SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
Download to read offline
ericsson
mobility
reportรายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย
พฤศจิกายน 2014
2 ERICSSON MOBILITY REPORT NOVEMBER 2014
ตัวเลขสถิติที่สาคัญ
250 300 650 15% ล้าน
*วัดจากผู้ใช้งาน VLR สม่าเสมอในประเทศอินเดีย
**ปริมาณการใช้งานข้อมูลต่อเดือนเมื่อจบปี
***เครื่องมือถือที่ใช้งานเป็นประจา
ข้อมูลจานวนผู้ใช้เครือข่ายเคลื่อนที่ 2013 2014
คาดการณ์
ปี 2020
CAGR
2014–2020 หน่วย
จานวนผู้ใช้บริการเครือข่ายเคลื่อนที่ทั่วโลก* 6,700 7,100 9,500 5% ล้าน
> จานวนผู้ใช้ สมาร์ทโฟน 1,900 2,700 6,100 15% ล้าน
> จานวนผู้ใช้คอมพิวเตอร์ แทบเล็ตและเร้า
เตอร์เคลื่อนที่
> จานวนผู้ใช้เครือข่ายบรอดแบนด์เคลื่อนที่ 2,200 2,900 8,400 20% ล้าน
> ผู้ใช้เครือข่ายเคลื่อนที่เฉพาะ GSM/EDGE 4,200 4,000 1,100 -20% ล้าน
> ผู้ใช้เครือข่ายเคลื่อนที่ WCDMA/HSPA 1,600 2,000 4,400 15% ล้าน
> ผู้ใช้เครือข่ายเคลื่อนที่ LTE 200 400 3,500 45% ล้าน
ข้อมูลปริมาณการใช้งาน** 2013 2014
คาดการณ์
ปี 2020
CAGR
2014–2020 หน่วย
> ปริมาณการใช้ข้อมูลต่อเดือนต่อสมาร์ทโฟน*** 700 900 3,500 25% MB/เดือน
> ปริมาณการใช้ข้อมูลต่อเดือนต่อคอมพิวเตอร์พกพา*** 3,300 4,300 15,000 25% MB/เดือน
> ปริมาณการใช้ข้อมูลต่อเดือนต่อแทบเล็ต*** 1,400 1,900 7,600 25% MB/เดือน
ปริมาณการใช้งานข้อมูลบนเครือข่ายเคลื่อนที่ทั้งหมด 2 3.2 25 40% EB/เดือน
ปริมาณการใช้งานข้อมูลบนเครือข่ายอยู่กับที่ทั้งหมด 30 40 140 25% EB/เดือน
ข้อมูลคาดการณ์การเติบโตของการใช้งาน ตัวคูณ
2014–2020
CAGR
2014–2020
การใช้งานข้อมูลบนเครือข่ายเคลื่อนที่ 8 40%
> สมาร์ทโฟน 8 40%
> คอมพิวเตอร์พกพา 3 20%
> แทบเล็ต 15 60%
เครื่องมือTraffic exploration tool และภาคผนวกสาหรับแต่ละภูมิภาค
สร้างกราฟ ตารางและข้อมูลของคุณเองด้วย Ericsson Traffic Exploration Tool ข้อมูลที่
คุณเห็นในรายงานฉบับนี้สามารถกรองดูได้ตามภูมิภาค การใช้งาน เทคโนโลยี การรับส่ง
ข้อมูลและประเภทของเครื่อง คุณสามารถใช้แผนภูมิที่สร้างขึ้นในงานของคุณได้ตราบเท่าที่
คุณให้เครดิต Ericsson ในฐานะแหล่งข้อมูล
หากคุณต้องการข้อมูลเพิ่มเติมให้สแกนQRcodeนี้หรือไปที่
www.ericsson.com/ericsson-mobility-report
ในเว็บไซต์คุณสามารถอ่านภาคผนวกของรายงานเกี่ยวกับภูมิภาคอเมริกาเหนือ ละตินอเมริกา ยุโรป เอเชีย
ตะวันออกเฉียงเหนือ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และโอเชียเนียได้
รายนามผู้จัดทา
หัวหน้าโครงการ: Peter Jonsson
ผู้วิเคราะห์คาดการณ์: Susanna Bävertoft
Richard Möller
ผู้เขียนบทความ: Håkan Andersson
Michael Björn
Stephen Carson
Simon Frost
Istvan Godor
Mikael Halen
Péter Kersch
Per Lindberg
Vishnu Singh
Lasse Wieweg
เนื้อหาของเอกสารฉบับนี้มาจากปัจจัยทางทฤษฏีและการตั้งสมมติฐานEricsson ไม่มีพันธะผูกพันต่อการกล่าวถึงการแสดง การใช้และการละเว้นไม่พูดถึงในเอกสารฉบับนี้นอกเหนือจากนี้
Ericsson ขอสงวนสิทธ์ในการเปลี่ยนแปลงเนื้อหาของเอกสารฉบับนี้ตามวิจารณญาณตามความเหมาะสมและไม่ขอรับผิดชอบใดๆ ทั้งสิ้นต่อผลที่จะตามมาจากการเปลี่ยนแปลงเนื้อหา
NOVEMBER 2014 ERICSSON MOBILITY REPORT 3
Ericsson
Mobility Report
จานวนผู้ใช้งานเครือข่ายเคลื่อนที่ทั่วโลกเติบโตมากขึ้นประมาณร้อยละ 6 ช่วง
เดียวกันของปีในไตรมาสที่ 3 ปี 2014
สารบัญ
ตัวเลขจานวนผู้ใช้บริการเครือข่ายบรอดแบนด์
เคลื่อนที่นั้นเติบโตเร็วยิ่งกว่าเดิมถึงร้อยละ 30
เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันในปี ก่อน มีจานวนถึง
2500 ล้านคน การบริโภคข้อมูลต่อบุคคลนั้นก็
เติบโตขึ้นเรื่อยๆ ด้วยเช่นกัน ร้อยละ 60 ถึง 70
ของโทรศัพท์ที่ขายไปในไตรมาสที่สามของปี
2014 ล้วนแต่เป็ นสมาร์ทโฟนด้วยปัจจัยเหล่านี ้
จึงเป็ นแรงผลักดันให้การรับส่งข้อมูลบน
เครือข่ายเคลื่อนที่เพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 60 ในช่วง
12 เดือนหลังจากไตรมาสที่สามของปี 2013
การคาดการณ์การใช้บริการ ผู้ใช้บริการและ
ปริมาณการรับส่งข้อมูลจนถึงปี 2020 ของเรา
นั้นแสดงให้เห็นถึงการเติบโตที่ยังแข็งแกร่ง เมื่อ
ถึงปี นั ้น ร้อยละ 90 ของประชากรโลกที่อายุ
มากกว่า 6 ปี จะมีโทรศัพท์มือถือ ยิ่งไปกว่านั้น
เราคาดว่าเทคโนโลยี 5G จะสามารถเข้าถึงเชิง
พาณิชย์ได้ในปี 2020 เครือข่าย 5G นั้นจะเป็ น
การผสานสิ่งต่างๆ เช่นการเข้าถึงวิทยุ คลาวด์
กับเทคโนโลยีเสริมใหม่ๆเพื่อเสริมประสิทธิภาพ
และสนับสนุนการใช้ในสถานการณ์ใหม่ๆ อีก
นับพัน
การชมวิดีโอยังคงเป็ นการใช้งานส่วนใหญ่ใน
เครือข่ายเคลื่อนที่ ในเครือข่ายที่ใช้ 4G เป็ นหลัก
นั้นจะมีการใช้งานมากถึงร้อยละ 45 ถึง 55 ของ
ทั้งหมด นี่เป็ นผลมาจากการสตรีมวีดีโอที่เพิ่มมาก
ขึ้นและประสบการณ์การรับชมวีดีโอที่ดียิ่งขึ้น
รายงานวิจัยของ EricssonConsumerLab แสดง
ให้เห็นว่าผู้บริโภคคาดหวังว่าจะเข้าถึงอินเทอร์เน็ต
ได้ทันที ไม่ว่าจะในบ้านหรือนอกบ้านและผู้ใช้งาน
มีความเต็มใจที่จะจ่ายเพื่อให้ได้การเชื่อมต่อที่ดี
ขึ้นในทั้งสองกรณี
บทความของเราเกี่ยวกับชีวิตคนเมืองจะสารวจใน
เรื่องความเหมือนและความแตกต่างของการใช้
งานเครื่องมือสื่อสารในด้านรูปแบบการใช้ข้อมูล
เครือข่ายเคลื่อนที่ในสามเขตหลักๆ ของเมือง
บทความของเราแสดงให้เห็นว่าการวิเคราะห์
โครงสร้างของเมืองที่มีพื ้นจากการวัดจานวน
ประชากรสามารถเข้ากันได้กับการตรวจการใช้
ที่ดินโดยมีพื้นฐานจากการจราจร
เราหวังว่าบทความนี้จะมีคุณค่าและเป็ นประโยชน์
กับท่าน
ผู้จัดพิมพ์: Rima Qureshi
รองประธานอาวุโสและ
หัวหน้าแผนยุทธศาสตร์
จานวนผู้ใช้งานเครื่องมือพกพา ไตรมาสที่สาม ปี 2014 4
ภาพรวมการใช้งานเครื่องมือพกพา 6
ภาพรวมของเครื่องมือ M2M ที่ใช้เครือข่ายโทรศัพท์ 8
ภาพรวมการใช้งานในแต่ละภูมิภาค 9
การรับส่งข้อมูลบนเครือข่ายเคลื่อนที่ไตรมาสที่สาม ปี 2014 11
ภาพรวมการรับส่งข้อมูลบนเครือข่ายเคลื่อนที่ 12
การรับส่งข้อมูลบนเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค 13
ภาพรวมการรับส่งข้อมูลแอพพลิเคชั่นบนเครื่องมือพกพา 14
สถานะของเครือข่ายต่างๆ 16
5G - วิทยาการเบิกทางสู่สังคมเครือข่าย 20
การรับส่งข้อมูลที่มีแรงผลักดันจากการใช้งานวีดีโอ 22
การปรับปรุงคุณภาพในการสตรีมวีดีโอ 24
ประสบการณ์การเชื่อมต่อในบ้าน 26
สัญญาณชีวิตในเมืองใหญ่ 28
คลื่นความถี่สาหรับเครือข่ายบรอดแบนด์เคลื่อนที่ 30
วิธีการศึกษาและอภิธานศัพท์ 31
4 ERICSSON MOBILITY REPORT NOVEMBER 2014
ยุโรปกลางและ
ตะวันออก
ยุโรป
ตะวันตก
ละตินอเมริกา
ประเทศ
ตะวันออกกลาง
ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก(ยกเว้นอินเดียและจีน)
อเมริกา
เหนือ
จีน
แอฟริกา
อินเดีย
จานวนผู้ใช้งานเครื่องมือพกพา ไตรมาสที่สาม ปี 2014
ตัวเลขผู้ใช้งานเครือข่ายเคลื่อนที่ทั่วโลกในไตรมาสที่สามของปี 2014 นั้นอยู่ที่
6,900 ล้านคนซึ่งรวมผู้ใช้งานใหม่อีก 110 ล้านคนช่วงไตรมาสที่สามด้วย
การใช้งานเครือข่ายเคลื่อนที่ทั่วโลกนั้นเติบโตมากขึ้นร้อยละ 1.6 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสเดียวกันในปีก่อน การเข้าถึงเครือข่ายเคลื่อนที่ทั่วโลกมากถึงร้อยละ 95
ในไตรมาสที่สาม ปี 2014
การเข้าถึงสมาร์ทโฟนทั่วโลกยังคงเติบโตอย่างแข็งแกร่ง สมาร์ทโฟนเหล่านี้
เป็ นร้อยละ 65 ถึง 70 ของโทรศัพท์มือถือทั้งหมดที่ขายไปในช่วงไตรมาสที่
สาม ปี 2014 เมื่อเทียบกับประมาณร้อยละ 55 ในช่วงไตรมาสที่สาม ปี 2013
และดูเหมือนว่าจะไม่ช้าลงเลยแม้แต่น้อย จากปริมาณผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ
ทั้งหมดในทุกวันนี้ร้อยละ 37 ใช้สมาร์ทโฟน จึงยังมีที่เหลืออยู่พอสมควรให้
ตลาดเติบโตได้
จานวนผู้ใช้บริการเครือข่ายบรอดแบนด์เคลื่อนที่ยังเติบโตอยู่ที่ร้อยละ 30 เมื่อ
เทียบกับช่วงเดียวกันในปี ก่อนและสูงถึง 2500 ล้านคนในช่วงไตรมาสที่สาม
ของปี 2014
6900 ล้านคน
ผู้ใช้งานเครื่องมือพกพา
ทั่วโลกในไตรมาสที่ 3 ปี 2014
1,380
เทคโนโลยี LTEยังคงเติบโตอย่างแข็งแกร่งและมีผู้ใช้งานถึง 350 ล้านคนแล้ว โดยมี
เพิ่มมาอีก50 ล้านคนในช่วงไตรมาสที่สามปี 2014เทคโนโลยี WCDMA/HSPA มี
ผู้ใช้งานเพิ่มขึ้นสุทธิมากที่สุดในไตรมาสที่ 85 ล้านคน ผู้ใช้งาน 3G/4Gเหล่านี้เกือบทุก
คนล้วนสามารถเข้าถึง GSM/EDGEเป็นเครือข่ายสารองได้ จานวนผู้ที่ใช้เฉพาะ
GSM/EDGEนั้นลดลงถึง 10 ล้านคนหรือร้อยละ 0.2
2500 ล้านคน
ผู้ใช้งานเครือข่ายบรอดแบนด์เคลื่อนที่ทั่วโลกใน
ไตรมาสที่ 3 ปี 2014
720
880
815
595
535
375 370
จานวนผู้ใช้บริการ (ล้านคน)
1,275
NOVEMBER 2014 ERICSSON MOBILITY REPORT 5
ยุโรปกลางและตะวันออก
ยุโรปตะวันตก
ละตินอเมริกา
ตะวันออกกลาง
ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก
(ยกเว้นจีนและอินเดีย)
อเมริกาเหนือ
จีน
แอฟริกา
อินเดีย
การเข้าถึงทั่วโลก
145%
127%
115%
109%
106%
104%
91%
95%
77%
64%
การเข้าถึงการใช้งานเครื่องมือพกพาและโทรศัพท์มือถือ
ประเทศที่จานวนผู้ใช้เพิ่มขึ้นมากที่สุด5อันดับ
อินเดีย +18 ล้านคน
จีน +12 ล้านคน
อินโดนีเซีย +5 ล้านคน
รัสเซีย +4 ล้านคน
สหรัฐอเมริกา +4 ล้านคน
6 ERICSSON MOBILITY REPORT NOVEMBER 2014
ภาพรวมการใช้งานเครื่องมือพกพา
ในปัจจุบัน ส่วนใหญ่ของผู้ใช้งานเครือข่ายเคลื่อนทื่ยังคงใช้โทรศัพท์ธรรมดาอยู่ แต่สิ่ง
นี้กาลังเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว คาดว่าในปี 2016 จานวนผู้ใช้สมาร์ทโฟนจะมากกว่า
โทรศัพท์ปกติเนื่องจากราคาที่ตลาดประเทศกาลังพัฒนาสามารถเข้าถึงได้มากขึ้น
สมาร์ทโฟนนับเป็ นอุปกรณ์ส่วนใหญ่ของเครื่องมือสื่อสารบรอด
แบนด์ในปัจจุบัน และคาดว่าจะมีผู้ใช้มากขึ้นอีกเท่าตัวเมื่อถึงปี
2020
และในปี เดียวกันนั้น เครือข่าย WCDMA/HSPA จะกลายเป็ น
เครือข่ายส่วนใหญ่ของผู้ใช้ทั้งหมดและ เครือข่าย LTE จะมีให้ใช้
ในทุกภูมิภาค ส่วนเครือข่าย GSM/EDGE จะยังคงมีบทบาท
สาคัญในฐานะเครือข่ายสารองในทุกๆ ประเทศ ส่วนบริการ 5G
จะมีให้ใช้ในเชิงพาณิชย์ในปี 2020 และคาดว่าจะมีผู้หันมาใช้เร็ว
กว่าบริการ 4G การเติบโตนี้จะเป็ นผลมาจากการใช้งานใน
สถานการณ์ใหม่ๆ โดยเฉพาะการสื่อสารด้วยเครื่องจักรต่างๆ
หนึ่งในสาเหตุสาคัญที่การใช้งานสมาร์ทโฟนนั้นเติบโตอย่างรวดเร็วนั่นเพราะว่า
ผู้ใช้งานในภูมิภาคแอเชียแปซิฟิก ตะวันออกกลางและแอฟริกากาลังเปลี่ยนจาก
โทรศัพท์ปกติไปใช้สมาร์ทโฟนแทน เหตุผลส่วนนึงเพราะมีสมาร์ทโฟนที่มีราคาถูก
มากขึ้น
จานวนการใช้งานนั้นมีอยู่เกินจานวนประชากรในประเทศนั้นๆ หลักๆ แล้วเพราะ
การใช้งานส่วนใหญ่ไม่ใช่การใช้งานแบบสม่าเสมอ ทั้งนี้อาจเป็ นเพราะผู้ใช้งานมี
เครื่องมือหลายหลายอุปกรณ์ เช่นสาหรับใช้งานด้านธุรกิจหรือใช้งานด้านส่วนตัว
หรือเพื่อให้ใช้จ่ายประหยัดที่สุดด้วยการใช้หลายผู้ให้บริการสาหรับการโทรต่างๆ
(ซึ่งเป็นเรื่องปกติในบางส่วนของแอฟริกา) ผู้ใช้งานในตลาดประเทศที่พัฒนาแล้ว
นั้นมักจะมีเครื่องมือที่สองอื่นๆ เช่นแทบเล็ตด้วย นั่นแปลว่าจานวนผู้ใช้งานจะต่า
กว่าการใช้งาน ปัจจุบันตัวเลขผู้ใช้งานอยู่ที่ 4,600 ล้านคนเมื่อเทียบกับการใช้งาน
ถึง 6,900 รายการ
ในอนาคตคาดว่าจะมีความแตกต่างระหว่างภูมิภาคต่างๆ เช่นการใช้งาน
สมาร์ทโฟนในยุโรปจะอยู่ที่ร้อยละ95 ในปี 2020ขณะที่ในตะวันออกกลางจะมี
ผู้ที่เข้าถึงได้ประมาณร้อยละ 55
คอมพิวเตอร์และแทบเล็ตหลายเครื่องนั้นมักมีการใช้งานโดยไม่มีเครือข่าย
เคลื่อนที่ หนึ่งในสาเหตุนั้นเพราะว่าความแตกต่างของราคาระหว่างเครื่องรุ่นที่
ใช้ Wi-Fi ได้เท่านั้นและเครื่องที่ใช้เครือข่ายเคลื่อนที่ได้ อย่างไรก็ดี จานวน
เครื่องที่สามารถใช้งานเครือข่ายได้จะมีมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงปี 2020
9,500 ล้าน
การใช้งานมือถือเมื่อถึงสิ้นปี 2020
90%
ของประชากรโลกอายุมากกว่า 6 ปีจะมีโทรศัพท์มือถือ
ใช้ในปี 2020
จานวนผู้ใช้งาน 2014 2020
เครื่องมือพกพาทั้งหมด 7,100ล้านคน 9,500 ล้านคน
เครือข่ายบรอดแบนด์เคลื่อนที่ 2,900 ล้าน คน 8,400 ล้านคน
สมาร์ทโฟน 2,700 ล้านคน 6,100 ล้านคน
คอมพิวเตอร์พกพา 300 ล้านคน 650 ล้านคน
แทบเล็ต และเร้าเตอร์
โทรศัพท์มือถืออื่นๆ 230 ล้านคน 800 ล้านคน
NOVEMBER 2014 ERICSSON MOBILITY REPORT 7
ภาพรวมของเครือข่ายเคลื่อนที่แบ่งตามเทคโนโลยี
WCDMA/HSPAจะเป็นเครือข่ายส่วนใหญ่ของการใช้งานทั้งหมดในปี 2020 ที่
4,400การใช้งานเมื่อเทียบกับการใช้งานLTEประมาณ3,500ล้านการใช้งาน
ในปัจจุบันการใช้งานเฉพาะ GSM/EDGE ยังเป็ นส่วนใหญ่อยู่ ในประเทศที่
พัฒนาแล้วมีการย้ายไปใช้เทคโนโลยีที่ก้าวหน้ากว่าเป็ นจานวนมาก ขณะที่ใน
ระดับโลกนี่ทาให้การใช้งานเฉพาะGSM/EDGEลดลงเล็กน้อย
อย่างไรก็ดี GSM/EDGEยังคงเป็นตัวเลือกในประเทศกาลังพัฒนาหลายประเทศ
นั่นเพราะว่าผู้ใช้งานที่ฐานะการเงินไม่สูงจะเลือกใช้งานโทรศัพท์และแพ็คเกจ
เครือข่ายที่ราคาถูก
สมาร์ทโฟน คอมพิวเตอร์พกพา แทบเล็ตเร้าเตอร์พกพา
ที่มีการเชื่อมต่อเครือข่ายโทรศัพท์
เครือข่ายบรอดแบนด์เคลื่อนที่
การใช้งานเครือข่ายบรอดแบนด์เคลื่อนที่ของโลกนั้นคาดว่าจะถึง8,400ล้านการใช้
งานในปี 2020เป็นส่วนแบ่งที่ใหญ่ขึ้นของการใช้งานเครือข่ายบรอดแบนด์ในหลายๆ
ประเทศเครือข่ายบรอดแบนด์เคลื่อนที่จะมีบทบาทควบคู่กับเครือข่ายบรอดแบนด์
อยู่กับที่ในบางภาคส่วนขณะที่อาจเข้ามาแทนที่ในบางภาคส่วน
เครื่องมือที่ใช้งานเครือข่ายบรอดแบนด์เคลื่อนที่ส่วนใหญ่ยังคงและจะเป็นสมาร์ทโฟ
นต่อไปผู้บริโภคหลายคนในประเทศกาลังพัฒนานั้นใช้อินเทอร์เนตครั้งแรกบน
สมาร์ทโฟนซึ่งส่วนใหญ่แล้วเป็นเพราะมีการเข้าถึงเครือข่ายบรอดแบนด์อยู่กับที่
จากัด
ประมาณ 90%
ของการใช้มือถือนั้นมีไว้เพื่อเข้าถึงเครือข่ายบรอดแบนด์เคลื่อนที่
เมื่อถึงสิ้นปี 2020
1
จานวนผู้ใช้อินเทอร์เนตรอดแบนด์อยู่กับที่นั้นมีอย่างน้อยสามเท่าของการเชื่อมต่ออินเทอร์เนตบรอดแบนด์ นั่นเพราะว่ามีการใช้หลายครั้งในครัวเรือน บริษัทและ
สถานที่สาธารณะ สวนทางกับโทรศัพท์มือถือ ที่ซึ่งจานวนการใช้งานสูงกว่าจานวนเลขหมายโทรศัพท์
8 ERICSSON MOBILITY REPORT NOVEMBER 2014
ภาพรวมของเครื่องมือ M2M ที่ใช้เครือข่าย
โทรศัพท์
การสื่อสารระหว่างอุปกรณ์หรือ M2M นั้นกาลัง
อยู่ในช่วงขาขึ้น เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายลดลง
ครอบคลุมมากขึ้น มีเทคโนโลยีวิทยุที่ก้าวหน้า
มากขึ้น มีการกากับดูแลและการใช้งานกับ
รูปแบบธุรกิจที่ประสบความสาเร็จแบบต่างๆ
เมื่อถึงช่วงสิ้นสุดของปี 2014 จะมีการใช้งาน
เครื่องมือ M2M ที่ใช้เครือข่ายมือถือประมาณ
230 ล้าน การใช้งาน และคาดว่าจะถึง 800 ล้าน
ในปี 2020 ในปัจจุบัน เกือบร้อยละ 80 ของ
เครื่องมือ M2M นั้นใช้งานแค่เครือข่าย GSM แต่
สิ่งนี้กาลังจะเปลี่ยนแปลงไป
เพราะคาดว่าเครื่องมือเหล่านั้นจะใช้เครือข่าย
3G/4G เกินกว่าร้อยละ 50 ในปี 2018 การสื่อสาร
ด้วย M2M นั้นคิดเป็ นส่วนแบ่งของการใช้งาน
เครือข่ายมือถือทั้งหมดเป็ นไบต์แล้ว อยู่ที่เพียงแค่
ร้อยละ 0.1 เท่านั้น
ปัจจุบันในอเมริกาเหนือ เครื่องมือพกพาเกือบทั้งหมด
นั้นใช้เครือข่าย 3G หรือ 4G กันหมดแล้ว แบบที่ยังใช้
2G นั้นเหลือเพียงแค่โทรศัพท์แบบ M2M เช่นเดียวกัน
กับในยุโรปตะวันตกสองหรือสามปี ข้างหน้า เหตุผล
หนึ่งคือโมดุล M2M ที่ถูกที่สุดนั้นยังคงใช้เฉพาะ
เครือข่าย GSM เท่านั้น โมดุลเหล่านี้นั้นถูกใช้เพราะ
การใช้งาน ARPU M2M ที่ต่า เหตุผลต่อมาคือการใช้
งาน M2M ในปัจจุบันไม่ต้องใช้เครือข่ายความเร็วสูง
เหตุผลอีกข้อคือ M2M มักมีอายุการใช้งานยาวนาน
ยกตัวอย่างเช่นเครื่องมือมาตรวัดอัจฉริยะนั้นมักถูก
ออกแบบให้ใช้งานได้ถึง 20 ปี ตรงข้ามกับสมาร์ทโฟ
นซึ่งมีการเปลี่ยนทุกๆ 2-3 ปี ในเมื่อ M2M นั้นมีอายุ
การใช้งานที่ยาวนาน การเลือกเครือข่ายสาหรับ
ประเภทของเครื่องรุ่นใหม่จึงขึ้นอยู่กับหลายปัจจัยเช่น
ความจาเป็นในการเชื่อมต่อในปัจจุบันและค่าใช้จ่าย
สาหรับโมดุลนั้นๆ
ร้อยละ 80 ของเครื่องมือ M2M นั้นใช้เฉพาะเครือข่าย
GSM เท่านั้น แม้ว่าจานวนของเครื่องมือดังกล่าวจะ
ยังคงเติบโตมากขึ้นแต่ส่วนแบ่งของเครื่องที่ใช้
เทคโนโลยีดังกล่าวจะลดลงไปอยู่ที่ร้อยละ 25 ในปี
2020 และคาดว่าในปี 2018 การใช้งาน 3G/4G จะ
กลายเป็นเครือข่ายมากกว่าร้อยละ 50ที่ M2M ใช้งาน
แทน เครื่องมือ M2M ที่ใช้ LTE นั้นคาดว่าจะมีการ
