SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
เสนอ
อ. อลงกรณ์ ราชคฤห์
เรื่อง เทคโนโลยี 3G
รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยีพื้นฐาน 5
รหัสวิชา 223101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
คานา
สารบัญ
หน้า 1 1
หน้า 2 2
หน้า 3 3
หน้า 4 4
หน้า 5 5
เนื้อหา 1
กลับสารบัญ
เทคโนโลยี 3G
เนื้อหา 2
กลับสารบัญ
เทคโนโลยี 3G คืออะไร
3G คือ โทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่สาม หรือมาตรฐาน IMT-2000 นั้นนิยามสั้นๆ เพื่อให้เข้าใจ
ตรงกันว่า“ต้องมี แพลทฟอร์ม (Platform) สาหรับการหลอมรวมของบริการต่างๆ อาทิ กิจการ
ประจาที่ (Fixed Service) กิจการเคลื่อนที่ (Mobile Service) บริการสื่อสารเสียง ข้อมูล
อินเทอร์เน็ต และ พหุสื่อ (Multimedia) เป็นไปในทิศทางเดียวกัน” คือ สามารถถ่ายเท ส่งต่อข้อมูล
ดิจิตอล ไปยังอุปกรณ์โทรคมนาคมประเภทต่างๆ ให้สามารถรับส่งข้อมูลได้
“ความสามารถในการใช้โครงข่ายทั่วโลก (Global Roaming) ” คือ ผู้บริโภคสามารถ ถืออุปกรณ์
โทรศัพท์เคลื่อนที่ไปใช้ได้ทั่วโลก โดยไม่ต้องเปลี่ยนเครื่อง
“บริการที่ไม่ขาดตอน (Seamless Delivery Service) ” คือ การใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่โดยไม่รู้สึก
ถึงการเปลี่ยน เซลล์ไซต์ (Cell Site) เขาใช้คาว่า Seam less นั้นแปลว่า ไร้รอยตะเข็บนะครับ
เนื้อหา 3
กลับสารบัญ
จุดเริ่มต้นของเทคโนโลยี 3G
มาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่ 3 (Third Generation Mobile
Network หรือ 3G) เป็นเทคโนโลยียุคถัดมาจากการเปิดให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ยุค
ที่ 2 หรือ 2G ซึ่งประสบความสาเร็จในการสร้างมูลค่าทางธุรกิจสื่อสารไร้สายอย่างมหาศาล
นับ ตั้งแต่ พ.ศ. 2537 เป็นต้นมา ในยุคของโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2G มีมาตรฐานที่สาคัญที่มีการ
นิยมใช้งานทั่วโลกอยู่2 มาตรฐาน กล่าวคือมาตรฐาน GSM (Global System for
Mobile Communication) อันเป็นมาตรฐานของกลุ่มสหภาพยุโรป ปัจจุบันมี
ส่วนแบ่งทางการตลาดทั่วโลกสูงที่สุด และมาตรฐานCDMA (Code Division
Multiple Access) อันเป็นมาตรฐานจากสหรัฐอเมริกา มีส่วนแบ่งการตลาดเป็น
อันดับที่สอง
เนื้อหา 4
กลับสารบัญ
ข้อจากัดของเครือข่าย 2.5G และ
2.75Gข้อจากัดของเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อน 2.5G และ 2.75G เกิดขึ้นมาจาก
ความพยายามพัฒนาเครือข่าย 2G เดิม ไม่ว่าจะเป็นมาตรฐาน GSM หรือ
CDMA ให้เกิดประโยชน์สูงสุด คุ้มค่าการลงทุน ทาให้ผู้ให้บริการเครือข่ายไม่
อาจบริหารจัดการทรัพยากรเครือข่ายโทรศัพท์ เคลื่อนที่ได้อย่างคล่องตัว
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีของเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM ไม่ว่าจะเป็น
ย่านความถี่ 900 เมกะเฮิตรซ์ , 1800 เมกะเฮิตรซ์ หรือ 1900 เมกะเฮิตรซ์ เนื่องจาก
อุปกรณ์ที่มีการติดตั้งใช้งานมาตั้งแต่การเปิดให้บริการในยุค 2G
เนื้อหา 5
กลับสารบัญ
เนื้อหน้า 6
กลับสารบัญ
เนื้อหา 7
กลับสารบัญ
เนื้อหา 8
กลับสารบัญ
หากคุณได้รับคาถามว่า “ต่างจังหวัดที่อยู่ห่างไกล ยังใช้ไม่ได้ ทาอย่างไร
