร่วมมือกับพันธมิตรจำานวนมาก มีความคล่องตัวในการบันทึก
จัดเก็บ และบริหารจัดการข้อมูลประเภทสื่อข้อมูล (Content) ต่าง
ๆ

เมื่อทำาการเปรียบเทียบ เฉพาะด้านของอัตราเร็วในการสื่อสาร
ข้อมูลดังแสดงใน รูปที่ 6 จะเห็นว่ามาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่
3G นอกจากจะรองรับการสื่อสารข้อมูลที่รวดเร็วกว่ามาตรฐาน 2G/
2.5G/2.75G แล้ว ยังก่อให้เกิดการถือกำาเนิดของบริการรูปแบบ
ใหม่ ๆ ทีไม่สามารถสร้างขึ้นบนเครือข่ายยุคในตระกูล
          ่
2G/2.5G/2.75G ได้ ที่เห็นได้ชัดเจนก็คือบริการ Video
Telephony และ Video Conference ซึ่งเป็นการสื่อสารแบบเห็น
หน้ากัน โดยเครือข่าย 3G จะทำาการถ่ายทอดสดทั้งภาพและเสียง
ระหว่างคู่สนทนา โดยไม่เกิดความหน่วงหรือล่าช้าของข้อมูล
บริการในลักษณะนี้จะกลายเป็น จุดขาย สำาคัญประการหนึ่งของ
มาตรฐานการสื่อสารแบบ 3G ทังนี้เครื่องลูกข่ายโทรศัพท์
                               ้
เคลื่อนที่ 3G ที่มจำาหน่ายในปัจจุบัน ล้วนรองรับบริการ Video
                  ี
Telephony แล้วทังสิ้น จึงสามารถเปิดให้บริการดังกล่าวได้ใน
                    ้
ทันที

ข้อมูลจาก UMTS Forum ในรูปที่ 7 แสดงให้เห็นถึงการเติบโต
ของจำานวนผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G แบบ W-CDMA
เปรียบเทียบกับมาตรฐาน GSM โดยพิจารณาอัตราการเติบโต
ภายในช่วง 10 ไตรมาสแรก (2 ปีครึ่ง) หลังจากการเปิดให้บริการ
GSM ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2535 เทียบกับ 10 ไตรมาสแรกหลัง
จากการเปิดให้บริการ W-CDMA ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2544 พบ
ว่าเครือข่าย 3G แบบ W-CDMA มีอัตราการเติบโตที่สูงกว่ามาก
มูลเหตุสำาคัญมาจากแรงผลักดัน (Business Momentum) ทีผู้ใช้   ่
บริการ 2.5G หรือ 2.75G รอคอยเครือข่ายสื่อสารไร้สายที่สามารถ
ตอบสนองความต้องการในการสื่อสารข้อมูล ด้วยอัตราเร็วสูงอย่าง
แท้จริง อีกทั้งผูให้บริการเครือข่ายยังมีความคล่องตัวในการจัดสรร
                 ้
เครือข่ายในด้าน ต่าง ๆ เพื่อสร้างบริการสื่อสารประเภท Non-
Voice ที่ต้องพึ่งพาอัตราเร็วในการสื่อสารข้อมูลที่สูงขึ้น นอกเหนือ
จากบริการ Non-Voice พื้นฐานอย่าง SMS และ EMS

กล่าวโดยสรุป ปัจจัยสำาคัญที่ส่งผลให้มาตรฐานเครือข่าย
โทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G แบบ W-CDMA มีแนวโน้มของการประสบ
ความสำาเร็จทางธุรกิจที่รวดเร็วกว่ามาตรฐาน 2G จนถึง 2.75G นั้น
สืบเนื่องมาจากการปฏิวัติรูปแบบของเทคโนโลยีเครือข่าย เพื่อ
ตอบสนองรูปแบบการสร้างความร่วมมือทางธุรกิจให้ผลักดัน
บริการ Non-Voice อย่างเต็มรูปแบบ ทังนี้ UMTS Forum ได้
                                     ้
กล่าวถึงจุดเด่นของมาตรฐาน W-CDMA ซึ่งจะนำาความสำาเร็จใน
การดำาเนินธุรกิจให้กับผู้ประกอบการดังนี้ (เอกสาร Why the
world has chosen W-CDMA : 24 September 2003)

1. เครือข่าย W-CDMA รับประกันคุณภาพในการรองรับข้อมูลแบบ
Voice และ Non-Voice ในแง่ของผู้ใช้บริการจะรับรู้ได้วาคุณภาพ
                                                       ่
เสียงจากการใช้งานเครือข่าย 3G ชัดเจนกว่าหรืออย่างน้อยเทียบ
เท่าการสนทนาผ่านเครือข่าย 2G ส่วนการรับส่งข้อมูลแบบ Non-
Voice จะรับรู้ถงอัตราเร็วในการสื่อสารที่สูงกว่าการใช้งานผ่าน
               ึ
เครือข่าย 2.5G และ 2.75G มาก อันเป็นผลมาจากการปรับเปลียน     ่
เทคโนโลยีเครือข่าย และใช้ยานความถี่ที่สูงขึ้น
                             ่

2. W-CDMA เป็นมาตรฐานเปิด (Open Standard) ซึ่งได้รับการ
พัฒนาโดยกลุ่ม 3GPP ซึ่งเป็นกลุ่มเดียวกับผู้พัฒนามาตรฐาน
GSM ทำาให้ผให้บริการ 3G สามารถเชื่อมต่อเครือข่าย 3G เข้าหา
               ู้
กันได้ถึงขั้นอนุญาตให้มีการใช้งานข้ามเครือข่าย (Roaming) เช่น
เดียวกับที่เป็นอยู่ในเครือข่ายยุค 2G นอกจากนั้นยังสามารถเชื่อม
ต่อเพื่อการใช้งานข้ามเครือข่ายกับมาตรฐาน 2G/2.5G/2.75G ได้
ในทันที โดยผูใช้บริการเพียงมีอุปกรณ์สื่อสารแบบ Dual Mode
                  ้
เท่านั้น ทำาให้เกิดลู่ทางในการสร้างเครือข่าย W-CDMA เพื่อเปิด
ให้ผู้ประกอบการเครือข่ายรายอื่นได้ร่วมเข้าใช้บริการ ในลักษณะ
ของ Mobile Virtual Network Operator (MVNO) เป็นรายได้ที่
สำาคัญนอกเหนือจากการให้บริการ 3G กับผู้ใช้บริการที่จดทะเบียน
ภายในเครือข่าย

3. มาตรฐาน W-CDMA เป็นมาตรฐานโลก ที่จะเข้ามาแทนที่เครือ
ข่ายในตระกูล GSM เช่นเดียวกับเหตุการณ์ที่เครือข่าย GSM เข้า
มาแทนที่เครือข่าย 1G เมื่อกว่า 10 ปีทแล้ว จึงเป็นการรับประกัน
                                       ี่
ถึงพัฒนาการที่มีอย่างต่อเนื่องในด้านต่าง ๆ การเร่งเปิดให้บริการ
3G จึงเปรียบได้กับการเร่งเข้าสู่ตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2G ของ
ผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ยักษ์ใหญ่ในปัจจุบันที่เกิด
ขึ้น ในอดีต

4. พิจารณาเฉพาะการให้บริการแบบ Voice จะเห็นว่าการลงทุน
สร้างเครือข่าย W-CDMA มีต้นทุนที่ตำ่ากว่าการสร้างเครือข่าย
GSM ถึงกว่า 30 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากมาตรฐาน W-CDMA มี
ความยืดหยุ่นและคล่องตัวให้ผู้ประกอบสามารถปรับเปลี่ยน
ทรัพยากรความถี่ เพื่อรองรับ Voice และ Non-Voice ได้อย่าง
ผสมผสาน ต่างจากการกำาหนดทรัพยากรตายตัวในกรณีของ
เทคโนโลยี GSM

5. W-CDMA เป็นมาตรฐานสื่อสารไร้สายชนิดเดียวที่มีรปแบบการ
                                                    ู
ทำางานแบบแถบความถี่กว้าง (Wideband) อันนำามาซึ่ง
ประสิทธิภาพในการสร้างพื้นที่ให้บริการที่กว้างใหญ่ ไปพร้อม ๆ
กับความสะดวกในการเพิ่มขยายขีดความสามารถในการรองรับ
ข้อมูลข่าวสาร ต่างจากเครือข่าย 2G โดยทัวไปที่ปัจจุบันเริม
                                         ่              ่
ประสบกับปัญหาการจัดสรรความถีที่ไม่เพียงพอต่อ การขยาย
                                ่
เครือข่าย เนื่องจากเป็นระบบแบบแถบความถี่แคบ (Narrow
Band)

6. กลไกการทำางานภายในเครือข่าย W-CDMA เป็นไปตาม
มาตรฐานสากล โดยเฉพาะมาตรฐาน IETF (Internet
Engineering Task Force) ทำาให้ผู้ประกอบการสามารถเปิด
โอกาสให้พันธมิตรทางธุรกิจซึ่งมีความเชี่ยวชาญ ในการพัฒนา
โปรแกรมหรือบริการพิเศษต่าง ๆ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ได้
ทำาการพัฒนาสร้างบริการผ่านอุปกรณ์สื่อสารไร้สาย โดยใช้ทักษะ
ความสามารถและความชำานาญที่มีอยู่ เป็นการกระตุ้นให้เกิด
บริการประเภท Non-Voice ได้สารพัดรูปแบบ

7. มีแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถในรองรับการสื่อสาร
ข้อมูลทีมีอัตราเร็วสูง ขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาสู่มาตรฐาน
        ่
HSDPA ทีรองรับการสื่อสารข้อมูลด้วยอัตราเร็วที่สูงมากถึง 14
           ่
เมกะบิตต่อวินาที ในขณะที่มาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM ไม่
สามารถพัฒนาให้รองรับการสื่อสารข้อมูลได้มากกว่าเทคโนโลยี
EDGE ในปัจจุบัน ซึ่งรองรับข้อมูลได้ด้วยอัตราเร็ว 384 กิโลบิตต่อ
วินาที และในความเป็นจริงก็ไม่สามารถเปิดให้บริการด้วยอัตราเร็ว
ถึงระดับดังกล่าว ได้ เนื่องจากจะทำาให้สถานีไม่สามารถรองรับ
บริการ Voice ได้อีกต่อไป
8. ในอนาคตมาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G มีทิศทางการพัฒนา
ที่ชัดเจนในการรวมตัวกับมาตรฐานสื่อสารไร้สายชนิดอื่น ๆ ไม่วา
                                                          ่
จะเป็นมาตรฐาน Wireless LAN (IEEE802.11b/g) หรือ WiMAX
(IEEE802.16d/e/e+) ทำาให้ผู้ใช้บริการเครือข่ายไร้สายสามารถ
เคลื่อนย้ายไปใช้งานในเครือข่ายใด ๆ ก็ได้ตามความเหมาะสม
ทางภูมิประเทศ โดยยังคงได้รับการดูแลโดยผูให้บริการเครือข่าย
                                          ้
3G

ความสำาคัญต่าง ๆ เหล่านี้เองที่เป็นแรงผลักดันให้ผู้ประกอบการ
โทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM จำานวนมากทั่วโลก รวมนักลงทุนหน้า
ใหม่ ให้ความสำาคัญสำาหรับการแสวงหาสิทธิ์ในการเปิดให้บริการ
เครือข่าย 3G และมีแผนกำาหนดเปิดให้บริการเทคโนโลยี W-
CDMA ดังมีข้อมูลแสดงในรูปที่ 8 โดยเฉพาะยักษ์ใหญ่ผู้ให้บริการ
โทรศัพท์เคลื่อนที่อันดับต้น ๆ ของโลก 8 รายได้ตัดสินใจเลือก
มาตรฐาน W-CDMA เป็นเทคโนโลยี 3G ดังแสดงในรูปที่ 9

ในท้ายที่สุด ความสมบูรณ์แบบในการรองรับธุรกิจ Non-Voice
ของมาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G แบบ W-CDMA จะช่วยผลัก
ดันให้เกิดห่วงโซ่ธุรกิจที่สมบูรณ์แบบ ดังแสดงในรูปที่ 10 แม้จะมี
ความพยายามในกลุ่มผูประกอบการธุรกิจโทรคมนาคมภายใน
                        ้
ประเทศที่จะผลัก ดันให้เกิดการประสานผลประโยชน์อย่างลงตัว
ระหว่างผู้ให้บริการเครือข่าย โทรศัพท์เคลื่อนที่ 2G/2.5G/2.75G
กับผู้ประกอบการสื่อข้อมูลต่าง ๆ มาก่อนหน้านี้ แต่เนื่องจากข้อ
จำากัดของเครือข่ายในตระกูล GSM และ CDMA เองที่ไม่มีความ
ยืดหยุ่นเพียงพอที่จะสร้างความประทับใจต่อผู้ใช้บริการ จึงทำาให้
เกิดการขาดช่วงของความสมดุลในการผสานผลประโยชน์ เมื่อ
พิจารณาจากความสำาเร็จของเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ FOMA
ของบริษท NTT DoCoMo ซึ่งเป็นผู้ให้บริการรายแรกที่เปิดให้
           ั
บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G แบบ W-CDMA และประสบความ
สำาเร็จในการดึงศักยภาพของเครือข่าย W-CDMA ให้เกื้อหนุนต่อ
ความลงตัวสำาหรับการร่วมมือในธุรกิจ Non-Voice ในประเทศ
ญี่ปุ่นอย่างงดงาม ต่อเนื่องด้วยความคืบหน้าในการสานต่อ
โครงสร้างธุรกิจ Non-Voice ในประเทศจีนและอีกหลาย ๆ
ประเทศ จึงสรุปได้วามาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G แบบ W-
                    ่
CDMA จะเป็นการเปิดประตูสู่ธุรกิจ Non-Voice ในประเทศไทยใน
อนาคตอันใกล้



2.2 ข้อมูลเกี่ยวกับสื่อสังคม Social Media
     2.2.1 ความหมายของ Social Media
          Social = สังคม Network = เครือข่าย Media =
สื่อ

      สื่อ ที่เป็น เครือข่าย ใน สังคม เหมือน เวลาที่เราจะกินข้าว
จะใช้มือจกกินเลยก็ได้นะ ไม่ต้องพึ่งใคร แต่เมื่อไหร่ที่ใช้ช้อนตัก
ข้าวเข้าปาก นันหมายความว่า “ช้อน ทำาให้คุณกินข้าวได้
                 ่
สะดวกขึ้น” ใช่หรือไม่ เช่นเดียวกันกับ Social Network เค้าก็
อยู่ของเค้าดีๆ ก็สื่อสารกันได้ไม่มีปัญหา แต่เมื่อมี Media เข้ามา
Network จึงไม่มีความหมายอีกต่อไป เหลือแค่
Social+Media ก็สามารถเข้ามา การสื่อสารแบบเครือข่ายก็
สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น จึงเป็นที่นิยมของผูที่เห็นช่องทางทำาการ
                                            ้
ตลาด จนเกิดเป็น Social Media Marketing