นาไปใช้จากปัจจุบันร้อยละ 3 เป็นร้อยละ 20-30 ในปี
2020 และเมื่อถึงเวลานั้นจะนับเป็ นกว่าร้อยละ 40
ของยอดการส่งสินค้าเครื่องมือ M2M
80% ใช้งาน
เฉพาะเครือข่าย
GSM
ปัจจุบันการสื่อสารด้วยM2M นับเป็ นส่วนแบ่งที่เล็กมาก
ประมาณร้อยละ0.1จากจานวนการรับส่งข้อมูลบนเครือข่าย
มือถือทั้งหมดถ้านับเป็ นจานวนไบต์ แต่ปริมาณจะเพิ่ม
สูงขึ้นเมื่อการใช้งานเครื่องมือM2Mที่ใช้ LTEสูงขึ้นและเมื่อ
มีการนาหน่วยประมวลผลที่ทรงพลังมากขึ้นมาใช้งานกับสิ่ง
ที่ใช้แบนด์วิธีสูงและมีความหน่วงสูงเช่นในเครื่องใช้ไฟฟ้ า
ของผู้บริโภคยานพาหนะและป้ ายโฆษณาอย่างไรก็ดี M2M
ก็จะยังเป็นส่วนแบ่งที่เล็กการใช้งาน5Gเชิงพาณิชย์นั้นจะ
เริ่มเปิ ดตัวในปี 2020 และการใช้ 5G นั้นจะมีแรงผลักดัน
หลักๆแล้วจากการใช้งานแบบใหม่ๆโดยเฉพาะการสื่อสาร
ระหว่างอุปกรณ์
3G/4G จะ
นับเป็น 50% ของ
การใช้งาน
NOVEMBER 2014 ERICSSON MOBILITY REPORT 9
ภาพรวมการใช้งานในแต่ละภูมิภาค
จานวนการใช้งานเครือข่ายเคลื่อนที่นั้นเติบโตขึ้นในทุกภูมิภาค แต่ปัจจัยที่
มีผลต่อการเติบโตนั้นมีความแตกต่างกันไป
ในภูมิภาคที่กาลังพัฒนานั้น การเติบโตนั้นมาจากผู้ใช้รายใหม่ๆ เนื่องจาก
โทรศัพท์นั้นมีราคาถูกลง ในทางตรงกันข้าม การเติบโตในตลาดของประเทศ
ที่อิ่มตัวแล้วจะมาจากจานวนเครื่องมือที่เพิ่มมากขึ้นต่อคนหนึ่งคน
เทคโนโลยีเครือข่ายเคลื่อนที่ในอดีตและสถานภาพทางเศรษฐกิจยังมีผล
ต่อการใช้งานในแต่ละภูมิภาคด้วยเช่นกัน
การหันมาใช้เทคโนโลยี LTE อย่างรวดเร็วทาให้อเมริกาเหนือเป็นภูมิภาค
ที่มีส่วนแบ่งผู้ใช้เทคโนโลยีนี้มากที่สุดในโลก ในปี 2020 เครือข่าย LTE
จะเป็นร้อยละ 80 ของการใช้งานในภูมิภาคนี้
ส่วนแบ่งของการใช้
3G/4G
2014 2020
ในยุโรปตะวันตก การนา LTE มาใช้ก่อนและเครือข่าย 3G ที่พัฒนาไว้
เป็นอย่างดีทาให้ภูมิภาคนี้เป็นผู้นาในด้านเครือข่ายบรอดแบนด์เคลื่อนที่
โดยมีร้อยละ 65 ของการใช้งานทั้งหมดเป็นเครือข่าย WCDMA/HSPA
คาดว่า LTE จะมีส่วนแบ่งการใช้งานถึงร้อยละ 75 ในปี 2020
ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ละตินอเมริกา ตะวันออกกลาง และแอฟริกา
กาลังเปลี่ยนจากที่ส่วนใหญ่ใช้เพียงแค่ GSM/EDGE เท่านั้นในปี 2014
ให้กลายเป็นตลาดที่ส่วนใหญ่แล้วใช้งาน WCDMA/HSPA และ LTE
ภายในปี 2020
การใช้งานเครือข่ายเคลื่อนที่ยังคงเติบโตต่อเนื่องในทุกภูมิภาค การที่โทรศัพท์
มีราคาถูกนั้นมีปัจจัยเสริมจากการที่ผู้ให้บริการต้องการปรับราคาด้วยบริการ
พิเศษเช่นโปรโมชั่นแชร์ราคาสาหรับครอบครัวหรือการให้บริการกับหลาย
เครื่องด้วยบัญชีเดียว อีกปัจจัยคือแนวโน้มในการเป็นเจ้าของหลาย SIM ซึ่ง
เป็นตัวแยกระหว่างการใช้งานโทรศัพท์เพื่อธุรกิจหรือเพื่อเรื่องส่วนตัว
ในปี 2014 การใช้งานมือถือในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ละตินอเมริกา
ตะวันออกกลางและแอฟริกาส่วนใหญ่แล้วยังมีแค่ GSM/EDGE เท่านั้น
ขณะที่การใช้งานในอเมริกาเหนือและยุโรปตะวันตกหลักๆ แล้วเป็น
WCDMA/HSPA และ LTE
7.1 billion mobile
subscriptions
อเมริกาเหนือ 100% 100%
ยุโรปตะวันตก 75% 100%
ยุโรปกลางและตะวันออก 50% 95%
ละตินอเมริกา 40% 95%
เอเชียแปซิฟิก 35% 85%
ตะวันออกกลางและแอฟริกา 20% 85%
10 ERICSSON MOBILITY REPORT NOVEMBER
2014
85%
ของการใช้มือถือในตะวันออกกลางและแอฟริกาจะใช้
เครือข่าย3G/4G เมื่อถึงปี 2020
85%
ของการใช้มือถือในเอเชียแปซิฟิกจะใช้เครือข่าย3G/4G
เมื่อถึงปี 2020
ทั้งผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการนั้นนาเทคโนโลยี LTEไปใช้งานอย่างรวดเร็วโดยเฉพาะใน
อเมริกาเหนือญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ ซึ่งจะเป็นผู้ใช้บริการส่วนใหญ่อย่างเร็วถึงปี 2015
(หรือ2013 สาหรับประเทศเกาหลีใต้)ในทุกภูมิภาคเครือข่าย 2G จะยังคงเป็น
เทคโนโลยีสารองในส่วนที่เครือข่าย3GและGเข้าไม่ถึงเมื่อสิ้นสุดช่วงที่คาดการณ์ไว้
เทคโนโลยี 5Gจะมีให้ใช้เป็นครั้งแรกโดยอาจจะเริ่มที่ญี่ปุ่นเกาหลีใต้และสหรัฐอเมริกา
ในภูมิภาคละตินอเมริกา การใช้งานเฉพาะ GSM/EDGE เท่านั้นนับเป็นร้อย
ละ 55 ของการใช้งานเครือข่ายมือถือขณะที่ภายในปี 2020 WCDMA/HSPA
จะนับเป็นร้อยละ 65 ของการใช้งานเครือข่ายทั้งหมด
ยุโรปตะวันตกยังถือเป็นแนวหน้าของวงการอินเทอร์เนตบรอดแบนด์เคลื่อนที่
โดยมีการใช้งานร้อยละ65เป็นWCDMA/HSPAและ LTE จะมีส่วนแบ่งการใช้
งานร้อยละ 75 ภายในปี 2020
ในยุโรปกลางและตะวันออก ส่วนแบ่งของ WCDMA/HSPA นั้นกาลัง
เพิ่มขึ้น เครือข่าย LTE นั้นมีการนาไปใช้แล้วในส่วนที่พัฒนาแล้วของ
ภูมิภาคและจะมีอยู่ในเกือบทุกประเทศภายในปี 2015 ดังนั้นร้อยละ 25
ของการใช้งานทั้งหมดจะเป็นเทคโนโลยี LTE ภายในปี 2020
ตลาดประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก การใช้เครือข่ายเคลื่อนที่ยังคงมีการ
เติบโตอย่างมาก โดยจะมีการใช้งานเพิ่มถึง 1,300 ล้าน ภายในปี 2020 ญี่ปุ่น
และเกาหลีใต้เป็นผู้ที่นาเทคโนโลยี LTE ไปใช้เป็นประเทศแรกๆ และมีการ
เข้าถึงมากกว่าร้อยละ 45 และ 70 ตามลาดับ คาดการณ์ว่าญี่ปุ่นและเกาหลี
ใต้จะนับเป็นร้อยละ 25 ของการใช้งาน LTE ของโลกเมื่อสิ้นสุดปี 2014
จีนแผ่นดินใหญ่นั้นเริ่มมีการนา LTE มาใช้ และเมื่อสิ้นสุดปี 2020 จะมีการใช้
งานมากกว่า 1,200 ล้านการใช้งาน สูงกว่าหนึ่งในสามของจานวนทั้งโลก
การใช้งานเฉพาะ GSM/EDGE นับเป็นร้อยละ 80 ของการใช้งานในตะวันออก
กลางและแอฟริกา ก่อนถึงปี 2020 WCDMA/HSPA จะนับเป็นร้อยละ 65 ของ
การใช้งานมือถือทั้งหมด แต่ส่วนใหญ่แล้วจะยังคงมีการใช้งานเฉพาะ
GSM/EDGE เท่านั้นอยู่ ในภูมิภาคแอฟริกาสะฮารา GSM/EDGE จะยังคงเป็น
เครือข่ายที่มีการใช้งานอยู่มากที่สุดเนื่องจากจานวนผู้บริโภครายได้ต่าที่ใช้
โทรศัพท์ 2G นั้นมีจานวนมาก
NOVEMBER 2014 ERICSSON MOBILITY REPORT
11
การรับส่งข้อมูลบนเครือข่ายเคลื่อนที่ไตรมาสที่สาม ปี 2014
ครั้งหนึ่งโทรศัพท์มือถือมีจุดประสงค์การใช้งานหลักคือการสื่อสารด้วยการ
พูดคุย แต่ตอนนี้โทรศัพท์สามารถใช้เข้าถึงบริการต่างๆ มากมายได้ และยิ่ง
ความสามารถเพิ่มมากขึ้นก็จะใช้ทาสิ่งที่ครั้งหนึ่งมีเพียงคอมพิวเตอร์เท่านั้น
ที่ทาได้
จานวนการใช้งานข้อมูลบนเครือข่ายเคลื่อนที่นั้นกาลังพุ่งสูงขึ ้นอย่าง
รวดเร็ว เช่นเดียวกับขนาดการส่งข้อมูลโดยเฉลี่ยต่อหนึ่งการใช้งาน สิ่ง
เหล่านี้กาลังเป็นทาให้ปริมาณการใช้งานข้อมูลเติบโตมากขึ้น
การเติบโตของปริมาณการใช้ข้อมูลนั้นอยู่ที่ร้อยละ 10 เมื่อเทียบกันกับไตร
มาสเดียวกันของปีก่อน และร้อยละ 60 เมื่อเทียบช่วงเดียวกันของปี
กราฟข้างล่างนี้แสดงถึงการเติบโตอย่างต่อเนื่องของการรับส่งข้อมูล
ขณะที่การรับส่งเสียงนั้นเกือบจะไม่มีการเคลื่อนไหว1
ในตลาดประเทศที่พัฒนาแล้วมากๆ นั้น บริการโทรและ SMS ไม่ใช่
บริการหลักอีกต่อไป อันจะเห็นได้ชัดเจนจากผู้ใช้สมาร์ทโฟนที่ใช้บริการ
เกี่ยวกับข้อมูลเป็นปกติในชีวิตประจาวัน
1 การรับส่งข้อมูลไม่รวมการส่งผ่านเครือข่ายWi-FiหรือDVB-Hการส่งข้อมูลเสียงไม่รวมการส่งแบบVoIPไม่รวมการรับส่งข้อมูลของM2M
60%
การรับส่งข้อมูลที่เพิ่มขึ้น
ระหว่างไตรมาสที่สามปี 2013
ถึงไตรมาสที่สามปี 2014
12 ERICSSON MOBILITY REPORT NOVEMBER
2014
ภาพรวมการรับส่งข้อมูลบนเครือข่ายเคลื่อนที่
การรับส่งข้อมูลที่เพิ่มขึ้น 2014
(EB/month)
ตัวคูณ
2014–2020
ปริมาณการใช้สมาร์ทโฟนที่สูงขึ้นเป็นแรงผลักดันหลักที่ทาให้การรับส่ง
ข้อมูลนั้นเติบโตขึ้น การบริโภคข้อมูลมือถือต่อการใช้งานซึ่งปกติแล้วมา
จากการชมวีดีโอก็เป็นสิ่งที่ส่งเสริมการเติบโตนี้ด้วย
การรับส่งข้อมูลบนเครือข่ายเคลื่อนที่คาดว่าจะเติบโตในอัตราเติบโตเฉลี่ย
สะสมต่อปี (CAGR) ที่ร้อยละ 40 ในช่วงตั้งแต่ปี 2014 ถึง 2020 ทาให้มี
การรับส่งเพิ่มขึ้น 8 เท่าเมื่อถึงสิ้นปี 2020 ปริมาณรับส่งข้อมูลที่มาจาก
สมาร์ทโฟนตอนนี้นั้นเป็นสองเท่าของปริมาณของ PC แทบเล็ตและเร้า
เตอร์เคลื่อนที่
การรับส่งข้อมูลในส่วนของโทรศัพท์มือถือนั้นส่วนใหญ่มาจากสมาร์ทโฟน
การใช้งานสมาร์ทโฟนคาดว่าจะเพิ่มมากขึ้นมากกว่าเท่าตัวก่อนปี 2020
ทาให้การรับส่งข้อมูลเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว การรับส่งข้อมูลบนสมาร์ท
โฟนในแต่ละเดือนผ่านเครือข่ายเคลื่อนที่จะเพิ่มขึ้นถึง 8 เท่าระหว่างปี
2014 ถึงปี 2020 นอกจากนี้ยังมีความแตกต่างในด้านการใช้งานข้อมูล
ระหว่างเครือข่าย ประเทศ และผู้ใช้ที่แตกต่างกัน
การรับส่งข้อมูลบนเครือข่ายเคลื่อนที่จาก
โทรศัพท์มือถือนั้นอยู่ที่ประมาณสองเท่าของ
การรับส่งบนคอมพิวเตอร์พกพา แทบเล็ตและ
เร้าเตอร์
ผู้ใช้งานจานวนเล็กๆ มีการใช้งานรับและส่งข้อมูลจานวนมาก ปัจจัยเช่น
ปริมาณสูงสุดในการส่งข้อมูลแต่ละครั้ง แผนค่าใช้จ่ายรวมถึงขนาดและ
ความละเอียดของหน้าจอเครื่องของผู้ใช้งานล้วนมีผลต่อปริมาณการ
รับส่งข้อมูลต่อผู้ใช้
การรับส่งข้อมูลที่เพิ่มขึ้นระหว่างปี 2019 และ 2020 จะมากกว่าปริมาณ
การรับส่งข้อมูลบนเครือข่ายเคลื่อนที่มีมาทั้งหมดจนถึงสิ้นปี 2013
8 เท่า
การรับส่งข้อมูลผ่านสมาร์ทโฟนที่เพิ่มขึ้นระหว่างปี
2014 ถึงปี 2020
ปริมาณการรับส่งข้อมูลของโลกต่อเดือน (ExaByte)
การใช้งานในปัจจุบันในที่นี้หมายถึงจานวนเครื่องมือที่ใช้อยู่ในขณะนี้ไม่รวมการใช้งานแบบหลาย SIM หรือเครื่องมือที่ไม่ได้ใช้งาน
การรับส่งข้อมูลทั้งหมด 3.2 8
สมาร์ทโฟน 2.1 8
คอมพิวเตอร์พกพาแทบเล็ต
เร้าเตอร์เคลื่อนที่ 1.1 7
NOVEMBER 2014 ERICSSON MOBILITY REPORT
13
การรับส่งข้อมูลบนเครือข่าย
เคลื่อนที่ในแต่ละภูมิภาค
Mobile data traffic
growth by region
2014
(EB/month)
Multiplier
2014–2020
ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกจะยังคงมีส่วนแบ่งมาก
ที่สุดในการรับส่งข้อมูลบนเครือข่ายเคลื่อนที่
ทั้งหมดในปี 2020 หลักๆ แล้วเนื่องจากมีการ
ใช้งานเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
จีนเพียงประเทศเดียวจะมีปริมาณการใช้งาน
เครือข่ายเคลื่อนที่เพิ่มขึ้นกว่า 450 ล้านการใช้
งานในช่วงเวลาจนถึงปี 2020 ทว่าเนื่องจากความ
หลากหลายในแต่ละภูมิภาค ปริมาณการใช้งาน
ข้อมูลจึงยังมีความแตกต่างอยู่สาหรับแต่ละ
ประเทศ
ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิ กนั้นเป็ นตลาดที่มีความ
หลากหลายของการใช้เครือข่ายบรอดแบนด์และ
มีความอิ่มตัวอยู่แตกต่างกันหลายระดับ เช่นใน
เกาหลีใต้และญี่ปุ่ นที่ใช้เทคโนโลยี LTE ก่อน
ประเทศอื่น ขณะที่เครือข่ายบรอดแบนด์แรกๆ
ของโลกนั้นมักถูกนามาใช้ในประเทศออสเตรเลีย
ทว่า GSM จะยังคงเป็ นเครือข่ายหลักในประเทศ
อื่นๆ คุณภาพเครือข่ายที่ยังต่าผนวกกับแผนราคา
ของข้อมูลจะยังเป็ นปัจจัยเบื้องหลังอัตราการ
บริโภคเครือข่ายมือถือที่ต่านี้
The Central Europe and Middle East
and Africa (MEA) region is expected
to show strong growth during the
period. North America and Western
Europe currently have a significantly
larger share of total traffic volume
than their subscription numbers
alone would imply. This is due to
The large proportion of high-end
user devices and well built-out
WCDMA/HSPA and LTE networks
in those regions, leading to higher
data usage per subscription. North
America will have a smaller share of
ทั้งนี้เนื่องจากส่วนแบ่งตลาดของสมาร์ทโฟนจาก
การใช้โทรศัพท์มือถือทั้งหมดจะถึงจุดอิ่มตัวก่อน
ภูมิภาคอื่นๆ
ในยุโรปตะวันตก การรับส่งข้อมูลเครือข่าย
เคลื่อนที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้น 8 เท่าในช่วงระหว่างปี
2014 และ 2020 ความเร็ วที่ดีขึ้นกับ
ความสามารถของเครือข่าย HSPA ผนวกกับการ
นา LTE มาใช้จะเป็ นการกระตุ้นให้ผู้บริโภค
ต้องการประสบการณที่ดียิ่งกว่าเดิม
9เท่า
การรับส่งข้อมูลที่เพิ่มขึ้นใน
เอเชียแปซิฟิกจนถึงปี 2020
ปริมาณการรับส่งข้อมูล
ของโลกต่อเดือน
(ExaByte)
เอเชียแปซิฟิก 1.3 9
ยุโรปกลางตะวันออกกลางและแอฟริกา 0.5 9
ยุโรปตะวันตก 0.5 8
อเมริกาเหนือ 0.6 6
ละตินอเมริกา 0.3 6
ยุโรปกลางและตะวันออกกลางกับแอฟริกา
(MEA) นั้นคาดว่าจะมีการเติบโตอย่าง
แข็งแกร่งในช่วงที่คาดการณ์ไว้ อเมริกาเหนือ
และยุโรปในปัจจุบันนั้นมีส่วนแบ่งปริมาณการ
รับส่งข้อมูลที่มากอย่างเห็นได้ชัดเมื่อเทียบ
จานวนตัวเลขการใช้งานจะบอกได้ เพราะว่าใน
ภูมิภาคเหล่านี้มีการใช้งานเครื่องมือระดับสูง
และเครือข่าย WCDMA/HSPA กับ LTE ที่มี
คุณภาพ ส่งผลให้การใช้ข้อมูลต่อหนึ่งการใช้
งานนั้นสูงกว่า อเมริกาเหนือจะมีส่วนแบ่งการ
รับส่งข้อมูลของโลกในปี 2020 น้อยกว่าในปี
2014
14 ERICSSON MOBILITY REPORT NOVEMBER
2014
ภาพรวมการรับส่งข้อมูลแอพแอพพลิเคชั่นบน
เครื่องมือพกพา
วีดีโอคือส่วนที่ใหญ่และเติบโตเร็วที่สุดของการรับส่งข้อมูลในเครือข่าย
เคลื่อนที่ ซึ่งคาดว่าจะเติบโตประมาณร้อยละ 45 ในแต่ละปีจนถึงปี 2020
ซึ่งคาดว่าเมื่อถึงเวลานั้น จะนับเป็นร้อยละ 55 ของการรับส่งข้อมูลทั้งหมด
ทั่วโลก
ส่วนแบ่งการรับส่งข้อมูลบน
เครือข่ายเคลื่อนที่
2014 2020
ในปัจจุบัน เว็บไซต์ YouTube ครองส่วนแบ่งการใช้ข้อมูลในเครือข่ายเคลื่อนที่
เกือบทุกที่และนับเป็นร้อยละ 40 ถึง 60 ของปริมาณการรับชมวีดีโอในหลาย
เครือข่ายเคลื่อนที่หลายเครือข่าย
การสตรีมเพลงนั้นกาลังได้รับความนิยมมากขึ้น ทว่าฟังค์ชั่นเช่นการแคช
เนื้อหาและ Playlist แบบออฟไลน์นั้นเป็นปัจจัยที่จากัดการเติบโตการรับส่ง
ข้อมูลการรับส่งเพลงนั้นคาดว่าจะเติบโตในอัตราปีละร้อยละ 35 ซึ่งสอดคล้อง
กับการเติบโตของการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายเคลื่อนที่ทั้งหมด
แอพพลิเคชั่นที่ต่างกันนั้นมีระดับการใช้ที่ต่างกันในแต่ละเครื่องมือ ซึ่งบ่ง
บอกว่าการมีจาหน่ายและประเภทของเครื่องมือนั้นก็ส่งผลต่อปริมาณ
ข้อมูลในเครือข่ายเคลื่อนที่ด้วย
ทุกวันนี้โซเชียลเน็ตเวิรค์นับเป็นร้อยละ 15 ของการรับส่งข้อมูลบนเครือข่าย
เคลื่อนที่ ส่วนแบ่งตลาดนั้นจะยังคงอยู่ในระดับเดียวกันกับทุกวันนี้ในปี
2020 แม้จะมีเนื้อหาที่ลุ่มลึกมากขึ้นเรื่อยๆ ก็ตาม
ขณะเดียวกัน ส่วนแบ่งที่เกิดจากการท่องเว็บไซต์นั้นจะลดลงเมื่อถึงปี 2020
อันเป็นผลมาจากการเติบโตในเรื่องของวีดีโอและโซเชียลเน็ตเวิรค์ ผู้บริโภค
นั้นกาลังหันไปหาการดูวีดีโอหรือใช้แอพพลิเคชั่นแอพบนเครื่องมือพกพาที่
ใช้ในการท่องเว็บไซต์มากขึ้น
การเกิดแอพแอพพลิเคชั่นใหม่ๆ สามารถเปลี่ยนปริมาณการรับส่งข้อมูล
ต่างๆ กันได้ แต่ความแพร่หลายของเครื่องมือบางประเภทก็ส่งผลต่อการ
รับส่งข้อมูลเช่นเดียวกัน ยกตัวอย่างเช่นแทบเล็ตนั้นจะมีส่วนแบ่งการดู
วีดีโอออนไลน์มากกว่าสมาร์ทโฟน
ประมาณ 55%
ของการรับส่งข้อมูลบนเครือข่ายเคลื่อนที่จะมา
จากการดูวีดีโอในปี 2020
วีดีโอนั้นคาดว่าจะเป็นส่วนแบ่งสาคัญของการแชร์ไฟล์นอกเหนือจากการใช้งานประเภทดูวีดีโอ และการใช้งานอื่นๆ ที่ถูกเข้ารหัสไว้คือการเข้ารหัสในชั้นเครือข่าย (เช่น VPN) หรือการส่งข้อมูล
(TSL/SSL) การเข้ารหัสในระดับแอพพลิเคชั่น เช่นการใช้ DRM สาหรับเนื้อหาวีดีโอนั้นไม่นับ
1
ข้อมูลนี้มาจากการวัดของ Ericsson ในเครือข่ายเพื่อการพาณิชย์จานวนหนึ่งในเอเชีย ยุโรปและอเมริกาทั้งเหนือและใต้
วีดีโอ 45% 55%
โซเชียลเน็ตเวิรค์ 15% 15%
การท่องเว็บไซต์ 10% 5%
ฟังเพลง 2% 2%
NOVEMBER 2014 ERICSSON MOBILITY REPORT
15
10 เท่า
การเติบโตของการชมวีดีโอบนเครือข่ายเคลื่อนที่
มีปัจจัยอยู่หลายอย่างด้วยกันที่ส่งผลต่อการเติบโตของการชมวีดีโอบนเครือข่าย
เคลื่อนที่ เหตุผลสาคัญประการหนึ่งคือจานวนเครื่องมือที่สามารถใช้ชมวีดีโอได้ของ
ผู้บริโภคซึ่งมีพัฒนาการอยู่เสมอ หลายชิ้นในปัจจุบันมีหน้าจอขนาดใหญ่ขึ้นทาให้
คุณภาพของวีดีโอคมชัด เนื้อหาวีดีโอยังปรากฏในส่วนอื่นของประสบการณ์
ออนไลน์ด้วยเช่นการดูข่าว โฆษณาและโซเชียลมีเดีย การสตรีมวีดีโอนั้นกาลัง
เติบโตอย่างเข้มแข็งโดยมีแรงผลักดันหลักคือผู้ให้บริการแบบ Over the top หรือ
OTT อย่าง YouTube หรือ Netflix
ความเร็วของเครือข่ายที่เหนือกว่าของ HSPA และ LTE ก็เป็ นอีกหนึ่งปัจจัยสาคัญ
พฤติกรรมของผู้บริโภคกาลังเปลี่ยนไปทาให้มีการบริโภควีดีโอบนทุกเครื่องมือใน
จานวนที่มากขึ้นรวมถึงตอนที่ออกจากบ้านด้วย ความละเอียดวีดีโอระดับ UltraHD
กาลังค่อยๆ ได้รับความนิยมแม้ว่ายังไม่มีผลต่อเครื่องมือพกพาจนสังเกตเห็นได้
ปัจจัยเหล่านี้ทาให้ปริมาณการรับส่งวีดีโอสูงขึ้น ปริมาณของวีดีโอที่เข้ารหัสก็สูงขึ้น