ดี?” ผมขอตอบว่าวิกฤตนี้เป็ นโอกาสของเราจริงๆเลยครับ จังหวัดของเรายังไม่
เปิ ดใช้ แต่วันนี้เรารู้ก่อนใครในจังหวัด พอเปิ ดตูมขึ้นมาเราก็ทาก่อนใครแล้ว ที่
บอกว่าจังหวัดใหญ่ๆต้องเปิ ด3.9Gให้ได้อย่างช้า ในเดือนพฤศจิกายน เฉพาะ
ในกรุงเทพฯและ 14 จังหวัดเหล่านี้ ก็มีคน มีลูกค้า มีคนร่วมทาธุรกิจไม่ต่ากว่า
20 ล้านคนแล้ว เรา ต้องการ “เครือข่าย”ภายใต้สายงานเราเพียง 1 แสนคน
เท่านั้น เราก็มีรายได้เป็ นล้านบาทต่อเดือนแล้ว
และถึงอย่างไรระบบนี้ก็ต้องใช้ได้ทั่วประเทศตามมติคณะรัฐมนตรี ภายในเดือน
พฤษภาคมปี 2555 แน่นอน
หากใช้ไม่ได้บริษัทผู้รับเหมาต้องลาบากแน่ๆเพราะจะถูกปรับ ถูกฟ้ อง และไม่ได้
เงินงวดสุดท้ายในการก่อสร้าง “จากรัฐบาล”
เนื้อหา 9
กลับสารบัญ
มาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ W-CDMA ได้รับการออกแบบมาเพื่อให้รองรับ
การสื่อสารแบบมัลติมีเดียสมบูรณ์แบบ โดยเปลี่ยนแปลงรูปแบบการสื่อสารชนิด
TDMA ที่ปรากฏอยู่ในเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ยุค 2G/2.5G/2.75G ไปเป็นการ
สื่อสารแบบแพ็กเกตสวิทชิ่งเต็มรูปแบบ สามารถรองรับทั้งการสื่อสารทั้ง Voice
และ Non-Voice โดยมีมาตรฐานการรองรับและควบคุมคุณภาพของข้อมูลที่
สมบูรณ์แบบ อันเป็นผลต่อเนื่องมาจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการเข้ารหัส
ข้อมูล (Information Coding) จึงทาให้ผู้ให้บริการเครือข่าย 3G ก้าวพ้นจาก
ข้อจากัดในการบริหารจัดการข้อมูลประเภท Voice และ Non-Voice ดังที่ปรากฏ
อยู่ในมาตรฐาน 2G/2.5G/2.75G ได้อย่างเด็ดขาด
เนื้อหา 10
กลับสารบัญ
จุดเด่น
ของมาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G
แบบ W-CDMA
เนื้อหา 11
กลับสารบัญ
นอกจากมาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G จะมีการพัฒนาเทคโนโลยีสถานี
ฐาน (Base Station Subsystem) จากยุค 2G ซึ่งใช้เทคโนโลยี TDMA เป็นการ
รับส่งข้อมูลในรูปแบบแพ็กเกตเพื่อความคล่องตัวในการจัดสรรทรัพยากร ความถี่
สาหรับให้บริการทั้งแบบ Voice และ Non-Voice อย่างเกิดประโยชน์สูงสุด อันจะ
ช่วยสร้างความรู้สึกให้กับผู้ใช้บริการ (End User Perception) ถึงความรวดเร็วใน
การสื่อสารข้อมูล และยังคงรักษาคุณภาพของการสนทนาที่เหนือกว่ามาตรฐาน
2G/2.5G/2.75G
เนื้อหา 12
กลับสารบัญ
เนื้อหา 13
กลับสารบัญ
จากสาเหตุที่เครือข่ายให้บริการ 2G และ 3G คนละความถี่ ทาให้ผู้ให้
บริการโทรศัพท์มือถือ จาเป็นจะต้องนาตัวเครื่องอุปกรณ์โทรศัพท์มือถือมา
จาหน่ายเอง เพื่อให้สามารถใช้งานได้บนเครือข่ายของตน และบางรุ่นหากผู้
ให้บริการไม่ได้นาเข้ามาขายอย่างเป็นทางการ ผู้ใช้ก็จะไปหาเครื่องนอกที่
รองรับเครือข่ายของตนมาใช้งานแทน ดังนั้นจะเห็นว่า การประมูลคลื่นความถี่
3G นั้นจะเป็นตัวกาหนดอุปกรณ์การใช้งานของเรา หากใครยังจาได้ iPhone
3GS ไม่สนับสนุน 3G 900MHz ของ AIS ดังนั้นผู้ใช้ iPhone 3GS จะใช้งาน
3G ได้เต็มประสิทธิภาพเฉพาะบน 3G dtac และ truemove เท่านั้น
เช่นเดียวกับที่หลายๆคนเคยสงสัยว่า ทาไมสมาร์ทโฟนจึงมีการแยกขายเครื่อง
แต่ละผู้ให้บริการ เนื่องจากมีการปรับแต่งให้เหมาะสมกับความถี่ 3G ของแต่
ละค่ายนั่นเอง