        ซึ่งการ ใช้สื่อประเภทนี้ ควรมีคำาเตือนติดข้างผนังก่อนลงมือ
ทำาทุกครั้ง เพราะเมื่อไหร่ที่เราใช้สื่อผิดประเภท หรือผิดช่องทาง
สิ่งที่คิดว่าจะได้ผลตอบรับ อาจกลายเป็น “ผลตอกกลับ” มาจาก
ผู้บริโภคก็เป็นได้ เพราะการทำา Social Media Marketing เป็น
เสมือนการยืนหน้าไปหาคนทีไม่รู้จัก ในเวลาที่เค้ากำาลังเมาท์กัน
                                ่
มันส์ สนั่นชุมชนโคกอีแร้ง หรือที่เรียกว่า “Community” ใครที่
ยืนหน้าเข้าไปในเวลาที่กำาลังเกิดดราม่าอย่างละคร เมียแต่ง ถ้าไม่
สวยกว่า เรยา ก็อย่าได้ยืนหน้าเข้าไปเวลานั้นเลยค่ะ เพราะ
นอกจากจะไม่มใครสนใจแล้ว เค้าอาจจะเข้าใจผิดว่าคุณจะมาขอ
                  ี
แบ่งสามีเค้าก็ได้นะคะ การสสื่อสารบ น Social Media จึง
จำาเป็นต้องมีวิธีที่น่าสนใจ ในเวลาที่เหมาะสม และตรงกลุ่ม
เป้าหมาย

     เพราะฉะนั้น Social Media Marketing ไม่ใช่แค่การ
สร้างตัวตนให้รู้ว่ามี แต่มันคือ การสร้างตัวตนให้มีคนรู้จัก กล้า
เข้าใกล้และให้ความสนิท สนมอย่างสนิทใจ ไม่ใช่การสร้างตัว
ตนที่มีคนเห็น แต่ไม่มีใครจับต้องได้ เพราะมันจะไม่ต่างกับ “ผี”
ที่ไม่มีตัวตน



   2.2.2 ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของ Social
Media

          3G,Social Media และความเป็นไทย

ส่วนสรุปบทความ

ปัจจุบันคนไทยมีโอกาสเข้าถึง Internet ความเร็วสูงหรือ
Broadband ได้ โดยมีการขยายตัวเพิ่มถึง 40 เท่าใน
ระยะเวลาอันสั้น คงไม่ต้องสงสัยเลยว่าในอนาคตต่อจากนี้
Broadband จะกลายเป็นสิ่งสำาคัญในชีวิตของคนไทยอย่าง
หลีกเลี่ยงไม่ได้ สถิติการใช้งาน Internet นั้นมีการเติบโตอย่าง
รวดเร็วมาก โดยตลาดมีการขยายตัวสูงถึง 40 เท่า
โดยประมาณ การสู้รบระหว่าง Digital กับ Traditional จะต้องมา
จบด้วยความพ่ายแพ้ของวื่อยุคเก่า ประเทศไทยจะก้าว
ต่อไปในโลก Digital อย่างที่เพื่อนบ้านได้เริ่มมากกว่าทศวรรษ
แล้ว

นโยบายของรัฐบาลไทยในปัจจุบัน ในหัวข้อที่ว่า “Creative
Economy” นั้น คนไทยจะมีโอกาสสร้างฝันให้เป็น
จริงได้หรือไม่นั้น อยู่ที่การประยุกต์และผสมผสานเทคโนโลยีเข้า
กับจุดเด่นของประเทศเพื่อให้เกิด คุณค่าทางเศรษฐกิจ
สูงสุด ดังนั้นถือว่าเทคโนโลยีก็เป็นปัจจัยที่สำาคัญมากสำาหรับ
นโยบายการพัฒนาประเทศ

เทคโนโลยีในการเข้าถึงได้มีการพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้ง การ
แข่งขันเปิดอย่างเสรี ทำาให้มีเวทีในการแข่งขันระหว่างบริษัทชั้น
นำา เช่น Apple และ Google ได้นำามาสู่ Disruptive Technology
เช่น iphone4,IPAD,Android ที่มีการนำามาใช้งาน Broadband
ด้วยอุปกรณ์มือถือขนาดเล็กผ่านโครงข่าย 3G มีประสิทธิภาพ
อย่างไม่เคยเป็นมาก่อน ภายใต้ราคาที่เข้าถึงได้ และกำาลังมียอด
ขายในประเทศอย่างถล่มทลาย จึงเป็น Corvergance
ของ Technology ทีระบบโครงข่าย 3G ซึ่งกำาลังจะมีขึ้นทั่ว
                    ่
ประเทศประจวบกับเทคโนโลยีในการเข้าถึง กำาลังร่วมสร้าง
ปรากฏการณ์ของ Broadband ทีจะเป็น Disruptive Change
                               ่
แบบต้องตะลึงกัน อย่างไรก็ดี Broadband เป็นดาบสองคม ถึงจะ
มีประโยชน์ในด้านการสื่อสาร ธุรกิจ การศึกษา ฯลฯ จนกระทั่งเพิ่ม
GDP ให้กับพื้นที่ครอบคลุมได้ แต่อย่าลืมว่า Broadband ก็เป็น
เครื่องมือเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ความคิด วัฒนธรรม ในรูปแบบ
ของข้อความ ภาพ เสียง และวีดิโอ ที่สามารถนำาไปสู่การสร้าง
สังคมออนไลน์ หรือ Social Media เช่น Facebook, YouTube
และ Twitter ทีไม่สามารถทำาได้ด้วยสื่อชนิดอื่น
               ่

นอกจากนี้ในปัจจุบนเรากำาลังเรากำาลังเข้าสู่นวัตกรรมของ โลก
                  ั
จำาลอง หรือ Virtual World ทีอาจมาในรูปแบบของ Second Life
                            ่
หรือเกมออนไลน์ ทั้งหมดนี้ มีอิทธิพลต่อ ความคิด วัฒนธรรม ซึ่ง
มีความสำาคัญกับการหล่อหลอมแนวคิดความเป็นไทยอยากหลีก
เลี่ยงไม่ได้

สิ่งหนึ่งที่นาสังเกตอีกประการคือ Social media ทีคนไทยใช้เวลา
             ่                                    ่
ด้วยมากที่สุดล้วนเป็นของต่างชาติ แต่ในสายตาบริษัทที่ควบคุม
โดยต่างชาติแล้ว ตลาดในประเทศไทยไม่ใช่ตลาดใหญ่หรือตลาด
ที่สำาคัญ ยังไม่มีบริษท,ศูนย์บริการ หรือกระทั่งพนักงานที่รบผิด
                      ั                                   ั
ชอบประเทศไทยเลย ทั้งนี้ social media ที่ปราศจากความเป็น
ไทยกำาลังมี
อิทธิพลมากในสังคม จำานวนชั่วโมงการใช้social media ต่อวันมี
การขยายตัวอย่างต่อเนื่อง และอาจเป็นไปได้ที่คุณค่าทาง
วัฒนธรรมของคนไทยจะถูกลบเลือนโดยอิทธิพลของต่าง ชาติ
ผ่าน Broadband ด้วยเหตุผลทีว่า สื่อยุคเก่ามีข้อบังคับการนำา
                                ่
เสนอข่าวที่ต้องเป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้และ ความเป็นไทย แต่
สื่อทางอินเตอร์เน็ตนั้นผู้ใช้สามารถเลือกเข้าชมข้อมูลได้อย่าง
อิสระ ปราศจากข้อจำากัดที่เข้มงวด
ส่วนวิเคราะห์บทความ

การติดต่อสื่อสารกันในปัจจุบนนี้นั้น “social media” คงเป็นอีกคำา
                           ั
ที่หลายๆคนคุ้นหูกันในฐานะของสื่อที่เข้ามามีบทบาทอย่างมากใน
ประเทศไทยรวมถึงทั่วโลกด้วย ไม่วาจะในรูปแบบของการติดต่อ
                                    ่
สื่อสารของบุคคล,ติดต่อประสานงานในองค์กรหรือ แม้กระทังการ  ่
เข้ามาทำาธุรกิจผ่านช่องทางดังกล่าว บทบาทของ Social Media
ในประเทศไทยนั้นส่งผลกระทบต่อการดำาเนินธุรกิจขององค์กร
ต่างๆด้วย จะเห็นได้จากการที่องค์กรต่างๆต้องมีการปรับกลยุทธ์
และการดำาเนินธุรกิจโดยมี การดึง social media เข้าไปใช้องค์กร
เพื่อให้สอดคล้องกับความเปลียนแปลงของเทคโนโลยีของสังคม
                             ่
ไทย ในยุคปัจจุบัน

ข้อดีของการ Social Media,3 ในประเทศไทย

1.เป็นการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้ก้าวเข้าสู่อีกขั้นของ
เทคโนโลยีในด้าน การติดต่อสื่อสาร จะเห็นได้ว่าในอดีตนั้นสื่อ
หลักทีใช้กันในประเทศจะเป็นสื่อจำาพวก โทรทัศน์,วิทยุ,สื่อสิ่ง
          ่
พิมพ์ ซึงเป็นจากการติดต่อสื่อสารแบบทางเดียว ไม่มีการตอบ
            ่
กลับของผู้รบสื่อ เป็นการป้อนข้อมูลผ่านสื่อให้กับผู้บริโภค แต่เมื่อ
              ั
มีการนำา Social Media เข้ามาใช้นั้น เป็นสื่อที่อิสระในด้านของ
การให้ข้อมูลและมีการตอบกลับในส่วนของความคิดเห็น ผ่านสื่อ
(เป็นการสื่อสารแบบ Two-way-communication) ซึ่งจะมี
ลักษณะเด่นในเรื่องของการมีส่วนร่วมเป็นอย่างมาก ผู้เสพสื่อหรือ
ผู้รับสื่อก็สามารถเป็นผู้ส่งสารได้ในเวลาเดียวกัน

2.มีการผุดขึ้นของธุรกิจขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่เป็นจำานวนมาก
ผ่านการใช้ สื่อ social media ไม่ว่าจะเป็น hi5,facebook,twitter
ก็จะมีผู้เข้ามาดำาเนินธุรกิจในรูปแบบนี้ กลายเป็นอีกช่องทางหนึ่ง
ในการทำาธุรกิจที่มีความสะดวกสบายและง่ายต่อการ ดำาเนินงาน
นอกจากนี้ยังประหยัดต้นทุนและค่าใช้จ่ายจำานวนมาก,บริหาร
จัดการง่ายในส่วนของ สินค้า จะเห็นได้วามีธุรกิจจำานวนไม่น้อยที่
                                         ่
ประสบความสำาเร็จจากการทำาธุรกิจผ่านสื่อ ทางอินเตอร์เน็ต เช่น
ร้านหนังสือ Amazon ,weloveshopping รวมถึงร้านขนาดเล็กๆ
อีกมากมาย
3.เป็นประโยชน์ในเรื่องของการสร้างเครือข่ายต่างๆ ไม่ผ่านจะเป็น
ในด้านของธุรกิจ,การเมือง หรือแม้กระทั่งความชอบหรืองาน
อดิเรกต่างๆ จะเห็นได้จากแฟนเพจในด้านต่างๆที่มจำานวนมากใน
                                                      ี
สื่ออินเตอร์เน็ต ปัจจุบันนี้ร้านค้าหรือองค์กรธุรกิจต่างๆก็ใช้การ
สร้างเครือข่ายเป็นอีกช่อง ทางในการให้ข้อมูลต่างๆของบริษท       ั
ไม่วาจะเป็นรายละเอียดในส่วนของสินค้า,โปรโมชั่นต่างๆ หรือแม้
     ่
กระทั่งการรับฟังข้อมูลความคิดเห็นของลูกค้าผ่านทางสื่อนี้
เนื่องจากมีความสะดวกและสามารถเข้าถึงลูกค้าได้เป็นจำานวน
มาก

4.เครือข่าย 3G ถูกพัฒนาเพื่อตอบสนองการใช้งานด้านข้อมูลเป็น
หลัก เช่น การรับ-ส่งไฟล์เพลง, วีดีโอ, รูปภาพ, การดาวน์โหลด
คอนเท้นต์, การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต, การใช้บริการเสริม เป็นต้น
สามารถส่งเพลง MP3 หรือไฟล์วีดีโอ ได้ในเวลาที่รวดเร็ว ในขณะ
ที่เครือข่าย GPRS / EDGE ทีใช้กันอยู่ในปัจจุบันจะใช้เวลานา
                            ่
นมากๆ ดังนั้นเป็นประโยชน์อย่างมากสำาหรับบุคคลหรือองค์กรที่
เน้นการใช้งานอินเตอร์ เน็ตหรือใช้งานด้านข้อมูลเป็นหลัก ซึ่งจะ
เป็นการช่วยลดเวลาในการดำาเนินงานรวมถึงเพิ่มประสิทธิภาพใน
ด้านการ ดำาเนินงานและการจัดเก็บข้อมูลได้เป็นอย่างดี

ข้อเสียของการ Social Media,3 ในประเทศไทย
1.การเข้ามาของสื่อในประเทศไทยนั้นรุนแรงและน่ากลัวของ
อาชญากรรมผ่านสื่อทาง นีมีมาก เนื่องจากว่าการให้ข้อมูลผ่านสื่อ
                             ้
ไม่มีเงื่อนไขหรือข้อจำากัดที่เข้มงวด ทำาให้เกิดการก่ออาชญากรรม
ผ่านการให้ข้อมูล เช่น การล้วงความลับข้อมูลต่างๆ รวมถึงการให้
ข้อมูลเท็จเพื่อหลอกลวงผู้เสพสื่อ ตัวอย่างเช่น ธุรกิจสถาบันการ
เงินมีการใช้สื่อทาง Social media เพื่อให้เกิดความสะดวกแก่
ลูกค้าในด้านการทำาธุรกรรมต่างๆทางการเงิน โดยเพียงแค่ใส่
ข้อมูลส่วนตัวเข้าไป ลูกค้าก็สามารถทีจะทำาธุรกรรมทางการเงินได้
โดยไม่ต้องเดินทางไปยังธนาคารเอง กลับก่อให้เกิดการขโมย
ข้อมูลเมื่อมีกลุ่มที่สร้างเวปไซด์ลวงขึ้นมาเพื่อให้ คนใช้บริการเกิด
ความเข้าใจผิด และเมื่อใส่ข้อมูลส่วนตัวหรือรหัสต่างๆเข้าไปใน
ระบบ ทำาให้กลุ่มผู้ไม่หวังดีดังกล่าวสามารถเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้
บริการได้
2.การใช้งานด้าน Social media ในประเทศไทยนัน ยังเป็นแค่
                                                 ้
กลุ่มใช้งาน แต่ไม่มีความสามารถในการแข่งขันได้ ถึงแม้ว่า
จำานวนผู้ใช้งานในประเทศไทยนั้นมีเป็นจำานวนมาก แต่เราไม่
สามารถปฏิเสธได้ว่าการเข้าใช้งานสื่อทางนี้มีคนจำานวนไม่น้อยที่
เข้าใช้งานเนื่องจากเพื่อให้ตามเทรนด์ของสังคมในยุคปัจจุบันหรือ
เพื่อเกาะ กระแสสังคม แต่ยังขาดการพัฒนาในด้านความรู้เพื่อ
สร้างสื่อบริการท้องถิ่นภายในประเทศ เพื่อแข่งขันกับสื่อ social
media ของต่างประเทศ และเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆนั้น จะเห็น
ได้ว่าประเทศอื่นๆมี Social network ท้องถิ่นที่มีประสิทธิภาพสูง
ไม่วาจะเป็น QQ ของประเทศจีน,Cyworld ของประเทศเกาหลี,M
     ่
ixi ของประเทศญี่ปุ่น ก็ลวนแล้วแต่เป็นอันดับหนึ่งในประเทศของ
                         ้
ตน แม้กระทั่งในประเทศอินเดียและอินโดนีเซียก็ยังมี Mobile
Social Network ชื่อ Mig33 ซึ่งมีการส่งข้อความภายในประเทศ
เป็นสองเท่าของจำานวนทวีทของ Twitter รวมกันทังโลก   ้