อย่างรวดเร็วเช่นเดียวกัน
การปรับปรุงทางเทคนิคเช่นการบีบอัดวีดีโอแบบใหม่จะนาไปสู่การใช้ข้อมูลที่มี
ประสิทธิภาพมากขึ้นและทาให้ผู้บริการเครือข่ายสามารถตอบสนองกับความ
ต้องการที่เพิ่มขึ้นได้
การรับส่งข้อมูลที่เพิ่มขึ้นในช่วงระหว่าง
ปี 2014 และ ปี 2020
16 ERICSSON MOBILITY REPORT NOVEMBER
2014
GSM/EDGE
WCDMA/HSPA
LTE
GSM/EDGE
WCDMA/HSPA
LTE
สถานะของเครือข่ายต่างๆ
ในตลาดที่มีการแข่งขันสูงในปัจจุบัน ผู้ใช้บริการล้วนคาดว่าจะได้รับประสบการณ์ที่ดี
และการปรับปรุงบริการอย่างต่อเนื่อง การพัฒนาขีดความสามารถของเครือข่าย
เคลื่อนที่จึงเป็ นกุญแจสาคัญเพื่อที่จะแน่ใจได้ว่าผู้ใช้จะได้รับประสบการณ์ที่ยอดเยี่ยม
ดังกล่าว
ในตลาดที่มีการแข่งขันสูงในปัจจุบัน ผู้ใช้บริการล้วนคาดว่าจะได้รับประสบการณ์ที่ดีและ
การปรับปรุงบริการอย่างต่อเนื่อง การพัฒนาขีดความสามารถของเครือข่ายเคลื่อนที่จึง
เป็นกุญแจสาคัญเพื่อที่จะแน่ใจได้ว่าผู้ใช้จะได้รับประสบการณ์ที่ยอดเยี่ยมดังกล่าว
เมื่อถึงปี 2020 ร้อยละ 90 ของประชากรโลกจะสามารถเข้าถึงเครือข่ายบรอดแบนด์
เคลื่อนที่และอินเทอร์เนตได้ ขณะเดียวกันก็มีการปรับปรุงเพิ่มฟังค์ชั่นเครือข่ายและขีด
ความสามารถในการให้บริการใหม่ๆ ทั้งในด้านตัวข้อมูลและเสียง
ทั้งนี้ยังรวมถึงการปรับปรุงความเร็วในการรับและส่งข้อมูลและหาทางใหม่ๆ
เพื่อที่จะส่งเนื้อหาในคุณภาพระดับหนึ่งๆ (เช่นด้วย LTE Broadcast) การ
ปรับปรุงคุณภาพเสียงและศักยภาพสาหรับบริการสื่อสารใหม่ๆ ที่ลุ่มลึก
กว่าเดิมนั้นเกิดขึ้นได้เพราะ mobile HD voice และ VoLTE ยิ่งไปกว่านั้น
ความแพร่หลายของฟังค์ชั่น Wi-Fi calling ในสมาร์ทโฟนก็ทาให้ผู้ใช้
สามารถได้ทั้งบริการเสียงจากผู้ให้บริการเครือข่าย (ผ่าน SIM) และบริการ
สื่อสารในบ้านผ่าน access point Wi-Fi ของตนเองได้
ความครอบคลุมของเครือข่ายสาหรับประชากรโลก
ยิ่งมีการติดตั้งสถานีฐานมากเท่าไร ความครอบคลุมของเครือข่ายเคลื่อนที่ก็เพิ่มขึ้น
อย่างต่อเนื่องเท่านั้น ปัจจุบัน GSM/EDGE นั้นครอบคลุมมากที่สุดถึงร้อยละ 85 ของ
ประชากรโลก
ในตอนสิ้นสุดปี 2013เครือข่ายWCDMA/HSPAนั้นครอบคลุมประชากรประมาณร้อยละ
60 ของโลกความต้องการเข้าถึงอินเทอร์เนตและราคาสมาร์ทโฟนที่ถูกลงรวมถึงความ
จาเป็นตามกฏระเบียบที่จะต้องเชื่อมต่อจะเป็นแรงผลักดันให้เทคโนโลยีนี้เติบโตต่อไปเมื่อ
ถึงสิ้นปี 2020ประมาณร้อยละ90 ของประชากรโลกจะเข้าถึงเครือข่าย WCDMA/HSPA
และอินเทอร์เนตได้1
มากกว่า70%
ของประชากรโลกจะเข้าถึงเครือข่าย LTE ได้ในปี 2020
เราคาดการณ์ว่าเครือข่ายLTE จะครอบคลุมประมาณร้อยละ 20 ของประชากรโลก
เมื่อถึงสิ้นปี 2013 เราคาดการณ์ว่าตัวเลขดังกล่าวจะสูงขึ้นถึงมากกว่าร้อยละ 70
เมื่อถึงปี 2020
ความครอบคลุมของเครือข่ายสาหรับประชากรอินเดีย
เครือข่าย GSM ถูกนามาใช้ในอินเดียช่วงกลางทศวรรษที่ 1990 เมื่อถึงสิ้นปี 2013
เครือข่ายGSM/EDGEนั้นครอบคลุมกว่าร้อยละ90 และคาดว่าจะมากกว่าร้อยละ 95
เมื่อถึงปี 2020
ประมาณ 45%
ของประชากรอินเดียจะเข้าถึงเครือข่าย LTE ได้ในปี 2020
ความครอบคลุมประชากรโลกของแต่ละเทคโนโลยี ความครอบคลุมประชากรอินเดียของแต่ละเทคโนโลยี2
>85%
~95%
~90% >90%
>95%
~90%
>70%
~60%
~45%
~20% >20%
0%
2013 2020 2013 2020 2013 2020 2013 2020 2013 2020 2013 2020
1 ตัวเลขนี้คือความครอบคลุมประชากรของแต่ละเทคโนโลยี ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดังกล่าวนั้นขึ้นกับปัจจัยอื่นๆ ด้วยเช่นการเข้าถึงเครื่องมือและการใช้งาน
2 ตัวเลขความครอบคลุมประชากรสาหรับภูมิภาคอื่นๆ สามารถดูได้ในภาคผนวกประกอบรายงานของภูมิภาคนั้นๆ ที่ www.ericsson.com/ericsson-mobility-report
NOVEMBER 2014 ERICSSON MOBILITY REPORT
17
กระนั้นยังมีพื้นที่ชนบทอีกมากมายที่เครือข่ายเข้าไม่ถึงเครือข่าย WCDMA/HSPAเพื่อ
การพาณิชย์นั้นมีการนามาใช้ครั้งแรกในปี 2008 แต่ขั้นตอนนามาใช้นั้นค่อนข้างช้า
และคาดว่าเครือข่ายWCDMA/HSPAจะครอบคลุมประชากรกว่าร้อยละ20 เมื่อถึงสิ้น
ปี 2013
ประชากรผู้ใช้ข้อมูลบนเครือข่ายเคลื่อนที่กาลังเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในอินเดีย
เนื่องจากเครือข่ายบรอดแบนด์เคลื่อนที่นั้นกาลังลดช่องว่างระหว่างประชากรในชนบทและ
เขตเมืองการใช้งานและบริการข้อมูลบนเครือข่ายเคลื่อนที่นั้นกลายเป็ นเรื่องกระแสหลัก
ขึ้นเรื่อยๆด้วยสัดส่วนที่สูงขึ้นจากกลุ่มคนรายได้ต่าที่ในตอนนี้ดาวน์โหลดแอพและสตรีม
วีดีโอจากอินเทอร์เนตด้วยเครื่องมือพกพาคาดว่าความครอบคลุมประชากรของเครือข่าย
WCDMA/HSPAจะมากกว่าร้อยละ90เมื่อถึงปี 2020 โดยมีปัจจัยหลักคือความต้องการ
ใช้บริการข้อมูลและการวางจาหน่ายสมาร์ทโฟนที่ราคาย่อมเยาขึ้น ความต้องการนี้จะถูก
ผลักดันเพิ่มขึ้นอีกจากการเข้ามาของเครือข่ายLTEและคาดว่าจะมีประชากรร้อยละ 45 ที่
เข้าถึงLTEได้ในปี 2020
Currently, India has much less mobile broadband spectrum
allocated than markets with high mobile broadband
penetration. The release of additional spectrum in the
166
เครือข่าย HSPA 42 Mbps ได้รับการ
เปิดตัวเชิงพาณิชย์แล้วใน 86 ประเทศ
ร้อยละของเครือข่าย WCDMA ที่อัพเกรดไปใช้ HSPA และไปที่
7.2, 21 และ 42 MBps แล้ว
100%
~85%
~70%
~30%
Relevant bands will make services more affordable, while
The harmonization of spectrum will allow a lower cost
device ecosystem to evolve. This will play a key role in
driving mobile broadband growth in India, and will be an
increasingly important driver of mobile networks’ overall
capacity, quality and user experience
เครือข่าย WCDMA/HSPA
ปัจจุบันมีเครือข่ายWCDMA/HSPAเพื่อการพาณิชย์อยู่ 572 เครือข่ายที่ครอบคลุมกว่า
ร้อยละ 60 ของประชากรโลก เครือข่าย WCDMA ทุกเครือข่ายทั่วโลกล้วนได้รับการ
อัพเกรดด้วยเทคโนโลยี HSPAเป็นที่เรียบร้อย384เครือข่ายHSPAเหล่านี้นั้นมีความเร็ว
การโหลดสูงถึง21Mbpsหรือมากกว่า3
166 HSPA เครือข่าย HSPA ในตอนนี้สนับสนุนระบบ multicarrier modulation ด้วย
ความเร็วสูงสุด42Mbps ในส่วนหนึ่งหรือหมดทั้งเครือข่าย ทาให้มีศักยภาพที่จะรองรับ
แอพที่ดีกว่าเดิม ในช่วงปี 2015เราจะได้เห็นขั้นตอนการพัฒนาไปสู่การให้บริการเครือข่าย
3x5MHzmulticarrierที่มีความเร็วดาวน์โหลดสูงถึง 63 Mbpsและอัพโหลด 2x5 ที่เร็ว
สูงสุดถึง12Mbps การปรับปรุงเหล่านี้จะมีทั้งการสนับสนุนทั้งตัวเครือข่ายและเทอร์มินัล
ด้วย
3
GSA and Ericsson, October, 2014
4
GSA February, 2014
5
GSA and Ericsson, September, 2014
ที่มา: Ericsson and GSA (October 2014)
เครือข่ายความถี่ต่านั้นสามารถนาไปใช้งานได้ที่ 2100MHzเนื่องจากยิ่งความถี่ต่า
เท่าไหร่ ก็ยิ่งทาให้พื้นที่บริการคุณภาพและประสบการณ์ของผู้ใช้ดีขึ้น
ปัจจุบันมีระบบนิเวศสาหรับ WCDMA/HSPA ที่ความถี่เทอร์มินัล 900 MHz และ
ปัจจุบันถือว่าเป็ นเทคโนโลยีกระแสหลักแล้วด้วย 87เครือข่าย WCDMA/HSPA900
MHzใน58ประเทศทั่วโลก4
เครือข่าย LTE
ในปัจจุบันมีเครือข่ายLTEเพื่อการพาณิชย์อยู่331แห่งใน 112ประเทศทั่วโลก5
เมื่อ
ถึงสิ้นปี 2013การใช้งานLTEของโลกจะเกิน 200ล้าน และคาดว่าจะทะลุ 400 ล้าน
เมื่อถึงสิ้นปี 2014เป็นการเพิ่มพูนประสบการณ์ผู้ใช้ ความเร็วเครือข่ายและผลักดันการ
นาเทคโนโลยีนี้ไปใช้
331
เครือข่าย LTE ได้รับการเปิดตัวเชิงพาณิชย์แล้ว
ใน 112 ประเทศ
HSPA HSPA 7.2 HSPA 21 HSPA 42
ในปัจจุบันอินเดียมีจานวนคลื่นความถี่เครือข่ายบรอดแบนด์เคลื่อนที่น้อยกว่าประเทศที่มี
การเข้าถึงเครือข่ายดังกล่าวสูง การนาคลื่นความถี่เพิ่มเติมมาใช้จะทาให้บริการนั้น
ย่อมเยามากขึ้นขณะที่การทาให้คลื่นความถี่ไปในทางเดียวกันจะทาให้ระบบนิเวศของ
เครื่องมือราคาถูกพัฒนาได้ สิ่งนี้จะเป็ นบทบาทสาคัญในการผลักดันการเติบโตของ
เครือข่ายบรอดแบนด์เคลื่อนที่ในอินเดียและจะเป็ นแรงขับเคลื่อนที่สาคัญขึ้นเรื่อยๆ
สาหรับความจุ คุณภาพของเครือข่ายและประสบการณ์ผู้ใช้ของเครือข่ายทั้งหมดโดยรวม
18 ERICSSON MOBILITY REPORT NOVEMBER
2014
เพื่อที่จะตอบสนองความต้องการบริการ LTE ผู้ให้บริการนั้นกาลังหาโอกาส
ใหม่ๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งคลื่นความถี่และโซลูชั่นที่จะปรับให้การใช้คลื่นความถี่มี
ประสิทธิภาพ หนึ่งในที่มาที่กาลังเป็นที่สนใจในหมู่ผู้ให้บริการคือเทคโนโลยี
LTE TDD 4G ซึ่งในตอนนี้LTE TDD 4G มีให้บริการเชิงพาณิชย์อยู่ใน 27
ประเทศ โดยมี 27 ผู้ให้บริการที่ให้บริการเฉพาะ LTE ด้วย โหมด TDD และอีก
13 เจ้าที่บริการทั้งโหมด TDD และ FDD ด้วยกัน6
ในเครือข่าย LTE ที่
ผสมผสานระหว่าง FDD และ TDD นั้น การใช้ FDD สาหรับการอัพโหลด
สามารถเพิ่มพื้นที่การให้บริการของความถี่ TDD ได้ และยังทาให้ TDD มี
ประสิทธิภาพในการดาวน์โหลดมากขึ้น เป็นการเพิ่มอัตราการรับส่งข้อมูลบน
เครือข่ายบรอดแบนด์เคลื่้อนที่
13
เครือข่ายที่มีการผสมผสานโหมด TDD และ FDD
เพื่อที่จะใช้งานคลื่นความถี่ที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด จานวนของ LTE-
Advanced (LTE-A) Carrier Aggregation (CA) ก็เพิ่มขึ้นด้วยเช่นกัน ใน
ปัจจุบันมีเครือข่ายแบบ LTE-A CA ในเชิงพาณิชย์อยู่ 21 เครือข่ายใน 14
ประเทศทั่วโลก6 ผู้ให้บริการเหล่านี้ใช้คลื่นความถี่ 40 MHz ทาให้ได้บริการที่มี
ความเร็วดาวน์โหลดตั้งแต่ 225 Mbps ถึง 300 Mbps และเพื่อให้สามารถใช้
คลื่นความถี่ได้อย่างเต็มที่ การติดตั้งอุปกรณ์ Small cell ยังมีส่วนช่วย
สนับสนุนในการเพิ่มความจุในการใช้งานและปรับปรุงความครอบคลุมภายใน
สิ่งก่อสร้าง
LTE Broadcast
โซลูชั่น LTE Broadcast กาลังได้รับความสนใจมากขึ้นเรื่อยๆ ให้หมู่ผู้ให้บริการ
โดยเฉพาะเมื่อความต้องการบริโภควีดีโอบนเครือข่ายบรอดแบนด์เคลื่อนที่
เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ LTE Broadcast จะช่วยให้ผู้ให้บริการสามารถให้บริการวีดีโอ
ใหม่ๆ ในแบบที่ใช้ทรัพยากรเครือข่ายและคลื่นความถี่ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
LTE Broadcast ยังสนับสนุนการใช้งานรูปแบบต่างๆ ตั้งแต่การสตรีมเนื้อหา
วีดีโอที่มีความต้องการสูงอย่างเช่นการถ่ายทอดสดกีฬาหรือข่าวด่วนไปจนถึง
การส่งไฟล์เนื้อหาที่เป็นที่นิยม (วีดีโอ เพลงและสิ่งพิมพ์) การอัพเดตซอฟท์แวร์
การออกอากาศฉุกเฉินและการใช้ M2M แบบต่างๆ เช่นเทคโนโลยีรถติดอิน
เทอร์เนต (Connected Car) และ ป้ ายโฆษณาดิจิตอล (Digital Signage)
โซลูชั่นLTEBroadcastมีการเปิดตัวเชิงพาณิชย์ในเกาหลีใต้เมื่อเดือนมกราคม2014
และมี19ผู้ให้บริการกาลังทดลองหรือมีการนาไปใช้แล้วในประเทศต่างๆทั่วโลก6
มี
การนาโทรศัพท์จานวนจากัดมาใช้ในการเปิดตัวเหล่านี้คาดว่าจะมีการประกาศการ
ทดลองใช้งานและเครื่องมือที่ใช้ LTEBroadcastได้มากขึ้นเรื่อยๆเมื่อมีผู้ให้บริการเริ่ม
เห็นศักยภาพเชิงพาณิชย์ของบริการวีดีโอบรอดแบรด์
Mobile HD voice
HDvoiceเป็นเทคโนโลยีที่ให้คุณภาพเสียงที่เป็นธรรมชาติกว่าการโทรแบบดั้งเดิมด้วย
การจดจาเสียงที่ดีขึ้นการจะใช้ HDvoiceนั้นจาเป็นจะต้องมีฟังค์ชั่นเครือข่ายและ
ความสามารถของตัวเครื่องที่ใช้ประโยชน์จากเครือข่ายที่มีอยู่เช่น GSM CDMA
WCDMAและLTEได้ มีผู้ให้บริการกว่า116รายเปิดตัวบริการนี้เชิงพาณิชย์แล้วใน
75ประเทศและมีเครื่องมือมากกว่า300เครื่องที่ใช้ได้ทั่วโลก7
การเปิดตัวส่วนใหญ่นั้น
อยู่บนเครือข่ายWCDMAแต่ส่วนหนึ่งก็มีทั้งบนเครือข่ายGSMและLTE(VoLTE)
เทคโนโลยีHDvoiceที่พัฒนาขึ้นมาใหม่กับvoicecodecสาหรับเครือข่ายLTEนั้นมี
การทาเป็นมาตรฐานแล้วในรูปของ3GPP–EVSซึ่งจะช่วยเพิ่มพูนประสบการณ์ผู้ใช้
ด้วยคุณภาพเสียงและเพลงที่เหนือกว่าขณะที่ยกระดับคุณภาพบริการHDvoiceใน
เครือข่าย2G3GและLTE
>116
ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ใน 75 ประเทศตอนนี้มี
การเปิดตัวบริการ HD voice เชิงพาณิชย์แล้ว
Voice over LTE (VoLTE)
เทคโนโลยีVoLTEนั้นจะทาให้ผู้ใช้สามารถรับส่งHDvoiceการVideocallและบริการ
สื่อสารอื่นๆในระดับtelecom-grade บนสมาร์ทโฟนที่ใช้ LTE ได้ขณะที่สามารถใช้
บริการข้อมูลความเร็วสูงในเวลาเดียวกัน VOLTE นั้นนามาใช้ได้ด้วยระบบ IP
MultimediaSubsystem(IMS)เพื่อให้บริการโทรศัพท์ผ่านIPระบบเครือข่ายวิทยุ LTE
และEvolved Packet Core จาเป็นต้องใช้เพียงแค่การอัพเกรดซอฟท์แวร์เท่านั้น
6
GSA, September 2014
7
GSA and Ericsson, September 2014
NOVEMBER 2014 ERICSSON MOBILITY REPORT
19
นอกจากนี้ยังต้องใช้สมาร์ทโฟนLTEที่รองรับVoLTEด้วยสมาร์ทโฟนระดับสูงที่ใช้
LTEได้นั้นมีชิปเซ็ตVoLTEฝังอยู่แล้วและต้องอัพเกรดแค่ซอฟท์แวร์เท่านั้นเพื่อที่จะ
ใช้บริการVoLTEได้ ระบบนิเวศของเครื่องมือที่ใช้ VoLTEกาลังเติบโตขึ้นเรื่อยๆเมื่อ
ผู้ขายสมาร์ทโฟนรายใหญ่เปิดตัวเครือข่ายVoLTEพาณิชย์แห่งแรกของโลกนั้นเปิดตัว
ที่เกาหลีใต้ในเดือนสิงหาคมปี 2012 ปัจจุบันมีผู้ให้บริการ12 รายที่เปิดตัวบริการ
VoLTEเชิงพาณิชย์ในเกาหลีใต้ สหรัฐอเมริกาฮ่องกงและญี่ปุ่นยังมีผู้ให้บริการอีก
จานวนหนึ่งที่เตรียมนาVoLTEไปใช้ในช่วงปี 2014ถึง2015
12
ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ทั่วโลกได้
เปิดตัวบริการ VoLTE เชิงพาณิชย์แล้ว
Wi-Fi calling
การพัฒนาล่าสุดในวงการทาให้ผู้บริการสามารถให้บริการWi-Ficallingในที่อยู่อาศัย
ได้ เนื่องจากผู้ผลิตเครื่องมือส่วนใหญ่นั้นได้รวมบริการดังกล่าวลงในตัวสมาร์ทโฟนมา
แล้วซึ่งแปลว่าผู้บริโภคสามารถใช้บริการโทรจากผู้ให้บริการ(ผ่านSIM)ได้ในบ้านโดย
ใช้ Wi-Fiaccesspointของตนเองในบ้านโดยใช้ผู้ให้บริการอินเทอร์เนต(ISP)รายใดก็ได้
ซึ่งเป็นประโยชน์กับผู้ใช้ที่ในบ้านสามารถสลับช่องสัญญาณแบบใช้วงจรได้จากัดหรือ
ว่าเข้าไม่ถึงVoLTEบริการโทรดังกล่าวจะถูกส่งผ่านเครือข่ายEvolvedPacketCore
ของผู้ให้บริการและเครือข่ายIMSบริการนี้เป็นการเสริมVoLTEกับWi-Fiaccessและ
ยังเป็นไปได้ด้วยที่จะHandoverการโทรและVideocallระหว่างเครือข่ายLTEและWi-
Fiแบบไม่มีสะดุด
บริการ Mobile backhaul
ความต้องการความจุสาหรับบริการBackhaul เครือข่ายบรอดแบนด์เคลื่อนที่จะยังคง
สูงขึ้นเรื่อยๆความจุที่จาเป็นต่อสถานีฐานจะแตกต่างกันอย่างมากขึ้นอยู่กับอัตรา
ข้อมูลของเป้ าหมายและความหนาแน่นของประชากรในปี 2020สถานีฐานความจุสูงนั้น
คาดว่าจะต้องมีระยะBackhaul 1 Gbps ขณะที่สถานีฐานความจุต่านั้นมีระยะ100
Mbps และด้วยนวัตกรรมที่พัฒนาอย่างต่อเนื่องและการมีคลื่นความถี่เพิ่มเติมคลื่น
ไมโครเวฟตอนนี้สามารถส่งข้อมูลได้กว่า1Gbpsต่อฐานและมีศักยภาพที่จะให้ได้ถึง10
Gbpsหรือมากกว่านั้นไปอีก
คลื่นไมโครเวฟและเส้นใยนาแสงเป็นสื่อถ่ายโอนข้อมูลที่เหมาะที่สุดที่จะตอบสนองความ
ต้องการความจุที่เพิ่มขึ้นการส่งผ่านเส้นใยนาแสงจะเติบโตในส่วนของตลาดBackhaul
ต่อไปและคาดการณ์ว่าจะเชื่อมต่อมากกว่าร้อยละ40ของสถานีฐานทั้งหมดเมื่อถึงปี
2020 ปัจจุบันคลื่นไมโครเวฟเป็นเทคโนโลยีถ่ายโอนข้อมูลหลักสาหรับเครือข่าย
Backhaul เคลื่อนที่ทั่วโลกคลื่นไมโครเวฟในตอนนี้เชื่อมต่อสถานีฐานร้อยละ60 ของ
ทั้งหมดเข้าด้วยกันและจะเชื่อมต่อประมาณร้อยละ50ต่อไปในปี 2020
ประมาณ 50%
ของไซต์สถานีฐานจะเชื่อมต่อด้วยคลื่นไมโครเวฟในปี 2020
Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [November 2014]
Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [November 2014]
Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [November 2014]
Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [November 2014]
Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [November 2014]
Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [November 2014]
Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [November 2014]
Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [November 2014]
Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [November 2014]
Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [November 2014]
Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [November 2014]
Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [November 2014]
Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [November 2014]