More Related Content

Similar to น.ส. ทิพย์วรรณ พวงแก้ว ม.4/10 เลขที่19

Simat Presentation
Simat PresentationSimat Presentation
Simat PresentationShaen PD
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์bhubodintrtarasak
 
Internet
InternetInternet
Internetsa
 
เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย ยุค 4 g pdf
เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย ยุค 4 g pdfเทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย ยุค 4 g pdf
เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย ยุค 4 g pdfPuchida Saingchin
 
แผนยุทธศาสตร์/แผนธุรกิจ 2559-2563 บมจ. ทีโอที
แผนยุทธศาสตร์/แผนธุรกิจ 2559-2563 บมจ. ทีโอทีแผนยุทธศาสตร์/แผนธุรกิจ 2559-2563 บมจ. ทีโอที
แผนยุทธศาสตร์/แผนธุรกิจ 2559-2563 บมจ. ทีโอทีTanya Sattaya-aphitan
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตBeam Iemsumang
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Telecom report nov 9 ผลกระทบต่อเทคโนโลยี 4 G
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Telecom report nov 9 ผลกระทบต่อเทคโนโลยี 4 Gพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Telecom report nov 9 ผลกระทบต่อเทคโนโลยี 4 G
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Telecom report nov 9 ผลกระทบต่อเทคโนโลยี 4 GSettapong-Broadband
 
Chapter13ผลกระทบ4G
Chapter13ผลกระทบ4GChapter13ผลกระทบ4G
Chapter13ผลกระทบ4Gntc thailand
 

Similar to น.ส. ทิพย์วรรณ พวงแก้ว ม.4/10 เลขที่19 (20)

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
งาน 1
งาน 1งาน 1
งาน 1
 
6
66
6
 
4 g
4 g4 g
4 g
 
3 g technology
3 g technology3 g technology
3 g technology
 
Technology 3 g
Technology 3 gTechnology 3 g
Technology 3 g
 
Simat Presentation
Simat PresentationSimat Presentation
Simat Presentation
 
เทคโนโลยี 4 g
เทคโนโลยี 4 gเทคโนโลยี 4 g
เทคโนโลยี 4 g
 
4 g tecnology
4 g tecnology4 g tecnology
4 g tecnology
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
3 G
3 G3 G
3 G
 
เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย ยุค 4 g pdf
เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย ยุค 4 g pdfเทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย ยุค 4 g pdf
เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย ยุค 4 g pdf
 
แผนยุทธศาสตร์/แผนธุรกิจ 2559-2563 บมจ. ทีโอที
แผนยุทธศาสตร์/แผนธุรกิจ 2559-2563 บมจ. ทีโอทีแผนยุทธศาสตร์/แผนธุรกิจ 2559-2563 บมจ. ทีโอที
แผนยุทธศาสตร์/แผนธุรกิจ 2559-2563 บมจ. ทีโอที
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Telecom report nov 9 ผลกระทบต่อเทคโนโลยี 4 G
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Telecom report nov 9 ผลกระทบต่อเทคโนโลยี 4 Gพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Telecom report nov 9 ผลกระทบต่อเทคโนโลยี 4 G
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Telecom report nov 9 ผลกระทบต่อเทคโนโลยี 4 G
 