แต่เมื่อย้อนกลับมามองที่ประเทศไทยซึ่งกำาลังมีการผันกระแสจาก
การใช้งาน Hi5 เป็นการใช้งาน Facebook และ twitter นั้นโดย
มองไม่เห็นเงาของการบริการท้องถิ่นภายในประเทศเลย นอกจาก
นี้การลงทุนในเรื่องของของเทคโนโลยีต่างๆ เช่น บริษัทยักษ์
ใหญ่อย่าง IBM เข้ามาสร้าง Innovation centre ในประเทศ
เวียดนาม หรือแม้กระทั่งการที่ Google.org เลือกประเทศกัมพูชา
เป็น regional centre โดยมองข้ามประเทศไทย สาเหตุหลักนั่นก็
คือความพร้อมในด้านการศึกษาและพัฒนา ประเทศไทยมีการใช้
งานระบบต่างๆอย่างแพร่หลายแต่กลับไม่มีความมุ่งมั่นในการ
พัฒนาระบบเพื่อให้ระบบท้องถิ่นสามารถต่อสู้กับสื่อต่างประเทศที่
เข้ามามี อิทธิพลของประเทศไทยได้

อนาคตของประเทศไทยหากจะประสบความสำาเร็จในโลกของ
ธุรกิจของ Social Media นั้น ควรมุงที่จะพัฒนาในเรื่องของความ
                                 ่
สามารถในการแข่งขันและปลูกฝังในเรื่องของ ค่านิยมต่างๆภายใน
ประเทศมากกว่าการเพิ่มจำานวนผู้เข้าถึงการใช้งานในสื่อทาง นี้
หากมีการมุ่งมั่นและพัฒนาอย่างจริงจัง เชื่อได้แน่นอนว่า
ประเทศไทยกับการผสมผสานระหว่างนโยบาย creative
economy ของรัฐบาลกับการพัฒนาสื่อที่มีบทบาทและทันสมัย
อย่าง Social media จะทำาให้ประเทศไทยก้าวเข้าไปสู่การแข่งขัน
กับประเทศเพื่อนบ้านหรือแม้กระทั่ง บนเวทีโลกได้อย่างสมบูรณ์

แหล่งที่มาข้อมูล
http://drjoke.com/3g-social-media
บทความเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2553 (ตีพิมพ์ลงหนังสือพิมพ์
กรุงเทพธุรกิจ)

เนื้อหาต้นฉบับ
หัวข้อ 3G Social Media และความเป็นไทย
http://drjoke.com/3g-social-media

โอกาสของคนไทยจะมาถึงแล้วครับ ต้องขอขอบคุณ กทช. (คณะ
กรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ) ด้วยใบอนุญาต 3G ที่
ภายใน 4 ปี 80% ของคนไทยจะมีโอกาสเข้าถึง Internet
ความเร็วสูง หรือ Broadband ซึ่งจะเพิ่มขึ้นจากราว 2% และ
เป็นการขยายตัวถึง 40 เท่าในระยะเวลาอันสั้น คงไม่ต้องสงสัยว่า
4 ปีหลังจากนี้ Broadband จะกลายมาเป็นสิ่งสำาคัญในชีวิตคน
ไทยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ สถิติการใช้งาน Internet ที่ผานมา จะ
                                                     ่
ถูกบันทึกใหม่ด้วยการเข้าถึงโดย 80% ของคนในประเทศ ธุรกิจที่
เกี่ยวข้องกับ Internet จะเติบโตอย่างรวดเร็ว ด้วยตลาดที่ขยาย
ตัวถึง 40 เท่า การสู้รบและประวิงเวลาระหว่าง Digital กับ
Traditional จะต้องมาจบลงด้วยความพ่ายแพ้โดยบริบูรณ์ของสื่อ
ยุคเก่า ประเทศไทยจะก้าวต่อไปในโลก Digital อย่างที่เพื่อนบ้าน
ได้เริ่มมากว่าทศวรรษแล้ว คนไทยจะมีโอกาสสร้างฝันให้เป็นจริง
ได้ภายใต้นโยบาย Creative Economy ของรัฐบาลปัจจุบัน

เทคโนโลยีในการเข้าถึงได้พัฒนาอย่างไม่หยุดยัง การแข่งขัน
                                             ้
อย่างเสรีระหว่างบริษทชั้นนำา เช่น Apple และ Google ได้นำามาสู่
                       ั
Disruptive Technology เช่น iPhone 4, iPad และ Android ที่
ทำาให้การใช้งาน Broadband ด้วยอุปกรณ์มือถือขนาดเล็กผ่าน
โครงข่าย 3G มีประสิทธิผลอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน ภายใต้ราคา
ที่เข้าถึงได้ และกำาลังมียอดขายในประเทศอย่างถล่มทลาย จึง
เป็น Convergence ของ Technology ทีระบบโครงข่าย 3G ซึ่ง
                                       ่
กำาลังจะมีขึ้นทัวประเทศประจวบกับเทคโนโลยีในการเข้าถึง กำาลัง
                ่
ร่วมสร้างปรากฏการณ์ของ Broadband ทีจะเป็น Disruptive
                                        ่
Change แบบต้องตะลึงกัน
อย่างไรก็ดี Broadband เป็นดาบสองคม ถึงจะมีประโยชน์ในด้าน
การสื่อสาร ธุรกิจ การศึกษา ฯลฯ จนกระทั่งเพิ่ม GDP ให้กับพื้นที่
ครอบคลุมได้ แต่อย่าลืมว่า Broadband ก็เป็นเครื่องมือเผยแพร่
ข้อมูลข่าวสาร ความคิด วัฒนธรรม ในรูปแบบของข้อความ ภาพ
เสียง และวีดิโอ ที่สามารถนำาไปสู่การสร้างสังคมออนไลน์ หรือ
Social Media เช่น Facebook, YouTube และ Twitter ที่ไม่
สามารถทำาได้ด้วยสื่อชนิดอื่นนอกไปจากนี้ เรากำาลังเข้าสู่
นวัตกรรมของ โลกจำาลอง หรือ Virtual World ทีอาจมาในรูป
                                              ่
แบบของ Second Life หรือเกมออนไลน์ ทังหมดนี้ มีอิทธิพลต่อ
                                          ้
ความคิด วัฒนธรรม ซึ่งมีความสำาคัญกับการหล่อหลอมแนวคิด
ความเป็นไทยอยากหลีกเลี่ยงไม่ได้

ปัจจุบัน Social Media ที่คนไทยใช้เวลาด้วยมากที่สุดล้วนเป็น
ของต่างชาติทั้งสิ้น ซึ่งในสายตาบริษัทที่ควบคุมโดยคนต่างชาติ
แล้ว ประเทศไทยเป็นแค่หนึ่งในหลายๆ ตลาดบนโลกใบนี้ และ
ไม่ใช่ตลาดสำาคัญที่สุด โดยให้ความพยายามเพียงแค่การแปลเมนู
คำาสั่งโดยผิวเผินให้เป็นภาษาไทยเท่านั้น และไม่ได้ให้ความ
สำาคัญกับความเป็นไทย โดยการปรับปรุงแก้ไขลักษณะการให้
บริการให้เข้ากับท้องถิ่นจริง นอกไปจากนี้ Social Media ทีคน
                                                        ่
ไทยใช้กัน ยังไม่มีบริษทไหนมีศูนย์บริการ หรือกระทั่งพนักงาน
                        ั
ประจำาทีรับผิดชอบประเทศไทยเลย
         ่

ทั้งนี้ Social Media ทีปราศจากความเป็นไทย กำาลังมีอิทธิพลเป็น
                       ่
อย่างมากในสังคม จำานวนชั่วโมงที่คนไทยใช้บน Social Media
ต่อวัน มีแนวโน้มขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยได้ทอนเวลาไปจาก
สื่อยุคเก่าเช่นโทรทัศน์ วิทยุ และหนังสือพิมพ์ และหากคำานึงว่า
Broadband จะมีการขยายตัวถึง 80% อิทธิพลในวันนั้นจะเป็น
ทวีคูณของวันนี้ และอาจเป็นไปได้ ที่คุณค่าทางวัฒนธรรมของคน
ไทยที่มมากว่าสหัสวรรษ จะต้องถูกลบเลือนโดยอิทธิพลของต่าง
          ี
ชาติผ่าน Broadband ภายในเวลาไม่กทศวรรษในขณะที่สื่อยุค
                                       ี่
เก่า เช่น โทรทัศน์ ยังมีข้อบังคับการนำาเสนอข่าวที่ต้องเป็น
ประโยชน์ต่อการเรียนรู้ และความเป็นไทย แต่ในสื่อ Internet นั้น
ผู้ใช้สามารถเลือกเข้าชมข้อมูลได้ตามใจชอบ หากศึกษากรณีของ
เกาหลีใต้ ที่ต่อสู้กับเกาหลีเหนือ โดยใช้สื่อเพื่อนำาความเป็น
เกาหลีใต้เข้าครอบงำาจิตใจของคนเกาหลีเหนือ ขนาด
เกาหลีเหนือปิดกั้นประเทศทุกวิถีทางยังสั่นคลอนได้ แต่
ประเทศไทยด้วยเทคโนโลยี 3G กำาลังจะเปิดโอกาสให้ต่างชาติ
เข้าครอบงำา 80% ของคนในชาติอย่างเสรี ผ่านนวัตกรรม Social
Media และ Virtual World ทีจะไปได้ทุกที่ด้วยเทคโนโลยีในการ
                               ่
เข้าถึง เราจึงมีความเสี่ยงที่จะสูญเสียความเป็นไทยที่ไม่สามารถ
ซื้อคืนได้




       2.2.3 ประเภทเว็บไซต์ที่ให้บริการ Social Media
      Social Network

  •   myFri3nd มีรูปแบบคล้ายเว็บ Social Network ทัวไป เป็น
                                                  ่
      เว็บไซต์ในเครือ sanook.com
  •   D-Looks เว็บไซต์ Social Network แนว ๆ hi5 แต่มี
      สโลแกนว่า เว็บไซต์ดูดี สำาหรับคนดี ๆ
  •   BangkokSpace เป็น Social Network สำาหรับคนชอบ
      เที่ยวกลางคืน

  Blogging

  •   exteen เว็บผู้ให้บริการ blog อันดับหนึ่งของไทย สูสีเบียด
      กับ bloggang อยู่ตลอด แต่หลัง ๆ ดูเหมือนยอดสมาชิกจะ
      แซงแล้ว ตัวระบบ exteen เองพัฒนาได้ดี
  •   BlogGang ผู้ให้บริการพื้นที่ blog ในเครือ pantip.com
      ซึ่งสมาชิกส่วนใหญ่ จะเป็นแฟนคลับ หรือขาประจำาของ
      pantip.com อยู่แล้ว

  Micro Blogging
•   NokNok เว็บแบบเดียวกับ twitter แต่พัฒนาโดยคนไทย
      (ในเครือ sanook.com เช่นกัน) แต่ดูมีแนวโน้มการพัฒนาที่
      ดี ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อมให้อัพเดทกับ twitter ได้ หรือการ
      อัพเดท noknok ผ่านมือถือเป็นต้น

  Social Bookmarking

  •   Zickr เว็บ social bookmark อันดับหนึ่งของไทย คนใช้กัน
      เพียบ เป็นที่รวมข้อมูลบทความทันสมัย ทีมีคนมาช่วยกันใส่
                                              ่
      เรื่องใหม่ ทุกวัน
  •   Duocore เว็บที่รายงานข่าวเกี่ยวกับวงการไอทีไทย ในรูป
      แบบวีดีโอ โดยใช้ระบบ Social Bookmark มาให้ผู้ชม ช่วย
      กันส่งเรื่องราวไอทีที่น่าสนใจเข้ามา ในแต่ละสัปดาห์จะมีการ
      เลือกเรื่องราวที่นาสนใจ ไปทำารายการเป็นรูปแบบวีดีโอ
                        ่
  •   Siam Collective เว็บ Social Bookmark อีกแห่งหนึ่ง
      ของไทย
  •   iam in Thai Social Bookmark ของไทยที่เก็บรวบรวม
      งานอีเว้นต์ และเทศกาลสำาคัญ
  •   Techkr เว็บ Social Bookmark ทีเก็บแต่เรื่องราว
                                         ่
      เทคโนโลยี

  Social Mailbox

  •   Fwdder.com เว็บที่ให้คุณสามารถ forward email ต่าง ๆ
      ที่ได้รบมาจากคนอื่น แล้วนำามาขึ้นแสดงในเว็บไซต์ได้ทันที
             ั
      เรียกได้วาเป็นเว็บไซต์ทรวมพวก forward email ไว้ให้อ่าน
               ่             ี่
      กันนั่นเอง




2.3 เว็บบล็อก (WebBlog)
     2.3.1 ความหมายของเว็บบล็อก (WebBlog)
          บล็อก (อังกฤษ: blog) เป็นคำารวมมาจากคำาว่า เว็บ
ล็อก (อังกฤษ: weblog) เป็นรูปแบบเว็บไซต์ประเภทหนึ่ง ซึ่งถูก
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง

More Related Content

What's hot

บริษัท ทรู คอ์ปอเรชั่น จำกัด
บริษัท ทรู คอ์ปอเรชั่น จำกัดบริษัท ทรู คอ์ปอเรชั่น จำกัด
บริษัท ทรู คอ์ปอเรชั่น จำกัดDrDanai Thienphut
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตBeam Iemsumang
 
True move
True moveTrue move
True moveTn' Nam
 
ประโยชน์ของ Mobile จากอดีตถึงปัจจุบัน
ประโยชน์ของ Mobile จากอดีตถึงปัจจุบันประโยชน์ของ Mobile จากอดีตถึงปัจจุบัน
ประโยชน์ของ Mobile จากอดีตถึงปัจจุบันjamejudy
 
True corporation public company limited
True corporation public company limitedTrue corporation public company limited
True corporation public company limitedNew Evo'v
 
น.ส ทิพย์วรรณ พวงแก้ว ม.4/10 เลขที่19
น.ส ทิพย์วรรณ พวงแก้ว ม.4/10 เลขที่19น.ส ทิพย์วรรณ พวงแก้ว ม.4/10 เลขที่19
น.ส ทิพย์วรรณ พวงแก้ว ม.4/10 เลขที่19eye_twpk
 
Communication Concept Day2 บ่าย
Communication Concept Day2 บ่ายCommunication Concept Day2 บ่าย
Communication Concept Day2 บ่ายJenchoke Tachagomain
 
ข้อมูลของอินเตอร์เน็ต True
ข้อมูลของอินเตอร์เน็ต Trueข้อมูลของอินเตอร์เน็ต True
ข้อมูลของอินเตอร์เน็ต TrueWittawat Pete
 
Nectec ntc wi-max_frequency_report_for_thailand
Nectec ntc wi-max_frequency_report_for_thailandNectec ntc wi-max_frequency_report_for_thailand
Nectec ntc wi-max_frequency_report_for_thailandtaweesakw
 
ประวัติ True อีก1
ประวัติ True อีก1ประวัติ True อีก1
ประวัติ True อีก1Tn' Nam
 
Integrated services digital network isdn
Integrated services digital network  isdnIntegrated services digital network  isdn
Integrated services digital network isdnPiw ARSENAL
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตBeam Iemsumang
 