More Related Content

Similar to Ericsson Mobility Report รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [November 2014]

แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในอนาคตและการพัฒนา ระบบสารสนเทศเพื่อรองรับ การทำธ...
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในอนาคตและการพัฒนา ระบบสารสนเทศเพื่อรองรับ การทำธ...แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในอนาคตและการพัฒนา ระบบสารสนเทศเพื่อรองรับ การทำธ...
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในอนาคตและการพัฒนา ระบบสารสนเทศเพื่อรองรับ การทำธ...IMC Institute
 
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ www.nbtc.go.th
 
ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่ 3
ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่  3ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่  3
ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่ 3jeabjeabloei
 
Ramitadigitalmarketing18022558
Ramitadigitalmarketing18022558Ramitadigitalmarketing18022558
Ramitadigitalmarketing18022558richtimeteam -
 
Business Vision of Internet Industry in Thailand
Business Vision of Internet Industry in ThailandBusiness Vision of Internet Industry in Thailand
Business Vision of Internet Industry in ThailandKan Yuenyong
 
Community-generated Traffic Information System
Community-generated Traffic Information SystemCommunity-generated Traffic Information System
Community-generated Traffic Information SystemNat Weerawan
 
Cloud for M-Learning
Cloud for M-LearningCloud for M-Learning
Cloud for M-LearningIMC Institute
 
Wi max technology
Wi max technology Wi max technology
Wi max technology cakiiminikii
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ การคาดการณ์ Data traffic
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   การคาดการณ์ Data trafficพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   การคาดการณ์ Data traffic
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ การคาดการณ์ Data trafficSettapong-Broadband
 
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคตแนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคตJA Jaruwan
 
Community-generated Traffic Information System(PPTX)
Community-generated Traffic Information System(PPTX)Community-generated Traffic Information System(PPTX)
Community-generated Traffic Information System(PPTX)Nat Weerawan
 
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะคู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะSarit Tiyawongsuwan
 

Similar to Ericsson Mobility Report รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [November 2014] (20)

แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในอนาคตและการพัฒนา ระบบสารสนเทศเพื่อรองรับ การทำธ...
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในอนาคตและการพัฒนา ระบบสารสนเทศเพื่อรองรับ การทำธ...แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในอนาคตและการพัฒนา ระบบสารสนเทศเพื่อรองรับ การทำธ...
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในอนาคตและการพัฒนา ระบบสารสนเทศเพื่อรองรับ การทำธ...
 