Chapter13ผลกระทบ4G
Chapter13ผลกระทบ4GChapter13ผลกระทบ4G
Chapter13ผลกระทบ4G
 

น.ส. ทิพย์วรรณ พวงแก้ว ม.4/10 เลขที่19

  • 1. เสนอ อ. อลงกรณ์ ราชคฤห์ เรื่อง เทคโนโลยี 3G รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยีพื้นฐาน 5 รหัสวิชา 223101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
  • 3. สารบัญ หน้า 1 1 หน้า 2 2 หน้า 3 3 หน้า 4 4 หน้า 5 5
  • 5. เนื้อหา 2 กลับสารบัญ เทคโนโลยี 3G คืออะไร 3G คือ โทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่สาม หรือมาตรฐาน IMT-2000 นั้นนิยามสั้นๆ เพื่อให้เข้าใจ ตรงกันว่า“ต้องมี แพลทฟอร์ม (Platform) สาหรับการหลอมรวมของบริการต่างๆ อาทิ กิจการ ประจาที่ (Fixed Service) กิจการเคลื่อนที่ (Mobile Service) บริการสื่อสารเสียง ข้อมูล อินเทอร์เน็ต และ พหุสื่อ (Multimedia) เป็นไปในทิศทางเดียวกัน” คือ สามารถถ่ายเท ส่งต่อข้อมูล ดิจิตอล ไปยังอุปกรณ์โทรคมนาคมประเภทต่างๆ ให้สามารถรับส่งข้อมูลได้ “ความสามารถในการใช้โครงข่ายทั่วโลก (Global Roaming) ” คือ ผู้บริโภคสามารถ ถืออุปกรณ์ โทรศัพท์เคลื่อนที่ไปใช้ได้ทั่วโลก โดยไม่ต้องเปลี่ยนเครื่อง “บริการที่ไม่ขาดตอน (Seamless Delivery Service) ” คือ การใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่โดยไม่รู้สึก ถึงการเปลี่ยน เซลล์ไซต์ (Cell Site) เขาใช้คาว่า Seam less นั้นแปลว่า ไร้รอยตะเข็บนะครับ
  • 6. เนื้อหา 3 กลับสารบัญ จุดเริ่มต้นของเทคโนโลยี 3G มาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่ 3 (Third Generation Mobile Network หรือ 3G) เป็นเทคโนโลยียุคถัดมาจากการเปิดให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ยุค ที่ 2 หรือ 2G ซึ่งประสบความสาเร็จในการสร้างมูลค่าทางธุรกิจสื่อสารไร้สายอย่างมหาศาล นับ ตั้งแต่ พ.ศ. 2537 เป็นต้นมา ในยุคของโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2G มีมาตรฐานที่สาคัญที่มีการ นิยมใช้งานทั่วโลกอยู่2 มาตรฐาน กล่าวคือมาตรฐาน GSM (Global System for Mobile Communication) อันเป็นมาตรฐานของกลุ่มสหภาพยุโรป ปัจจุบันมี ส่วนแบ่งทางการตลาดทั่วโลกสูงที่สุด และมาตรฐานCDMA (Code Division Multiple Access) อันเป็นมาตรฐานจากสหรัฐอเมริกา มีส่วนแบ่งการตลาดเป็น อันดับที่สอง
  • 7. เนื้อหา 4 กลับสารบัญ ข้อจากัดของเครือข่าย 2.5G และ 2.75Gข้อจากัดของเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อน 2.5G และ 2.75G เกิดขึ้นมาจาก ความพยายามพัฒนาเครือข่าย 2G เดิม ไม่ว่าจะเป็นมาตรฐาน GSM หรือ CDMA ให้เกิดประโยชน์สูงสุด คุ้มค่าการลงทุน ทาให้ผู้ให้บริการเครือข่ายไม่ อาจบริหารจัดการทรัพยากรเครือข่ายโทรศัพท์ เคลื่อนที่ได้อย่างคล่องตัว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีของเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM ไม่ว่าจะเป็น ย่านความถี่ 900 เมกะเฮิตรซ์ , 1800 เมกะเฮิตรซ์ หรือ 1900 เมกะเฮิตรซ์ เนื่องจาก อุปกรณ์ที่มีการติดตั้งใช้งานมาตั้งแต่การเปิดให้บริการในยุค 2G