What's hot (18)

บริษัท ทรู คอ์ปอเรชั่น จำกัด
บริษัท ทรู คอ์ปอเรชั่น จำกัดบริษัท ทรู คอ์ปอเรชั่น จำกัด
บริษัท ทรู คอ์ปอเรชั่น จำกัด
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
 
True move
True moveTrue move
True move
 
ประโยชน์ของ Mobile จากอดีตถึงปัจจุบัน
ประโยชน์ของ Mobile จากอดีตถึงปัจจุบันประโยชน์ของ Mobile จากอดีตถึงปัจจุบัน
ประโยชน์ของ Mobile จากอดีตถึงปัจจุบัน
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
 
True corporation public company limited
True corporation public company limitedTrue corporation public company limited
True corporation public company limited
 
น.ส ทิพย์วรรณ พวงแก้ว ม.4/10 เลขที่19
น.ส ทิพย์วรรณ พวงแก้ว ม.4/10 เลขที่19น.ส ทิพย์วรรณ พวงแก้ว ม.4/10 เลขที่19
น.ส ทิพย์วรรณ พวงแก้ว ม.4/10 เลขที่19
 
Communication Concept Day2 บ่าย
Communication Concept Day2 บ่ายCommunication Concept Day2 บ่าย
Communication Concept Day2 บ่าย
 
ข้อมูลของอินเตอร์เน็ต True
ข้อมูลของอินเตอร์เน็ต Trueข้อมูลของอินเตอร์เน็ต True
ข้อมูลของอินเตอร์เน็ต True
 
Connect1
Connect1Connect1
Connect1
 
Nectec ntc wi-max_frequency_report_for_thailand
Nectec ntc wi-max_frequency_report_for_thailandNectec ntc wi-max_frequency_report_for_thailand
Nectec ntc wi-max_frequency_report_for_thailand
 
D T A C
D T A CD T A C
D T A C
 
3BB
3BB3BB
3BB
 
ข้อมูล
ข้อมูลข้อมูล
ข้อมูล
 
ประวัติ True อีก1
ประวัติ True อีก1ประวัติ True อีก1
ประวัติ True อีก1
 
Integrated services digital network isdn
Integrated services digital network  isdnIntegrated services digital network  isdn
Integrated services digital network isdn
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
 
True
TrueTrue
True
 

Similar to 02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง

ปัจจัยที่มีผลต่อความเชื่อมั่นในการใช้บริการทางการเงินผ่าน Mobile Banking Appl...
ปัจจัยที่มีผลต่อความเชื่อมั่นในการใช้บริการทางการเงินผ่าน Mobile Banking Appl...ปัจจัยที่มีผลต่อความเชื่อมั่นในการใช้บริการทางการเงินผ่าน Mobile Banking Appl...
ปัจจัยที่มีผลต่อความเชื่อมั่นในการใช้บริการทางการเงินผ่าน Mobile Banking Appl...ChanidaSuriban
 
บทที่ 2 (1)
บทที่ 2 (1)บทที่ 2 (1)
บทที่ 2 (1)nopphanut
 
น.ส. ทิพย์วรรณ พวงแก้ว ม.4/10 เลขที่19
น.ส. ทิพย์วรรณ พวงแก้ว ม.4/10 เลขที่19 น.ส. ทิพย์วรรณ พวงแก้ว ม.4/10 เลขที่19
น.ส. ทิพย์วรรณ พวงแก้ว ม.4/10 เลขที่19 eye_twpk
 
Ericsson Mobility Report รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
Ericsson Mobility Report รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...Asina Pornwasin
 
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404Wanz Buranakanonda
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์bhubodintrtarasak
 
Wi max technology
Wi max technology Wi max technology
Wi max technology cakiiminikii
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1chaiya5329
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2Nuunamnoy Singkham
 
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ www.nbtc.go.th
 

Similar to 02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง (20)

โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
ปัจจัยที่มีผลต่อความเชื่อมั่นในการใช้บริการทางการเงินผ่าน Mobile Banking Appl...
ปัจจัยที่มีผลต่อความเชื่อมั่นในการใช้บริการทางการเงินผ่าน Mobile Banking Appl...ปัจจัยที่มีผลต่อความเชื่อมั่นในการใช้บริการทางการเงินผ่าน Mobile Banking Appl...
ปัจจัยที่มีผลต่อความเชื่อมั่นในการใช้บริการทางการเงินผ่าน Mobile Banking Appl...
 
เทคโนโลยี 4 g
เทคโนโลยี 4 gเทคโนโลยี 4 g
เทคโนโลยี 4 g
 
4 g
4 g4 g
4 g
 
บทที่ 2 (1)
บทที่ 2 (1)บทที่ 2 (1)
บทที่ 2 (1)
 
4 g tecnology
4 g tecnology4 g tecnology
4 g tecnology
 
น.ส. ทิพย์วรรณ พวงแก้ว ม.4/10 เลขที่19
น.ส. ทิพย์วรรณ พวงแก้ว ม.4/10 เลขที่19 น.ส. ทิพย์วรรณ พวงแก้ว ม.4/10 เลขที่19
น.ส. ทิพย์วรรณ พวงแก้ว ม.4/10 เลขที่19
 
Ericsson Mobility Report รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
Ericsson Mobility Report รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
 
M commerce (power point)
M commerce (power point)M commerce (power point)
M commerce (power point)
 
3G, Mid And Web Applications
3G, Mid And Web Applications3G, Mid And Web Applications
3G, Mid And Web Applications
 
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
 
Phu
PhuPhu
Phu
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยี 4 g
เทคโนโลยี 4 gเทคโนโลยี 4 g
เทคโนโลยี 4 g
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Digital divide
Digital divideDigital divide
Digital divide
 
Wi max technology
Wi max technology Wi max technology
Wi max technology
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
 
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 

More from กลอนแก้ว สาลีศรี

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรกลอนแก้ว สาลีศรี
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรกลอนแก้ว สาลีศรี
 

More from กลอนแก้ว สาลีศรี (10)

ภาคผนวก
 ภาคผนวก ภาคผนวก
ภาคผนวก
 
บทที่ 4 ผลการดำเนินโครงงาน
บทที่ 4 ผลการดำเนินโครงงานบทที่ 4 ผลการดำเนินโครงงาน
บทที่ 4 ผลการดำเนินโครงงาน
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
0 ส่วนนำ1
0 ส่วนนำ10 ส่วนนำ1
0 ส่วนนำ1
 
ส่วนนำ1
ส่วนนำ1ส่วนนำ1
ส่วนนำ1
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
00 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ100 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง