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 
ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่ 3
ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่  3ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่  3
ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่ 3
 
Ramitadigitalmarketing18022558
Ramitadigitalmarketing18022558Ramitadigitalmarketing18022558
Ramitadigitalmarketing18022558
 
Technology Trends 2011
Technology Trends 2011Technology Trends 2011
Technology Trends 2011
 
Business Vision of Internet Industry in Thailand
Business Vision of Internet Industry in ThailandBusiness Vision of Internet Industry in Thailand
Business Vision of Internet Industry in Thailand
 
Community-generated Traffic Information System
Community-generated Traffic Information SystemCommunity-generated Traffic Information System
Community-generated Traffic Information System
 
3
33
3
 
Cloud for M-Learning
Cloud for M-LearningCloud for M-Learning
Cloud for M-Learning
 
Wi max technology
Wi max technology Wi max technology
Wi max technology
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ การคาดการณ์ Data traffic
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   การคาดการณ์ Data trafficพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   การคาดการณ์ Data traffic
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ การคาดการณ์ Data traffic
 
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคตแนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
 
Basic concept cybersecurity
Basic concept cybersecurityBasic concept cybersecurity
Basic concept cybersecurity
 
Community-generated Traffic Information System(PPTX)
Community-generated Traffic Information System(PPTX)Community-generated Traffic Information System(PPTX)
Community-generated Traffic Information System(PPTX)
 
เทคโนโลยี 4 g
เทคโนโลยี 4 gเทคโนโลยี 4 g
เทคโนโลยี 4 g
 
mbanking
mbankingmbanking
mbanking
 
คุณเมธินี
คุณเมธินีคุณเมธินี
คุณเมธินี
 
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะคู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
 
Android report
Android reportAndroid report
Android report
 
ผลงาน Free wifi นำเสนอ
ผลงาน Free wifi นำเสนอผลงาน Free wifi นำเสนอ
ผลงาน Free wifi นำเสนอ
 

More from Asina Pornwasin

เพจหรือสื่อ กูรู(รู้)คือใคร
เพจหรือสื่อ  กูรู(รู้)คือใครเพจหรือสื่อ  กูรู(รู้)คือใคร
เพจหรือสื่อ กูรู(รู้)คือใครAsina Pornwasin
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรมAsina Pornwasin
 
newspaper to content provider
newspaper to content provider newspaper to content provider
newspaper to content provider Asina Pornwasin
 
การใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าว
การใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าวการใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าว
การใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าวAsina Pornwasin
 
มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลาดบริการด้านคอมพิวเตอร์ และตลาดอุปกรณ์เครื่อ...
มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลาดบริการด้านคอมพิวเตอร์ และตลาดอุปกรณ์เครื่อ...มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลาดบริการด้านคอมพิวเตอร์ และตลาดอุปกรณ์เครื่อ...
มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลาดบริการด้านคอมพิวเตอร์ และตลาดอุปกรณ์เครื่อ...Asina Pornwasin
 
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารAsina Pornwasin
 
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชน
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชนผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชน
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชนAsina Pornwasin
 
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘ หัวข้อ “ปฏิวัติค...
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘  หัวข้อ “ปฏิวัติค...สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘  หัวข้อ “ปฏิวัติค...
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘ หัวข้อ “ปฏิวัติค...Asina Pornwasin
 
รู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อรู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อAsina Pornwasin
 

More from Asina Pornwasin (20)

Social media and jr
Social media and jrSocial media and jr
Social media and jr
 
เพจหรือสื่อ กูรู(รู้)คือใคร
เพจหรือสื่อ  กูรู(รู้)คือใครเพจหรือสื่อ  กูรู(รู้)คือใคร
เพจหรือสื่อ กูรู(รู้)คือใคร
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
newspaper to content provider
newspaper to content provider newspaper to content provider
newspaper to content provider
 
การใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าว
การใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าวการใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าว
การใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าว
 
มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลาดบริการด้านคอมพิวเตอร์ และตลาดอุปกรณ์เครื่อ...
มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลาดบริการด้านคอมพิวเตอร์ และตลาดอุปกรณ์เครื่อ...มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลาดบริการด้านคอมพิวเตอร์ และตลาดอุปกรณ์เครื่อ...
มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลาดบริการด้านคอมพิวเตอร์ และตลาดอุปกรณ์เครื่อ...
 
Sm4 pr
Sm4 prSm4 pr
Sm4 pr
 
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชน
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชนผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชน
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชน
 
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘ หัวข้อ “ปฏิวัติค...
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘  หัวข้อ “ปฏิวัติค...สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘  หัวข้อ “ปฏิวัติค...
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘ หัวข้อ “ปฏิวัติค...
 
Sm4 investigativereport
Sm4 investigativereportSm4 investigativereport
Sm4 investigativereport
 
Convergence Journalism
Convergence JournalismConvergence Journalism
Convergence Journalism
 
Sm4 jr nt
Sm4 jr ntSm4 jr nt
Sm4 jr nt
 
Convergent newsroom
Convergent newsroomConvergent newsroom
Convergent newsroom
 
รู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อรู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อ
 

Ericsson Mobility Report รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [November 2014]