  • 11. เนื้อหา 8 กลับสารบัญ หากคุณได้รับคาถามว่า “ต่างจังหวัดที่อยู่ห่างไกล ยังใช้ไม่ได้ ทาอย่างไร ดี?” ผมขอตอบว่าวิกฤตนี้เป็ นโอกาสของเราจริงๆเลยครับ จังหวัดของเรายังไม่ เปิ ดใช้ แต่วันนี้เรารู้ก่อนใครในจังหวัด พอเปิ ดตูมขึ้นมาเราก็ทาก่อนใครแล้ว ที่ บอกว่าจังหวัดใหญ่ๆต้องเปิ ด3.9Gให้ได้อย่างช้า ในเดือนพฤศจิกายน เฉพาะ ในกรุงเทพฯและ 14 จังหวัดเหล่านี้ ก็มีคน มีลูกค้า มีคนร่วมทาธุรกิจไม่ต่ากว่า 20 ล้านคนแล้ว เรา ต้องการ “เครือข่าย”ภายใต้สายงานเราเพียง 1 แสนคน เท่านั้น เราก็มีรายได้เป็ นล้านบาทต่อเดือนแล้ว และถึงอย่างไรระบบนี้ก็ต้องใช้ได้ทั่วประเทศตามมติคณะรัฐมนตรี ภายในเดือน พฤษภาคมปี 2555 แน่นอน หากใช้ไม่ได้บริษัทผู้รับเหมาต้องลาบากแน่ๆเพราะจะถูกปรับ ถูกฟ้ อง และไม่ได้ เงินงวดสุดท้ายในการก่อสร้าง “จากรัฐบาล”
  • 12. เนื้อหา 9 กลับสารบัญ มาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ W-CDMA ได้รับการออกแบบมาเพื่อให้รองรับ การสื่อสารแบบมัลติมีเดียสมบูรณ์แบบ โดยเปลี่ยนแปลงรูปแบบการสื่อสารชนิด TDMA ที่ปรากฏอยู่ในเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ยุค 2G/2.5G/2.75G ไปเป็นการ สื่อสารแบบแพ็กเกตสวิทชิ่งเต็มรูปแบบ สามารถรองรับทั้งการสื่อสารทั้ง Voice และ Non-Voice โดยมีมาตรฐานการรองรับและควบคุมคุณภาพของข้อมูลที่ สมบูรณ์แบบ อันเป็นผลต่อเนื่องมาจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการเข้ารหัส ข้อมูล (Information Coding) จึงทาให้ผู้ให้บริการเครือข่าย 3G ก้าวพ้นจาก ข้อจากัดในการบริหารจัดการข้อมูลประเภท Voice และ Non-Voice ดังที่ปรากฏ อยู่ในมาตรฐาน 2G/2.5G/2.75G ได้อย่างเด็ดขาด
  • 14. เนื้อหา 11 กลับสารบัญ นอกจากมาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G จะมีการพัฒนาเทคโนโลยีสถานี ฐาน (Base Station Subsystem) จากยุค 2G ซึ่งใช้เทคโนโลยี TDMA เป็นการ รับส่งข้อมูลในรูปแบบแพ็กเกตเพื่อความคล่องตัวในการจัดสรรทรัพยากร ความถี่ สาหรับให้บริการทั้งแบบ Voice และ Non-Voice อย่างเกิดประโยชน์สูงสุด อันจะ ช่วยสร้างความรู้สึกให้กับผู้ใช้บริการ (End User Perception) ถึงความรวดเร็วใน การสื่อสารข้อมูล และยังคงรักษาคุณภาพของการสนทนาที่เหนือกว่ามาตรฐาน 2G/2.5G/2.75G
  • 16. เนื้อหา 13 กลับสารบัญ จากสาเหตุที่เครือข่ายให้บริการ 2G และ 3G คนละความถี่ ทาให้ผู้ให้ บริการโทรศัพท์มือถือ จาเป็นจะต้องนาตัวเครื่องอุปกรณ์โทรศัพท์มือถือมา จาหน่ายเอง เพื่อให้สามารถใช้งานได้บนเครือข่ายของตน และบางรุ่นหากผู้ ให้บริการไม่ได้นาเข้ามาขายอย่างเป็นทางการ ผู้ใช้ก็จะไปหาเครื่องนอกที่ รองรับเครือข่ายของตนมาใช้งานแทน ดังนั้นจะเห็นว่า การประมูลคลื่นความถี่ 3G นั้นจะเป็นตัวกาหนดอุปกรณ์การใช้งานของเรา หากใครยังจาได้ iPhone 3GS ไม่สนับสนุน 3G 900MHz ของ AIS ดังนั้นผู้ใช้ iPhone 3GS จะใช้งาน 3G ได้เต็มประสิทธิภาพเฉพาะบน 3G dtac และ truemove เท่านั้น เช่นเดียวกับที่หลายๆคนเคยสงสัยว่า ทาไมสมาร์ทโฟนจึงมีการแยกขายเครื่อง แต่ละผู้ให้บริการ เนื่องจากมีการปรับแต่งให้เหมาะสมกับความถี่ 3G ของแต่ ละค่ายนั่นเอง