  • 1. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ในการจัดทำาโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย Wordpress เรื่องลักษณะการทำางานของ 3G นี้ ผู้จัดทำาโครงงานได้ศึกษา เอกสารและจากเว็บไซต์ต่างๆ ทีเกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ ่ 2.1 ความสำาคัญของเทคโนโลยี3G 3G คือ โทรศัพท์เคลื่อนทียุคที่สาม หรือมาตรฐาน ่ IMT-2000 นั้นนิยามสั้นๆ เพื่อให้เข้าใจตรงกันว่า • “ต้องมี แพลทฟอร์ม (Platform) สำาหรับการหลอมรวมของ บริการต่างๆ อาทิ กิจการประจำาที่ (Fixed Service) กิจการ เคลื่อนที่ (Mobile Service) บริการสื่อสารเสียง ข้อมูล อินเทอร์เน็ต และ พหุสื่อ (Multimedia) เป็นไปในทิศทาง เดียวกัน” คือ สามารถถ่ายเท ส่งต่อข้อมูล ดิจิตอล ไปยัง อุปกรณ์โทรคมนาคมประเภทต่างๆ ให้สามารถรับส่งข้อมูล ได้ • “ความ สามารถในการใช้โครงข่ายทั่วโลก (Global Roaming) ” คือ ผู้บริโภคสามารถ ถืออุปกรณ์โทรศัพท์ เคลื่อนที่ไปใช้ได้ทั่วโลก โดยไม่ต้องเปลี่ยนเครื่อง • “บริการที่ไม่ขาดตอน (Seamless Delivery Service) ” คือ การใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่โดยไม่รู้สึกถึงการเปลี่ยน เซลล์ ไซต์ (Cell Site) เขาใช้คำาว่า Seam less นั้นแปลว่า ไร้รอย ตะเข็บนะครับ • อัตรา ความเร็วในการส่งข้อมูล (Transmission Rate) ใน มาตรฐาน IMT-2000 นั้นกำาหนดไว้ว่าต้องมีอัตราความเร็ว ดังนี้ [ • o
  • 2. o ในสภาวะอยู่กับที่หรือขณะเดิน มีความเร็วอย่างน้อย ที่สุด 2 เมกะบิต/วินาที o ในสภาวะเคลื่อนที่โดย ยานพาหนะ มีความเร็วอย่าง น้อยที่สุด 384 กิโลบิต/วินาที o ทุกสภาวะ มีความเร็วอย่างมากที่สุด 14.4 เมกะบิต/ วินาที จุดเริ่มต้นของ เทคโนโลยี 3G มาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อน ทียุคที่ 3 (Third Generation Mobile ่ Network หรือ 3G) เป็นเทคโนโลยียุคถัดมาจากการเปิดให้บริการ โทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่ 2 หรือ 2G ซึ่งประสบความสำาเร็จในการ สร้างมูลค่าทางธุรกิจสื่อสารไร้สายอย่างมหาศาลนับ ตั้งแต่ พ.ศ. 2537 เป็นต้นมา ในยุคของโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2G มีมาตรฐานที่ สำาคัญที่มีการนิยมใช้งานทัวโลกอยู่ 2 มาตรฐาน กล่าวคือ ่ มาตรฐาน GSM (Global System for Mobile Communication) อันเป็นมาตรฐานของกลุ่มสหภาพยุโรป ปัจจุบันมีส่วนแบ่งทางการ ตลาดทัวโลกสูงที่สุด และมาตรฐาน CDMA (Code Division ่ Multiple Access) อันเป็นมาตรฐานจากสหรัฐอเมริกา มีส่วนแบ่ง การตลาดเป็นอันดับที่สอง จุดมุ่งหมายของการพัฒนา มาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2G ขึ้น ก็ เพื่อตอบสนองความต้องการใช้งานระบบสื่อสารไร้สายส่วนบุคคล (Personal Communication) ในลักษณะไร้พรมแดน (Global Communication) โดยเปิดโอกาสให้ผู้ใช้บริการสามารถนำาเครื่อง ลูกข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ไปใช้ งานในที่ใด ๆ ก็ได้ทั่วโลกที่มีการ ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ดังกล่าว และยังเป็นยุคของการนำา มาตรฐานสื่อสารแบบดิจิตอลสมบูรณ์แบบมาใช้รักษาความ ปลอดภัย และเสริมประสิทธิภาพในการสื่อสารหลากหลายรูปแบบ ไม่วาจะเป็นบริการส่งข้อความแบบสั้น (Short Message Service ่ หรือ SMS) และการเริมต้นของยุคสื่อสารข้อมูลผ่านเครื่องลูกข่าย ่ โทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็นครั้งแรก โดยมาตรฐาน GSM และ CDMA ตอบสนองความต้องการสื่อสารข้อมูลด้วยอัตราเร็วสูงสุด 9,600 บิตต่อวินาที ซึ่งถือว่าเพียงพอเมื่อเปรียบเทียบกับอัตราเร็วของ
  • 3. การสื่อสารผ่านโมเด็มใน เครือข่ายโทรศัพท์พื้นฐานเมื่อกว่าสิบปี ก่อน การตอบรับของกลุมผู้ บริโภคบริการสื่อสารไร้สายทัวโลก ทำาให้ ่ ่ มาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2G สร้างรายได้ให้กับผู้ประกอบ การณ์ทวโลกอย่างมหาศาล ก่อให้เกิดการเปิดสัมปทานและนำามา ั่ ซึ่งการแข่งขันอย่างรุนแรงในแทบทุกประเทศ ซึงปัจจัยดังกล่าว ่ นอกจากจะมีผลทำาให้เกิดการเพิ่มจำานวนของผู้ใช้บริการอย่าง ก้าวกระโดดแล้ว ในขณะเดียวกันยังสร้างผลกระทบต่อรายได้โดย เฉลี่ยต่อเลขหมาย (Average Revenue per User หรือ ARPU) ของผู้ให้บริการเครือข่าย อันเนื่องมาจากการกลยุทธ์การแข่งขัน ด้านราคา ยิ่งเมื่อมีการเปิดตัวบริการโทรศัพท์เคลื่อนทีแบบพร้อม ่ ใช้ (Prepaid Subscriber) ตั้งแต่ พ.ศ. 2540 เป็นต้นมา ก็ทำาให้ เกิดการลดถอยของ ARPU ลงอย่างต่อเนื่อง พร้อม กับปัญหาผู้ใช้ บริการย้ายค่าย (Brand Switching) ทีรุนแรงขึ้น ่ เพื่อเป็นการสร้างความ เชื่อมั่นในตราสินค้าและยังเป็นการสร้าง รายได้ เพิ่มเพื่อชดเชย ARPU ทีลดตำ่าลง เนื่องจากปรากฏการณ์ ่ อิ่มตัวของบริการสื่อสารด้วยเสียง (Voice Service) ผู้ประกอบการ ในธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ทวโลกจึงมีความเห็นตรงกันที่จะ สร้าง ั่ บริการสื่อสารไร้สายรูปแบบใหม่ ๆ ขึ้น โดยพัฒนาเครือข่าย โทรศัพท์เคลื่อนที่ 2G ที่เปิดใช้งานอยู่ ให้มีศักยภาพเพิ่มเติมเพื่อ รองรับบริการสื่อสารข้อมูลแบบที่มใช่เสียง (Non-Voice ิ Communication) พร้อมกับการวางแผนธุรกิจ แผนปฏิบัติการทาง วิศวกรรม การตลาด และแผนการลงทุน เพื่อสร้างกระแสความ ต้องการ (Demand Aggregation) ให้กับฐานลูกค้าผู้ใช้บริการที่มี อยู่เดิม เพื่อเพิ่ม ARPU ให้สูงขึ้น พร้อม ๆ กับผลักดันให้เกิด บริการรูปแบบใหม่ ๆ ไม่วาจะเป็นการรับส่งข้อมูลแบบ EMS ่ (Enhanced Messaging Service) หรือ MMS (Multimedia Messaging Service) รวมถึงบริการท่องโลกอินเทอร์เน็ตไร้สาย ผ่านอุปกรณ์สื่อสารรุ่นใหม่ ๆ ซึ่งมีทงที่เป็นโทรศัพท์เคลื่อนทีทั่ว ๆ ั้ ่ ไป อุปกรณ์ไร้สายประเภท PDA (Personal Digital Assistant) และโทรศัพท์เคลื่อนที่อัจฉริยะ (Smart Phone)
  • 4. เพื่อเป็นการใช้ประโยชน์ จากเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2G ที่ ได้มีการลงทุนไว้แล้วให้เกิดประโยชน์สูงสุด มาตรฐานเทคโนโลยี การสื่อสารข้อมูลในรูปแบบใหม่ ๆ จึงถูกกำาหนดขึ้น ภายใต้แนวคิด ในการพัฒนาเครือข่ายเดิม ไม่ว่าจะเป็นเทคโนโลยี HSCSD (High Speed Circuit Switching Data), GPRS (General Packet Radio Service) หรือ EDGE (Enhanced Data Rate for GPRS Evolution) ของค่าย GSM และเทคโนโลยี cdma20001xEV-DV หรือ cdma20001xEV-DO ของค่าย CDMA ดังแสดงพัฒนาการในรูปที่ 1 เรียกมาตรฐานต่อยอดดังกล่าวโดย รวมว่า เทคโนโลยียุค 2.5G/2.75G ซึ่งในช่วงเวลานี้เองที่ปรากฏ มีมาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ PDC (Packet Digital Cellular) เปิดให้บริการสื่อสารข้อมูลในลักษณะของเทคโนโลยี 2.5G ภาย ใต้ชื่อเครื่องหมายการค้า i-mode ซึ่งประสบความสำาเร็จอย่างมาก ในการเปิดศักราชของการให้บริการสื่อสารข้อมูล แบบมัลติมีเดีย ไร้สายในประเทศญี่ปุ่น และได้กลายเป็นต้นแบบของการจัดทำา ธุรกิจ Non-Voice ให้กับผู้ประกอบการโทรศัพท์เคลื่อนที่ทวโลก ั่ ในเวลาต่อมา การเติบโตของธุรกิจ Non-Voice ตั้งแต่ พ.ศ. 2543 เป็นต้นมาอันเป็นยุคเริ่มต้นของเทคโนโลยี 2.5G ผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนทีทั่วโลกรวมทั้งใน ่ ประเทศไทย มีการผลักดันบริการสื่อสารข้อมูลรูปแบบใหม่ ๆ ใน รูปแบบ Non-Voice เพื่อสร้างกระแสนิยมในกลุมผู้บริโภคมากขึ้น ่ ไม่วาจะเป็นการใช้ประโยชน์จากเครือข่าย 2.5G อย่างเต็มรูปแบบ ่ หรือเป็นการผลักดันให้เกิดการยอมรับในบริการที่มีอยู่แล้ว อัน ได้แก่บริการ SMS ซึ่งในปัจจุบันจะเห็นว่าบริการเหล่านี้ได้กลาย เป็นช่องทางสำาคัญที่เพิ่ม มูลค่าให้บริการ ARPU ของบรรดาผู้ให้ บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ รูปที่ 2 แสดงให้เห็นถึงการ เติบโตของบริการประเภทต่าง ๆ บนเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ใน ภาพรวมของทั้งทวีปเอเชียตั้งแต่ช่วงปี พ.ศ. 2544 จนถึง พ.ศ. 2553 ซึ่งในท้ายที่สุดบริการแบบ Non-Voice จะมีสัดส่วนที่เป็น นัยสำาคัญต่อรายได้รวมทังหมด ้
  • 5. สำาหรับธุรกิจโทรศัพท์ เคลื่อนที่ในประเทศไทยเอง นับตั้งแต่การ เปิดให้บริการประเภท Non-Voice อย่างจริงจังเมื่อต้นปี พ.ศ. 2545 เป็นต้นมา บรรดาผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ก็ สามารถสร้างรายได้เพื่อ เสริมทดแทนการลดทอนของค่า ARPU ภายในเครือข่ายของตน โดยเฉพาะอย่างยิงเมื่อมีการเปิดตัว ่ บริการสื่อสารไร้สายมัลติมีเดียของ บริษท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวร์เลส ั มัลติมีเดีย จำากัด (HUTCH) เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2546 เป็นต้นมา สภาพการแข่งขันในธุรกิจสื่อสารไร้สายในประเทศไทยก็เริมมุ่ง่ ความสำาคัญในการ สร้างบริการ Non-Voice ใหม่ ๆ ไม่วาจะ ่ เป็นการเปิดให้บริการ MMS อย่างเป็นทางการ การคิดโปรโมชั่นก ระตุ้นการท่องอินเทอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ หรือแม้กระทัง่ การทดลองเปิดให้บริการชมภาพยนตร์ผ่านทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ (TV on Mobile) ซึ่งความพยายามของผูให้บริการเครือข่ายแต่ละ ้ ราย ทำาให้เกิดกระแสความสนใจใช้บริการ Non-Voice เพิ่มมาก ขึ้น รูปที่ 3 และ 4 แสดงถึงความสำาคัญของรายได้ที่เกิดขึ้นจากบริการ Non-Voice นับตั้งแต่ช่วงต้นปี พ.ศ. 2546 เป็นต้นมา อันมีผล ทำาให้บรรดาผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่สามารถเพิ่มค่า ARPU ของตนให้มีแนวโน้มสูงขึ้น พร้อม ๆ กับการเพิ่มจำานวนผู้ใช้ บริการภายในเครือข่ายของตน ซึ่งแตกต่างจากสภาพการณ์ในช่วง ก่อนหน้านี้ทรายได้เฉลี่ยของตนตกลงเรื่อย ๆ สวนทางกับการเพิ่ม ี่ จำานวนของกลุ่มผู้ใช้บริการ โดยเฉพาะเมื่อพิจารณาถึงกลุ่มผูใช้ ้ บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่พร้อมใช้ ซึ่งถือเป็นกลุ่มผู้ใช้บริการส่วน ใหญ่ของประเทศ มีการเพิ่มค่า ARPU ขึ้นอย่างต่อเนื่อง แม้ส่วน หนึ่งจะมาจากนโยบายการตลาดของผู้ให้บริการที่มีการจำากัดเวลา ในการโทร ให้สัมพันธ์กับวงเงินก็ตาม แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้เช่นกันว่า ความนิยมในบริการ Non-Voice ประเภท SMS และ EMS โดย เฉพาะที่อยูในรูปแบบของบริการดาวน์โหลดรูปภาพ ่ (Logo/Animation) และเสียงเรียกเข้า (Ringtone) ในกลุ่มวัยรุ่น และนักศึกษามีผลอย่างเป็นนัยสำาคัญต่อการเพิ่มค่า ARPU ดัง กล่าว ข้อจำากัดของเครือ ข่าย 2.5G และ 2.75G
  • 6. มาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อน ที่ 2.5G หรือ 2.75G แม้จะสามารถ รองรับการสื่อสารประเภท Non-Voice ได้ แต่ก็ไม่อาจสร้างบริการ ประเภท Killer Application ทีผลิกผันรูปแบบการให้บริการได้ ่ อย่างชัดเจน ดังจะเห็นได้จากสถาการณ์การให้บริการโทรศัพท์ เคลื่อนที่ในประเทศไทย ทีแม้จะมีการเติบโตอย่างชัดเจนในตลาด ่ ประเภท Non-Voice แต่เมื่อศึกษาอย่างละเอียดก็จะพบว่าบริการ ที่ประสบความสำาเร็จเกือบทั้งหมด ล้วนเป็นบริการประเภท SMS และ EMS ทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นการดาวน์โหลดรูปภาพหรือเสียง เรียกเข้า รวมถึงการเล่นเกมส์ตอบปัญหาหรือส่งผลโหวตที่ปรากฏ อยู่ตามสื่อชนิดต่าง ๆ ซึ่งบริการเหล่านี้ลวนเป็นบริการพื้นฐานใน ้ เครือข่าย 2G ข้อจำากัดของเครือข่าย โทรศัพท์เคลื่อน 2.5G และ 2.75G เกิดขึ้น มาจากความพยายามพัฒนาเครือข่าย 2G เดิม ไม่ว่าจะเป็น มาตรฐาน GSM หรือ CDMA ให้เกิดประโยชน์สูงสุด คุ้มค่าการ ลงทุน ทำาให้ผู้ให้บริการเครือข่ายไม่อาจบริหารจัดการทรัพยากร เครือข่ายโทรศัพท์ เคลื่อนที่ได้อย่างคล่องตัว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในกรณีของเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM ไม่ว่าจะเป็นย่าน ความถี่ 900 เมกะเฮิตรซ์ , 1800 เมกะเฮิตรซ์ หรือ 1900 เมกะ เฮิตรซ์ เนื่องจากอุปกรณ์ที่มีการติดตั้งใช้งานมาตั้งแต่การเปิดให้ บริการในยุค 2G ล้วนเป็นเทคโนโลยีเก่า มีการทำางานแบบ Time Division Multiple Access (TDMA) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีเก่า ต้อง จัดสรรวงจรให้กับผู้ใช้งานตายตัว ไม่สามารถนำาทรัพยากรเครือ ข่ายมาใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เทคโนโลยีดังกล่าวเหมาะ สำาหรับการสื่อสารข้อมูลแบบ Voice ซึ่งต้องการคุณภาพและความ คมชัดในการสนทนา แม้เมื่อมีการพัฒนา เทคโนโลยี GPRS และ EDGE ซึ่งถือเป็นการ เสริมเทคโนโลยีสื่อสารข้อมูลแบบแพ็กเกตสวิตชิ่ง (Packet Switching) ทีมีความยืดหยุ่นในการสื่อสารข้อมูลแบบ Non-Voice ่ ในลักษณะเดียวกับที่พบในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตก็ตาม แต่ เทคโนโลยีทง 2 ประเภทนี้ก็ถือว่าเป็นการ ต่อยอด บนเครือข่าย ั้ แบบเดิมที่มีการทำางานแบบ TDMA ทำาให้ผู้ให้บริการเครือข่าย ต้องพะวงกับการจัดสรรทรัพยากรช่องสื่อสาร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