  • 2. 2 ERICSSON MOBILITY REPORT NOVEMBER 2014 ตัวเลขสถิติที่สาคัญ 250 300 650 15% ล้าน *วัดจากผู้ใช้งาน VLR สม่าเสมอในประเทศอินเดีย **ปริมาณการใช้งานข้อมูลต่อเดือนเมื่อจบปี ***เครื่องมือถือที่ใช้งานเป็นประจา ข้อมูลจานวนผู้ใช้เครือข่ายเคลื่อนที่ 2013 2014 คาดการณ์ ปี 2020 CAGR 2014–2020 หน่วย จานวนผู้ใช้บริการเครือข่ายเคลื่อนที่ทั่วโลก* 6,700 7,100 9,500 5% ล้าน > จานวนผู้ใช้ สมาร์ทโฟน 1,900 2,700 6,100 15% ล้าน > จานวนผู้ใช้คอมพิวเตอร์ แทบเล็ตและเร้า เตอร์เคลื่อนที่ > จานวนผู้ใช้เครือข่ายบรอดแบนด์เคลื่อนที่ 2,200 2,900 8,400 20% ล้าน > ผู้ใช้เครือข่ายเคลื่อนที่เฉพาะ GSM/EDGE 4,200 4,000 1,100 -20% ล้าน > ผู้ใช้เครือข่ายเคลื่อนที่ WCDMA/HSPA 1,600 2,000 4,400 15% ล้าน > ผู้ใช้เครือข่ายเคลื่อนที่ LTE 200 400 3,500 45% ล้าน ข้อมูลปริมาณการใช้งาน** 2013 2014 คาดการณ์ ปี 2020 CAGR 2014–2020 หน่วย > ปริมาณการใช้ข้อมูลต่อเดือนต่อสมาร์ทโฟน*** 700 900 3,500 25% MB/เดือน > ปริมาณการใช้ข้อมูลต่อเดือนต่อคอมพิวเตอร์พกพา*** 3,300 4,300 15,000 25% MB/เดือน > ปริมาณการใช้ข้อมูลต่อเดือนต่อแทบเล็ต*** 1,400 1,900 7,600 25% MB/เดือน ปริมาณการใช้งานข้อมูลบนเครือข่ายเคลื่อนที่ทั้งหมด 2 3.2 25 40% EB/เดือน ปริมาณการใช้งานข้อมูลบนเครือข่ายอยู่กับที่ทั้งหมด 30 40 140 25% EB/เดือน ข้อมูลคาดการณ์การเติบโตของการใช้งาน ตัวคูณ 2014–2020 CAGR 2014–2020 การใช้งานข้อมูลบนเครือข่ายเคลื่อนที่ 8 40% > สมาร์ทโฟน 8 40% > คอมพิวเตอร์พกพา 3 20% > แทบเล็ต 15 60% เครื่องมือTraffic exploration tool และภาคผนวกสาหรับแต่ละภูมิภาค สร้างกราฟ ตารางและข้อมูลของคุณเองด้วย Ericsson Traffic Exploration Tool ข้อมูลที่ คุณเห็นในรายงานฉบับนี้สามารถกรองดูได้ตามภูมิภาค การใช้งาน เทคโนโลยี การรับส่ง ข้อมูลและประเภทของเครื่อง คุณสามารถใช้แผนภูมิที่สร้างขึ้นในงานของคุณได้ตราบเท่าที่ คุณให้เครดิต Ericsson ในฐานะแหล่งข้อมูล หากคุณต้องการข้อมูลเพิ่มเติมให้สแกนQRcodeนี้หรือไปที่ www.ericsson.com/ericsson-mobility-report ในเว็บไซต์คุณสามารถอ่านภาคผนวกของรายงานเกี่ยวกับภูมิภาคอเมริกาเหนือ ละตินอเมริกา ยุโรป เอเชีย ตะวันออกเฉียงเหนือ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และโอเชียเนียได้ รายนามผู้จัดทา หัวหน้าโครงการ: Peter Jonsson ผู้วิเคราะห์คาดการณ์: Susanna Bävertoft Richard Möller ผู้เขียนบทความ: Håkan Andersson Michael Björn Stephen Carson Simon Frost Istvan Godor Mikael Halen Péter Kersch Per Lindberg Vishnu Singh Lasse Wieweg เนื้อหาของเอกสารฉบับนี้มาจากปัจจัยทางทฤษฏีและการตั้งสมมติฐานEricsson ไม่มีพันธะผูกพันต่อการกล่าวถึงการแสดง การใช้และการละเว้นไม่พูดถึงในเอกสารฉบับนี้นอกเหนือจากนี้ Ericsson ขอสงวนสิทธ์ในการเปลี่ยนแปลงเนื้อหาของเอกสารฉบับนี้ตามวิจารณญาณตามความเหมาะสมและไม่ขอรับผิดชอบใดๆ ทั้งสิ้นต่อผลที่จะตามมาจากการเปลี่ยนแปลงเนื้อหา
  • 3. NOVEMBER 2014 ERICSSON MOBILITY REPORT 3 Ericsson Mobility Report จานวนผู้ใช้งานเครือข่ายเคลื่อนที่ทั่วโลกเติบโตมากขึ้นประมาณร้อยละ 6 ช่วง เดียวกันของปีในไตรมาสที่ 3 ปี 2014 สารบัญ ตัวเลขจานวนผู้ใช้บริการเครือข่ายบรอดแบนด์ เคลื่อนที่นั้นเติบโตเร็วยิ่งกว่าเดิมถึงร้อยละ 30 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันในปี ก่อน มีจานวนถึง 2500 ล้านคน การบริโภคข้อมูลต่อบุคคลนั้นก็ เติบโตขึ้นเรื่อยๆ ด้วยเช่นกัน ร้อยละ 60 ถึง 70 ของโทรศัพท์ที่ขายไปในไตรมาสที่สามของปี 2014 ล้วนแต่เป็ นสมาร์ทโฟนด้วยปัจจัยเหล่านี ้ จึงเป็ นแรงผลักดันให้การรับส่งข้อมูลบน เครือข่ายเคลื่อนที่เพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 60 ในช่วง 12 เดือนหลังจากไตรมาสที่สามของปี 2013 การคาดการณ์การใช้บริการ ผู้ใช้บริการและ ปริมาณการรับส่งข้อมูลจนถึงปี 2020 ของเรา นั้นแสดงให้เห็นถึงการเติบโตที่ยังแข็งแกร่ง เมื่อ ถึงปี นั ้น ร้อยละ 90 ของประชากรโลกที่อายุ มากกว่า 6 ปี จะมีโทรศัพท์มือถือ ยิ่งไปกว่านั้น เราคาดว่าเทคโนโลยี 5G จะสามารถเข้าถึงเชิง พาณิชย์ได้ในปี 2020 เครือข่าย 5G นั้นจะเป็ น การผสานสิ่งต่างๆ เช่นการเข้าถึงวิทยุ คลาวด์ กับเทคโนโลยีเสริมใหม่ๆเพื่อเสริมประสิทธิภาพ และสนับสนุนการใช้ในสถานการณ์ใหม่ๆ อีก นับพัน การชมวิดีโอยังคงเป็ นการใช้งานส่วนใหญ่ใน เครือข่ายเคลื่อนที่ ในเครือข่ายที่ใช้ 4G เป็ นหลัก นั้นจะมีการใช้งานมากถึงร้อยละ 45 ถึง 55 ของ ทั้งหมด นี่เป็ นผลมาจากการสตรีมวีดีโอที่เพิ่มมาก ขึ้นและประสบการณ์การรับชมวีดีโอที่ดียิ่งขึ้น รายงานวิจัยของ EricssonConsumerLab แสดง ให้เห็นว่าผู้บริโภคคาดหวังว่าจะเข้าถึงอินเทอร์เน็ต ได้ทันที ไม่ว่าจะในบ้านหรือนอกบ้านและผู้ใช้งาน มีความเต็มใจที่จะจ่ายเพื่อให้ได้การเชื่อมต่อที่ดี ขึ้นในทั้งสองกรณี บทความของเราเกี่ยวกับชีวิตคนเมืองจะสารวจใน เรื่องความเหมือนและความแตกต่างของการใช้ งานเครื่องมือสื่อสารในด้านรูปแบบการใช้ข้อมูล เครือข่ายเคลื่อนที่ในสามเขตหลักๆ ของเมือง บทความของเราแสดงให้เห็นว่าการวิเคราะห์ โครงสร้างของเมืองที่มีพื ้นจากการวัดจานวน ประชากรสามารถเข้ากันได้กับการตรวจการใช้ ที่ดินโดยมีพื้นฐานจากการจราจร เราหวังว่าบทความนี้จะมีคุณค่าและเป็ นประโยชน์ กับท่าน ผู้จัดพิมพ์: Rima Qureshi รองประธานอาวุโสและ หัวหน้าแผนยุทธศาสตร์ จานวนผู้ใช้งานเครื่องมือพกพา ไตรมาสที่สาม ปี 2014 4 ภาพรวมการใช้งานเครื่องมือพกพา 6 ภาพรวมของเครื่องมือ M2M ที่ใช้เครือข่ายโทรศัพท์ 8 ภาพรวมการใช้งานในแต่ละภูมิภาค 9 การรับส่งข้อมูลบนเครือข่ายเคลื่อนที่ไตรมาสที่สาม ปี 2014 11 ภาพรวมการรับส่งข้อมูลบนเครือข่ายเคลื่อนที่ 12 การรับส่งข้อมูลบนเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค 13 ภาพรวมการรับส่งข้อมูลแอพพลิเคชั่นบนเครื่องมือพกพา 14 สถานะของเครือข่ายต่างๆ 16 5G - วิทยาการเบิกทางสู่สังคมเครือข่าย 20 การรับส่งข้อมูลที่มีแรงผลักดันจากการใช้งานวีดีโอ 22 การปรับปรุงคุณภาพในการสตรีมวีดีโอ 24 ประสบการณ์การเชื่อมต่อในบ้าน 26 สัญญาณชีวิตในเมืองใหญ่ 28 คลื่นความถี่สาหรับเครือข่ายบรอดแบนด์เคลื่อนที่ 30 วิธีการศึกษาและอภิธานศัพท์ 31
  • 4. 4 ERICSSON MOBILITY REPORT NOVEMBER 2014 ยุโรปกลางและ ตะวันออก ยุโรป ตะวันตก ละตินอเมริกา ประเทศ ตะวันออกกลาง ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก(ยกเว้นอินเดียและจีน) อเมริกา เหนือ จีน แอฟริกา อินเดีย จานวนผู้ใช้งานเครื่องมือพกพา ไตรมาสที่สาม ปี 2014 ตัวเลขผู้ใช้งานเครือข่ายเคลื่อนที่ทั่วโลกในไตรมาสที่สามของปี 2014 นั้นอยู่ที่ 6,900 ล้านคนซึ่งรวมผู้ใช้งานใหม่อีก 110 ล้านคนช่วงไตรมาสที่สามด้วย การใช้งานเครือข่ายเคลื่อนที่ทั่วโลกนั้นเติบโตมากขึ้นร้อยละ 1.6 เมื่อเทียบกับ ไตรมาสเดียวกันในปีก่อน การเข้าถึงเครือข่ายเคลื่อนที่ทั่วโลกมากถึงร้อยละ 95 ในไตรมาสที่สาม ปี 2014 การเข้าถึงสมาร์ทโฟนทั่วโลกยังคงเติบโตอย่างแข็งแกร่ง สมาร์ทโฟนเหล่านี้ เป็ นร้อยละ 65 ถึง 70 ของโทรศัพท์มือถือทั้งหมดที่ขายไปในช่วงไตรมาสที่ สาม ปี 2014 เมื่อเทียบกับประมาณร้อยละ 55 ในช่วงไตรมาสที่สาม ปี 2013 และดูเหมือนว่าจะไม่ช้าลงเลยแม้แต่น้อย จากปริมาณผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ ทั้งหมดในทุกวันนี้ร้อยละ 37 ใช้สมาร์ทโฟน จึงยังมีที่เหลืออยู่พอสมควรให้ ตลาดเติบโตได้ จานวนผู้ใช้บริการเครือข่ายบรอดแบนด์เคลื่อนที่ยังเติบโตอยู่ที่ร้อยละ 30 เมื่อ เทียบกับช่วงเดียวกันในปี ก่อนและสูงถึง 2500 ล้านคนในช่วงไตรมาสที่สาม ของปี 2014 6900 ล้านคน ผู้ใช้งานเครื่องมือพกพา ทั่วโลกในไตรมาสที่ 3 ปี 2014 1,380 เทคโนโลยี LTEยังคงเติบโตอย่างแข็งแกร่งและมีผู้ใช้งานถึง 350 ล้านคนแล้ว โดยมี เพิ่มมาอีก50 ล้านคนในช่วงไตรมาสที่สามปี 2014เทคโนโลยี WCDMA/HSPA มี ผู้ใช้งานเพิ่มขึ้นสุทธิมากที่สุดในไตรมาสที่ 85 ล้านคน ผู้ใช้งาน 3G/4Gเหล่านี้เกือบทุก คนล้วนสามารถเข้าถึง GSM/EDGEเป็นเครือข่ายสารองได้ จานวนผู้ที่ใช้เฉพาะ GSM/EDGEนั้นลดลงถึง 10 ล้านคนหรือร้อยละ 0.2 2500 ล้านคน ผู้ใช้งานเครือข่ายบรอดแบนด์เคลื่อนที่ทั่วโลกใน ไตรมาสที่ 3 ปี 2014 720 880 815 595 535 375 370 จานวนผู้ใช้บริการ (ล้านคน) 1,275
  • 5. NOVEMBER 2014 ERICSSON MOBILITY REPORT 5 ยุโรปกลางและตะวันออก ยุโรปตะวันตก ละตินอเมริกา ตะวันออกกลาง ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก (ยกเว้นจีนและอินเดีย) อเมริกาเหนือ จีน แอฟริกา อินเดีย การเข้าถึงทั่วโลก 145% 127% 115% 109% 106% 104% 91% 95% 77% 64% การเข้าถึงการใช้งานเครื่องมือพกพาและโทรศัพท์มือถือ ประเทศที่จานวนผู้ใช้เพิ่มขึ้นมากที่สุด5อันดับ อินเดีย +18 ล้านคน จีน +12 ล้านคน อินโดนีเซีย +5 ล้านคน รัสเซีย +4 ล้านคน สหรัฐอเมริกา +4 ล้านคน
  • 6. 6 ERICSSON MOBILITY REPORT NOVEMBER 2014 ภาพรวมการใช้งานเครื่องมือพกพา ในปัจจุบัน ส่วนใหญ่ของผู้ใช้งานเครือข่ายเคลื่อนทื่ยังคงใช้โทรศัพท์ธรรมดาอยู่ แต่สิ่ง นี้กาลังเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว คาดว่าในปี 2016 จานวนผู้ใช้สมาร์ทโฟนจะมากกว่า โทรศัพท์ปกติเนื่องจากราคาที่ตลาดประเทศกาลังพัฒนาสามารถเข้าถึงได้มากขึ้น สมาร์ทโฟนนับเป็ นอุปกรณ์ส่วนใหญ่ของเครื่องมือสื่อสารบรอด แบนด์ในปัจจุบัน และคาดว่าจะมีผู้ใช้มากขึ้นอีกเท่าตัวเมื่อถึงปี 2020 และในปี เดียวกันนั้น เครือข่าย WCDMA/HSPA จะกลายเป็ น เครือข่ายส่วนใหญ่ของผู้ใช้ทั้งหมดและ เครือข่าย LTE จะมีให้ใช้ ในทุกภูมิภาค ส่วนเครือข่าย GSM/EDGE จะยังคงมีบทบาท สาคัญในฐานะเครือข่ายสารองในทุกๆ ประเทศ ส่วนบริการ 5G จะมีให้ใช้ในเชิงพาณิชย์ในปี 2020 และคาดว่าจะมีผู้หันมาใช้เร็ว กว่าบริการ 4G การเติบโตนี้จะเป็ นผลมาจากการใช้งานใน สถานการณ์ใหม่ๆ โดยเฉพาะการสื่อสารด้วยเครื่องจักรต่างๆ หนึ่งในสาเหตุสาคัญที่การใช้งานสมาร์ทโฟนนั้นเติบโตอย่างรวดเร็วนั่นเพราะว่า ผู้ใช้งานในภูมิภาคแอเชียแปซิฟิก ตะวันออกกลางและแอฟริกากาลังเปลี่ยนจาก โทรศัพท์ปกติไปใช้สมาร์ทโฟนแทน เหตุผลส่วนนึงเพราะมีสมาร์ทโฟนที่มีราคาถูก มากขึ้น จานวนการใช้งานนั้นมีอยู่เกินจานวนประชากรในประเทศนั้นๆ หลักๆ แล้วเพราะ การใช้งานส่วนใหญ่ไม่ใช่การใช้งานแบบสม่าเสมอ ทั้งนี้อาจเป็ นเพราะผู้ใช้งานมี เครื่องมือหลายหลายอุปกรณ์ เช่นสาหรับใช้งานด้านธุรกิจหรือใช้งานด้านส่วนตัว หรือเพื่อให้ใช้จ่ายประหยัดที่สุดด้วยการใช้หลายผู้ให้บริการสาหรับการโทรต่างๆ (ซึ่งเป็นเรื่องปกติในบางส่วนของแอฟริกา) ผู้ใช้งานในตลาดประเทศที่พัฒนาแล้ว นั้นมักจะมีเครื่องมือที่สองอื่นๆ เช่นแทบเล็ตด้วย นั่นแปลว่าจานวนผู้ใช้งานจะต่า กว่าการใช้งาน ปัจจุบันตัวเลขผู้ใช้งานอยู่ที่ 4,600 ล้านคนเมื่อเทียบกับการใช้งาน ถึง 6,900 รายการ ในอนาคตคาดว่าจะมีความแตกต่างระหว่างภูมิภาคต่างๆ เช่นการใช้งาน สมาร์ทโฟนในยุโรปจะอยู่ที่ร้อยละ95 ในปี 2020ขณะที่ในตะวันออกกลางจะมี ผู้ที่เข้าถึงได้ประมาณร้อยละ 55 คอมพิวเตอร์และแทบเล็ตหลายเครื่องนั้นมักมีการใช้งานโดยไม่มีเครือข่าย เคลื่อนที่ หนึ่งในสาเหตุนั้นเพราะว่าความแตกต่างของราคาระหว่างเครื่องรุ่นที่ ใช้ Wi-Fi ได้เท่านั้นและเครื่องที่ใช้เครือข่ายเคลื่อนที่ได้ อย่างไรก็ดี จานวน เครื่องที่สามารถใช้งานเครือข่ายได้จะมีมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงปี 2020 9,500 ล้าน การใช้งานมือถือเมื่อถึงสิ้นปี 2020 90% ของประชากรโลกอายุมากกว่า 6 ปีจะมีโทรศัพท์มือถือ ใช้ในปี 2020 จานวนผู้ใช้งาน 2014 2020 เครื่องมือพกพาทั้งหมด 7,100ล้านคน 9,500 ล้านคน เครือข่ายบรอดแบนด์เคลื่อนที่ 2,900 ล้าน คน 8,400 ล้านคน สมาร์ทโฟน 2,700 ล้านคน 6,100 ล้านคน คอมพิวเตอร์พกพา 300 ล้านคน 650 ล้านคน แทบเล็ต และเร้าเตอร์ โทรศัพท์มือถืออื่นๆ 230 ล้านคน 800 ล้านคน
  • 7. NOVEMBER 2014 ERICSSON MOBILITY REPORT 7 ภาพรวมของเครือข่ายเคลื่อนที่แบ่งตามเทคโนโลยี WCDMA/HSPAจะเป็นเครือข่ายส่วนใหญ่ของการใช้งานทั้งหมดในปี 2020 ที่ 4,400การใช้งานเมื่อเทียบกับการใช้งานLTEประมาณ3,500ล้านการใช้งาน ในปัจจุบันการใช้งานเฉพาะ GSM/EDGE ยังเป็ นส่วนใหญ่อยู่ ในประเทศที่ พัฒนาแล้วมีการย้ายไปใช้เทคโนโลยีที่ก้าวหน้ากว่าเป็ นจานวนมาก ขณะที่ใน ระดับโลกนี่ทาให้การใช้งานเฉพาะGSM/EDGEลดลงเล็กน้อย อย่างไรก็ดี GSM/EDGEยังคงเป็นตัวเลือกในประเทศกาลังพัฒนาหลายประเทศ นั่นเพราะว่าผู้ใช้งานที่ฐานะการเงินไม่สูงจะเลือกใช้งานโทรศัพท์และแพ็คเกจ เครือข่ายที่ราคาถูก สมาร์ทโฟน คอมพิวเตอร์พกพา แทบเล็ตเร้าเตอร์พกพา ที่มีการเชื่อมต่อเครือข่ายโทรศัพท์ เครือข่ายบรอดแบนด์เคลื่อนที่ การใช้งานเครือข่ายบรอดแบนด์เคลื่อนที่ของโลกนั้นคาดว่าจะถึง8,400ล้านการใช้ งานในปี 2020เป็นส่วนแบ่งที่ใหญ่ขึ้นของการใช้งานเครือข่ายบรอดแบนด์ในหลายๆ ประเทศเครือข่ายบรอดแบนด์เคลื่อนที่จะมีบทบาทควบคู่กับเครือข่ายบรอดแบนด์ อยู่กับที่ในบางภาคส่วนขณะที่อาจเข้ามาแทนที่ในบางภาคส่วน เครื่องมือที่ใช้งานเครือข่ายบรอดแบนด์เคลื่อนที่ส่วนใหญ่ยังคงและจะเป็นสมาร์ทโฟ นต่อไปผู้บริโภคหลายคนในประเทศกาลังพัฒนานั้นใช้อินเทอร์เนตครั้งแรกบน สมาร์ทโฟนซึ่งส่วนใหญ่แล้วเป็นเพราะมีการเข้าถึงเครือข่ายบรอดแบนด์อยู่กับที่ จากัด ประมาณ 90% ของการใช้มือถือนั้นมีไว้เพื่อเข้าถึงเครือข่ายบรอดแบนด์เคลื่อนที่ เมื่อถึงสิ้นปี 2020 1 จานวนผู้ใช้อินเทอร์เนตรอดแบนด์อยู่กับที่นั้นมีอย่างน้อยสามเท่าของการเชื่อมต่ออินเทอร์เนตบรอดแบนด์ นั่นเพราะว่ามีการใช้หลายครั้งในครัวเรือน บริษัทและ สถานที่สาธารณะ สวนทางกับโทรศัพท์มือถือ ที่ซึ่งจานวนการใช้งานสูงกว่าจานวนเลขหมายโทรศัพท์
  • 8. 8 ERICSSON MOBILITY REPORT NOVEMBER 2014 ภาพรวมของเครื่องมือ M2M ที่ใช้เครือข่าย โทรศัพท์ การสื่อสารระหว่างอุปกรณ์หรือ M2M นั้นกาลัง อยู่ในช่วงขาขึ้น เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายลดลง ครอบคลุมมากขึ้น มีเทคโนโลยีวิทยุที่ก้าวหน้า มากขึ้น มีการกากับดูแลและการใช้งานกับ รูปแบบธุรกิจที่ประสบความสาเร็จแบบต่างๆ เมื่อถึงช่วงสิ้นสุดของปี 2014 จะมีการใช้งาน เครื่องมือ M2M ที่ใช้เครือข่ายมือถือประมาณ 230 ล้าน การใช้งาน และคาดว่าจะถึง 800 ล้าน ในปี 2020 ในปัจจุบัน เกือบร้อยละ 80 ของ เครื่องมือ M2M นั้นใช้งานแค่เครือข่าย GSM แต่ สิ่งนี้กาลังจะเปลี่ยนแปลงไป เพราะคาดว่าเครื่องมือเหล่านั้นจะใช้เครือข่าย 3G/4G เกินกว่าร้อยละ 50 ในปี 2018 การสื่อสาร ด้วย M2M นั้นคิดเป็ นส่วนแบ่งของการใช้งาน เครือข่ายมือถือทั้งหมดเป็ นไบต์แล้ว อยู่ที่เพียงแค่ ร้อยละ 0.1 เท่านั้น ปัจจุบันในอเมริกาเหนือ เครื่องมือพกพาเกือบทั้งหมด นั้นใช้เครือข่าย 3G หรือ 4G กันหมดแล้ว แบบที่ยังใช้ 2G นั้นเหลือเพียงแค่โทรศัพท์แบบ M2M เช่นเดียวกัน กับในยุโรปตะวันตกสองหรือสามปี ข้างหน้า เหตุผล หนึ่งคือโมดุล M2M ที่ถูกที่สุดนั้นยังคงใช้เฉพาะ เครือข่าย GSM เท่านั้น โมดุลเหล่านี้นั้นถูกใช้เพราะ การใช้งาน ARPU M2M ที่ต่า เหตุผลต่อมาคือการใช้ งาน M2M ในปัจจุบันไม่ต้องใช้เครือข่ายความเร็วสูง เหตุผลอีกข้อคือ M2M มักมีอายุการใช้งานยาวนาน ยกตัวอย่างเช่นเครื่องมือมาตรวัดอัจฉริยะนั้นมักถูก ออกแบบให้ใช้งานได้ถึง 20 ปี ตรงข้ามกับสมาร์ทโฟ นซึ่งมีการเปลี่ยนทุกๆ 2-3 ปี ในเมื่อ M2M นั้นมีอายุ การใช้งานที่ยาวนาน การเลือกเครือข่ายสาหรับ ประเภทของเครื่องรุ่นใหม่จึงขึ้นอยู่กับหลายปัจจัยเช่น ความจาเป็นในการเชื่อมต่อในปัจจุบันและค่าใช้จ่าย สาหรับโมดุลนั้นๆ ร้อยละ 80 ของเครื่องมือ M2M นั้นใช้เฉพาะเครือข่าย GSM เท่านั้น แม้ว่าจานวนของเครื่องมือดังกล่าวจะ ยังคงเติบโตมากขึ้นแต่ส่วนแบ่งของเครื่องที่ใช้ เทคโนโลยีดังกล่าวจะลดลงไปอยู่ที่ร้อยละ 25 ในปี 2020 และคาดว่าในปี 2018 การใช้งาน 3G/4G จะ กลายเป็นเครือข่ายมากกว่าร้อยละ 50ที่ M2M ใช้งาน แทน เครื่องมือ M2M ที่ใช้ LTE นั้นคาดว่าจะมีการ นาไปใช้จากปัจจุบันร้อยละ 3 เป็นร้อยละ 20-30 ในปี 2020 และเมื่อถึงเวลานั้นจะนับเป็ นกว่าร้อยละ 40 ของยอดการส่งสินค้าเครื่องมือ M2M 80% ใช้งาน เฉพาะเครือข่าย GSM ปัจจุบันการสื่อสารด้วยM2M นับเป็ นส่วนแบ่งที่เล็กมาก ประมาณร้อยละ0.1จากจานวนการรับส่งข้อมูลบนเครือข่าย มือถือทั้งหมดถ้านับเป็ นจานวนไบต์ แต่ปริมาณจะเพิ่ม สูงขึ้นเมื่อการใช้งานเครื่องมือM2Mที่ใช้ LTEสูงขึ้นและเมื่อ มีการนาหน่วยประมวลผลที่ทรงพลังมากขึ้นมาใช้งานกับสิ่ง ที่ใช้แบนด์วิธีสูงและมีความหน่วงสูงเช่นในเครื่องใช้ไฟฟ้ า ของผู้บริโภคยานพาหนะและป้ ายโฆษณาอย่างไรก็ดี M2M ก็จะยังเป็นส่วนแบ่งที่เล็กการใช้งาน5Gเชิงพาณิชย์นั้นจะ เริ่มเปิ ดตัวในปี 2020 และการใช้ 5G นั้นจะมีแรงผลักดัน หลักๆแล้วจากการใช้งานแบบใหม่ๆโดยเฉพาะการสื่อสาร ระหว่างอุปกรณ์ 3G/4G จะ นับเป็น 50% ของ การใช้งาน