  • 7. กับการจัดสรรวงจรสื่อสารผ่านคลื่นความถี่วทยุจากสถานีฐาน ไป ิ ยังเครื่องลูกข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ทำาให้ไม่สามารถเปิดให้บริการ แบบ Non-Voice ได้อย่างเต็มรูปแบบ เนื่องจากจะทำาให้เกิดผล รบกวนต่อจำานวนวงจรสื่อสารแบบ Voice มากจนเกินไป ด้วยเหตุดังกล่าว จึงพบว่าไม่มีผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์ เคลื่อนที่ 2.5G หรือ 2.75G รายใดในโลก สามารถเปิดให้บริการ เทคโนโลยี GPRS ด้วยอัตราเร็วสูงสุด 171 กิโลบิตต่อวินาที หรือ EDGE ด้วยอัตราเร็ว 384 กิโลบิตต่อวินาทีได้ เนื่องจากการทำาเช่น นั้นจะทำาให้สถานีฐาน (Base Station) ทีทำาหน้าที่รบส่งสัญญาณ ่ ั กับเครื่องลูกข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ไม่มีวงจรสื่อสารเหลือสำาหรับ ให้บริการแบบ Voice อีกต่อไป ผลที่เกิดขึ้นในมุมมองของผู้ใช้ บริการก็คือความเชื่องช้าในการสื่อสารข้อมูล ผ่านเครือข่าย 2.5G และ 2.75G ทำาให้หมดความสนใจที่จะใช้บริการต่อไป โดยใน ขณะเดียวกันก็มีบริการสื่อสารอัตราเร็วสูงแบบบรอดแบนด์ผ่านคู่ สาย เช่น DSL (Digital Subscriber Line) เป็นทางเลือกสำาหรับ ใช้บริการ ความสนใจที่จะใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่เพื่อรับส่ง ข้อมูลจึงมีอยู่ เฉพาะการเล่นเกมส์และส่ง SMS, MMS ซึ่งทำาได้ ง่าย และมีการประชาสัมพันธ์ดึงดูดใจมากมาย มาตรฐานโทรศัพท์ เคลื่อนที่ 3G เพื่อเป็นการเพิ่มความ คล่องตัวในการเปิดให้บริการ Non-Voice อย่างเต็มรูปแบบ พร้อมทั้งยังคงรักษาคุณภาพในการให้บริการ Voice ด้วยระดับคุณภาพที่ทัดเทียมหรือดีกว่าในยุค 2G องค์กร สากล 3GPP (Third Generation Program Partnership) และ 3GPP2 จึงได้กำาหนดมาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G ขึ้น โดยมี มาตรฐานสำาคัญอยู่ 2 ประเภท คือ มาตรฐาน UMTS (Universal Mobile Telecommunications Services) เป็นมาตรฐานที่ออกแบบมาสำาหรับผู้ให้บริการเครือข่าย โทรศัพท์เคลื่อนที่ได้นำา ไปพัฒนาจากยุค 2G/2.5G/2.75G ไปสู่ มาตรฐานยุค 3G อย่างเต็มตัว รับผิดชอบการพัฒนามาตรฐานโดย องค์กร 3GPP มีเทคโนโลยีหลักที่ปัจจุบันมีการยอมรับใช้งานทั่ว โลกคือมาตรฐาน Wideband Code Division Multiple Access
  • 8. (W-CDMA) โดยในอนาคตจะมีการพัฒนาต่อเนื่องไปสู่มาตรฐาน HSDPA (High Speed Downlink Packet Access) ซึ่งรองรับการ สื่อสารด้วยอัตราเร็วสูงถึง 14 เมกะบิตต่อวินาที หรือเร็วกว่าการ สื่อสารแบบ 2.75G ถึง 36 เท่า มาตรฐาน W-CDMA นี้เองที่ กิจการร่วมค้า ไทย - โมบาย กำาลังจะดำาเนินการพัฒนาเพื่อเปิดให้ บริการภายในต้นปี พ.ศ. 2548 นอกจากจะเป็นเส้นทางในการ พัฒนาสู่มาตรฐาน 3G ของบรรดาผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์ เคลื่อนที่ GSM แล้ว มาตรฐาน W-CDMA ยังได้รบการยอมรับจาก ั ผู้ให้บริการรายใหญ่อย่างบริษท NTT DoCoMo ผู้เปิดให้บริการ ั โทรศัพท์เคลื่อนที่ I-mode ซึ่งใช้เทคโนโลยี PDC ให้เป็น มาตรฐาน 3G สำาหรับใช้งานภายใต้เครื่องหมายการค่า “FOMA” โดยได้เปิดให้บริการในประเทศญี่ปุ่นตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2544 เป็นต้นมา และปัจจุบัน W-CDMA ได้กลายเป็นเครือข่าย 3G ทีใหญ่ที่สุดในประเทศญี่ปุ่น มาตรฐาน cdma2000 เป็นการ ่ พัฒนาเครือข่าย CDMA ให้รองรับการสื่อสารในยุค 3G รับผิดชอบ การพัฒนามาตรฐานโดยองค์กร 3GPP2 มีเทคโนโลยีหลักคือ cdma2000-3xRTT ที่มีศักยภาพเทียบเท่ากับมาตรฐาน W- CDMA ของค่ายยุโรป แต่ปัจจุบันยังไม่มีกำาหนดความพร้อม สำาหรับให้บริการเชิงพาณิชย์ที่ชัดเจน สำาหรับในประเทศไทย บริษท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวร์เลส มัลติมีเดีย จำากัด เปิดให้บริการ ั เฉพาะเครือข่าย cdma20001xEV-DO ซึ่งยังมีขีดความสามารถ เทียบเท่าเครือข่าย 2.75G เท่านั้น มาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อน ที่ W-CDMA ได้รบการออกแบบมาเพื่อ ั ให้รองรับการสื่อสารแบบมัลติมีเดียสมบูรณ์แบบ โดยเปลี่ยนแปลง รูปแบบการสื่อสารชนิด TDMA ที่ปรากฏอยู่ในเครือข่ายโทรศัพท์ เคลื่อนที่ยุค 2G/2.5G/2.75G ไปเป็นการสื่อสารแบบแพ็กเกตส วิทชิ่งเต็มรูปแบบ สามารถรองรับทังการสื่อสารทั้ง Voice และ ้ Non-Voice โดยมีมาตรฐานการรองรับและควบคุมคุณภาพของ ข้อมูลที่สมบูรณ์แบบ อันเป็นผลต่อเนื่องมาจากความก้าวหน้าของ เทคโนโลยีการเข้ารหัสข้อมูล (Information Coding) จึงทำาให้ผู้ ให้บริการเครือข่าย 3G ก้าวพ้นจากข้อจำากัดในการบริหารจัดการ ข้อมูลประเภท Voice และ Non-Voice ดังที่ปรากฏอยู่ในมาตรฐาน 2G/2.5G/2.75G ได้อย่างเด็ดขาด
  • 9. อย่างไรก็ตามเพื่อให้ เครือข่าย W-CDMA สามารถรองรับการ สื่อสารข้อมูลได้อย่างเต็มรูปแบบ และให้เกิดความคล่องตัวในการ จัดสรรทรัพยากรความถีวิทยุ จึงจำาเป็นต้องมีการกำาหนดย่าน ่ ความถี่สำาหรับใช้เปิดให้บริการ โดยเป็นไปตามแผนผังการจัดวาง ความถี่สากลทั่วโลกดังแสดงในรูปที่ 5 ด้วยเหตุดังกล่าวจึงทำาให้ กิจการร่วมค้าไทย - โมบาย เป็นเพียงผูให้บริการโทรศัพท์ ้ เคลื่อนที่รายเดียวในประเทศไทยที่สามารถเปิด ให้บริการเครือ ข่าย 3G แบบ W-CDMA ได้ในทันที เนื่องจากมีสิทธิ์ใช้คลื่น ความถี่วทยุในย่าน 1965 – 1980 เมกะเฮิตรซ์ และ 2155 – 2170 ิ เมกะเฮิตรซ์ ขณะที่ผให้บริการเครือข่ายรายอื่น ๆ จำาเป็นต้องยื่น ู้ คำาร้องผ่านกระบวนการจัดสรรคลื่นความถีวิทยุโดยคณะกรรมการ ่ กิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์แห่งชาติ (กสช.) ซึ่งคาด ว่าจะต้องใช้เวลาอีกหลายปีเพื่อได้สิทธิ์ในการเปิดให้บริการ W- CDMA เป็นรายต่อไป จุดเด่นของ มาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G แบบ W-CDMA นอกจากมาตรฐานโทรศัพท์ เคลื่อนที่ 3G จะมีการพัฒนา เทคโนโลยีสถานีฐาน (Base Station Subsystem) จากยุค 2G ซึ่งใช้เทคโนโลยี TDMA เป็นการรับส่งข้อมูลในรูปแบบแพ็กเกต เพื่อความคล่องตัวในการจัดสรรทรัพยากร ความถี่สำาหรับให้ บริการทังแบบ Voice และ Non-Voice อย่างเกิดประโยชน์สูงสุด ้ อันจะช่วยสร้างความรู้สึกให้กับผู้ใช้บริการ (End User Perception) ถึงความรวดเร็วในการสื่อสารข้อมูล และยังคงรักษา คุณภาพของการสนทนาที่เหนือกว่ามาตรฐาน 2G/2.5G/2.75G แล้ว มาตรฐาน W-CDMA ยังมีความคล่องตัวในการเชื่อมต่อเข้า กับเครือข่ายข้อมูลที่อยู่ในโลกอิน เทอร์เน็ต เนื่องจากมาตรฐาน การเชื่อมต่อต่าง ๆ สอดรับกับมาตรฐานของอุตสาหกรรม อินเทอร์เน็ตทุกประการ ก่อให้เกิดการเปิดกว้างในรูปแบบของ ความร่วมมือกับพันธมิตรจำานวนมาก มีความคล่องตัวในการบันทึก จัดเก็บ และบริหารจัดการข้อมูลประเภทสื่อข้อมูล (Content) ต่าง ๆ เมื่อทำาการเปรียบเทียบ เฉพาะด้านของอัตราเร็วในการสื่อสาร ข้อมูลดังแสดงใน รูปที่ 6 จะเห็นว่ามาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่
  • 10. 3G นอกจากจะรองรับการสื่อสารข้อมูลที่รวดเร็วกว่ามาตรฐาน 2G/ 2.5G/2.75G แล้ว ยังก่อให้เกิดการถือกำาเนิดของบริการรูปแบบ ใหม่ ๆ ทีไม่สามารถสร้างขึ้นบนเครือข่ายยุคในตระกูล ่ 2G/2.5G/2.75G ได้ ที่เห็นได้ชัดเจนก็คือบริการ Video Telephony และ Video Conference ซึ่งเป็นการสื่อสารแบบเห็น หน้ากัน โดยเครือข่าย 3G จะทำาการถ่ายทอดสดทั้งภาพและเสียง ระหว่างคู่สนทนา โดยไม่เกิดความหน่วงหรือล่าช้าของข้อมูล บริการในลักษณะนี้จะกลายเป็น จุดขาย สำาคัญประการหนึ่งของ มาตรฐานการสื่อสารแบบ 3G ทังนี้เครื่องลูกข่ายโทรศัพท์ ้ เคลื่อนที่ 3G ที่มจำาหน่ายในปัจจุบัน ล้วนรองรับบริการ Video ี Telephony แล้วทังสิ้น จึงสามารถเปิดให้บริการดังกล่าวได้ใน ้ ทันที ข้อมูลจาก UMTS Forum ในรูปที่ 7 แสดงให้เห็นถึงการเติบโต ของจำานวนผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G แบบ W-CDMA เปรียบเทียบกับมาตรฐาน GSM โดยพิจารณาอัตราการเติบโต ภายในช่วง 10 ไตรมาสแรก (2 ปีครึ่ง) หลังจากการเปิดให้บริการ GSM ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2535 เทียบกับ 10 ไตรมาสแรกหลัง จากการเปิดให้บริการ W-CDMA ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2544 พบ ว่าเครือข่าย 3G แบบ W-CDMA มีอัตราการเติบโตที่สูงกว่ามาก มูลเหตุสำาคัญมาจากแรงผลักดัน (Business Momentum) ทีผู้ใช้ ่ บริการ 2.5G หรือ 2.75G รอคอยเครือข่ายสื่อสารไร้สายที่สามารถ ตอบสนองความต้องการในการสื่อสารข้อมูล ด้วยอัตราเร็วสูงอย่าง แท้จริง อีกทั้งผูให้บริการเครือข่ายยังมีความคล่องตัวในการจัดสรร ้ เครือข่ายในด้าน ต่าง ๆ เพื่อสร้างบริการสื่อสารประเภท Non- Voice ที่ต้องพึ่งพาอัตราเร็วในการสื่อสารข้อมูลที่สูงขึ้น นอกเหนือ จากบริการ Non-Voice พื้นฐานอย่าง SMS และ EMS กล่าวโดยสรุป ปัจจัยสำาคัญที่ส่งผลให้มาตรฐานเครือข่าย โทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G แบบ W-CDMA มีแนวโน้มของการประสบ ความสำาเร็จทางธุรกิจที่รวดเร็วกว่ามาตรฐาน 2G จนถึง 2.75G นั้น สืบเนื่องมาจากการปฏิวัติรูปแบบของเทคโนโลยีเครือข่าย เพื่อ ตอบสนองรูปแบบการสร้างความร่วมมือทางธุรกิจให้ผลักดัน บริการ Non-Voice อย่างเต็มรูปแบบ ทังนี้ UMTS Forum ได้ ้
  • 11. กล่าวถึงจุดเด่นของมาตรฐาน W-CDMA ซึ่งจะนำาความสำาเร็จใน การดำาเนินธุรกิจให้กับผู้ประกอบการดังนี้ (เอกสาร Why the world has chosen W-CDMA : 24 September 2003) 1. เครือข่าย W-CDMA รับประกันคุณภาพในการรองรับข้อมูลแบบ Voice และ Non-Voice ในแง่ของผู้ใช้บริการจะรับรู้ได้วาคุณภาพ ่ เสียงจากการใช้งานเครือข่าย 3G ชัดเจนกว่าหรืออย่างน้อยเทียบ เท่าการสนทนาผ่านเครือข่าย 2G ส่วนการรับส่งข้อมูลแบบ Non- Voice จะรับรู้ถงอัตราเร็วในการสื่อสารที่สูงกว่าการใช้งานผ่าน ึ เครือข่าย 2.5G และ 2.75G มาก อันเป็นผลมาจากการปรับเปลียน ่ เทคโนโลยีเครือข่าย และใช้ยานความถี่ที่สูงขึ้น ่ 2. W-CDMA เป็นมาตรฐานเปิด (Open Standard) ซึ่งได้รับการ พัฒนาโดยกลุ่ม 3GPP ซึ่งเป็นกลุ่มเดียวกับผู้พัฒนามาตรฐาน GSM ทำาให้ผให้บริการ 3G สามารถเชื่อมต่อเครือข่าย 3G เข้าหา ู้ กันได้ถึงขั้นอนุญาตให้มีการใช้งานข้ามเครือข่าย (Roaming) เช่น เดียวกับที่เป็นอยู่ในเครือข่ายยุค 2G นอกจากนั้นยังสามารถเชื่อม ต่อเพื่อการใช้งานข้ามเครือข่ายกับมาตรฐาน 2G/2.5G/2.75G ได้ ในทันที โดยผูใช้บริการเพียงมีอุปกรณ์สื่อสารแบบ Dual Mode ้ เท่านั้น ทำาให้เกิดลู่ทางในการสร้างเครือข่าย W-CDMA เพื่อเปิด ให้ผู้ประกอบการเครือข่ายรายอื่นได้ร่วมเข้าใช้บริการ ในลักษณะ ของ Mobile Virtual Network Operator (MVNO) เป็นรายได้ที่ สำาคัญนอกเหนือจากการให้บริการ 3G กับผู้ใช้บริการที่จดทะเบียน ภายในเครือข่าย 3. มาตรฐาน W-CDMA เป็นมาตรฐานโลก ที่จะเข้ามาแทนที่เครือ ข่ายในตระกูล GSM เช่นเดียวกับเหตุการณ์ที่เครือข่าย GSM เข้า มาแทนที่เครือข่าย 1G เมื่อกว่า 10 ปีทแล้ว จึงเป็นการรับประกัน ี่ ถึงพัฒนาการที่มีอย่างต่อเนื่องในด้านต่าง ๆ การเร่งเปิดให้บริการ 3G จึงเปรียบได้กับการเร่งเข้าสู่ตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2G ของ ผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ยักษ์ใหญ่ในปัจจุบันที่เกิด ขึ้น ในอดีต 4. พิจารณาเฉพาะการให้บริการแบบ Voice จะเห็นว่าการลงทุน สร้างเครือข่าย W-CDMA มีต้นทุนที่ตำ่ากว่าการสร้างเครือข่าย