  • 9. NOVEMBER 2014 ERICSSON MOBILITY REPORT 9 ภาพรวมการใช้งานในแต่ละภูมิภาค จานวนการใช้งานเครือข่ายเคลื่อนที่นั้นเติบโตขึ้นในทุกภูมิภาค แต่ปัจจัยที่ มีผลต่อการเติบโตนั้นมีความแตกต่างกันไป ในภูมิภาคที่กาลังพัฒนานั้น การเติบโตนั้นมาจากผู้ใช้รายใหม่ๆ เนื่องจาก โทรศัพท์นั้นมีราคาถูกลง ในทางตรงกันข้าม การเติบโตในตลาดของประเทศ ที่อิ่มตัวแล้วจะมาจากจานวนเครื่องมือที่เพิ่มมากขึ้นต่อคนหนึ่งคน เทคโนโลยีเครือข่ายเคลื่อนที่ในอดีตและสถานภาพทางเศรษฐกิจยังมีผล ต่อการใช้งานในแต่ละภูมิภาคด้วยเช่นกัน การหันมาใช้เทคโนโลยี LTE อย่างรวดเร็วทาให้อเมริกาเหนือเป็นภูมิภาค ที่มีส่วนแบ่งผู้ใช้เทคโนโลยีนี้มากที่สุดในโลก ในปี 2020 เครือข่าย LTE จะเป็นร้อยละ 80 ของการใช้งานในภูมิภาคนี้ ส่วนแบ่งของการใช้ 3G/4G 2014 2020 ในยุโรปตะวันตก การนา LTE มาใช้ก่อนและเครือข่าย 3G ที่พัฒนาไว้ เป็นอย่างดีทาให้ภูมิภาคนี้เป็นผู้นาในด้านเครือข่ายบรอดแบนด์เคลื่อนที่ โดยมีร้อยละ 65 ของการใช้งานทั้งหมดเป็นเครือข่าย WCDMA/HSPA คาดว่า LTE จะมีส่วนแบ่งการใช้งานถึงร้อยละ 75 ในปี 2020 ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ละตินอเมริกา ตะวันออกกลาง และแอฟริกา กาลังเปลี่ยนจากที่ส่วนใหญ่ใช้เพียงแค่ GSM/EDGE เท่านั้นในปี 2014 ให้กลายเป็นตลาดที่ส่วนใหญ่แล้วใช้งาน WCDMA/HSPA และ LTE ภายในปี 2020 การใช้งานเครือข่ายเคลื่อนที่ยังคงเติบโตต่อเนื่องในทุกภูมิภาค การที่โทรศัพท์ มีราคาถูกนั้นมีปัจจัยเสริมจากการที่ผู้ให้บริการต้องการปรับราคาด้วยบริการ พิเศษเช่นโปรโมชั่นแชร์ราคาสาหรับครอบครัวหรือการให้บริการกับหลาย เครื่องด้วยบัญชีเดียว อีกปัจจัยคือแนวโน้มในการเป็นเจ้าของหลาย SIM ซึ่ง เป็นตัวแยกระหว่างการใช้งานโทรศัพท์เพื่อธุรกิจหรือเพื่อเรื่องส่วนตัว ในปี 2014 การใช้งานมือถือในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ละตินอเมริกา ตะวันออกกลางและแอฟริกาส่วนใหญ่แล้วยังมีแค่ GSM/EDGE เท่านั้น ขณะที่การใช้งานในอเมริกาเหนือและยุโรปตะวันตกหลักๆ แล้วเป็น WCDMA/HSPA และ LTE 7.1 billion mobile subscriptions อเมริกาเหนือ 100% 100% ยุโรปตะวันตก 75% 100% ยุโรปกลางและตะวันออก 50% 95% ละตินอเมริกา 40% 95% เอเชียแปซิฟิก 35% 85% ตะวันออกกลางและแอฟริกา 20% 85%
  • 10. 10 ERICSSON MOBILITY REPORT NOVEMBER 2014 85% ของการใช้มือถือในตะวันออกกลางและแอฟริกาจะใช้ เครือข่าย3G/4G เมื่อถึงปี 2020 85% ของการใช้มือถือในเอเชียแปซิฟิกจะใช้เครือข่าย3G/4G เมื่อถึงปี 2020 ทั้งผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการนั้นนาเทคโนโลยี LTEไปใช้งานอย่างรวดเร็วโดยเฉพาะใน อเมริกาเหนือญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ ซึ่งจะเป็นผู้ใช้บริการส่วนใหญ่อย่างเร็วถึงปี 2015 (หรือ2013 สาหรับประเทศเกาหลีใต้)ในทุกภูมิภาคเครือข่าย 2G จะยังคงเป็น เทคโนโลยีสารองในส่วนที่เครือข่าย3GและGเข้าไม่ถึงเมื่อสิ้นสุดช่วงที่คาดการณ์ไว้ เทคโนโลยี 5Gจะมีให้ใช้เป็นครั้งแรกโดยอาจจะเริ่มที่ญี่ปุ่นเกาหลีใต้และสหรัฐอเมริกา ในภูมิภาคละตินอเมริกา การใช้งานเฉพาะ GSM/EDGE เท่านั้นนับเป็นร้อย ละ 55 ของการใช้งานเครือข่ายมือถือขณะที่ภายในปี 2020 WCDMA/HSPA จะนับเป็นร้อยละ 65 ของการใช้งานเครือข่ายทั้งหมด ยุโรปตะวันตกยังถือเป็นแนวหน้าของวงการอินเทอร์เนตบรอดแบนด์เคลื่อนที่ โดยมีการใช้งานร้อยละ65เป็นWCDMA/HSPAและ LTE จะมีส่วนแบ่งการใช้ งานร้อยละ 75 ภายในปี 2020 ในยุโรปกลางและตะวันออก ส่วนแบ่งของ WCDMA/HSPA นั้นกาลัง เพิ่มขึ้น เครือข่าย LTE นั้นมีการนาไปใช้แล้วในส่วนที่พัฒนาแล้วของ ภูมิภาคและจะมีอยู่ในเกือบทุกประเทศภายในปี 2015 ดังนั้นร้อยละ 25 ของการใช้งานทั้งหมดจะเป็นเทคโนโลยี LTE ภายในปี 2020 ตลาดประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก การใช้เครือข่ายเคลื่อนที่ยังคงมีการ เติบโตอย่างมาก โดยจะมีการใช้งานเพิ่มถึง 1,300 ล้าน ภายในปี 2020 ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้เป็นผู้ที่นาเทคโนโลยี LTE ไปใช้เป็นประเทศแรกๆ และมีการ เข้าถึงมากกว่าร้อยละ 45 และ 70 ตามลาดับ คาดการณ์ว่าญี่ปุ่นและเกาหลี ใต้จะนับเป็นร้อยละ 25 ของการใช้งาน LTE ของโลกเมื่อสิ้นสุดปี 2014 จีนแผ่นดินใหญ่นั้นเริ่มมีการนา LTE มาใช้ และเมื่อสิ้นสุดปี 2020 จะมีการใช้ งานมากกว่า 1,200 ล้านการใช้งาน สูงกว่าหนึ่งในสามของจานวนทั้งโลก การใช้งานเฉพาะ GSM/EDGE นับเป็นร้อยละ 80 ของการใช้งานในตะวันออก กลางและแอฟริกา ก่อนถึงปี 2020 WCDMA/HSPA จะนับเป็นร้อยละ 65 ของ การใช้งานมือถือทั้งหมด แต่ส่วนใหญ่แล้วจะยังคงมีการใช้งานเฉพาะ GSM/EDGE เท่านั้นอยู่ ในภูมิภาคแอฟริกาสะฮารา GSM/EDGE จะยังคงเป็น เครือข่ายที่มีการใช้งานอยู่มากที่สุดเนื่องจากจานวนผู้บริโภครายได้ต่าที่ใช้ โทรศัพท์ 2G นั้นมีจานวนมาก
  • 11. NOVEMBER 2014 ERICSSON MOBILITY REPORT 11 การรับส่งข้อมูลบนเครือข่ายเคลื่อนที่ไตรมาสที่สาม ปี 2014 ครั้งหนึ่งโทรศัพท์มือถือมีจุดประสงค์การใช้งานหลักคือการสื่อสารด้วยการ พูดคุย แต่ตอนนี้โทรศัพท์สามารถใช้เข้าถึงบริการต่างๆ มากมายได้ และยิ่ง ความสามารถเพิ่มมากขึ้นก็จะใช้ทาสิ่งที่ครั้งหนึ่งมีเพียงคอมพิวเตอร์เท่านั้น ที่ทาได้ จานวนการใช้งานข้อมูลบนเครือข่ายเคลื่อนที่นั้นกาลังพุ่งสูงขึ ้นอย่าง รวดเร็ว เช่นเดียวกับขนาดการส่งข้อมูลโดยเฉลี่ยต่อหนึ่งการใช้งาน สิ่ง เหล่านี้กาลังเป็นทาให้ปริมาณการใช้งานข้อมูลเติบโตมากขึ้น การเติบโตของปริมาณการใช้ข้อมูลนั้นอยู่ที่ร้อยละ 10 เมื่อเทียบกันกับไตร มาสเดียวกันของปีก่อน และร้อยละ 60 เมื่อเทียบช่วงเดียวกันของปี กราฟข้างล่างนี้แสดงถึงการเติบโตอย่างต่อเนื่องของการรับส่งข้อมูล ขณะที่การรับส่งเสียงนั้นเกือบจะไม่มีการเคลื่อนไหว1 ในตลาดประเทศที่พัฒนาแล้วมากๆ นั้น บริการโทรและ SMS ไม่ใช่ บริการหลักอีกต่อไป อันจะเห็นได้ชัดเจนจากผู้ใช้สมาร์ทโฟนที่ใช้บริการ เกี่ยวกับข้อมูลเป็นปกติในชีวิตประจาวัน 1 การรับส่งข้อมูลไม่รวมการส่งผ่านเครือข่ายWi-FiหรือDVB-Hการส่งข้อมูลเสียงไม่รวมการส่งแบบVoIPไม่รวมการรับส่งข้อมูลของM2M 60% การรับส่งข้อมูลที่เพิ่มขึ้น ระหว่างไตรมาสที่สามปี 2013 ถึงไตรมาสที่สามปี 2014
  • 12. 12 ERICSSON MOBILITY REPORT NOVEMBER 2014 ภาพรวมการรับส่งข้อมูลบนเครือข่ายเคลื่อนที่ การรับส่งข้อมูลที่เพิ่มขึ้น 2014 (EB/month) ตัวคูณ 2014–2020 ปริมาณการใช้สมาร์ทโฟนที่สูงขึ้นเป็นแรงผลักดันหลักที่ทาให้การรับส่ง ข้อมูลนั้นเติบโตขึ้น การบริโภคข้อมูลมือถือต่อการใช้งานซึ่งปกติแล้วมา จากการชมวีดีโอก็เป็นสิ่งที่ส่งเสริมการเติบโตนี้ด้วย การรับส่งข้อมูลบนเครือข่ายเคลื่อนที่คาดว่าจะเติบโตในอัตราเติบโตเฉลี่ย สะสมต่อปี (CAGR) ที่ร้อยละ 40 ในช่วงตั้งแต่ปี 2014 ถึง 2020 ทาให้มี การรับส่งเพิ่มขึ้น 8 เท่าเมื่อถึงสิ้นปี 2020 ปริมาณรับส่งข้อมูลที่มาจาก สมาร์ทโฟนตอนนี้นั้นเป็นสองเท่าของปริมาณของ PC แทบเล็ตและเร้า เตอร์เคลื่อนที่ การรับส่งข้อมูลในส่วนของโทรศัพท์มือถือนั้นส่วนใหญ่มาจากสมาร์ทโฟน การใช้งานสมาร์ทโฟนคาดว่าจะเพิ่มมากขึ้นมากกว่าเท่าตัวก่อนปี 2020 ทาให้การรับส่งข้อมูลเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว การรับส่งข้อมูลบนสมาร์ท โฟนในแต่ละเดือนผ่านเครือข่ายเคลื่อนที่จะเพิ่มขึ้นถึง 8 เท่าระหว่างปี 2014 ถึงปี 2020 นอกจากนี้ยังมีความแตกต่างในด้านการใช้งานข้อมูล ระหว่างเครือข่าย ประเทศ และผู้ใช้ที่แตกต่างกัน การรับส่งข้อมูลบนเครือข่ายเคลื่อนที่จาก โทรศัพท์มือถือนั้นอยู่ที่ประมาณสองเท่าของ การรับส่งบนคอมพิวเตอร์พกพา แทบเล็ตและ เร้าเตอร์ ผู้ใช้งานจานวนเล็กๆ มีการใช้งานรับและส่งข้อมูลจานวนมาก ปัจจัยเช่น ปริมาณสูงสุดในการส่งข้อมูลแต่ละครั้ง แผนค่าใช้จ่ายรวมถึงขนาดและ ความละเอียดของหน้าจอเครื่องของผู้ใช้งานล้วนมีผลต่อปริมาณการ รับส่งข้อมูลต่อผู้ใช้ การรับส่งข้อมูลที่เพิ่มขึ้นระหว่างปี 2019 และ 2020 จะมากกว่าปริมาณ การรับส่งข้อมูลบนเครือข่ายเคลื่อนที่มีมาทั้งหมดจนถึงสิ้นปี 2013 8 เท่า การรับส่งข้อมูลผ่านสมาร์ทโฟนที่เพิ่มขึ้นระหว่างปี 2014 ถึงปี 2020 ปริมาณการรับส่งข้อมูลของโลกต่อเดือน (ExaByte) การใช้งานในปัจจุบันในที่นี้หมายถึงจานวนเครื่องมือที่ใช้อยู่ในขณะนี้ไม่รวมการใช้งานแบบหลาย SIM หรือเครื่องมือที่ไม่ได้ใช้งาน การรับส่งข้อมูลทั้งหมด 3.2 8 สมาร์ทโฟน 2.1 8 คอมพิวเตอร์พกพาแทบเล็ต เร้าเตอร์เคลื่อนที่ 1.1 7
  • 13. NOVEMBER 2014 ERICSSON MOBILITY REPORT 13 การรับส่งข้อมูลบนเครือข่าย เคลื่อนที่ในแต่ละภูมิภาค Mobile data traffic growth by region 2014 (EB/month) Multiplier 2014–2020 ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกจะยังคงมีส่วนแบ่งมาก ที่สุดในการรับส่งข้อมูลบนเครือข่ายเคลื่อนที่ ทั้งหมดในปี 2020 หลักๆ แล้วเนื่องจากมีการ ใช้งานเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จีนเพียงประเทศเดียวจะมีปริมาณการใช้งาน เครือข่ายเคลื่อนที่เพิ่มขึ้นกว่า 450 ล้านการใช้ งานในช่วงเวลาจนถึงปี 2020 ทว่าเนื่องจากความ หลากหลายในแต่ละภูมิภาค ปริมาณการใช้งาน ข้อมูลจึงยังมีความแตกต่างอยู่สาหรับแต่ละ ประเทศ ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิ กนั้นเป็ นตลาดที่มีความ หลากหลายของการใช้เครือข่ายบรอดแบนด์และ มีความอิ่มตัวอยู่แตกต่างกันหลายระดับ เช่นใน เกาหลีใต้และญี่ปุ่ นที่ใช้เทคโนโลยี LTE ก่อน ประเทศอื่น ขณะที่เครือข่ายบรอดแบนด์แรกๆ ของโลกนั้นมักถูกนามาใช้ในประเทศออสเตรเลีย ทว่า GSM จะยังคงเป็ นเครือข่ายหลักในประเทศ อื่นๆ คุณภาพเครือข่ายที่ยังต่าผนวกกับแผนราคา ของข้อมูลจะยังเป็ นปัจจัยเบื้องหลังอัตราการ บริโภคเครือข่ายมือถือที่ต่านี้ The Central Europe and Middle East and Africa (MEA) region is expected to show strong growth during the period. North America and Western Europe currently have a significantly larger share of total traffic volume than their subscription numbers alone would imply. This is due to The large proportion of high-end user devices and well built-out WCDMA/HSPA and LTE networks in those regions, leading to higher data usage per subscription. North America will have a smaller share of ทั้งนี้เนื่องจากส่วนแบ่งตลาดของสมาร์ทโฟนจาก การใช้โทรศัพท์มือถือทั้งหมดจะถึงจุดอิ่มตัวก่อน ภูมิภาคอื่นๆ ในยุโรปตะวันตก การรับส่งข้อมูลเครือข่าย เคลื่อนที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้น 8 เท่าในช่วงระหว่างปี 2014 และ 2020 ความเร็ วที่ดีขึ้นกับ ความสามารถของเครือข่าย HSPA ผนวกกับการ นา LTE มาใช้จะเป็ นการกระตุ้นให้ผู้บริโภค ต้องการประสบการณที่ดียิ่งกว่าเดิม 9เท่า การรับส่งข้อมูลที่เพิ่มขึ้นใน เอเชียแปซิฟิกจนถึงปี 2020 ปริมาณการรับส่งข้อมูล ของโลกต่อเดือน (ExaByte) เอเชียแปซิฟิก 1.3 9 ยุโรปกลางตะวันออกกลางและแอฟริกา 0.5 9 ยุโรปตะวันตก 0.5 8 อเมริกาเหนือ 0.6 6 ละตินอเมริกา 0.3 6 ยุโรปกลางและตะวันออกกลางกับแอฟริกา (MEA) นั้นคาดว่าจะมีการเติบโตอย่าง แข็งแกร่งในช่วงที่คาดการณ์ไว้ อเมริกาเหนือ และยุโรปในปัจจุบันนั้นมีส่วนแบ่งปริมาณการ รับส่งข้อมูลที่มากอย่างเห็นได้ชัดเมื่อเทียบ จานวนตัวเลขการใช้งานจะบอกได้ เพราะว่าใน ภูมิภาคเหล่านี้มีการใช้งานเครื่องมือระดับสูง และเครือข่าย WCDMA/HSPA กับ LTE ที่มี คุณภาพ ส่งผลให้การใช้ข้อมูลต่อหนึ่งการใช้ งานนั้นสูงกว่า อเมริกาเหนือจะมีส่วนแบ่งการ รับส่งข้อมูลของโลกในปี 2020 น้อยกว่าในปี 2014
  • 14. 14 ERICSSON MOBILITY REPORT NOVEMBER 2014 ภาพรวมการรับส่งข้อมูลแอพแอพพลิเคชั่นบน เครื่องมือพกพา วีดีโอคือส่วนที่ใหญ่และเติบโตเร็วที่สุดของการรับส่งข้อมูลในเครือข่าย เคลื่อนที่ ซึ่งคาดว่าจะเติบโตประมาณร้อยละ 45 ในแต่ละปีจนถึงปี 2020 ซึ่งคาดว่าเมื่อถึงเวลานั้น จะนับเป็นร้อยละ 55 ของการรับส่งข้อมูลทั้งหมด ทั่วโลก ส่วนแบ่งการรับส่งข้อมูลบน เครือข่ายเคลื่อนที่ 2014 2020 ในปัจจุบัน เว็บไซต์ YouTube ครองส่วนแบ่งการใช้ข้อมูลในเครือข่ายเคลื่อนที่ เกือบทุกที่และนับเป็นร้อยละ 40 ถึง 60 ของปริมาณการรับชมวีดีโอในหลาย เครือข่ายเคลื่อนที่หลายเครือข่าย การสตรีมเพลงนั้นกาลังได้รับความนิยมมากขึ้น ทว่าฟังค์ชั่นเช่นการแคช เนื้อหาและ Playlist แบบออฟไลน์นั้นเป็นปัจจัยที่จากัดการเติบโตการรับส่ง ข้อมูลการรับส่งเพลงนั้นคาดว่าจะเติบโตในอัตราปีละร้อยละ 35 ซึ่งสอดคล้อง กับการเติบโตของการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายเคลื่อนที่ทั้งหมด แอพพลิเคชั่นที่ต่างกันนั้นมีระดับการใช้ที่ต่างกันในแต่ละเครื่องมือ ซึ่งบ่ง บอกว่าการมีจาหน่ายและประเภทของเครื่องมือนั้นก็ส่งผลต่อปริมาณ ข้อมูลในเครือข่ายเคลื่อนที่ด้วย ทุกวันนี้โซเชียลเน็ตเวิรค์นับเป็นร้อยละ 15 ของการรับส่งข้อมูลบนเครือข่าย เคลื่อนที่ ส่วนแบ่งตลาดนั้นจะยังคงอยู่ในระดับเดียวกันกับทุกวันนี้ในปี 2020 แม้จะมีเนื้อหาที่ลุ่มลึกมากขึ้นเรื่อยๆ ก็ตาม ขณะเดียวกัน ส่วนแบ่งที่เกิดจากการท่องเว็บไซต์นั้นจะลดลงเมื่อถึงปี 2020 อันเป็นผลมาจากการเติบโตในเรื่องของวีดีโอและโซเชียลเน็ตเวิรค์ ผู้บริโภค นั้นกาลังหันไปหาการดูวีดีโอหรือใช้แอพพลิเคชั่นแอพบนเครื่องมือพกพาที่ ใช้ในการท่องเว็บไซต์มากขึ้น การเกิดแอพแอพพลิเคชั่นใหม่ๆ สามารถเปลี่ยนปริมาณการรับส่งข้อมูล ต่างๆ กันได้ แต่ความแพร่หลายของเครื่องมือบางประเภทก็ส่งผลต่อการ รับส่งข้อมูลเช่นเดียวกัน ยกตัวอย่างเช่นแทบเล็ตนั้นจะมีส่วนแบ่งการดู วีดีโอออนไลน์มากกว่าสมาร์ทโฟน ประมาณ 55% ของการรับส่งข้อมูลบนเครือข่ายเคลื่อนที่จะมา จากการดูวีดีโอในปี 2020 วีดีโอนั้นคาดว่าจะเป็นส่วนแบ่งสาคัญของการแชร์ไฟล์นอกเหนือจากการใช้งานประเภทดูวีดีโอ และการใช้งานอื่นๆ ที่ถูกเข้ารหัสไว้คือการเข้ารหัสในชั้นเครือข่าย (เช่น VPN) หรือการส่งข้อมูล (TSL/SSL) การเข้ารหัสในระดับแอพพลิเคชั่น เช่นการใช้ DRM สาหรับเนื้อหาวีดีโอนั้นไม่นับ 1 ข้อมูลนี้มาจากการวัดของ Ericsson ในเครือข่ายเพื่อการพาณิชย์จานวนหนึ่งในเอเชีย ยุโรปและอเมริกาทั้งเหนือและใต้ วีดีโอ 45% 55% โซเชียลเน็ตเวิรค์ 15% 15% การท่องเว็บไซต์ 10% 5% ฟังเพลง 2% 2%
  • 15. NOVEMBER 2014 ERICSSON MOBILITY REPORT 15 10 เท่า การเติบโตของการชมวีดีโอบนเครือข่ายเคลื่อนที่ มีปัจจัยอยู่หลายอย่างด้วยกันที่ส่งผลต่อการเติบโตของการชมวีดีโอบนเครือข่าย เคลื่อนที่ เหตุผลสาคัญประการหนึ่งคือจานวนเครื่องมือที่สามารถใช้ชมวีดีโอได้ของ ผู้บริโภคซึ่งมีพัฒนาการอยู่เสมอ หลายชิ้นในปัจจุบันมีหน้าจอขนาดใหญ่ขึ้นทาให้ คุณภาพของวีดีโอคมชัด เนื้อหาวีดีโอยังปรากฏในส่วนอื่นของประสบการณ์ ออนไลน์ด้วยเช่นการดูข่าว โฆษณาและโซเชียลมีเดีย การสตรีมวีดีโอนั้นกาลัง เติบโตอย่างเข้มแข็งโดยมีแรงผลักดันหลักคือผู้ให้บริการแบบ Over the top หรือ OTT อย่าง YouTube หรือ Netflix ความเร็วของเครือข่ายที่เหนือกว่าของ HSPA และ LTE ก็เป็ นอีกหนึ่งปัจจัยสาคัญ พฤติกรรมของผู้บริโภคกาลังเปลี่ยนไปทาให้มีการบริโภควีดีโอบนทุกเครื่องมือใน จานวนที่มากขึ้นรวมถึงตอนที่ออกจากบ้านด้วย ความละเอียดวีดีโอระดับ UltraHD กาลังค่อยๆ ได้รับความนิยมแม้ว่ายังไม่มีผลต่อเครื่องมือพกพาจนสังเกตเห็นได้ ปัจจัยเหล่านี้ทาให้ปริมาณการรับส่งวีดีโอสูงขึ้น ปริมาณของวีดีโอที่เข้ารหัสก็สูงขึ้น อย่างรวดเร็วเช่นเดียวกัน การปรับปรุงทางเทคนิคเช่นการบีบอัดวีดีโอแบบใหม่จะนาไปสู่การใช้ข้อมูลที่มี ประสิทธิภาพมากขึ้นและทาให้ผู้บริการเครือข่ายสามารถตอบสนองกับความ ต้องการที่เพิ่มขึ้นได้ การรับส่งข้อมูลที่เพิ่มขึ้นในช่วงระหว่าง ปี 2014 และ ปี 2020
  • 16. 16 ERICSSON MOBILITY REPORT NOVEMBER 2014 GSM/EDGE WCDMA/HSPA LTE GSM/EDGE WCDMA/HSPA LTE สถานะของเครือข่ายต่างๆ ในตลาดที่มีการแข่งขันสูงในปัจจุบัน ผู้ใช้บริการล้วนคาดว่าจะได้รับประสบการณ์ที่ดี และการปรับปรุงบริการอย่างต่อเนื่อง การพัฒนาขีดความสามารถของเครือข่าย เคลื่อนที่จึงเป็ นกุญแจสาคัญเพื่อที่จะแน่ใจได้ว่าผู้ใช้จะได้รับประสบการณ์ที่ยอดเยี่ยม ดังกล่าว ในตลาดที่มีการแข่งขันสูงในปัจจุบัน ผู้ใช้บริการล้วนคาดว่าจะได้รับประสบการณ์ที่ดีและ การปรับปรุงบริการอย่างต่อเนื่อง การพัฒนาขีดความสามารถของเครือข่ายเคลื่อนที่จึง เป็นกุญแจสาคัญเพื่อที่จะแน่ใจได้ว่าผู้ใช้จะได้รับประสบการณ์ที่ยอดเยี่ยมดังกล่าว เมื่อถึงปี 2020 ร้อยละ 90 ของประชากรโลกจะสามารถเข้าถึงเครือข่ายบรอดแบนด์ เคลื่อนที่และอินเทอร์เนตได้ ขณะเดียวกันก็มีการปรับปรุงเพิ่มฟังค์ชั่นเครือข่ายและขีด ความสามารถในการให้บริการใหม่ๆ ทั้งในด้านตัวข้อมูลและเสียง ทั้งนี้ยังรวมถึงการปรับปรุงความเร็วในการรับและส่งข้อมูลและหาทางใหม่ๆ เพื่อที่จะส่งเนื้อหาในคุณภาพระดับหนึ่งๆ (เช่นด้วย LTE Broadcast) การ ปรับปรุงคุณภาพเสียงและศักยภาพสาหรับบริการสื่อสารใหม่ๆ ที่ลุ่มลึก กว่าเดิมนั้นเกิดขึ้นได้เพราะ mobile HD voice และ VoLTE ยิ่งไปกว่านั้น ความแพร่หลายของฟังค์ชั่น Wi-Fi calling ในสมาร์ทโฟนก็ทาให้ผู้ใช้ สามารถได้ทั้งบริการเสียงจากผู้ให้บริการเครือข่าย (ผ่าน SIM) และบริการ สื่อสารในบ้านผ่าน access point Wi-Fi ของตนเองได้ ความครอบคลุมของเครือข่ายสาหรับประชากรโลก ยิ่งมีการติดตั้งสถานีฐานมากเท่าไร ความครอบคลุมของเครือข่ายเคลื่อนที่ก็เพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่องเท่านั้น ปัจจุบัน GSM/EDGE นั้นครอบคลุมมากที่สุดถึงร้อยละ 85 ของ ประชากรโลก ในตอนสิ้นสุดปี 2013เครือข่ายWCDMA/HSPAนั้นครอบคลุมประชากรประมาณร้อยละ 60 ของโลกความต้องการเข้าถึงอินเทอร์เนตและราคาสมาร์ทโฟนที่ถูกลงรวมถึงความ จาเป็นตามกฏระเบียบที่จะต้องเชื่อมต่อจะเป็นแรงผลักดันให้เทคโนโลยีนี้เติบโตต่อไปเมื่อ ถึงสิ้นปี 2020ประมาณร้อยละ90 ของประชากรโลกจะเข้าถึงเครือข่าย WCDMA/HSPA และอินเทอร์เนตได้1 มากกว่า70% ของประชากรโลกจะเข้าถึงเครือข่าย LTE ได้ในปี 2020 เราคาดการณ์ว่าเครือข่ายLTE จะครอบคลุมประมาณร้อยละ 20 ของประชากรโลก เมื่อถึงสิ้นปี 2013 เราคาดการณ์ว่าตัวเลขดังกล่าวจะสูงขึ้นถึงมากกว่าร้อยละ 70 เมื่อถึงปี 2020 ความครอบคลุมของเครือข่ายสาหรับประชากรอินเดีย เครือข่าย GSM ถูกนามาใช้ในอินเดียช่วงกลางทศวรรษที่ 1990 เมื่อถึงสิ้นปี 2013 เครือข่ายGSM/EDGEนั้นครอบคลุมกว่าร้อยละ90 และคาดว่าจะมากกว่าร้อยละ 95 เมื่อถึงปี 2020 ประมาณ 45% ของประชากรอินเดียจะเข้าถึงเครือข่าย LTE ได้ในปี 2020 ความครอบคลุมประชากรโลกของแต่ละเทคโนโลยี ความครอบคลุมประชากรอินเดียของแต่ละเทคโนโลยี2 >85% ~95% ~90% >90% >95% ~90% >70% ~60% ~45% ~20% >20% 0% 2013 2020 2013 2020 2013 2020 2013 2020 2013 2020 2013 2020 1 ตัวเลขนี้คือความครอบคลุมประชากรของแต่ละเทคโนโลยี ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดังกล่าวนั้นขึ้นกับปัจจัยอื่นๆ ด้วยเช่นการเข้าถึงเครื่องมือและการใช้งาน 2 ตัวเลขความครอบคลุมประชากรสาหรับภูมิภาคอื่นๆ สามารถดูได้ในภาคผนวกประกอบรายงานของภูมิภาคนั้นๆ ที่ www.ericsson.com/ericsson-mobility-report
  • 17. NOVEMBER 2014 ERICSSON MOBILITY REPORT 17 กระนั้นยังมีพื้นที่ชนบทอีกมากมายที่เครือข่ายเข้าไม่ถึงเครือข่าย WCDMA/HSPAเพื่อ การพาณิชย์นั้นมีการนามาใช้ครั้งแรกในปี 2008 แต่ขั้นตอนนามาใช้นั้นค่อนข้างช้า และคาดว่าเครือข่ายWCDMA/HSPAจะครอบคลุมประชากรกว่าร้อยละ20 เมื่อถึงสิ้น ปี 2013 ประชากรผู้ใช้ข้อมูลบนเครือข่ายเคลื่อนที่กาลังเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในอินเดีย เนื่องจากเครือข่ายบรอดแบนด์เคลื่อนที่นั้นกาลังลดช่องว่างระหว่างประชากรในชนบทและ เขตเมืองการใช้งานและบริการข้อมูลบนเครือข่ายเคลื่อนที่นั้นกลายเป็ นเรื่องกระแสหลัก ขึ้นเรื่อยๆด้วยสัดส่วนที่สูงขึ้นจากกลุ่มคนรายได้ต่าที่ในตอนนี้ดาวน์โหลดแอพและสตรีม วีดีโอจากอินเทอร์เนตด้วยเครื่องมือพกพาคาดว่าความครอบคลุมประชากรของเครือข่าย WCDMA/HSPAจะมากกว่าร้อยละ90เมื่อถึงปี 2020 โดยมีปัจจัยหลักคือความต้องการ ใช้บริการข้อมูลและการวางจาหน่ายสมาร์ทโฟนที่ราคาย่อมเยาขึ้น ความต้องการนี้จะถูก ผลักดันเพิ่มขึ้นอีกจากการเข้ามาของเครือข่ายLTEและคาดว่าจะมีประชากรร้อยละ 45 ที่ เข้าถึงLTEได้ในปี 2020 Currently, India has much less mobile broadband spectrum allocated than markets with high mobile broadband penetration. The release of additional spectrum in the 166 เครือข่าย HSPA 42 Mbps ได้รับการ เปิดตัวเชิงพาณิชย์แล้วใน 86 ประเทศ ร้อยละของเครือข่าย WCDMA ที่อัพเกรดไปใช้ HSPA และไปที่ 7.2, 21 และ 42 MBps แล้ว 100% ~85% ~70% ~30% Relevant bands will make services more affordable, while The harmonization of spectrum will allow a lower cost device ecosystem to evolve. This will play a key role in driving mobile broadband growth in India, and will be an increasingly important driver of mobile networks’ overall capacity, quality and user experience เครือข่าย WCDMA/HSPA ปัจจุบันมีเครือข่ายWCDMA/HSPAเพื่อการพาณิชย์อยู่ 572 เครือข่ายที่ครอบคลุมกว่า ร้อยละ 60 ของประชากรโลก เครือข่าย WCDMA ทุกเครือข่ายทั่วโลกล้วนได้รับการ อัพเกรดด้วยเทคโนโลยี HSPAเป็นที่เรียบร้อย384เครือข่ายHSPAเหล่านี้นั้นมีความเร็ว การโหลดสูงถึง21Mbpsหรือมากกว่า3 166 HSPA เครือข่าย HSPA ในตอนนี้สนับสนุนระบบ multicarrier modulation ด้วย ความเร็วสูงสุด42Mbps ในส่วนหนึ่งหรือหมดทั้งเครือข่าย ทาให้มีศักยภาพที่จะรองรับ แอพที่ดีกว่าเดิม ในช่วงปี 2015เราจะได้เห็นขั้นตอนการพัฒนาไปสู่การให้บริการเครือข่าย 3x5MHzmulticarrierที่มีความเร็วดาวน์โหลดสูงถึง 63 Mbpsและอัพโหลด 2x5 ที่เร็ว สูงสุดถึง12Mbps การปรับปรุงเหล่านี้จะมีทั้งการสนับสนุนทั้งตัวเครือข่ายและเทอร์มินัล ด้วย 3 GSA and Ericsson, October, 2014 4 GSA February, 2014 5 GSA and Ericsson, September, 2014 ที่มา: Ericsson and GSA (October 2014) เครือข่ายความถี่ต่านั้นสามารถนาไปใช้งานได้ที่ 2100MHzเนื่องจากยิ่งความถี่ต่า เท่าไหร่ ก็ยิ่งทาให้พื้นที่บริการคุณภาพและประสบการณ์ของผู้ใช้ดีขึ้น ปัจจุบันมีระบบนิเวศสาหรับ WCDMA/HSPA ที่ความถี่เทอร์มินัล 900 MHz และ ปัจจุบันถือว่าเป็ นเทคโนโลยีกระแสหลักแล้วด้วย 87เครือข่าย WCDMA/HSPA900 MHzใน58ประเทศทั่วโลก4 เครือข่าย LTE ในปัจจุบันมีเครือข่ายLTEเพื่อการพาณิชย์อยู่331แห่งใน 112ประเทศทั่วโลก5 เมื่อ ถึงสิ้นปี 2013การใช้งานLTEของโลกจะเกิน 200ล้าน และคาดว่าจะทะลุ 400 ล้าน เมื่อถึงสิ้นปี 2014เป็นการเพิ่มพูนประสบการณ์ผู้ใช้ ความเร็วเครือข่ายและผลักดันการ นาเทคโนโลยีนี้ไปใช้ 331 เครือข่าย LTE ได้รับการเปิดตัวเชิงพาณิชย์แล้ว ใน 112 ประเทศ HSPA HSPA 7.2 HSPA 21 HSPA 42 ในปัจจุบันอินเดียมีจานวนคลื่นความถี่เครือข่ายบรอดแบนด์เคลื่อนที่น้อยกว่าประเทศที่มี การเข้าถึงเครือข่ายดังกล่าวสูง การนาคลื่นความถี่เพิ่มเติมมาใช้จะทาให้บริการนั้น ย่อมเยามากขึ้นขณะที่การทาให้คลื่นความถี่ไปในทางเดียวกันจะทาให้ระบบนิเวศของ เครื่องมือราคาถูกพัฒนาได้ สิ่งนี้จะเป็ นบทบาทสาคัญในการผลักดันการเติบโตของ เครือข่ายบรอดแบนด์เคลื่อนที่ในอินเดียและจะเป็ นแรงขับเคลื่อนที่สาคัญขึ้นเรื่อยๆ สาหรับความจุ คุณภาพของเครือข่ายและประสบการณ์ผู้ใช้ของเครือข่ายทั้งหมดโดยรวม
  • 18. 18 ERICSSON MOBILITY REPORT NOVEMBER 2014 เพื่อที่จะตอบสนองความต้องการบริการ LTE ผู้ให้บริการนั้นกาลังหาโอกาส ใหม่ๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งคลื่นความถี่และโซลูชั่นที่จะปรับให้การใช้คลื่นความถี่มี ประสิทธิภาพ หนึ่งในที่มาที่กาลังเป็นที่สนใจในหมู่ผู้ให้บริการคือเทคโนโลยี LTE TDD 4G ซึ่งในตอนนี้LTE TDD 4G มีให้บริการเชิงพาณิชย์อยู่ใน 27 ประเทศ โดยมี 27 ผู้ให้บริการที่ให้บริการเฉพาะ LTE ด้วย โหมด TDD และอีก 13 เจ้าที่บริการทั้งโหมด TDD และ FDD ด้วยกัน6 ในเครือข่าย LTE ที่ ผสมผสานระหว่าง FDD และ TDD นั้น การใช้ FDD สาหรับการอัพโหลด สามารถเพิ่มพื้นที่การให้บริการของความถี่ TDD ได้ และยังทาให้ TDD มี ประสิทธิภาพในการดาวน์โหลดมากขึ้น เป็นการเพิ่มอัตราการรับส่งข้อมูลบน เครือข่ายบรอดแบนด์เคลื่้อนที่ 13 เครือข่ายที่มีการผสมผสานโหมด TDD และ FDD เพื่อที่จะใช้งานคลื่นความถี่ที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด จานวนของ LTE- Advanced (LTE-A) Carrier Aggregation (CA) ก็เพิ่มขึ้นด้วยเช่นกัน ใน ปัจจุบันมีเครือข่ายแบบ LTE-A CA ในเชิงพาณิชย์อยู่ 21 เครือข่ายใน 14 ประเทศทั่วโลก6 ผู้ให้บริการเหล่านี้ใช้คลื่นความถี่ 40 MHz ทาให้ได้บริการที่มี ความเร็วดาวน์โหลดตั้งแต่ 225 Mbps ถึง 300 Mbps และเพื่อให้สามารถใช้ คลื่นความถี่ได้อย่างเต็มที่ การติดตั้งอุปกรณ์ Small cell ยังมีส่วนช่วย สนับสนุนในการเพิ่มความจุในการใช้งานและปรับปรุงความครอบคลุมภายใน สิ่งก่อสร้าง LTE Broadcast โซลูชั่น LTE Broadcast กาลังได้รับความสนใจมากขึ้นเรื่อยๆ ให้หมู่ผู้ให้บริการ โดยเฉพาะเมื่อความต้องการบริโภควีดีโอบนเครือข่ายบรอดแบนด์เคลื่อนที่ เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ LTE Broadcast จะช่วยให้ผู้ให้บริการสามารถให้บริการวีดีโอ ใหม่ๆ ในแบบที่ใช้ทรัพยากรเครือข่ายและคลื่นความถี่ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด LTE Broadcast ยังสนับสนุนการใช้งานรูปแบบต่างๆ ตั้งแต่การสตรีมเนื้อหา วีดีโอที่มีความต้องการสูงอย่างเช่นการถ่ายทอดสดกีฬาหรือข่าวด่วนไปจนถึง การส่งไฟล์เนื้อหาที่เป็นที่นิยม (วีดีโอ เพลงและสิ่งพิมพ์) การอัพเดตซอฟท์แวร์ การออกอากาศฉุกเฉินและการใช้ M2M แบบต่างๆ เช่นเทคโนโลยีรถติดอิน เทอร์เนต (Connected Car) และ ป้ ายโฆษณาดิจิตอล (Digital Signage) โซลูชั่นLTEBroadcastมีการเปิดตัวเชิงพาณิชย์ในเกาหลีใต้เมื่อเดือนมกราคม2014 และมี19ผู้ให้บริการกาลังทดลองหรือมีการนาไปใช้แล้วในประเทศต่างๆทั่วโลก6 มี การนาโทรศัพท์จานวนจากัดมาใช้ในการเปิดตัวเหล่านี้คาดว่าจะมีการประกาศการ ทดลองใช้งานและเครื่องมือที่ใช้ LTEBroadcastได้มากขึ้นเรื่อยๆเมื่อมีผู้ให้บริการเริ่ม เห็นศักยภาพเชิงพาณิชย์ของบริการวีดีโอบรอดแบรด์ Mobile HD voice HDvoiceเป็นเทคโนโลยีที่ให้คุณภาพเสียงที่เป็นธรรมชาติกว่าการโทรแบบดั้งเดิมด้วย การจดจาเสียงที่ดีขึ้นการจะใช้ HDvoiceนั้นจาเป็นจะต้องมีฟังค์ชั่นเครือข่ายและ ความสามารถของตัวเครื่องที่ใช้ประโยชน์จากเครือข่ายที่มีอยู่เช่น GSM CDMA WCDMAและLTEได้ มีผู้ให้บริการกว่า116รายเปิดตัวบริการนี้เชิงพาณิชย์แล้วใน 75ประเทศและมีเครื่องมือมากกว่า300เครื่องที่ใช้ได้ทั่วโลก7 การเปิดตัวส่วนใหญ่นั้น อยู่บนเครือข่ายWCDMAแต่ส่วนหนึ่งก็มีทั้งบนเครือข่ายGSMและLTE(VoLTE) เทคโนโลยีHDvoiceที่พัฒนาขึ้นมาใหม่กับvoicecodecสาหรับเครือข่ายLTEนั้นมี การทาเป็นมาตรฐานแล้วในรูปของ3GPP–EVSซึ่งจะช่วยเพิ่มพูนประสบการณ์ผู้ใช้ ด้วยคุณภาพเสียงและเพลงที่เหนือกว่าขณะที่ยกระดับคุณภาพบริการHDvoiceใน เครือข่าย2G3GและLTE >116 ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ใน 75 ประเทศตอนนี้มี การเปิดตัวบริการ HD voice เชิงพาณิชย์แล้ว Voice over LTE (VoLTE) เทคโนโลยีVoLTEนั้นจะทาให้ผู้ใช้สามารถรับส่งHDvoiceการVideocallและบริการ สื่อสารอื่นๆในระดับtelecom-grade บนสมาร์ทโฟนที่ใช้ LTE ได้ขณะที่สามารถใช้ บริการข้อมูลความเร็วสูงในเวลาเดียวกัน VOLTE นั้นนามาใช้ได้ด้วยระบบ IP MultimediaSubsystem(IMS)เพื่อให้บริการโทรศัพท์ผ่านIPระบบเครือข่ายวิทยุ LTE และEvolved Packet Core จาเป็นต้องใช้เพียงแค่การอัพเกรดซอฟท์แวร์เท่านั้น 6 GSA, September 2014 7 GSA and Ericsson, September 2014
  • 19. NOVEMBER 2014 ERICSSON MOBILITY REPORT 19 นอกจากนี้ยังต้องใช้สมาร์ทโฟนLTEที่รองรับVoLTEด้วยสมาร์ทโฟนระดับสูงที่ใช้ LTEได้นั้นมีชิปเซ็ตVoLTEฝังอยู่แล้วและต้องอัพเกรดแค่ซอฟท์แวร์เท่านั้นเพื่อที่จะ ใช้บริการVoLTEได้ ระบบนิเวศของเครื่องมือที่ใช้ VoLTEกาลังเติบโตขึ้นเรื่อยๆเมื่อ ผู้ขายสมาร์ทโฟนรายใหญ่เปิดตัวเครือข่ายVoLTEพาณิชย์แห่งแรกของโลกนั้นเปิดตัว ที่เกาหลีใต้ในเดือนสิงหาคมปี 2012 ปัจจุบันมีผู้ให้บริการ12 รายที่เปิดตัวบริการ VoLTEเชิงพาณิชย์ในเกาหลีใต้ สหรัฐอเมริกาฮ่องกงและญี่ปุ่นยังมีผู้ให้บริการอีก จานวนหนึ่งที่เตรียมนาVoLTEไปใช้ในช่วงปี 2014ถึง2015 12 ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ทั่วโลกได้ เปิดตัวบริการ VoLTE เชิงพาณิชย์แล้ว Wi-Fi calling การพัฒนาล่าสุดในวงการทาให้ผู้บริการสามารถให้บริการWi-Ficallingในที่อยู่อาศัย ได้ เนื่องจากผู้ผลิตเครื่องมือส่วนใหญ่นั้นได้รวมบริการดังกล่าวลงในตัวสมาร์ทโฟนมา แล้วซึ่งแปลว่าผู้บริโภคสามารถใช้บริการโทรจากผู้ให้บริการ(ผ่านSIM)ได้ในบ้านโดย ใช้ Wi-Fiaccesspointของตนเองในบ้านโดยใช้ผู้ให้บริการอินเทอร์เนต(ISP)รายใดก็ได้ ซึ่งเป็นประโยชน์กับผู้ใช้ที่ในบ้านสามารถสลับช่องสัญญาณแบบใช้วงจรได้จากัดหรือ ว่าเข้าไม่ถึงVoLTEบริการโทรดังกล่าวจะถูกส่งผ่านเครือข่ายEvolvedPacketCore ของผู้ให้บริการและเครือข่ายIMSบริการนี้เป็นการเสริมVoLTEกับWi-Fiaccessและ ยังเป็นไปได้ด้วยที่จะHandoverการโทรและVideocallระหว่างเครือข่ายLTEและWi- Fiแบบไม่มีสะดุด บริการ Mobile backhaul ความต้องการความจุสาหรับบริการBackhaul เครือข่ายบรอดแบนด์เคลื่อนที่จะยังคง สูงขึ้นเรื่อยๆความจุที่จาเป็นต่อสถานีฐานจะแตกต่างกันอย่างมากขึ้นอยู่กับอัตรา ข้อมูลของเป้ าหมายและความหนาแน่นของประชากรในปี 2020สถานีฐานความจุสูงนั้น คาดว่าจะต้องมีระยะBackhaul 1 Gbps ขณะที่สถานีฐานความจุต่านั้นมีระยะ100 Mbps และด้วยนวัตกรรมที่พัฒนาอย่างต่อเนื่องและการมีคลื่นความถี่เพิ่มเติมคลื่น ไมโครเวฟตอนนี้สามารถส่งข้อมูลได้กว่า1Gbpsต่อฐานและมีศักยภาพที่จะให้ได้ถึง10 Gbpsหรือมากกว่านั้นไปอีก คลื่นไมโครเวฟและเส้นใยนาแสงเป็นสื่อถ่ายโอนข้อมูลที่เหมาะที่สุดที่จะตอบสนองความ ต้องการความจุที่เพิ่มขึ้นการส่งผ่านเส้นใยนาแสงจะเติบโตในส่วนของตลาดBackhaul ต่อไปและคาดการณ์ว่าจะเชื่อมต่อมากกว่าร้อยละ40ของสถานีฐานทั้งหมดเมื่อถึงปี 2020 ปัจจุบันคลื่นไมโครเวฟเป็นเทคโนโลยีถ่ายโอนข้อมูลหลักสาหรับเครือข่าย Backhaul เคลื่อนที่ทั่วโลกคลื่นไมโครเวฟในตอนนี้เชื่อมต่อสถานีฐานร้อยละ60 ของ ทั้งหมดเข้าด้วยกันและจะเชื่อมต่อประมาณร้อยละ50ต่อไปในปี 2020 ประมาณ 50% ของไซต์สถานีฐานจะเชื่อมต่อด้วยคลื่นไมโครเวฟในปี 2020