  • 12. GSM ถึงกว่า 30 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากมาตรฐาน W-CDMA มี ความยืดหยุ่นและคล่องตัวให้ผู้ประกอบสามารถปรับเปลี่ยน ทรัพยากรความถี่ เพื่อรองรับ Voice และ Non-Voice ได้อย่าง ผสมผสาน ต่างจากการกำาหนดทรัพยากรตายตัวในกรณีของ เทคโนโลยี GSM 5. W-CDMA เป็นมาตรฐานสื่อสารไร้สายชนิดเดียวที่มีรปแบบการ ู ทำางานแบบแถบความถี่กว้าง (Wideband) อันนำามาซึ่ง ประสิทธิภาพในการสร้างพื้นที่ให้บริการที่กว้างใหญ่ ไปพร้อม ๆ กับความสะดวกในการเพิ่มขยายขีดความสามารถในการรองรับ ข้อมูลข่าวสาร ต่างจากเครือข่าย 2G โดยทัวไปที่ปัจจุบันเริม ่ ่ ประสบกับปัญหาการจัดสรรความถีที่ไม่เพียงพอต่อ การขยาย ่ เครือข่าย เนื่องจากเป็นระบบแบบแถบความถี่แคบ (Narrow Band) 6. กลไกการทำางานภายในเครือข่าย W-CDMA เป็นไปตาม มาตรฐานสากล โดยเฉพาะมาตรฐาน IETF (Internet Engineering Task Force) ทำาให้ผู้ประกอบการสามารถเปิด โอกาสให้พันธมิตรทางธุรกิจซึ่งมีความเชี่ยวชาญ ในการพัฒนา โปรแกรมหรือบริการพิเศษต่าง ๆ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ได้ ทำาการพัฒนาสร้างบริการผ่านอุปกรณ์สื่อสารไร้สาย โดยใช้ทักษะ ความสามารถและความชำานาญที่มีอยู่ เป็นการกระตุ้นให้เกิด บริการประเภท Non-Voice ได้สารพัดรูปแบบ 7. มีแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถในรองรับการสื่อสาร ข้อมูลทีมีอัตราเร็วสูง ขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาสู่มาตรฐาน ่ HSDPA ทีรองรับการสื่อสารข้อมูลด้วยอัตราเร็วที่สูงมากถึง 14 ่ เมกะบิตต่อวินาที ในขณะที่มาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM ไม่ สามารถพัฒนาให้รองรับการสื่อสารข้อมูลได้มากกว่าเทคโนโลยี EDGE ในปัจจุบัน ซึ่งรองรับข้อมูลได้ด้วยอัตราเร็ว 384 กิโลบิตต่อ วินาที และในความเป็นจริงก็ไม่สามารถเปิดให้บริการด้วยอัตราเร็ว ถึงระดับดังกล่าว ได้ เนื่องจากจะทำาให้สถานีไม่สามารถรองรับ บริการ Voice ได้อีกต่อไป
  • 13. 8. ในอนาคตมาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G มีทิศทางการพัฒนา ที่ชัดเจนในการรวมตัวกับมาตรฐานสื่อสารไร้สายชนิดอื่น ๆ ไม่วา ่ จะเป็นมาตรฐาน Wireless LAN (IEEE802.11b/g) หรือ WiMAX (IEEE802.16d/e/e+) ทำาให้ผู้ใช้บริการเครือข่ายไร้สายสามารถ เคลื่อนย้ายไปใช้งานในเครือข่ายใด ๆ ก็ได้ตามความเหมาะสม ทางภูมิประเทศ โดยยังคงได้รับการดูแลโดยผูให้บริการเครือข่าย ้ 3G ความสำาคัญต่าง ๆ เหล่านี้เองที่เป็นแรงผลักดันให้ผู้ประกอบการ โทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM จำานวนมากทั่วโลก รวมนักลงทุนหน้า ใหม่ ให้ความสำาคัญสำาหรับการแสวงหาสิทธิ์ในการเปิดให้บริการ เครือข่าย 3G และมีแผนกำาหนดเปิดให้บริการเทคโนโลยี W- CDMA ดังมีข้อมูลแสดงในรูปที่ 8 โดยเฉพาะยักษ์ใหญ่ผู้ให้บริการ โทรศัพท์เคลื่อนที่อันดับต้น ๆ ของโลก 8 รายได้ตัดสินใจเลือก มาตรฐาน W-CDMA เป็นเทคโนโลยี 3G ดังแสดงในรูปที่ 9 ในท้ายที่สุด ความสมบูรณ์แบบในการรองรับธุรกิจ Non-Voice ของมาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G แบบ W-CDMA จะช่วยผลัก ดันให้เกิดห่วงโซ่ธุรกิจที่สมบูรณ์แบบ ดังแสดงในรูปที่ 10 แม้จะมี ความพยายามในกลุ่มผูประกอบการธุรกิจโทรคมนาคมภายใน ้ ประเทศที่จะผลัก ดันให้เกิดการประสานผลประโยชน์อย่างลงตัว ระหว่างผู้ให้บริการเครือข่าย โทรศัพท์เคลื่อนที่ 2G/2.5G/2.75G กับผู้ประกอบการสื่อข้อมูลต่าง ๆ มาก่อนหน้านี้ แต่เนื่องจากข้อ จำากัดของเครือข่ายในตระกูล GSM และ CDMA เองที่ไม่มีความ ยืดหยุ่นเพียงพอที่จะสร้างความประทับใจต่อผู้ใช้บริการ จึงทำาให้ เกิดการขาดช่วงของความสมดุลในการผสานผลประโยชน์ เมื่อ พิจารณาจากความสำาเร็จของเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ FOMA ของบริษท NTT DoCoMo ซึ่งเป็นผู้ให้บริการรายแรกที่เปิดให้ ั บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G แบบ W-CDMA และประสบความ สำาเร็จในการดึงศักยภาพของเครือข่าย W-CDMA ให้เกื้อหนุนต่อ ความลงตัวสำาหรับการร่วมมือในธุรกิจ Non-Voice ในประเทศ ญี่ปุ่นอย่างงดงาม ต่อเนื่องด้วยความคืบหน้าในการสานต่อ โครงสร้างธุรกิจ Non-Voice ในประเทศจีนและอีกหลาย ๆ ประเทศ จึงสรุปได้วามาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G แบบ W- ่
  • 14. CDMA จะเป็นการเปิดประตูสู่ธุรกิจ Non-Voice ในประเทศไทยใน อนาคตอันใกล้ 2.2 ข้อมูลเกี่ยวกับสื่อสังคม Social Media 2.2.1 ความหมายของ Social Media Social = สังคม Network = เครือข่าย Media = สื่อ สื่อ ที่เป็น เครือข่าย ใน สังคม เหมือน เวลาที่เราจะกินข้าว จะใช้มือจกกินเลยก็ได้นะ ไม่ต้องพึ่งใคร แต่เมื่อไหร่ที่ใช้ช้อนตัก ข้าวเข้าปาก นันหมายความว่า “ช้อน ทำาให้คุณกินข้าวได้ ่ สะดวกขึ้น” ใช่หรือไม่ เช่นเดียวกันกับ Social Network เค้าก็ อยู่ของเค้าดีๆ ก็สื่อสารกันได้ไม่มีปัญหา แต่เมื่อมี Media เข้ามา Network จึงไม่มีความหมายอีกต่อไป เหลือแค่ Social+Media ก็สามารถเข้ามา การสื่อสารแบบเครือข่ายก็ สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น จึงเป็นที่นิยมของผูที่เห็นช่องทางทำาการ ้ ตลาด จนเกิดเป็น Social Media Marketing ซึ่งการ ใช้สื่อประเภทนี้ ควรมีคำาเตือนติดข้างผนังก่อนลงมือ ทำาทุกครั้ง เพราะเมื่อไหร่ที่เราใช้สื่อผิดประเภท หรือผิดช่องทาง สิ่งที่คิดว่าจะได้ผลตอบรับ อาจกลายเป็น “ผลตอกกลับ” มาจาก ผู้บริโภคก็เป็นได้ เพราะการทำา Social Media Marketing เป็น เสมือนการยืนหน้าไปหาคนทีไม่รู้จัก ในเวลาที่เค้ากำาลังเมาท์กัน ่ มันส์ สนั่นชุมชนโคกอีแร้ง หรือที่เรียกว่า “Community” ใครที่ ยืนหน้าเข้าไปในเวลาที่กำาลังเกิดดราม่าอย่างละคร เมียแต่ง ถ้าไม่ สวยกว่า เรยา ก็อย่าได้ยืนหน้าเข้าไปเวลานั้นเลยค่ะ เพราะ นอกจากจะไม่มใครสนใจแล้ว เค้าอาจจะเข้าใจผิดว่าคุณจะมาขอ ี แบ่งสามีเค้าก็ได้นะคะ การสสื่อสารบ น Social Media จึง จำาเป็นต้องมีวิธีที่น่าสนใจ ในเวลาที่เหมาะสม และตรงกลุ่ม เป้าหมาย เพราะฉะนั้น Social Media Marketing ไม่ใช่แค่การ สร้างตัวตนให้รู้ว่ามี แต่มันคือ การสร้างตัวตนให้มีคนรู้จัก กล้า
  • 15. เข้าใกล้และให้ความสนิท สนมอย่างสนิทใจ ไม่ใช่การสร้างตัว ตนที่มีคนเห็น แต่ไม่มีใครจับต้องได้ เพราะมันจะไม่ต่างกับ “ผี” ที่ไม่มีตัวตน 2.2.2 ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของ Social Media 3G,Social Media และความเป็นไทย ส่วนสรุปบทความ ปัจจุบันคนไทยมีโอกาสเข้าถึง Internet ความเร็วสูงหรือ Broadband ได้ โดยมีการขยายตัวเพิ่มถึง 40 เท่าใน ระยะเวลาอันสั้น คงไม่ต้องสงสัยเลยว่าในอนาคตต่อจากนี้ Broadband จะกลายเป็นสิ่งสำาคัญในชีวิตของคนไทยอย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้ สถิติการใช้งาน Internet นั้นมีการเติบโตอย่าง รวดเร็วมาก โดยตลาดมีการขยายตัวสูงถึง 40 เท่า โดยประมาณ การสู้รบระหว่าง Digital กับ Traditional จะต้องมา จบด้วยความพ่ายแพ้ของวื่อยุคเก่า ประเทศไทยจะก้าว ต่อไปในโลก Digital อย่างที่เพื่อนบ้านได้เริ่มมากกว่าทศวรรษ แล้ว นโยบายของรัฐบาลไทยในปัจจุบัน ในหัวข้อที่ว่า “Creative Economy” นั้น คนไทยจะมีโอกาสสร้างฝันให้เป็น จริงได้หรือไม่นั้น อยู่ที่การประยุกต์และผสมผสานเทคโนโลยีเข้า กับจุดเด่นของประเทศเพื่อให้เกิด คุณค่าทางเศรษฐกิจ สูงสุด ดังนั้นถือว่าเทคโนโลยีก็เป็นปัจจัยที่สำาคัญมากสำาหรับ นโยบายการพัฒนาประเทศ เทคโนโลยีในการเข้าถึงได้มีการพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้ง การ แข่งขันเปิดอย่างเสรี ทำาให้มีเวทีในการแข่งขันระหว่างบริษัทชั้น นำา เช่น Apple และ Google ได้นำามาสู่ Disruptive Technology เช่น iphone4,IPAD,Android ที่มีการนำามาใช้งาน Broadband
  • 16. ด้วยอุปกรณ์มือถือขนาดเล็กผ่านโครงข่าย 3G มีประสิทธิภาพ อย่างไม่เคยเป็นมาก่อน ภายใต้ราคาที่เข้าถึงได้ และกำาลังมียอด ขายในประเทศอย่างถล่มทลาย จึงเป็น Corvergance ของ Technology ทีระบบโครงข่าย 3G ซึ่งกำาลังจะมีขึ้นทั่ว ่ ประเทศประจวบกับเทคโนโลยีในการเข้าถึง กำาลังร่วมสร้าง ปรากฏการณ์ของ Broadband ทีจะเป็น Disruptive Change ่ แบบต้องตะลึงกัน อย่างไรก็ดี Broadband เป็นดาบสองคม ถึงจะ มีประโยชน์ในด้านการสื่อสาร ธุรกิจ การศึกษา ฯลฯ จนกระทั่งเพิ่ม GDP ให้กับพื้นที่ครอบคลุมได้ แต่อย่าลืมว่า Broadband ก็เป็น เครื่องมือเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ความคิด วัฒนธรรม ในรูปแบบ ของข้อความ ภาพ เสียง และวีดิโอ ที่สามารถนำาไปสู่การสร้าง สังคมออนไลน์ หรือ Social Media เช่น Facebook, YouTube และ Twitter ทีไม่สามารถทำาได้ด้วยสื่อชนิดอื่น ่ นอกจากนี้ในปัจจุบนเรากำาลังเรากำาลังเข้าสู่นวัตกรรมของ โลก ั จำาลอง หรือ Virtual World ทีอาจมาในรูปแบบของ Second Life ่ หรือเกมออนไลน์ ทั้งหมดนี้ มีอิทธิพลต่อ ความคิด วัฒนธรรม ซึ่ง มีความสำาคัญกับการหล่อหลอมแนวคิดความเป็นไทยอยากหลีก เลี่ยงไม่ได้ สิ่งหนึ่งที่นาสังเกตอีกประการคือ Social media ทีคนไทยใช้เวลา ่ ่ ด้วยมากที่สุดล้วนเป็นของต่างชาติ แต่ในสายตาบริษัทที่ควบคุม โดยต่างชาติแล้ว ตลาดในประเทศไทยไม่ใช่ตลาดใหญ่หรือตลาด ที่สำาคัญ ยังไม่มีบริษท,ศูนย์บริการ หรือกระทั่งพนักงานที่รบผิด ั ั ชอบประเทศไทยเลย ทั้งนี้ social media ที่ปราศจากความเป็น ไทยกำาลังมี อิทธิพลมากในสังคม จำานวนชั่วโมงการใช้social media ต่อวันมี การขยายตัวอย่างต่อเนื่อง และอาจเป็นไปได้ที่คุณค่าทาง วัฒนธรรมของคนไทยจะถูกลบเลือนโดยอิทธิพลของต่าง ชาติ ผ่าน Broadband ด้วยเหตุผลทีว่า สื่อยุคเก่ามีข้อบังคับการนำา ่ เสนอข่าวที่ต้องเป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้และ ความเป็นไทย แต่ สื่อทางอินเตอร์เน็ตนั้นผู้ใช้สามารถเลือกเข้าชมข้อมูลได้อย่าง อิสระ ปราศจากข้อจำากัดที่เข้มงวด
  • 17. ส่วนวิเคราะห์บทความ การติดต่อสื่อสารกันในปัจจุบนนี้นั้น “social media” คงเป็นอีกคำา ั ที่หลายๆคนคุ้นหูกันในฐานะของสื่อที่เข้ามามีบทบาทอย่างมากใน ประเทศไทยรวมถึงทั่วโลกด้วย ไม่วาจะในรูปแบบของการติดต่อ ่ สื่อสารของบุคคล,ติดต่อประสานงานในองค์กรหรือ แม้กระทังการ ่ เข้ามาทำาธุรกิจผ่านช่องทางดังกล่าว บทบาทของ Social Media ในประเทศไทยนั้นส่งผลกระทบต่อการดำาเนินธุรกิจขององค์กร ต่างๆด้วย จะเห็นได้จากการที่องค์กรต่างๆต้องมีการปรับกลยุทธ์ และการดำาเนินธุรกิจโดยมี การดึง social media เข้าไปใช้องค์กร เพื่อให้สอดคล้องกับความเปลียนแปลงของเทคโนโลยีของสังคม ่ ไทย ในยุคปัจจุบัน ข้อดีของการ Social Media,3 ในประเทศไทย 1.เป็นการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้ก้าวเข้าสู่อีกขั้นของ เทคโนโลยีในด้าน การติดต่อสื่อสาร จะเห็นได้ว่าในอดีตนั้นสื่อ หลักทีใช้กันในประเทศจะเป็นสื่อจำาพวก โทรทัศน์,วิทยุ,สื่อสิ่ง ่ พิมพ์ ซึงเป็นจากการติดต่อสื่อสารแบบทางเดียว ไม่มีการตอบ ่ กลับของผู้รบสื่อ เป็นการป้อนข้อมูลผ่านสื่อให้กับผู้บริโภค แต่เมื่อ ั มีการนำา Social Media เข้ามาใช้นั้น เป็นสื่อที่อิสระในด้านของ การให้ข้อมูลและมีการตอบกลับในส่วนของความคิดเห็น ผ่านสื่อ (เป็นการสื่อสารแบบ Two-way-communication) ซึ่งจะมี ลักษณะเด่นในเรื่องของการมีส่วนร่วมเป็นอย่างมาก ผู้เสพสื่อหรือ ผู้รับสื่อก็สามารถเป็นผู้ส่งสารได้ในเวลาเดียวกัน 2.มีการผุดขึ้นของธุรกิจขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่เป็นจำานวนมาก ผ่านการใช้ สื่อ social media ไม่ว่าจะเป็น hi5,facebook,twitter ก็จะมีผู้เข้ามาดำาเนินธุรกิจในรูปแบบนี้ กลายเป็นอีกช่องทางหนึ่ง ในการทำาธุรกิจที่มีความสะดวกสบายและง่ายต่อการ ดำาเนินงาน นอกจากนี้ยังประหยัดต้นทุนและค่าใช้จ่ายจำานวนมาก,บริหาร จัดการง่ายในส่วนของ สินค้า จะเห็นได้วามีธุรกิจจำานวนไม่น้อยที่ ่ ประสบความสำาเร็จจากการทำาธุรกิจผ่านสื่อ ทางอินเตอร์เน็ต เช่น ร้านหนังสือ Amazon ,weloveshopping รวมถึงร้านขนาดเล็กๆ อีกมากมาย
  • 18. 3.เป็นประโยชน์ในเรื่องของการสร้างเครือข่ายต่างๆ ไม่ผ่านจะเป็น ในด้านของธุรกิจ,การเมือง หรือแม้กระทั่งความชอบหรืองาน อดิเรกต่างๆ จะเห็นได้จากแฟนเพจในด้านต่างๆที่มจำานวนมากใน ี สื่ออินเตอร์เน็ต ปัจจุบันนี้ร้านค้าหรือองค์กรธุรกิจต่างๆก็ใช้การ สร้างเครือข่ายเป็นอีกช่อง ทางในการให้ข้อมูลต่างๆของบริษท ั ไม่วาจะเป็นรายละเอียดในส่วนของสินค้า,โปรโมชั่นต่างๆ หรือแม้ ่ กระทั่งการรับฟังข้อมูลความคิดเห็นของลูกค้าผ่านทางสื่อนี้ เนื่องจากมีความสะดวกและสามารถเข้าถึงลูกค้าได้เป็นจำานวน มาก 4.เครือข่าย 3G ถูกพัฒนาเพื่อตอบสนองการใช้งานด้านข้อมูลเป็น หลัก เช่น การรับ-ส่งไฟล์เพลง, วีดีโอ, รูปภาพ, การดาวน์โหลด คอนเท้นต์, การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต, การใช้บริการเสริม เป็นต้น สามารถส่งเพลง MP3 หรือไฟล์วีดีโอ ได้ในเวลาที่รวดเร็ว ในขณะ ที่เครือข่าย GPRS / EDGE ทีใช้กันอยู่ในปัจจุบันจะใช้เวลานา ่ นมากๆ ดังนั้นเป็นประโยชน์อย่างมากสำาหรับบุคคลหรือองค์กรที่ เน้นการใช้งานอินเตอร์ เน็ตหรือใช้งานด้านข้อมูลเป็นหลัก ซึ่งจะ เป็นการช่วยลดเวลาในการดำาเนินงานรวมถึงเพิ่มประสิทธิภาพใน ด้านการ ดำาเนินงานและการจัดเก็บข้อมูลได้เป็นอย่างดี ข้อเสียของการ Social Media,3 ในประเทศไทย 1.การเข้ามาของสื่อในประเทศไทยนั้นรุนแรงและน่ากลัวของ อาชญากรรมผ่านสื่อทาง นีมีมาก เนื่องจากว่าการให้ข้อมูลผ่านสื่อ ้ ไม่มีเงื่อนไขหรือข้อจำากัดที่เข้มงวด ทำาให้เกิดการก่ออาชญากรรม ผ่านการให้ข้อมูล เช่น การล้วงความลับข้อมูลต่างๆ รวมถึงการให้ ข้อมูลเท็จเพื่อหลอกลวงผู้เสพสื่อ ตัวอย่างเช่น ธุรกิจสถาบันการ เงินมีการใช้สื่อทาง Social media เพื่อให้เกิดความสะดวกแก่ ลูกค้าในด้านการทำาธุรกรรมต่างๆทางการเงิน โดยเพียงแค่ใส่ ข้อมูลส่วนตัวเข้าไป ลูกค้าก็สามารถทีจะทำาธุรกรรมทางการเงินได้ โดยไม่ต้องเดินทางไปยังธนาคารเอง กลับก่อให้เกิดการขโมย ข้อมูลเมื่อมีกลุ่มที่สร้างเวปไซด์ลวงขึ้นมาเพื่อให้ คนใช้บริการเกิด ความเข้าใจผิด และเมื่อใส่ข้อมูลส่วนตัวหรือรหัสต่างๆเข้าไปใน ระบบ ทำาให้กลุ่มผู้ไม่หวังดีดังกล่าวสามารถเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้ บริการได้
  • 19. 2.การใช้งานด้าน Social media ในประเทศไทยนัน ยังเป็นแค่ ้ กลุ่มใช้งาน แต่ไม่มีความสามารถในการแข่งขันได้ ถึงแม้ว่า จำานวนผู้ใช้งานในประเทศไทยนั้นมีเป็นจำานวนมาก แต่เราไม่ สามารถปฏิเสธได้ว่าการเข้าใช้งานสื่อทางนี้มีคนจำานวนไม่น้อยที่ เข้าใช้งานเนื่องจากเพื่อให้ตามเทรนด์ของสังคมในยุคปัจจุบันหรือ เพื่อเกาะ กระแสสังคม แต่ยังขาดการพัฒนาในด้านความรู้เพื่อ สร้างสื่อบริการท้องถิ่นภายในประเทศ เพื่อแข่งขันกับสื่อ social media ของต่างประเทศ และเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆนั้น จะเห็น ได้ว่าประเทศอื่นๆมี Social network ท้องถิ่นที่มีประสิทธิภาพสูง ไม่วาจะเป็น QQ ของประเทศจีน,Cyworld ของประเทศเกาหลี,M ่ ixi ของประเทศญี่ปุ่น ก็ลวนแล้วแต่เป็นอันดับหนึ่งในประเทศของ ้ ตน แม้กระทั่งในประเทศอินเดียและอินโดนีเซียก็ยังมี Mobile Social Network ชื่อ Mig33 ซึ่งมีการส่งข้อความภายในประเทศ เป็นสองเท่าของจำานวนทวีทของ Twitter รวมกันทังโลก ้ แต่เมื่อย้อนกลับมามองที่ประเทศไทยซึ่งกำาลังมีการผันกระแสจาก การใช้งาน Hi5 เป็นการใช้งาน Facebook และ twitter นั้นโดย มองไม่เห็นเงาของการบริการท้องถิ่นภายในประเทศเลย นอกจาก นี้การลงทุนในเรื่องของของเทคโนโลยีต่างๆ เช่น บริษัทยักษ์ ใหญ่อย่าง IBM เข้ามาสร้าง Innovation centre ในประเทศ เวียดนาม หรือแม้กระทั่งการที่ Google.org เลือกประเทศกัมพูชา เป็น regional centre โดยมองข้ามประเทศไทย สาเหตุหลักนั่นก็ คือความพร้อมในด้านการศึกษาและพัฒนา ประเทศไทยมีการใช้ งานระบบต่างๆอย่างแพร่หลายแต่กลับไม่มีความมุ่งมั่นในการ พัฒนาระบบเพื่อให้ระบบท้องถิ่นสามารถต่อสู้กับสื่อต่างประเทศที่ เข้ามามี อิทธิพลของประเทศไทยได้ อนาคตของประเทศไทยหากจะประสบความสำาเร็จในโลกของ ธุรกิจของ Social Media นั้น ควรมุงที่จะพัฒนาในเรื่องของความ ่ สามารถในการแข่งขันและปลูกฝังในเรื่องของ ค่านิยมต่างๆภายใน ประเทศมากกว่าการเพิ่มจำานวนผู้เข้าถึงการใช้งานในสื่อทาง นี้ หากมีการมุ่งมั่นและพัฒนาอย่างจริงจัง เชื่อได้แน่นอนว่า ประเทศไทยกับการผสมผสานระหว่างนโยบาย creative economy ของรัฐบาลกับการพัฒนาสื่อที่มีบทบาทและทันสมัย
  • 20. อย่าง Social media จะทำาให้ประเทศไทยก้าวเข้าไปสู่การแข่งขัน กับประเทศเพื่อนบ้านหรือแม้กระทั่ง บนเวทีโลกได้อย่างสมบูรณ์ แหล่งที่มาข้อมูล http://drjoke.com/3g-social-media บทความเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2553 (ตีพิมพ์ลงหนังสือพิมพ์ กรุงเทพธุรกิจ) เนื้อหาต้นฉบับ หัวข้อ 3G Social Media และความเป็นไทย http://drjoke.com/3g-social-media โอกาสของคนไทยจะมาถึงแล้วครับ ต้องขอขอบคุณ กทช. (คณะ กรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ) ด้วยใบอนุญาต 3G ที่ ภายใน 4 ปี 80% ของคนไทยจะมีโอกาสเข้าถึง Internet ความเร็วสูง หรือ Broadband ซึ่งจะเพิ่มขึ้นจากราว 2% และ เป็นการขยายตัวถึง 40 เท่าในระยะเวลาอันสั้น คงไม่ต้องสงสัยว่า 4 ปีหลังจากนี้ Broadband จะกลายมาเป็นสิ่งสำาคัญในชีวิตคน ไทยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ สถิติการใช้งาน Internet ที่ผานมา จะ ่ ถูกบันทึกใหม่ด้วยการเข้าถึงโดย 80% ของคนในประเทศ ธุรกิจที่ เกี่ยวข้องกับ Internet จะเติบโตอย่างรวดเร็ว ด้วยตลาดที่ขยาย ตัวถึง 40 เท่า การสู้รบและประวิงเวลาระหว่าง Digital กับ Traditional จะต้องมาจบลงด้วยความพ่ายแพ้โดยบริบูรณ์ของสื่อ ยุคเก่า ประเทศไทยจะก้าวต่อไปในโลก Digital อย่างที่เพื่อนบ้าน ได้เริ่มมากว่าทศวรรษแล้ว คนไทยจะมีโอกาสสร้างฝันให้เป็นจริง ได้ภายใต้นโยบาย Creative Economy ของรัฐบาลปัจจุบัน เทคโนโลยีในการเข้าถึงได้พัฒนาอย่างไม่หยุดยัง การแข่งขัน ้ อย่างเสรีระหว่างบริษทชั้นนำา เช่น Apple และ Google ได้นำามาสู่ ั Disruptive Technology เช่น iPhone 4, iPad และ Android ที่ ทำาให้การใช้งาน Broadband ด้วยอุปกรณ์มือถือขนาดเล็กผ่าน โครงข่าย 3G มีประสิทธิผลอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน ภายใต้ราคา ที่เข้าถึงได้ และกำาลังมียอดขายในประเทศอย่างถล่มทลาย จึง เป็น Convergence ของ Technology ทีระบบโครงข่าย 3G ซึ่ง ่ กำาลังจะมีขึ้นทัวประเทศประจวบกับเทคโนโลยีในการเข้าถึง กำาลัง ่
  • 21. ร่วมสร้างปรากฏการณ์ของ Broadband ทีจะเป็น Disruptive ่ Change แบบต้องตะลึงกัน อย่างไรก็ดี Broadband เป็นดาบสองคม ถึงจะมีประโยชน์ในด้าน การสื่อสาร ธุรกิจ การศึกษา ฯลฯ จนกระทั่งเพิ่ม GDP ให้กับพื้นที่ ครอบคลุมได้ แต่อย่าลืมว่า Broadband ก็เป็นเครื่องมือเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสาร ความคิด วัฒนธรรม ในรูปแบบของข้อความ ภาพ เสียง และวีดิโอ ที่สามารถนำาไปสู่การสร้างสังคมออนไลน์ หรือ Social Media เช่น Facebook, YouTube และ Twitter ที่ไม่ สามารถทำาได้ด้วยสื่อชนิดอื่นนอกไปจากนี้ เรากำาลังเข้าสู่ นวัตกรรมของ โลกจำาลอง หรือ Virtual World ทีอาจมาในรูป ่ แบบของ Second Life หรือเกมออนไลน์ ทังหมดนี้ มีอิทธิพลต่อ ้ ความคิด วัฒนธรรม ซึ่งมีความสำาคัญกับการหล่อหลอมแนวคิด ความเป็นไทยอยากหลีกเลี่ยงไม่ได้ ปัจจุบัน Social Media ที่คนไทยใช้เวลาด้วยมากที่สุดล้วนเป็น ของต่างชาติทั้งสิ้น ซึ่งในสายตาบริษัทที่ควบคุมโดยคนต่างชาติ แล้ว ประเทศไทยเป็นแค่หนึ่งในหลายๆ ตลาดบนโลกใบนี้ และ ไม่ใช่ตลาดสำาคัญที่สุด โดยให้ความพยายามเพียงแค่การแปลเมนู คำาสั่งโดยผิวเผินให้เป็นภาษาไทยเท่านั้น และไม่ได้ให้ความ สำาคัญกับความเป็นไทย โดยการปรับปรุงแก้ไขลักษณะการให้ บริการให้เข้ากับท้องถิ่นจริง นอกไปจากนี้ Social Media ทีคน ่ ไทยใช้กัน ยังไม่มีบริษทไหนมีศูนย์บริการ หรือกระทั่งพนักงาน ั ประจำาทีรับผิดชอบประเทศไทยเลย ่ ทั้งนี้ Social Media ทีปราศจากความเป็นไทย กำาลังมีอิทธิพลเป็น ่ อย่างมากในสังคม จำานวนชั่วโมงที่คนไทยใช้บน Social Media ต่อวัน มีแนวโน้มขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยได้ทอนเวลาไปจาก สื่อยุคเก่าเช่นโทรทัศน์ วิทยุ และหนังสือพิมพ์ และหากคำานึงว่า Broadband จะมีการขยายตัวถึง 80% อิทธิพลในวันนั้นจะเป็น ทวีคูณของวันนี้ และอาจเป็นไปได้ ที่คุณค่าทางวัฒนธรรมของคน ไทยที่มมากว่าสหัสวรรษ จะต้องถูกลบเลือนโดยอิทธิพลของต่าง ี ชาติผ่าน Broadband ภายในเวลาไม่กทศวรรษในขณะที่สื่อยุค ี่ เก่า เช่น โทรทัศน์ ยังมีข้อบังคับการนำาเสนอข่าวที่ต้องเป็น ประโยชน์ต่อการเรียนรู้ และความเป็นไทย แต่ในสื่อ Internet นั้น
  • 22. ผู้ใช้สามารถเลือกเข้าชมข้อมูลได้ตามใจชอบ หากศึกษากรณีของ เกาหลีใต้ ที่ต่อสู้กับเกาหลีเหนือ โดยใช้สื่อเพื่อนำาความเป็น เกาหลีใต้เข้าครอบงำาจิตใจของคนเกาหลีเหนือ ขนาด เกาหลีเหนือปิดกั้นประเทศทุกวิถีทางยังสั่นคลอนได้ แต่ ประเทศไทยด้วยเทคโนโลยี 3G กำาลังจะเปิดโอกาสให้ต่างชาติ เข้าครอบงำา 80% ของคนในชาติอย่างเสรี ผ่านนวัตกรรม Social Media และ Virtual World ทีจะไปได้ทุกที่ด้วยเทคโนโลยีในการ ่ เข้าถึง เราจึงมีความเสี่ยงที่จะสูญเสียความเป็นไทยที่ไม่สามารถ ซื้อคืนได้ 2.2.3 ประเภทเว็บไซต์ที่ให้บริการ Social Media Social Network • myFri3nd มีรูปแบบคล้ายเว็บ Social Network ทัวไป เป็น ่ เว็บไซต์ในเครือ sanook.com • D-Looks เว็บไซต์ Social Network แนว ๆ hi5 แต่มี สโลแกนว่า เว็บไซต์ดูดี สำาหรับคนดี ๆ • BangkokSpace เป็น Social Network สำาหรับคนชอบ เที่ยวกลางคืน Blogging • exteen เว็บผู้ให้บริการ blog อันดับหนึ่งของไทย สูสีเบียด กับ bloggang อยู่ตลอด แต่หลัง ๆ ดูเหมือนยอดสมาชิกจะ แซงแล้ว ตัวระบบ exteen เองพัฒนาได้ดี • BlogGang ผู้ให้บริการพื้นที่ blog ในเครือ pantip.com ซึ่งสมาชิกส่วนใหญ่ จะเป็นแฟนคลับ หรือขาประจำาของ pantip.com อยู่แล้ว Micro Blogging
  • 23. NokNok เว็บแบบเดียวกับ twitter แต่พัฒนาโดยคนไทย (ในเครือ sanook.com เช่นกัน) แต่ดูมีแนวโน้มการพัฒนาที่ ดี ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อมให้อัพเดทกับ twitter ได้ หรือการ อัพเดท noknok ผ่านมือถือเป็นต้น Social Bookmarking • Zickr เว็บ social bookmark อันดับหนึ่งของไทย คนใช้กัน เพียบ เป็นที่รวมข้อมูลบทความทันสมัย ทีมีคนมาช่วยกันใส่ ่ เรื่องใหม่ ทุกวัน • Duocore เว็บที่รายงานข่าวเกี่ยวกับวงการไอทีไทย ในรูป แบบวีดีโอ โดยใช้ระบบ Social Bookmark มาให้ผู้ชม ช่วย กันส่งเรื่องราวไอทีที่น่าสนใจเข้ามา ในแต่ละสัปดาห์จะมีการ เลือกเรื่องราวที่นาสนใจ ไปทำารายการเป็นรูปแบบวีดีโอ ่ • Siam Collective เว็บ Social Bookmark อีกแห่งหนึ่ง ของไทย • iam in Thai Social Bookmark ของไทยที่เก็บรวบรวม งานอีเว้นต์ และเทศกาลสำาคัญ • Techkr เว็บ Social Bookmark ทีเก็บแต่เรื่องราว ่ เทคโนโลยี Social Mailbox • Fwdder.com เว็บที่ให้คุณสามารถ forward email ต่าง ๆ ที่ได้รบมาจากคนอื่น แล้วนำามาขึ้นแสดงในเว็บไซต์ได้ทันที ั เรียกได้วาเป็นเว็บไซต์ทรวมพวก forward email ไว้ให้อ่าน ่ ี่ กันนั่นเอง 2.3 เว็บบล็อก (WebBlog) 2.3.1 ความหมายของเว็บบล็อก (WebBlog) บล็อก (อังกฤษ: blog) เป็นคำารวมมาจากคำาว่า เว็บ ล็อก (อังกฤษ: weblog) เป็นรูปแบบเว็บไซต์ประเภทหนึ่ง ซึ่งถูก